Author
others
View
4
Download
0
Embed Size (px)
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
เรื่อง การจัดวางระบบควบคุมภายใน
ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานชลประทานที่ 2 กรมชลประทาน กรกฎาคม 2562
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
เรื่อง การจัดวางระบบควบคุมภายใน
รหัสคู่มือ สชป.2/บท.10/2562
หน่วยงานที่จัดท า งานการเงินและบญัชี ฝ่ายบรหิารทั่วไป ส านักงานชลประทานท่ี 2 ที่ปรึกษา หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป พิมพ์ครั้งท่ี 1 จ านวน 1 เล่ม เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2562
หมวดหมู ่ บริหารทั่วไป
~ije~n1-:itl~cU'~-:~1u
(Work Manual)
lli1~hum'i~'i1'laau nttuma.:J.:~1nflru:::vh~1'1.1~'i1.:~aaunttun'ia.:Jtiiiam'itl~m.:J1'1.1 'tl£l.:Jfhun.:J1'1.1'tiatl'i:::vnu~ 2 b~vu~mJ1.uh ~.:Jtimtlufiiimnruallmru .. ..
a1ll1'i(!Liibtlubana1'ibe.JVUVI~Ufl:::Hbtl'l.lu'I.I1'V11.:JL'I.In1'itl~m.:J1'1.1
d
t'I~'11B ....... ~>'-'"""' <
( u1v?tiilll 1'V'jfi~ l ~11.1. 'VI'\J~ tl'i:::51'1.1flt.l.l:::'l11~1tl '1
.. ~,~.
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
เรื่อง การจัดวางระบบควบคุมภายใน
จัดท าโดย
ชื่อ-สกุล นางสาวพัชรีญา กูลสวัสดิ์ ต าแหน่ง หัวหน้างานการเงินและบัญชี สังกัด ฝ่ายบริหารทั่วไป
สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียด/ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ที่อยู่ ส านักงานชลประทานที่ 2 ถนนบุญวาทย์ ต าบลสวนดอก อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง
เบอร์โทรศัพท์ 0-5422-5022
ค าน า ตามที่พระราชบัญญัติวินัยทางการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561 หมวด 4 การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ โดยมาตรา 79 บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติ ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังก าหนด ซึ่งการควบคุมภายในถือเป็นปัจจัยส าคัญที่จะช่วยให้การดาเนินงานตามภารกิจมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และช่วยป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากการผิดพลาด ความเสียหาย ความสิ้นเปลือง ความสูญเปล่าของการใช้ทรัพย์สิน หรือการกระทาอันเป็นการทุจริต
กรมชลประทานเป็นส่วนราชการระดับกรม ที่ต้องจัดให้มีระบบการควบคุมที่เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 และเป็นไปตามการก าหนดหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
คู่มือเล่มนี้อ้างอิงแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เหมาะส าหรับผู้ปฏิบัติงานระดับส านักงานชลประทานและระดับโครงการ เพ่ือให้ผู้ที่รับผิดชอบในการจัดวางระบบควบคุมภายใน ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติให้กับหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
คณะผู้จัดท า ฝ่ายบริหารทั่วไป ส านักงานชลประทานที่ 2
กรมชลประทาน
สารบัญ หน้า วัตถุประสงค์ 1
ขอบเขต 1
ค าจ ากัดความ 1
หน้าที่ความรับผิดชอบ 2
Work Flow 4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10
ระบบติดตามประเมินผล 15
เอกสารอ้างอิง 17
แบบฟอร์มที่ใช้ 17
ภาคผนวก 18
1) แนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน,ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 2) หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน ส าหรับหนว่ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 3) แบบ ปค. 4 รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 4) แบบ ปค. 5 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 5) แบบติดตาม ปค. 5 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ของงวดก่อน
๑
1. วัตถุประสงค ์1.1 เพ่ือให้ส่วนราชการมีการจัดท าคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงถึง
รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของกระบวนการจัดวางระบบควบคุมภายใน ไว้ใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
1.2 เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดวางระบบควบคุมภายใน ของส านักงานชลประทาน มีความรู้ความเข้าใจหลักการ ขั้นตอนการด าเนินงาน สามารถปฏิบัติงานในการจัดวางระบบควบคุมและติดตามประเมินผลการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง เพ่ือลดโอกาสและผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นกับหน่วยงาน
2. ขอบเขต
คู่มือฉบับนี้อ้างอิงแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 คลอบคลุมตั้งแต่กรอบแนวคิด องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน การวางระบบการควบคุมภายใน การติดตามและการประเมินผล ไปจนถึงการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติวินัยทางการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ.2561
3. ค าจ ากัดความ การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้ก ากับดูแล หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ฝ่ายบริหาร
และบุคลากรของหน่วยงานของรัฐจัดให้มีขึ้น เพ่ือสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการด าเนินงานของหน่วยงานของรัฐจะบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการด าเนินงาน ด้านการรายงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ด้านการด าเนินงาน (Operation Objectives : O) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับความมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของการด าเนินงาน รวมทั้งการบรรลุเป้าหมายด้านการด าเนินงาน ด้านการเงิน ตลอดจนการใช้ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาดของหน่วยงานของรัฐ ตลอดจนความเสียหายการรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยงานของรัฐ
ด้านการรายงาน (Reporting Objectives : R) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการรายงานทางการเงินและไม่ใช่การเงิน ที่ใช้ภายในและภายนอกหน่วยงานของรัฐ รวมถึงการรายงานที่เชื่อถือได้ทันเวลา โปร่งใส หรือก าหนดอื่นของทางราชการ
ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ (Compliance Objectives : C) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงาน รวมทั้งข้อก าหนดอื่นของทางราชการ
การจัดวางระบบควบคุมภายใน หมายถึง การก าหนดหรือออกแบบวิธีการควบคุมและน ามาใช้เพ่ือให้เกิดความม่ันใจว่าการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิทธิภาพ
โครงสร้างการควบคุมภายใน หมายถึง การออกแบบการควบคุมโดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ของทรัพยากรต่างๆกระบวนการท างาน กระบวนการบริหารภายในองค์กร
คู่มือการปฏิบัตงิาน การจัดวางระบบควบคุมภายใน
๒
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) เป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการด าเนินงานที่ส่งผลให้มี
การน าการควบคุมภายในมาปฏิบัติทั่วทั้งหน่วยงานของรัฐ การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เป็นกระบวนการที่ด าเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นประจ า
เพ่ือระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐ กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) หมายถึง การปฏิบัติที่ก าหนดไว้ในนโยบายและกระบวนการ
ด าเนินงาน เพ่ือให้มั่นใจว่าการปฏิบัติตามการสั่งการของฝ่ายบริหารจะลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์
สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) เป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับหน่วยงานของรัฐ จะช่วยให้มีการด าเนินการตามการควบคุมภายในที่ก าหนด เพ่ือสนับสนุนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ของรัฐ
กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring Activities) เป็นการประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงานการประเมินผลเป็นรายครั้ง หรือเป็นการประเมินผลทั้งสองวิธีร่วมกัน เพ่ือให้เกิดความมั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามหลักการในแต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายในทั้ง 5 องค์ประกอบ
หน่วยรับตรวจ หมายถึง กรมชลประทาน ส่วนงานย่อย หมายถึง ส่วนงานย่อยภายใต้หน่วยรับตรวจ ได้แก่ส านัก/กอง หรือหน่วยงานเทียบเท่า
กองทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคตามโครงสร้างการบริหารงานของกรมชลประทาน หัวหน้าหน่วยรับตรวจ หมายถึง อธิบดีกรมชลประทาน หัวหน้าส่วนงานย่อย หมายถึง ต าแหน่งสูงสุดของส่วนงานย่อย ที่ท าหน้าที่บริหารหรือควบคุม
หน่วยงานย่อยได้แก่ ผู้อ านวยการส านัก/กอง หรือหน่วยงานเทียบเท่ากอง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ความเสี่ยง หมายถึง ความเป็นไปได้ที่เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งอาจจะเกิดขึ้นและเป็นอุปสรรคต่อการ
บรรลุวัตถุประสงค์
4. หน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้อ านวยการส านักงานชลประทานที่ 2 มีหน้าที่แต่งตั้งคณะท างานควบคุมภายใน ส านักงาน
ชลประทานเพ่ือจัดให้มีการควบคุมภายใน ประเมินประสิทธิผล ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้มีความรัดกุม สอบทานให้มีการปฏิบัติตามระบบ และมาตรการควบคุมภายในที่ใช้ในหน่วยงาน รวมถึงการปลูกฝังให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีวินัยและจิตส านึกทีดีในส่วนที่เกี่ยวกับการควบคุมภายใน
ผู้อ านวยการส่วน/โครงการ จัดวางระบบการควบคุมภายในของหน่วยงาน ควบคุม ติดตาม และประเมินผลการควบคุมภายใน และพิจารณาปรับปรุงแก้ไขเพ่ือจุดอ่อนที่พบ
ส่วน/โครงการ/ฝ่าย มีหน้าที่ความรับผิดชอบจัดท ารายงานการควบคุมภายใน โดยศึกษาให้ทราบว่า มาตรการและระบบการควบคุมภายในที่ตนปฏิบัติหน้าที่อยู่นั้นมีก าหนดไว้อย่างไรบ้าง และจะต้องเอาใจใส่ปฏิบัติตามมาตรการและระบบเหล่านั้น เพ่ือให้การควบคุมเกิดประสิทธิผล และหากทราบว่าขั้นตอนการปฏิบัติงานในขั้นตอนใดที่มีจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายใน ควรแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบเพ่ือให้พิจารณาและสั่งการแก้ไขปรับปรุงให้เกิดความรัดกุมยิ่งขึ้นต่อไป
ฝ่ายยุทธศาสตร์ มีหน้าที่เลขานุการคณะท างานควบคุมภายใน ส านักงานชลประทาน ติดตามและประเมินประสิทธิผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน สรุปและจัดท ารายงานภาพรวมของส านักงาน
๓
สรุปกระบวนการจัดวางระบบควบคุมภายใน
กระบวนการจัดวางระบบควบคุมภายใน ประกอบด้วยขั้นตอนส าคัญ ดังนี้
1. ค าสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบการจัดวางระบบควบคุมภายใน 2. ศึกษาการก าหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินผลการควบคุมภายใน 3. ศึกษาและท าความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน 4. แผนการประเมินผลการควบคุมภายใน 5. การประเมินผลและจัดท ารายงานการควบคุมภายใน 6. ติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน และจัดท ารายงานผลการ
ปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน 7. การจัดส่งรายงานการควบคุมภายใน
๔
Work Flow กระบวนการจัดวางระบบควบคุมภายใน ล าดับที่ ผังกระบวนการ เวลา 1. 3 วัน 2. 5 วัน 3. 5 วัน 4. 3 วัน 5. 15 วัน 6. 12 วัน 7. 2 วัน
รวมเวลาทั้งหมด 45 วัน
ค าสั่งแต่งตั้งผูร้ับผดิชอบ การจัดวางระบบควบคุมภายใน
ศึกษาการก าหนดขอบเขตและวตัถุประสงค ์ของการประเมินผลการควบคุมภายใน
แผนการประเมินผล การควบคุมภายใน
ศึกษาและท าความเข้าใจ โครงสร้างการควบคุมภายใน
การประเมินผลและจัดท ารายงาน การควบคุมภายใน
การจัดส่งรายงานการควบคุมภายใน
ติดตามผลการปฏิบตัิตามแผน การปรับปรุงการควบคุมภายในและจัดท า
รายงานผลการปฏิบัติตามแผน การปรับปรุงการควบคุมภายใน
๕
5. Work Flow ชื่อกระบวนการ : การจัดวางระบบควบคุมภายใน ตัวช้ีวัดผลลัพธ์กระบวนการจัดท าคู่มือการปฏิบัติงาน : ระดับความส าเร็จของการด าเนินการควบคุมภายใน
ล าดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา
รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
1.
2.
3 วัน 5 วัน
ส านักฯ จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานจัดวางระบบการควบคุมภายใน เพ่ือด าเนินการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และติดตามการประเมินผลการ ปรับปรุงการควบคุมภายใน ศึกษาการก าหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินผลการควบคุมภายใน ซึ่งตามหลักเกณฑ์ก าหนดขอบเขต 2 ส่วน ดังนี้ 1) ด้านภารกิจหลัก/นโยบายส าคัญ 2) ด้านภารกิจสนับสนุน ประกอบด้วย 2.1 การควบคุมด้านงบประมาณ 2.2 การควบคุมด้านบริหารทรัพยากรบุคคล 2.3 การควบคุมด้านการเงินและทรัพย์สิน 2.4 การควบคุมด้านการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ 2.5 การควบคุมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ก าหนดและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เพ่ือท าหน้าที่ในการประเมินผลการควบคุมภายในอย่างชัดเจน เป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
-ผู้อ านวยการส านักงานชลประทาน -คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -คณะท างานฯส านักงานชลประทาน
ศึกษาการก าหนดขอบเขตและวตัถุประสงค์ ของการประเมินผลการควบคุมภายใน
ค าสั่งแต่งตั้งผูร้ับผดิชอบ การจัดวางระบบควบคุมภายใน
๖
ล าดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา
รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
3.
4.
5 วัน
3 วัน
คณะกรรมการที่ท าหน้าที่ในการประเมินผล การควบคุมภายใน ด าเนินการศึกษาและท าความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ วิธีการ และรูปแบบของระบบการควบคุมภายใน เช่น หลักเกณฑ์ กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561และการบริหารความเสี่ยงตามแนวทางของ COSO โครงสร้างและบทบาทภารกิจขององค์กร ด าเนินการตามแผนการประเมินผลการควบคุมภายใน ที่กรมก าหนด และก าหนดขั้นตอนการด าเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน เพ่ือให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างมีระบบ และเป็นไปตามแนวทางการจัดวางระบบควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
รวบรวมรายละเอียด ขั้นตอน และวิธีการจัดวางระบบควบคุมภายในกฎ ระเบียบ และแนวทางท่ีเกี่ยวข้องที่ใช้ในการด าเนินการให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน รายละเอียดของขั้นตอน และแผนปฏิบัติการการจัดวางระบบควบคุมภายใน เป็นไปอย่างมีระบบและสอดคล้องกับกรม
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
ศึกษาและท าความเข้าใจ โครงสร้างการควบคุมภายใน
แผนการประเมินผล การควบคุมภายใน
๗
ล าดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา
รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
5.
15วัน
ประเมินผลกิจกรรมต่างๆที่รับผิดชอบและจัดท ารายงานการควบคุมภายในตามแนวทางการจัดวางระบบควบคุมภายใน และการป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ งกระทรวงการคลัง ดังนี้ (1) รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) (2) รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5)
- การประเมินตามแบบประเมิน องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายในได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนทั้ง 5 องค์ประกอบตามมาตรฐานการควบคุมภายใน และจัดท าแบบประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน รวมถึงการ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน ได้อย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน - การก าหนดหรือเสนอแนะแนวทาง การปรับปรุงการควบคุมภายในของ งาน/กิจกรรมที่มีจุดอ่อนหรือความ เสี่ยง เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ได้อย่างถูกต้อง และจัดท ารายงาน การประเมินผลการควบคุมภายในได้อย่างถูกต้องครบถ้วน
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
การประเมินผลและจัดท ารายงาน การควบคุมภายใน
๘
ล าดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา
รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
6.
12 วัน
ติดตามความก้าวหน้าของผลการด าเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อนส าหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่มีอยู่และไม่สามารถบริหารจัดการเองได้ และรายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (แบบติดตาม ปค.5)
การด าเนินการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน และจัดท ารายงานผลการปฏิบัติฯ ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามแนวทางการจัดวางระบบควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
ติดตามผลการปฏิบตัิตามแผน การปรับปรุงการควบคุมภายในและจัดท า
รายงานผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน
๙
ล าดับ ผังกระบวนการ ระยะเวลา
รายละเอียดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน ผู้รับผิดชอบ
7.
2 วัน
7. จัดส่งรายงานการควบคุมภายในให้เลขานุการคณะท างานฯควบคุมภายใน ส านักงานชลประทาน ตามกรอบระยะเวลาที่ก าหนด ดังนี้ (1) รอบ 6 เดือน (ส าหรับรอบระยะเวลา 1 ตุลาคม 25xx ถึง 31 มีนาคม 25xx) - รายงานผลการติดตามการปฏิบัติ ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ งวดก่อน (แบบติดตาม ปค.5) (ส าหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่จะต้องติดตาม) (2) รอบ 12 เดือน (ส าหรับรอบระยะเวลา 1 ตุลาคม 25xx ถึง 30 กันยายน25xx) - รายงานการประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4 ) - รายงานการประเมินผลการควบคุม ภายใน (แบบ ปค. 5 ) - รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวด ก่อน (แบบติดตาม ปค. 5 ) (สาหรับ หน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่จะต้องติดตาม)
จัดส่งรายงานการควบคุมภายใน ครบถ้วน ภายในระยะเวลาที่ก าหนด
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
การจัดส่งรายงานการควบคุมภายใน
๑๐
6. ขั้นตอนการปฏบิัติงาน
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระเบียบ เอกสาร บันทึก แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบัติงาน
1.ส านักฯ จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานจัดวางระบบการควบคุมภายใน เพ่ือด าเนินการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และติดตามการประเมินผลการ ปรับปรุงการควบคุมภายใน 2.ศึกษาการก าหนดขอบเขต วัตถุประสงค์และองค์ประกอบของการประเมินผลการควบคุมภายใน ซึ่งตามหลักเกณฑ์ก าหนดขอบเขต 2 ส่วน ดังนี้ 1) ด้านภารกิจหลัก/นโยบายส าคัญ 2) ด้านภารกิจสนับสนุน ประกอบด้วย 2.1 การควบคุมด้านงบประมาณ 2.2 การควบคุมด้านบริหารทรัพยากรบุคคล 2.3 การควบคุมด้านการเงินและทรัพย์สิน 2.4 การควบคุมด้านการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ 2.5 การควบคุมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานจัดวางระบบการควบคุมภายในระดับ ส านักฯ ให้ ผส.ชป.ลงนาม ตรวจสอบภารกิจที่รับผิดชอบที่สอดคล้องกับขอบเขตของการประเมินผลการควบคุมภายใน เพ่ือวางแผนในการจัดวางระบบควบคุมภายในของหน่วยงาน
หนังสือค าสั่งส านักงานฯแต่งตั้งคณะท างาน หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
-ผู้อ านวยการส านักงานชลประทาน -ผู้อ านวยการส่วนแผนงาน -คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
ระบุประธานคณะท างาน ระบุคณะท างาน เลขานุการ และอ านาจหน้าที่
๑๑
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระเบียบ เอกสาร บันทึก แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบัติงาน
3.คณะกรรมการที่ท าหน้าที่ในการประเมินผลการควบคุมภายใน ด าเนินการศึกษาและท าความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ วิธีการ และรูปแบบของระบบการควบคุมภายใน เช่น หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561และการบริหารความเสี่ยงตามแนวทางของ COSO โครงสร้างและบทบาทภารกิจขององค์กร 4.ด าเนินการตามแผนการประเมินผลการควบคุมภายใน ที่กรมก าหนด และก าหนดขั้นตอนการด าเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน เพ่ือให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างมีระบบ และเป็นไปตามแนวทางการจัดวางระบบควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
(1) ศึกษาท าความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน รวมทั้งวัตถุประสงค์ วิธีการและรูปแบบของระบบควบคุมภายใน และโครงสร้าง บทบาทภารกิจของหน่วยงานตนเอง รวมถึงภาพรวมขององค์กร (2) วิเคราะห์ ประเมินระบบควบคุมภายในของหน่วยงานที่มีอยู่ และพิจารณาว่าการปฏิบัติงานจริงท าอย่างไร 1.คณะท างานฯจัดส่งแผนการประเมินผลการควบคุมภายใน และก าหนดขั้นตอนการด าเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน 2.ด าเนินการตามแผนโดยการจัดให้มีระบบควบคุมภายในของหน่วยงาน ท าการก าหนดมาตรการในการควบคุมการด าเนินงานตามภารกิจ ของตนเองที่สอดคล้องกับองค์ประกอบ ตามมาตรฐานการควบคุมภายใน
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด -คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
๑๒
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระเบียบ เอกสาร บันทึก แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบัติงาน
5. ประเมินผลกิจกรรมต่างๆที่รับผิดชอบและจัดท ารายงานการควบคุมภายในตามแนวทางการจัดวางระบบควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายในของกระทรวงการคลัง ดังนี้ (1) รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) (2) รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5)
1. จัดท าแบบ ปค.4 โดยการประเมินมาตรฐานการควบคุมภายใน 5 องค์ประกอบของระดับส่วนงานย่อยประกอบด้วย สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร และกิจกรรมการติดตามผล โดยน าหลักการทั้ง 17 หลักการที่อยู่ภายใต้องค์ประกอบ 5 องค์ประกอบมาวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินโดยรวมของทั้ง 5 องค์ประกอบ ในส่วนท้ายของแบบรายงาน 2. จัดท าแบบ ปค.5 เป็นการบันทึกกระบวนการในการประเมินผลการควบคุมภายใน โดยให้ระบุความเสี่ยง การควบคุมที่มีอยู่ การประเมินผลการควบคุมภายใน ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ การปรับปรุงการควบคุมภายใน และผู้รับผิดชอบ โดยเป็นการประเมินการควบคุมภายในที่มีอยู่ของกิจกรรมต่างๆ ทั้งหมดท่ีหน่วยงานรับผิดชอบ เพื่อวิเคราะห์ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน และเพ่ือประเมินและจ าแนกระดับความเสี่ยง และความเสี่ยงที่มีอยู่ พร้อมทั้งก าหนดกิจกรรมการควบคุมภายใน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้
แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
การประเมินผลกิจกรรมต่างๆ ที่ส่วนงานย่อยรับผิดชอบ ควรท าบ่อยครั้งตามที่ก าหนดเพ่ือให้หัวหน้าส่วนงานย่อยหรือผู้รับผิดชอบในระดับกิจกรรมมีความมั่นใจพอควรเกี่ยวกับประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจกรรมที่ถูกประเมินอย่างติอเนื่อง
๑๓
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระเบียบ เอกสาร บันทึก แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบัติงาน
6. ติดตามความก้าวหน้าของผลการด าเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อนส าหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่มีอยู่และไม่สามารถบริหารจัดการเองได้ และรายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (แบบติดตาม ปค.5)
จัดท าแบบติดตาม ปค.5 โดย (1)น าข้อมูลจากแบบรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5 ) คอลัมน์ที่ 1, 5, 6 และ 7 ของรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ปีงบประมาณท่ีผ่านมา มาระบุลงในคอลัมน์ที่ 1, 2, 4 และ 5 ของแบบติดตาม ปค. 5 (2)ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานใน 2 รอบรายงาน คือ รอบ 6 เดือน และ 12 เดือน และให้ระบุสถานะการด าเนินการว่าอยู่ในสถานะการด าเนินการใดลงในคอลัมน์ที่ 6 ซึ่งประกอบด้วย
(3)ระบุรายละเอียดของวิธีการติดตามและสรุปผลการประเมิน/ข้อคิดเห็นของการประเมินกิจกรรมการควบคุมลงในคอลัมน์ที่ 7 โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ วิธีการติดตาม สรุปผลการประเมินและข้อคิดเห็นให้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นการอธิบายถึงวิธีการที่คณะทางานใช้ในการติดตาม
แบบติดตาม ปค.5
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
๑๔
รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระเบียบ เอกสาร บันทึก แนวทางแบบฟอร์มที่ใช้
ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขการปฏิบัติงาน
7. จัดส่งรายงานการควบคุมภายในให้เลขานุการคณะท างานฯควบคุมภายใน ส านักงานชลประทาน ตามกรอบระยะเวลาที่ก าหนด ดังนี้ (1) รอบ 6 เดือน (ส าหรับรอบระยะเวลา 1 ตุลาคม 25xx ถึง 31 มีนาคม 25xx) - รายงานผลการติดตามการปฏิบัติ ตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของ งวดก่อน (แบบติดตาม ปค.5) (ส าหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่จะต้องติดตาม) (2) รอบ 12 เดือน (ส าหรับรอบระยะเวลา 1 ตุลาคม 25xx ถึง 30 กันยายน25xx) - รายงานการประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4 ) - รายงานการประเมินผลการควบคุม ภายใน (แบบ ปค. 5 ) - รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตาม แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวด ก่อน (แบบติดตาม ปค. 5 ) (สาหรับ หน่วยงานที่มีความเสี่ยงที่จะต้องติดตาม)
ทุกหน่วยงานจัดส่งรายงานการควบคุมภายในให้เลขานุการคณะท างานฯควบคุมภายใน ส านักงานชลประทาน เพ่ือสรุปภาพรวมของส านักฯ จัดส่งรายงานให้หน่วยรับตรวจ ดังนี้
1. แบบ ปค.4 2. แบบ ปค.5 3. แบบติดตาม ปค.5
แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 แบบติดตาม ปค.5
-คณะท างานฯส านักงานชลประทาน -ทุกหน่วยงานในสังกัด
ระดับส่วนงานย่อย จะต้องน าส่งรายงานปีละ 2 ครั้ง ดังนี้ 1.รอบระยะเวลา 6 เดือน (วันที่ 1 เดือนตุลาคม 25xx ถึงวันที่ 31 เดือนมีนาคม พ.ศ.25xx) น าส่งประมาณเดือนเมษายน ของทุกปี 2.รอบระยะเวลา 12 เดือน (วันที่ 1 เดือนตุลาคม 25xx ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ.25xx) น าส่งประมาณเดือนตุลาคม ของทุกปี
๑๕
7. ระบบตดิตามประเมินผล
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ผู้ติดตาม/ ประเมินผล
ข้อเสนอแนะ
1. ค าสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบการจัดวางระบบควบคุมภายใน
2. ศึกษาการก าหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์ของการประเมินผลการควบคุมภายใน
3. ศึกษาและท าความเข้าใจโครงสร้างการควบคุมภายใน
4. แผนการประเมินผลการควบคุมภายใน
ก าหนดและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบเพื่อท าหน้าที่ในการประเมินผลการควบคุมภายในอย่างชัดเจน เป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 รวบรวมรายละเอียด ขั้นตอน และวิธีการจัดวางระบบควบคุมภายในกฎ ระเบียบ และแนวทางที่เก่ียวข้องที่ใช้ในการด าเนินการให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน รายละเอียดของขั้นตอน และแผนปฏิบัติการการจัดวางระบบควบคุมภายใน เป็นไปอย่างมีระบบและสอดคล้องกับกรม
ติดตามการลงนามแต่งตั้งคณะท างานจัดวางระบบการควบคุมภายใน ประเมินผลจากการจัดท ารายงานได้ถูกต้องครบถ้วนและจัดส่งภายในก าหนดเวลา ประเมินผลจากการจัดท ารายงานได้ถูกต้องครบถ้วนและจัดส่งภายในก าหนดเวลา ประเมินผลจากการจัดท ารายงานได้ถูกต้องครบถ้วนและจัดส่งภายในก าหนดเวลา
คณะท างานฯส านักงานชลประทาน คณะท างานฯส านักงานชลประทาน คณะท างานฯส านักงานชลประทาน คณะท างานฯส านักงานชลประทาน
๑๖
กระบวนการ มาตรฐาน/คุณภาพงาน วิธีการติดตามประเมินผล ผู้ติดตาม/ ประเมินผล
ข้อเสนอแนะ
5. การประเมินผลและจัดท ารายงานการควบคุมภายใน
6. ติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน และจัดท ารายงานผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน
7. การจัดส่งรายงานการควบคุมภายใน
- การประเมินตามแบบประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายในได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนทั้ง 5 องค์ประกอบตามมาตรฐานการควบคุมภายใน และจัดท าแบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน รวมถึงการ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน - การก าหนดหรือเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงการควบคุมภายในของงาน/กิจกรรมที่มีจุดอ่อนหรือความเสี่ยง เพ่ือป้องกันหรือลดความเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง และจัดท ารายงาน การประเมินผลการควบคุมภายในได้อย่างถูกต้องครบถ้วน การด าเนินการติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน และจัดท ารายงานผลการปฏิบัติฯ ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามแนวทางการจัดวางระบบควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน จัดส่งรายงานการควบคุมภายในครบถ้วนภายในระยะเวลาที่ก าหนด
ประเมินผลจากการจัดท ารายงานได้ถูกต้องครบถ้วนและจัดส่งภายในก าหนดเวลา ประเมินผลจากการจัดท ารายงานได้ถูกต้องครบถ้วนและจัดส่งภายในก าหนดเวลา ประเมินผลจากการจัดท ารายงานได้ถูกต้องครบถ้วนและจัดส่งภายในก าหนดเวลา
คณะท างานฯส านักงานชลประทาน คณะท างานฯส านักงานชลประทาน คณะท างานฯส านักงานชลประทาน
๑๗
8. เอกสารอ้างอิง แนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน,ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกท่ีแนบ
9. แบบฟอร์มที่ใช้ 9.1 แบบ ปค. 4 รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน 9.2 แบบ ปค. 5 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน 9.3 แบบติดตาม ปค. 5 รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน
รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกท่ีแนบ
๑๘
ภาคผนวก
แนวทาง
ค ำน ำ
ตามที่พระราชบัญญัติวินัยทางการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561 หมวด 4 การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ โดยมาตรา 79 บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังก าหนด ซึ่งการควบคุมภายในถือเป็นปัจจัยส าคัญที่จะช่วยให้การด าเนินงานตามภารกิจมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และช่วยป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากการผิดพลาด ความเสียหาย ความสิ้นเปลือง ความสูญเปล่าของการใช้ทรัพย์สิน หรือการกระท าอันเป็นการทุจริต
ดังนั้น เพ่ือให้หน่วยงานของรัฐสามารถจัดให้มีระบบการควบคุมที่เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 จึงได้มีการก าหนดหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ส าหรับเป็นแนวทางใน การปฏิบัติให้กับหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ข้อ 9 ก าหนดให้คณะกรรมการของหน่วยงานของรัฐ (ส่วนราชการ) เสนอรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพ่ือพิจารณาลงนาม และจัดส่งให้ผู้ก ากับดูแลและกระทรวงเจ้าสังกัด ภายใน 90 วัน นับแต่ วันสิ้นปีงบประมาณหรือสิ้นปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ กรณีที่มีผู้ก ากับดูแลเป็นบุคคลเดียวกับกระทรวงเจ้าสังกัด ให้ถือว่ากระทรวงเจ้าสังกัดได้รับทราบรายงานนั้นแล้ว
ส าหรับการด าเนินงานของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้มีการทบทวนและปรับปรุงแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขึ้นใหม่ เพ่ือให้เกิดความชัดเจนในวิธีการด าเนินงานมากขึ้น และสอดคล้องกับบริบทสภาพแวดล้อมที่มีเปลี่ยนแปลงไป โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางเล่มนี้จะช่วยให้หน่วยงานภายในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีความเข้าใจในการจัดท ารายงานการควบคุมภายในที่ถูกต้อง และใช้เป็นแนวทางในการจัดท ารายงานการควบคุมภายในในระดับหน่วยงานย่อย (ส านัก/กอง) และระดับหน่วยงานของรัฐ ให้สามารถด าเนินงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคมุภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
ส านักพัฒนาระบบบริหาร เมษายน 2562
สำรบัญ หน้ำ ค ำน ำ
สำรบัญ
บทน ำ 1
นิยำมศัพท์เฉพำะ 2
ส่วนที่ 1 กรอบแนวคิด ควำมหมำย วัตถุประสงค์ และองค์ประกอบของมำตรฐำนกำรควบคุมภำยใน 3 1. แนวคิดของการควบคุมภายใน 3 2. ความหมายของการควบคุมภายใน 3 3. วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 3 4. องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน 4
ส่วนที่ 2 กำรวำงระบบกำรควบคุมภำยในของส ำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 7 1. ข้อมูลพื้นฐานของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 7 2. การจัดวางระบบการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 9 3. การประเมินผลการควบคุมภายใน 9
ส่วนที่ 3 กำรจัดท ำรำยงำนกำรควบคุมภำยในของส ำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 13 1. การประเมินผลการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน 13 1.1 การประเมินผลระดับส่วนงานย่อย 13 1.2 การประเมินผลระดับหน่วยงานของรัฐ 17 2. กรอบระยะเวลาการส่งรายงาน 20 3. แผนการด าเนินงานการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 21
เอกสำรอ้ำงอิง 23 ภำคผนวก 24
ค าสั่งคณะท างานพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 25 ของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส าเนาบันทึกขอความเห็นชอบแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน 27
ของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน 29
ส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐ 41 แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย 48
ค ำน ำ
ตามที่พระราชบัญญัติวินัยทางการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561 หมวด 4 การบัญชี การรายงาน และการตรวจสอบ โดยมาตรา 79 บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังก าหนด ซึ่งการควบคุมภายในถือเป็นปัจจัยส าคัญที่จะช่วยให้การด าเนินงานตามภารกิจมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และช่วยป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากการผิดพลาด ความเสียหาย ความสิ้นเปลือง ความสูญเปล่าของการใช้ทรัพย์สิน หรือการกระท าอันเป็นการทุจริต
ดังนั้น เพ่ือให้หน่วยงานของรัฐสามารถจัดให้มีระบบการควบคุมที่เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 จึงได้มีการก าหนดหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ส าหรับเป็นแนวทางใน การปฏิบัติให้กับหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ข้อ 9 ก าหนดให้คณะกรรมการของหน่วยงานของรัฐ (ส่วนราชการ) เสนอรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพ่ือพิจารณาลงนาม และจัดส่งให้ผู้ก ากับดูแลและกระทรวงเจ้าสังกัด ภายใน 90 วัน นับแต่ วันสิ้นปีงบประมาณหรือสิ้นปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ กรณีที่มีผู้ก ากับดูแลเป็นบุคคลเดียวกับกระทรวงเจ้าสังกัด ให้ถือว่ากระทรวงเจ้าสังกัดได้รับทราบรายงานนั้นแล้ว
ส าหรับการด าเนินงานของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้มีการทบทวนและปรับปรุงแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขึ้นใหม่ เพ่ือให้เกิดความชัดเจนในวิธีการด าเนินงานมากขึ้น และสอดคล้องกับบริบทสภาพแวดล้อมที่มีเปลี่ยนแปลงไป โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางเล่มนี้จะช่วยให้หน่วยงานภายในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีความเข้าใจในการจัดท ารายงานการควบคุมภายในที่ถูกต้อง และใช้เป็นแนวทางในการจัดท ารายงานการควบคุมภายในในระดับหน่วยงานย่อย (ส านัก/กอง) และระดับหน่วยงานของรัฐ ให้สามารถด าเนินงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคมุภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
ส านักพัฒนาระบบบริหาร เมษายน 2562
สำรบัญ หน้ำ ค ำน ำ
สำรบัญ
บทน ำ 1
นิยำมศัพท์เฉพำะ 2
ส่วนที่ 1 กรอบแนวคิด ควำมหมำย วัตถุประสงค์ และองค์ประกอบของมำตรฐำนกำรควบคุมภำยใน 3 1. แนวคิดของการควบคุมภายใน 3 2. ความหมายของการควบคุมภายใน 3 3. วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 3 4. องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน 4
ส่วนที่ 2 กำรวำงระบบกำรควบคุมภำยในของส ำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 7 1. ข้อมูลพื้นฐานของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 7 2. การจัดวางระบบการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 9 3. การประเมินผลการควบคุมภายใน 9
ส่วนที่ 3 กำรจัดท ำรำยงำนกำรควบคุมภำยในของส ำนักงำนปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 13 1. การประเมินผลการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน 13 1.1 การประเมินผลระดับส่วนงานย่อย 13 1.2 การประเมินผลระดับหน่วยงานของรัฐ 17 2. กรอบระยะเวลาการส่งรายงาน 20 3. แผนการด าเนินงานการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 21
เอกสำรอ้ำงอิง 23 ภำคผนวก 24
ค าสั่งคณะท างานพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 25 ของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส าเนาบันทึกขอความเห็นชอบแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายใน 27
ของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน 29
ส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐ 41 แบบฟอร์มรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย 48
แนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1
บทน ำ
แนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดท าขึ้นเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดท ารายงานการควบคุมภายในระดับหน่วยงานย่อย (ส านัก/กอง) และระดับหน่วยงานของรัฐให้สามารถด าเนินงานได้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งได้มีการปรับปรุงเนื้อหาให้มีความชัดเจน ถูกต้อง และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในส าหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยแนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เล่มนี้ได้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 กรอบแนวคิด ความหมาย วัตถุประสงค์ และองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน ส่วนที่ 2 การวางระบบการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่วนที่ 3 การจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการจัดท ารายงานการควบคุมภายในของส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2
นิยำมศัพท์เฉพำะ
หน่วยงำนของรัฐ หมายถึง ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระดับส่วนงำนย่อย หมายถึง กอง/ส านัก/ศูนย์/สถาบัน/หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการต่อต้าน
การทุจริต/หัวหน้าส านักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา/หัวหน้าส านักงานรัฐมนตรี ในสังกัดส านักงา