27
คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เลมที6/16 คํานวณฝนใชการ ( Effective Rainfall) กระบวนการสรางคุณคา กระบวนการบริหารจัดการน้ํา กรมชลประทาน คณะทํางานยอยจัดทําคูมือการปฏิบัติงานดานบริหารจัดการน้ํา สิงหาคม 2554

คู่มือการปฏิบัติงาน ฝนใช้การ01

  • Upload
    mote34

  • View
    216

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

คูมือการปฏิบัติงาน

(Work Manual)

เลมที่ 6/16

คํานวณฝนใชการ ( Effective Rainfall)

กระบวนการสรางคุณคา

กระบวนการบริหารจัดการน้ํา

กรมชลประทาน

คณะทํางานยอยจัดทําคูมือการปฏิบัติงานดานบริหารจัดการน้ํา สิงหาคม 2554

คํานํา

อางถึงคําส่ังกรมชลประทานท่ี ข 322 / 2554 ลงวันท่ี 25 เมษายน 2554 เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการติดตามและกํากับดูแลการดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Steering Committee) และคณะทํางานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team) กรมชลประทาน ท้ัง 7 หมวด ซ่ึงคณะกรรมการฯดังกลาวไดมีคําส่ังแตงต้ังคณะทํางานยอยจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ํา โดยมีจุดประสงคเพื่อใหการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาองคการ หมวด 6 ประจําป 2554 เปนไปตามวัตถุประสงคท่ีจะยกระดับการปฏิบัติงานใหมีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงไดดําเนินการจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ําจํานวนท้ังส้ิน 16 เลม ซ่ึง คูมือการคํานวณฝนใชการ (Effective Rainfall) เปนเลมท่ี 6/16 ในคูมือดังกลาว คือ

1. เลมท่ี 1/16 คูมือการเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานดานจัดสรรน้ําของโครงการชลประทาน 2. เลมท่ี 2/16 คูมือการประเมินปริมาณนํ้าไหลลงอางเก็บน้ํา 3. เลมท่ี 3/16 คูมือการประเมินน้ําหลากในพ้ืนท่ีลุมน้ําตางๆ 4. เลมท่ี 4/16 คูมือการจําลองการปฏิบัติการอางเก็บน้ํา (Reservoir Operation Simulation) 5. เลมท่ี 5/16 คูมือการวางแผนการใชน้ําจากอางเก็บน้ํา (Reservoir Operation Study) 6. เลมท่ี 6/16 คูมือการคํานวณฝนใชการ (Effective Rainfall) 7. เลมท่ี 7/16 คูมือการคํานวณการใชน้ําของพืช (Consumptive Use หรือ

Evapotranspiration) 8. เลมท่ี 8/16 คูมือการประเมินการใชน้ําในกิจกรรมตางๆ 9. เลมท่ี 9/16 คูมือการจัดทําโคงปฏิบัติการอางเก็บน้ํา 10. เลมท่ี 10/16 คูมือการวางแผนติดตามและประเมินผลการสงน้ํารายสัปดาห (WASAM) 11. เลมท่ี 11/16 คูมือการประชาสัมพันธแผนการจัดสรรน้ํา 12. เลมท่ี 12/16 คูมือการปฏิบัติงานสงน้ําของโครงการชลประทาน 13. เลมท่ี 13/16 คูมือการคํานวณปริมาณนํ้าผานอาคารชลประทาน 14. เลมท่ี 14/16 คูมือการวัดปริมาณนํ้าในคลองสงน้ําชลประทานและการสอบเทียบอาคาร

ชลประทาน 15. เลมท่ี 15/16 คูมือการคํานวณหาประสิทธิภาพการชลประทาน 16. เลมท่ี 16/16 คูมือการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโครงการ

คณะทํางานฯ หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือเลมนี้ จะเปนประโยชนและเปนแนวทางการปฏิบัติงาน เพื่อบรรลุเปาหมายของการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการน้ํา ท่ี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป

คณะทํางานยอยคูมือการบริหารจัดการน้ํา สิงหาคม 2554

สารบัญ หนา

1. วัตถุประสงค 1 2. ขอบเขต 1 3. คําจํากัดความ 1 4. หนาท่ีรับผิดชอบ 2 5. ผังกระบวนการ 3 6. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน 4 7. มาตรฐานงาน 7 8. ระบบติดตามประเมินผล 7 9. เอกสารอางอิง 7 10. แบบฟอรมท่ีใช 7 11. ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบฟอรมตางๆ ท่ีใช 8 ภาคผนวก ข วธีิคิดปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย 13 ภาคผนวก ค รายช่ือผูจัดทําคูมือ 22

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

1 คูมือคํานวณฝนใชการ กรมชลประทาน

คูมือการปฏบิัติงาน คูมือคํานวณฝนใชการ ( Effective Rainfall)

1. วัตถุประสงค

1.1 เพื่อใหกรมชลประทานมีคูมือการคํานวณฝนใชการ (Effective Rainfall) ท่ีแสดงถึงรายละเอียดข้ันตอนการคํานวณ กระบวนการตาง ๆ ของหนวยงาน และสรางมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีมุงไปสูการบริหารคุณภาพท่ัวท้ังองคกรอยางมีประสิทธิภาพ เกิดผลงานท่ีไดมาตรฐานเปนไปตามเปาหมาย ไดผลผลิตหรือบริการท่ีมีคุณภาพ และบรรลุขอกําหนดท่ีสําคัญของกระบวนการ 1.2 เพื่อเปนหลักฐานแสดงวิธีการทํางานท่ีสามารถถายทอดใหกับผูเขามาปฏิบัติงานใหม พัฒนาใหการทํางานเปนมืออาชีพ และใชประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร รวมท้ังแสดงหรือเผยแพรใหกับบุคคลภายนอก หรือผูใชบริการ ใหสามารถเขาใจและใชประโยชนจากกระบวนการที่มีอยู เพื่อขอรับการบริการท่ีตรงกับความตองการ

1.3 เพื่อใหการจัดทําแผนการจัดสรรน้ําและการเพาะปลูกพืช เพื่อจัดน้ํามาใหแกพืชตามปริมาณท่ีพืชตองการ การประเมินประสิทธิภาพการชลประทาน ของโครงการชลประทาน/โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาท่ีจัดทําโดยสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา หรือ สํานักชลประทานหรือ โครงการชลประทาน/โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน

2. ขอบเขต เพ่ือจัดทําคูมือ การคํานวณคิดปริมาณฝนใชการ โดยจะครอบคลุมท้ังสวนของนาขาวและพืชไร ในฤดูแลง และฤดูฝน 3. คําจํากัดความ

ฝนใชการ หมายถึง ปริมาณน้ําฝนสวนหนึ่งจากนํ้าฝนท้ังหมดท่ีตกลงในพื้นท่ีและสามารถใชใหเปนประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค ข้ึนอยูกับองคประกอบท่ีสําคัญ คือปริมาณท่ีตกในแตละชวงเวลา , ปริมาณการใชน้ําของพืช ความเคยชินของชาวนาตอการเก็บกักน้ําชลประทานไวในแปลงนา และความสูงของคันนา สําหรับดานการชลประทาน “ปริมาณฝนใชการ” หมายถึง ปริมาณนํ้าฝนท่ีตกลงบนพ้ืนท่ีเพาะปลูกและเปนประโยชนตอการเพาะปลูกนั้น คือพืชสามารถนําไปใชประโยชนได หรือสามารถทดแทนน้ําชลประทานท่ีตองจัดหามาใหแกพืชท่ีแปลงเพาะปลูกได เพื่อความสะดวกในการคํานวณหาคาปริมาณฝนใชการที่ปรึกษาคณะทํางานจึงไดสรุปใหใช การคํานวณจากตารางสําเร็จรูป ซ่ึงคาปริมาณนํ้าฝนท่ีนํามาใชในการคํานวณเปนคาปริมาณนํ้าฝนรายเดือน

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

2 คูมือคํานวณฝนใชการ กรมชลประทาน

4. หนาท่ีความรับผิดชอบ 4.1 ผูอํานวยการสํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา (ผส.อน.) รับทราบและตรวจสอบผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลงของสํานักชลประทานท่ี 1-17 4.2 ผูอํานวยการสํานักชลประทานท่ี 1-17(ผส.ชป.) รับทราบและตรวจสอบผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของโครงการในสังกัด 4.3 ผูอํานวยการสวนบริหารจัดการน้ํา (ผจน.) วางแผนและติดตามผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของสํานักชลประทานท่ี 1-17 4.4 ผูอํานวยการสวนจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา สํานักชลประทานท่ี 1-17 (ผจน.) วางแผนและติดตามผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของโครงการในสังกัด 4.5 ผูอํานวยการโครงการชลประทาน (ผอ.คป.) วางแผนและติดตามผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของโครงการชลประทาน 4.6 ผูอํานวยการโครงการชลประทาน (ผอ.คป.) วางแผนและติดตามผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของโครงการสงน้ําและบํารุงรักษา 4.7 หัวหนากลุมงานจัดสรรน้ํา สวนบริหารจัดการน้ํา (กจ.จน.) วางแผนและรายงานผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูแลง-ของสํานักชลประทานท่ี 1-17 4.8 หัวหนาศูนยปฏิบัติการจัดสรรน้ํา สวนบริหารจัดการนํ้า (ศป.จน.)วางแผนและรายงานผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝน-ของสํานักชลประทานท่ี 1-17 4.9 หัวหนาฝายบริหารและจัดการนํ้า (ฝจน.ชป.)สวนจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา วางแผนและรายงานผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝน-ของโครงการในสังกัดสํานักชลประทาน

4.10 หัวหนาฝายจัดสรรน้ําและปรับปรุงระบบชลประทาน (ฝจน.คป./ฝจน.คบ.)วางแผนและจัดทํารายงานผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของโครงการชลประทาน/โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา 4.11 หัวหนาฝายสงน้ําและบํารุงรักษา (ฝสบ.คป/ฝสบ.คบ.) วางแผนและจัดทํารายงานผลความกาวหนาการบริหารจัดการน้ําฤดูฝนและฤดูแลง-ของโครงการชลประทาน/โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

3 คูมือคํานวณฝนใชการ

5.ผังกระบวนการ

ลําดับที่

ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดงาน

ผูรับผิดชอบ

1

1. ขอมูลอุตุ-อุทกวิทยา 2. ชนิดของพืชที่พิจารณา ขาว,พืชไร - ฝจน.

คบ./ฝจน.คป.

3.ชนิดของดินและความสามารถเก็บนํ้าไวไดของดินในเขตราก

ทุกสัปดาห

4.คาอัตราการใชนํ้าของพืช (ET) รายเดือน (สําหรับพืชไร)

2

1.ตรวจสอบความถูกตองและวิเคราะหขอมูลพ้ืนฐาน

- ฝจน.คบ./ฝจน.คป.

1.1 คํานวณคาเฉล่ีย ของปริมาณนํ้าฝนที่ตกลงบนพ้ืนที่ ที่พิจารณา

ทุกสัปดาห

1.2 พิจารณาเลือกใชขอมูล ใหเหมาะสมกับ ตารางการคํานวณปริมาณฝนใชการ

3

1. กําหนดชนิดของพืช - ฝจน.คบ./ฝจน.คป.

2. คํานวณฝนใชการ 2.1 นาขาว ใชวิธีสวนอุทกวิทยา

ทุกสัปดาห

2.2 พืชไร ใชวิธี กระทรวงเกษตร สหรัฐอเมริกา

4

1.สรุปผลการคํานวณปริมาณฝนใชการท่ีได สําหรับพืชแตละชนิดเพ่ือนําไปใชสําหรับการคํานวณหาคาการใชนํ้าของพืชตอไป (คูมือเลมที่ 6/16)

การคํานวณฝนใชการ

พืชไร นาขาว

ตรวจสอบปรับปรุงและแกไข

รวบรวมขอมูลพ้ืนฐาน

ฝนใชการ

กรมชลประทาน

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

4 คูมือคํานวณฝนใชการ กรมชลประทาน

6. ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 6.1 การรวบรวมขอมูลพื้นฐาน ประกอบดวย

6.1.1 ขอมูลอุตุ-อุทกวิทยาของสถานีวัดนํ้าฝนในเขตพ้ืนท่ีโครงการฯท่ีตองนํามาพิจารณาคํานวณคาปริมาณฝนใชการ ประกอบดวย ปริมาณฝนรายวัน และปริมาณรายเดือน

6.1.2 ขอมูลชนิดของพืช ท่ีพิจารณาไดแก ขาว , พืชไร (ท่ีตองการพิจารณา) 6.1.3 ชนิดของดินและความสามารถเก็บน้ําไวไดของดินในเขตราก 6.1.4 คาอัตราการใชน้ําของพืช (ET) ในแตละเดือนสําหรับพชืไร (พิจารณาจากขอมูลคูมือ

เลมท่ี 7 หรือ คํานวณโดยวธีิท่ีแสดงไวในภาคผนวก ก) 6.2 การตรวจสอบความถูกตองและวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน 6.2.1 ในกรณีท่ีพื้นท่ี ท่ีตองการคํานวณคาปริมาณฝนใชการครอบคลุมสถานีวัดคาทางอุตุ-

อุทกวิทยา (สวนใหญเปนสถานีวัดปริมาณนํ้าฝน) หลายๆสถานี จําเปนตองใชวิธีการหาคาเฉล่ียปริมาณน้ําฝนท่ีตกลงมาในพ้ืนท่ีเสียกอนโดยพิจารณาสะสมคาปริมาณนํ้าฝนรายวันเปนรายเดือน แลวใชวิธีการคํานวณหาคาเฉล่ียปริมาณนํ้าฝน ตามรายละเอียดท่ีแนบไวในภาคผนวก ก

6.3 การคํานวณฝนใชการ มีข้ันตอนดังนี ้

6.3.1 การคํานวณฝนใชการสําหรับนาขาว ข้ันตอนท่ี 1 ตองทราบปริมาณฝนเฉล่ียรายเดือนในพื้นท่ีเพาะปลูกตางๆท่ีตองการ

หาปริมาณฝนใชการ ข้ันตอนท่ี 2 พิจารณาคาปริมาณฝนท่ีกําหนดไวในตารางท่ี 1 เชน เดือนเมษายน

2551 มีปริมาณฝนเฉล่ีย 74.7 มม. ก็จะมีคา Weighted Rainfall , MM (WRFL) อยูในชวง 11 – 100 ก็จะใชคา Effective Rainfall , MM คํานวณคือ WRFL x 0.80

ข้ันตอนท่ี 3 คํานวณคาปริมาณฝนใชการ จากข้ันตอนท่ี 2 คือ Effective Rainfall , MM = 74.7 x 0.80 = 59.8 มม. คือปริมาณฝนใชการของเดือนเมษายน 2551 6.3.2 การคํานวณฝนใชการสําหรับพืชไร ข้ันตอนท่ี 1 รวบรวมคาน้ําฝนรายเดือน , อัตราการใชน้ําของพืช(ET) สําหรับเดือนนั้น และความสามารถเก็บน้ําไวไดของดินในเขตราก

ข้ันตอนท่ี 2 ใชตารางท่ี 2 เพื่อประกอบการคิดคํานวณฝนใชการสําหรับพืชไร ข้ันตอนท่ี 3 ตัวอยางการใชงาน จากตารางท่ี 2 เม่ือมีฝนตก 60 มม. อัตราการใชน้ํา

ของพืช (ET) 125 มม. ฝนใชการจะเทากับ 43 มม. ข้ันตอนท่ี 4. เม่ือดินในเขตรากสามารถเก็บน้ําไวไดเพียง 75 มม. จากตัวเลขใน

บรรทัดสุดทายของตารางท่ี 2 ตัวคูณปรับแก = 1.00 ดังนั้น ฝนใชการ = 1.00 x 43 = 43 มม. (หรือถาดินใน

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

5 คูมือคํานวณฝนใชการ กรมชลประทาน

6.4 สรุป ผลการคํานวณปริมาณฝนใชการ ของพืชแตละชนิดในพื้นท่ี ท่ีพิจารณาเพื่อนําไปใช

สําหรับการคํานวณหาปริมาณความตองการน้ําของพืชตอไป ตารางท่ี 1 แสดงคา Weighted Rainfall , MM (WRFL)และ Effective Rainfall , MM ของปริมาณนํ้าฝนรายเดือน Weighted Rainfall , MM (WRFL) Effective Rainfall , MM 0 – 100 0 11 – 100 WRFL x 0.80 101 – 200 WRFL x 0.70 201 – 250 WRFL x 0.60 251 – 300 WRFL x 0.55 301 – up WRFL x 0.50

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

6 คูมือคํานวณฝนใชการ กรมชลประทาน

ตารางท่ี 2 ปริมาณฝนใชการ (Effective Rainfall) ของพืชไร สําหรับฝนรายเดือนเฉล่ียและอัตราการใชน้ําของพืชขนาดตางๆ ตัวเลขในตารางสําหรับกรณีท่ีดินในเขตรากมีความสามารถอุมนํ้าได 75 มม.

อัตราการใชนํ้าของพืช (ET) ประจําเดือน – มม.

25 50 75 100 125 150 175 200 225 250

ฝนรายเดือนเฉลี่ย

(มม.)

ฝนใชการประจําเดือน (Re) มม. 15 9 10 10 11 11 12 12 13 14 15 20 12 13 14 14 15 16 17 18 19 20 30 18 19 21 22 22 23 24 26 28 30 40 23 25 27 29 30 31 32 35 38 40 50 25 32 34 35 36 38 40 43 46 49 60 38 40 42 43 45 47 51 55 59 70 43 46 49 51 53 55 59 63 68 80 48 52 55 58 60 63 67 71 77 90 50 57 61 64 67 70 75 79 85

100 63 67 71 74 78 82 87 94 110 68 73 78 80 84 89 95 102 120 73 78 84 86 91 97 102 110 130 75 83 89 92 98 104 110 118 140 89 95 99 105 112 118 126 150 94 101 105 110 120 125 134 160 99 106 110 117 125 132 142 170 100 111 116 123 131 138 149 180 116 121 129 136 144 155 190 121 126 134 142 150 161 200 125 132 140 148 157 168

ความสามารถอุมนํ้าของดินในเขต

ราก (มม.)

20

30

40

50

60

75

100

125

150

175

ตัวคูณปรับแก 0.74 0.82 0.88 0.93 0.96 1.00 1.02 1.04 1.06 1.07

หมายเหตุ ฝนใชการเฉล่ีย ประจําเดือนตองไมมากกวาจํานวนฝนเฉล่ียหรืออัตราการใชน้ําของพืชในเดือน เดียวกัน ในกรณีท่ีฝนเฉล่ียรายเดือนนอยกวาคาตํ่าสุดของฝนใชการ ในตารางขางบนใหถือวา ฝนดังกลาวเปนฝนใชการท้ังหมด

ภา1 การหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

7 คูมือคํานวณฝนใชการ กรมชลประทาน

7. มาตรฐานงาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามกระบวนการ Work Flow ไมควรที่จะเกิน 1 สัปดาห

8. ระบบติดตามประเมินผล

ระบบติดตามประมวลผลการปฏิบัติงานฝายจัดสรรน้ําของสํานักชลประทาน ท่ีรับผิดชอบจะตอง เปนผูพิจารณา ผลการจัดสรรน้ําของโครงการทุกสัปดาหวามีความเหมาะสมสอดคลองกับพื้นท่ีของโครงการชลประทานนั้นๆ หรือไม หากไมถูกตอง ควรเสนอแนะแนวทางในการประเมินความถูกตองดวย ซ่ึง ฝนใชการ เปนเพียงองคประกอบหน่ึงในการคํานวณปริมาณการใชน้ําของพืชและการจัดสรรนํ้าเพื่อการเพาะปลูกของโครงการชลประทานเทานั้น 9. เอกสารอางอิง

กรมชลประทาน. Irrigation Demand Model Programer and User Manual. กีรติ ลีวัจนกุล. 2539. วิศวกรรมชลศาสตร. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยรังสิต วิบูลย บุญยธโรกุล.2526. หลักการชลประทาน. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 10. แบบฟอรมท่ีใช ใชแบบฟอรมจากคูมือเลมท่ี 1/16 ไดแกแบบฟอรม ROS – 06 , แบบฟอรม งส.จษ. 3 / 2536

ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมตางๆ ที่ใช

8

เดือนมกราคม ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนกุมภาพันธ ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนมนีาคม ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนเมษายน ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนพฤษภาคม ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนมถุินายน ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนกรกฎาคม ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนสิงหาคม ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนกันยายน ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนตุลาคม ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนพฤศจิกายน ลาน ลบ.ม./วัน

เดือนธันวาคม ลาน ลบ.ม./วัน

แบบฟอรม ROS-06

ตารางความตองการใชน้ํารายเดือน

9

ลํา เนือ้ทีป่ลูก เนือ้ทีเ่ก็บ ผลผลิต ผลผลิต มาตรฐานของ

ดบั ชือ่พชื (ไร) เนือ้ที่ สา เก่ียว ทัง้หมด เฉล่ีย ลักษณะ

ที่ (ไร) เหตุ (ไร) (กก.) (กก./ไร) ผลผลิต

(1) ขาว

นาปรงั

(2) พชืไร

ถ่ัวลิสง ทัง้เปลือกแหง

ถ่ัวเหลือง เมล็ดแกแหง

ถ่ัวเขยีว ทกุชนดิ

ยาสูบ ใ

แตงโม

ขาวโพดหวาน *1 ฝก/ไร

ขาวโพดเล้ียงสัตว เมล็ดแหงสีแลว

มนัเทศ

แตงไทย

งา

มนัแกว

เผือก

ขาวฟาง

แหวจนี

พชืไรอืน่ๆ

รวมพชืไร (2)

งส.จษ. 3/2536

สรปุรายงานผลการเพาะปลกูพืชฤดแูลง ปการเพาะปลกู 25…../25…..

เสียหาย

สํานกัชลประทานที…่…. : ใหทาํเครือ่งหมาย ลงใน ทีจ่ะรายงาน เครือ่งหมายเดยีว

บสด

*1

โครงการสงน้าํและบํารงุรกัษา : สรปุทัง้โครงการ,

หรอื จงัหวดั

โครงการชลประทาน (จงัหวดั) : สรปุทัง้โครงการ,

หรอื โครงการ

(ในเขตโครงการ)

หรอื อางเก็บน้าํ

10

ลํา เนือ้ทีป่ลูก เนือ้ทีเ่ก็บ ผลผลิต ผลผลิต มาตรฐานของ

ดบั ชือ่พชื (ไร) เนือ้ที่ สา เก่ียว ทัง้หมด เฉล่ีย ลักษณะ

ที่ (ไร) เหตุ (ไร) (กก.) (กก./ไร) ผลผลิต

(3) พชืผัก

กระเทยีม หวั (ทัง้ตนแหง)

หอม หวั (ทัง้ตนแหง)

แตงกวา แตงราน

ถ่ัวฝกยาว

พรกิ

มะเขอื

ฟกแฟง

ฟกทอง

บวบ

คะนา

ผักกาดหวั

กวางตุง

ผักบุง

ผักชี

ขาวโพดออน

หนอไมฝรัง่

มะเขอืเทศ

พชืผักอืน่ๆ

รวมพชืผัก (3)

รวมพชืไร-พชืผัก (2+3)

รวมพชืฤดแูลง (1+2+3)

(4) ออย*2

ออย

เสียหาย

11

ลํา เนือ้ทีป่ลูก เนือ้ทีเ่ก็บ ผลผลิต ผลผลิต มาตรฐานของ

ดบั ชือ่พชื (ไร) เนือ้ที่ สา เก่ียว ทัง้หมด เฉล่ีย ลักษณะ

ที่ (ไร) เหตุ (ไร) (กก.) (กก./ไร) ผลผลิต

(5) อืน่ *ๆ3

ไมดอกไมประดบั - - -

สับปะรด - - -

มนัสําปะหลัง - - -

ชะอม - - -

กระชาย - - -

กระถิน - - -

- - -

- - -

- - -

รวม อืน่ ๆ(5) - - -

(6) ไมผล - - -

(7) ไมยืนตน - - -

(8) บอปลา - - -

(9) บอกุง - - -

รวมบอปลา-บอกุง (8+9) - - -

รวมทัง้ส้ิน (1-9)

ปลูกในเขตชลประทาน

หมายเหตุ 1) ใชแบบฟอรม 1 ชดุ (3แผน) ตอการรายงาน 1 โครงการ (โครงการฯ ใชรายงาน

สถานทีป่ลูกในเขตโครงการฯ แหงละ 1 ชดุ

2) "ลักษณะผลผลิต" นอกจากทีกํ่าหนดไวใหใชตามลักษณะทีเ่กษตรกรขาย และ

ใหเพิม่เตมิลักษณะตาง ๆได

3) ใหเพิม่เตมิชือ่พชืทีป่ลูกได และดดยจาํแนกใหตรงตามประเภทของพชืนัน้ ๆ

เชน ประเภทพชืไร หรอืประเภทพชืผัก

4) *2 ออย, *3 อืน่ ,ๆ หมายถึงเนือ้ทีป่ลูกทัง้ชวงฤดแูลงและหรอืโตผานชวงฤดแูลง

5) รายงานผลผลิตพชืประจาํปขอให "สรปุทัง้โครงการ" สงถึงฝายสถิตกิารใชน้าํ-

ชลประทาน ภายหลังสํารวจผลผลิตพชืฤดแูลงประจาํปเสรจ็ส้ิน

ฝายสถิตกิารใชน้าํชลประทาน โทร.0-2669-4229

เสียหาย

12

ภาคผนวก ข วิธีคิดปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย

13

วิธีคิดปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย และ วิธีคิดปริมาณการใชน้ําของพืช

1. การหาปริมาณน้ําฝนเฉล่ีย มีอยู 3 วิธี คือ 1.1 วิธีเฉล่ียทางคณิตศาสตร (Arithmetic-Mean Method)

เปนวิธีหาปริมาณน้ําฝนเฉล่ียท่ีงายท่ีสุด โดยหาไดจากการนําคาปริมาณนํ้าฝนจากสถานีวดัน้ําฝนภายในลุมน้ําทุกสถานีมารวมกันแลวหารดวยสถานีวัดนํ้าฝน จะไดปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียภายในลุมน้ําดงัสมการ

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ----------------------(1 ) ∑

==

n

iiP

nP

1

1

เม่ือ n = จํานวนสถานีวัดน้ําฝน Pi = ปริมาณนํ้าฝนท่ีสถานี I วิธีเฉล่ียทางคณิตศาสตรจะใหปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียท่ีนํามาเปนตัวแทนไดก็ตอเม่ือ

- ลุมน้ําหรือบริเวณท่ีตองการวเิคราะหขอมูลตองเปนท่ีราบกลาวคือ ไมมีอิทธิพลของแนวเขตภูเขาท่ีจะมีผลทําใหฝนตกไมสมํ่าเสมอตลอดท่ัวพื้นท่ี

- สถานีวัดน้ําฝนจะตองกระจายอยางสมํ่าเสมอท่ัวบริเวณพื้นท่ีลุมน้ํา - ปริมาณนํ้าฝนของแตละสถานี จะตองมีคาท่ีไมแตกตางจากปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียมากนกั 1.2 วิธีของทิสเสน (Thiessen Method) จะพิจารณาวาปริมาณนํ้าฝนที่วัดไดจากสถานีวัดนํ้าฝนแตละแหง จะมีอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นท่ีรับ

น้ําฝนท่ีอยูลอมรอบสถานีวัดน้ําฝนน้ัน ๆ ซ่ึงการกําหนดพื้นท่ีท่ีลอมรอบสถานีวัดน้าํฝน จะกําหนดไดจากการแบงพื้นท่ีเปนรูปหลายเหล่ียมของทิสเสน (Thiessen Polygon) เชน เม่ือสถานีวัดน้ําฝน 6 แหง ดังภาพที่ 1

ภาพท่ี 1 วิธีการหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียของทิสเสน

14

พิจารณาภาพท่ี 1 มีข้ันตอนในการแบงพืน้ท่ีเปนรูปหลายเหล่ียมของทิสเสนดังตอไปนี้ - กําหนดตําแหนงสถานีวัดน้าํฝนท้ังในพื้นท่ีและท่ีอยูรอบ ๆ พื้นท่ีท่ีตองการหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย - ลากเสนตรง (เสนประ) เช่ือมโยงระหวางสถานีวัดน้ําฝน 2 แหง ท่ีอยูใกลกัน โดยท่ีเสนตรงเหลานี้

จะตองไมตดักนั จะไดรูปโครงขายสามเหล่ียม (Network of Triangle) - ลากเสนตรง (เสนทึบ) แบงคร่ึงและต้ังฉากกับดานท้ังสามของรูปสามเหล่ียม จะไดรูปสามเหล่ียม

ของทิสเสนลอมรอบของสถานีวัดน้ําฝนแตละแหง ดังเชน สถานีวัดน้ําฝนสถานีท่ี 1 ลอมรอบดวยดาน abcd และสถานีวัดน้ําฝนท่ี 2 ลอมรอบดวยดาน adek เปนตน

- วัดขนาดพ้ืนท่ีรูปหลายเหล่ียมท่ีคลอบคลุมสถานีวัดน้ําฝนแตละรูป โดยอาจใชวิธีนับจุดในกระดาษกราฟ หรือใชเคร่ืองมือวัดพื้นท่ีท่ีเรียกวา พลานิมิเตอร (Planimeter) จะไดพื้นท่ีรูปหลายเหล่ียมของทิสเสน เปน A1, A2, ….,A6 จากนั้น จึงนําพื้นท่ีรูปหลายเหล่ียมท่ีไดนี้ไปคํานวณหาปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียตอไป

เม่ือกําหนดให P1, P2,….,P6 คือสถานีวัดน้าํฝนท่ีวัดไดจากสถานีท่ี 1, 2,..., 6 ตามลําดับ ดังนั้น

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ----------------------( 2 ) ( )621

662211

A....AA

AP....APAPP

++++++

=

สมการท่ี 2 เขียนเปนรูปท่ัวไปในกรณีท่ีมีสถานีวัดน้ําฝน n แหง ไดดังนี ้

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ∑

=

== n

ii

n

iii

A

APP

1

1

==

n

iiiAP

A 1

1 ----------------------( 3 )

โดยท่ี = ปริมาณท่ีเฉล่ีย n แหง P

= iP ปริมาณนํ้าฝนท่ีวดัไดจาสถานีวดัน้ําฝนท่ี i iA = พื้นที่รูปหลายเหล่ียมท่ีลอมรอบสถานีวัดน้ําฝนท่ี i

A = พื้นที่รับน้ําฝนรวมมีคาเทากับ ∑

=

n

iiA

1

15

การเลือกใชวิธีของทิสเสน มีส่ิงท่ีตองพิจารณาประกอบการตัดสินใจดังนี้ - วิธีของทิสเสนจะมีหลักการท่ีดีกวาวิธีเฉล่ียทางคณิตศาสตร เพราะสามารถลดปญหาท่ีเกิดจากการกระจายของสถานีวัดน้ําฝนแบบไมสมํ่าเสมอได - วิธีของทิสเสนเม่ือใชกับพื้นท่ีขนาดใหญ ถาหากวัดขอมูลน้ําฝนผิดพลาด จะมีผลทําใหปริมาณน้ําฝนท่ีคํานวณไดคลาดเคล่ือนจากท่ีควรจะเปนมาก - การลากเสนแบงเปนรูปหลายเหลี่ยม ไมไดคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศ เชน อาจจะมีแนวเขตภูเขาขวางกัน หรือเปนลักษณะเปนท่ีลุม ๆ ดอน ๆ ก็จะทําใหปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียผิดพลาดได - ถาหากมีการเปล่ียนแปลงสถานีวัดน้ําฝน จะตองสรางรูปหลายเหล่ียมใหมทุกคร้ัง นั่นคือ ไมมีความยืดหยุนในการใชงาน

1.3 วิธีเสนช้ันน้ําฝน (Isohyetal Method) วิธีนี้จะเปนการลากเสนช้ันน้าํฝนซ่ึงหมายถึงเสนท่ีลากผานบริเวณท่ีมีความลึกหรือ ปริมาณนํ้าฝน

เทานั้น โดยอาศัยขอมูลปริมาณน้ําฝนท่ีไดจากสถานีวัดน้าํฝนเปนหลัก และพิจารณาแผนท่ีภูมิประเทศ โดยดูสภาพภูมิประเทศ ลักษณะภมูิประเทศ และทิศทางพายุฝน เปนตน มาประกอบการลากเสนช้ันน้ําฝนดังตัวอยางการลากเสนช้ันน้ําฝนดังภาพท่ี 1.8 ซ่ึงการลากเสนช้ันน้ําฝนน้ีจะไดผลใกลเคียงกับสภาพความเปนจริง ก็ตอเม่ือมีสถานีวัดนํ้าฝนเปนจํานวนมาก จึงจะไดแนวเสนช้ันน้ําฝนท่ีถูกตองยิ่งข้ึน

ภาพท่ี 2 ตัวอยางการลากเสนช้ันน้ําฝน

การหาปริมาณน้ําฝนเฉล่ียโดยวิธีเสนช้ันน้ําฝน มีหลักการดังตอไปนี้ คือ - กําหนดสถานีวัดน้ําฝนลงบนแผนท่ีท้ังในบริเวณพืน้ท่ีรับน้ําฝนและบริเวณลอมรอบขอบเขตพ้ืนท่ีรับน้ําฝน - ตรวจดูแนวโนมของเสนช้ันน้ําฝน และกะประมาณดวยสายตา จากน้ัน จึงลากเสนช้ันน้ําฝน โดยพยายามใหเสนโครงราบเรียบ ซ่ึงวิธีการลากเสนช้ันน้ําฝนนี้ จะคลายกับการลากเสนระดับความสูง (Contour

16

- หาพื้นท่ีระหวางเสนชั้นน้ําฝน 2 เสนท่ีอยูใกลเคียงกัน และอยูภายในขอบเขตของพ้ืนท่ีรับน้ําจะไดพื้นที่ A1, A2, ….,An - คํานวณปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียไดดังสมการ

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ----------------------( 4 ) ( )n

nnA....AA

AP....APAPP

++++++

=21

2211

หรือ ----------------------( 5 ) ∑

==

n

iiiAP

AP

1

1

โดยท่ี = ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียท่ัวพืน้ท่ีรับน้ํา P

n = จํานวนปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยระหวางเสนช้ันน้ําฝน 2 เสน Pi = ปริมารน้ําฝนเฉล่ียระหวางเสนชั้นน้ําฝน 2 เสนท่ีอยูใกลกัน Ai = พื้นที่ระหวางเสนช้ันน้ําฝน 2 เสนท่ีอยูใกลเคียงกัน

A = พื้นที่รับน้ําฝนรวมภายในลุมน้ํามีคาเทากับ ∑

=

n

iiA

1

17

ตัวอยางท่ี 1 กําหนดใหพื้นท่ีรับน้ําแหงหนึ่ง มีสถานีวัดนํ้าฝนภายในพื้นท่ีและลอมรอบพ้ืนท่ีดังภาพ โดยมีปริมาณนํ้าฝนแตละสถานีดังตาราง

สถานีวัดน้ําฝน

ปริมาณนํ้าฝน (mm)

P1 10 P2 20 P3 30 P4 40 P5 50 P6 0

จงหาปริมาณน้ําฝนเฉล่ียโดยวิธี

ก) วิธีเฉล่ียทางคณิตศาสตร ข) วิธีของทิสเสน ค) วิธีเสนช้ันน้ําฝน

18

วิธีทํา ก) วิธีเฉล่ียทางคณิตศาสตร จะพิจารณาเฉพาะสถานีวดัน้ําฝนในพืน้ท่ีรับน้ําเทานั้นซ่ึงจากขอมูลท่ีกําหนดให จะเห็นไดวามีสถานีน้ําฝนท่ีอยูในพ้ืนท่ีรับน้ํา 4 แหง (n=4) คือ สถานีวัดน้าํฝน P2, P3, P4, และP5

ดังนั้น

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ∑

==

4

1

1

iiP

nP

( )504030204

1+++=

mm35= ตอบ

ข) วิธีของทิสเสน สามารถสรางรูปหลายเหล่ียมของทิสเสนไดดังภาพ แลวหาพืน้ท่ีของรูปหลายเหล่ียม

P2

P4

P3

P1

P5 P6

A1

A2

A3

A4

A5

19

จากรูปหลายเหล่ียม สามารถคํานวณปริมาณน้ําฝนเฉล่ียไดดังตาราง

พื้นที่รูปหลายเหล่ียม Ai สถานีวัดน้ําฝน ปริมาณนํ้าฝน Pi

(mm) ( )2km iiAP

( )2km.mm P1 10 0.22 2.2 P2 20 4.02 80.4 P3 30 1.35 40.5 P4 40 1.60 64.0 P5 50 1.95 97.5

รวม 9.14 284.6

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ∑

==

n

iiiAP

AP

1

1

149

6284

.

.=

mm.1031= ตอบ

ค) วิธีเสนช้ันน้ําฝน สามารถเขียนเสนช้ันน้ําฝนเทากันไดดังภาพ

20

จากเสนช้ันน้ําฝน สามารถหาพ้ืนท่ีระหวางเสนช้ันน้ําฝน 2 เสน ในแตละชวงได จากน้ันจึงคํานวณปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียไดดังตาราง

ชวงเสนช้ันน้ําฝน ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ียระหวางชวงเสนช้ันน้ําฝน Pi (mm)

พื้นที่ระหวางเสนช้ัน

น้ําฝน (mm) ( )2kmAi

iiAP

( )2km.mm

0-10 5 0.88 4.40 10-20 15 1.59 23.90 20-30 25 2.24 56.00 30-40 35 3.01 105.40 40-50 45 1.22 54.90

50 53 * 0.20 10.60 รวม 9.14 255.20

หมายเหตุ * ไดจากการประมาณ

ปริมาณนํ้าฝนเฉล่ีย ∑

==

n

iiiAP

AP

1

1

149

20255

.

.=

mm.9027= ตอบ

21

ภาคผนวก ค

รายชื่อผูจัดทําคูมือ

22

รายชื่อผูจัดทําคูมือ 1. คณะทํางานยอยจัดทําคูมือดานบริหารจัดการน้ํา ตามคําส่ัง คณะทํางานพัฒนาคุณภาพการบริหาจัดการ

ภาครัฐ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ ท่ี ส 006/2554 1. นายวสันต บุญเกิด ผูทรงคุณวุฒิประจํา สพช. ท่ีปรึกษา 2. นายสุเทพ นอยไพโรจน ผส.อน. ท่ีปรึกษา 3. นายศุภชัย รุงศรี ผส.วพ. ท่ีปรึกษา 4. นายจรูญ พจนสุนทร ผส.ชป.14 หัวหนาคณะทํางาน 5. นายเลิศชัย ศรีอนันต ผจน. คณะทํางาน 6. นายทองเปลว กองจันทร ผอท. คณะทํางาน 7. นายนิรันดร นาคทับทิม ผบร.ชป.7 คณะทํางาน 8. นายอุกฤษฏ ถาวรไกรกุล ผบร.ชป.10 คณะทํางาน 9. นายพงศศักดิ์ อรุณวจิิตรสกุล ผบร.ชป.11 คณะทํางาน 10. นายสิริวิชญ กล่ินภักดี ผบร.ชป.15 คณะทํางาน 11. นายสมเจต พานทอง ผปษ. คณะทํางาน 12. นายอภนินท สนธยานนท กพ.จน. คณะทํางาน 13. นางจิรา สุขกลํ่า กว.อท. คณะทํางาน 14. นายธาดา พูนทว ี ศป.จน. คณะทํางาน 15. นายชัชชม ชมประดิษฐ กจ.จน. คณะทํางาน 16. นายสมบัต ิ สาลีพัฒนา ผยศ.สช. คณะทํางาน 17. นางสาวอรญา เขียวคุณา กห.ปษ. คณะทํางาน 18. นายสิโรจน ประคุณหังสิต ผนช. คณะทํางาน 19. นายธีระพล ตั๊งสมบุญ วิศวกรชลประทานชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน 20. นายสมบัต ิ วานิชชินชัย นายชางชลประทานชํานาญงาน คณะทํางาน 21. นายสถิต โพธ์ิดี วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 22. นายสันติ เต็มเอ่ียม วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 23. นายอุลิต รัตนต้ังตระกูล วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 24. นายธวัชชัย ไตรวารี วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 25. นายสรณคมน ชางวิทยาการ วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 26. นางพัชรวรี สุวรรณณิก วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางาน 27. นางสาววีรียา วิทยะ นักอุทกวทิยาชํานาญการ คณะทํางาน

23

24

28. นายวัชระ เสือดี ผพช.วพ. คณะทํางานและเลขานุการ 29. นายคมสันต ไชโย วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ 30. นายรสุ สืบสหการ วิศวกรชลประทานชํานาญการ คณะทํางานแลผูชวยเลขานุการ 31. นายอัศฎา กิจพยุง วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ คณะทํางานและผูชวยเลขานกุาร 32. นายธเรศ ปาปะกัง วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ คณะทํางานและผูชวยเลขานกุาร 33. นายวัชรพล ศรีจิตร วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 34. นายชนนิทร คงใหญ วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 35. นางสาวธัญญาพร ใยบัณฑิตย วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 36. นายวชิระ สุรินทร วิศวกรชลประทาน ผูชวยเลขานุการ 2. คณะทํางานยอยจัดทําคูมือ คํานวณฝนใชการ 1. นายทองเปลว กองจันทร ผอท. ท่ีปรึกษา 2. นาง จิรา สุขกลํ่า กว.อท. ท่ีปรึกษา 3. นายสถิต โพธ์ิดี วิศวกรชลประทานชํานาญการ ท่ีปรึกษา

สวนบริหารจดัการน้ํา สํานกัอุทกวิทยาและบริหารน้ํา 4. นายวัชรพล ศรีจิตร วิศวกรชลประทาน ผูจัดทํา สวนบริหารจดัการน้ํา สํานกัอุทกวิทยาและบริหารน้ํา