21
บทที4 ผลการศึกษาวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทร จังหวัด กาญจนบุรี ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาวิจัยตามขั้นตอนที่กําหนดไว และสามารถสรุปผลการศึกษาได เปน 3 ตอน ดังนีตอนที1 ผลการศึกษาวิจัยดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ตอนที2 ผลการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมศึกษา ตอนที1 ผลการศึกษาวิจัยดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทรจังหวัด กาญจนบุรี ดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ผูวิจัยไดดําเนินการแบงผลการศึกษาวิจัยออกเปน 5 ขั้นตอน ดังนี1. การสํารวจพันธุไมของเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร จากการสํารวจพรรณไมในบริเวณเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติเขื่อน ศรีนครินทรจังหวัดกาญจนบุรี ผูวิจัยไดเริ่มทําการศึกษาสํารวจในชวงเดือนกันยายน 2547 โดยใช แนวทางการสํารวจตามาเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทรเดิมที่มีอยูแลวและการใช แปลงตัวอยางรูปสี่เหลี่ยมผืนผา 3 ขนาด คือ ขนาด 10 x 20 เมตร 4 x 8 เมตร และ 10 x 20 เมตร และ ดําเนินการดังตอไปนีแปลงตัวอยางรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 10 x 20 เมตร วางแปลงตัวอยางตอเนื่อง ตลอดแนวของเสนทางเดิน จํานวน แปลงสํารวจทั้งสิ้น 54 แปลง โดยมีพื้นที่ในการสํารวจประมาณ 10,800 ตารางเมตร สําหรับการวัดตนไมที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอก ตั้งแต 4.5 เมตรขึ้นไป ผลการสํารวจ ดังตารางที4.1 แปลงตัวอยางรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 4 x 8 เมตร อยูในแปลงตัวอยางขนาด 10 x 20 เมตร จํานวนทั้งสิ้น 54 แปลง โดยมีพื้นที่ในการสํารวจประมาณ 1,728 ตารางเมตร และนับจํานวน

บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

บทที่ 4

ผลการศึกษาวิจัย

การศึกษาวิจัยเร่ือง การพัฒนาเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษาวิจัยตามขั้นตอนที่กําหนดไว และสามารถสรุปผลการศึกษาไดเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาวิจัยดานวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม ตอนที่ 2 ผลการศึกษาวิจัยดานสิ่งแวดลอมศึกษา

ตอนที่ 1 ผลการศึกษาวิจัยดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ผลการศึกษาวิจัยเร่ือง การพัฒนาเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทรจังหวัดกาญจนบุรี ดานวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม ผูวิจัยไดดําเนินการแบงผลการศึกษาวิจัยออกเปน 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การสํารวจพันธุไมของเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร จากการสํารวจพรรณไมในบริเวณเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทรจังหวัดกาญจนบุรี ผูวิจัยไดเร่ิมทําการศึกษาสํารวจในชวงเดือนกันยายน 2547 โดยใชแนวทางการสํารวจตามาเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทรเดิมที่มีอยูแลวและการใชแปลงตัวอยางรูปสี่เหล่ียมผืนผา 3 ขนาด คือ ขนาด 10 x 20 เมตร 4 x 8 เมตร และ 10 x 20 เมตร และดําเนินการดังตอไปนี้ แปลงตัวอยางรูปสี่เหล่ียมผืนผาขนาด 10 x 20 เมตร วางแปลงตัวอยางตอเนื่องตลอดแนวของเสนทางเดิน จํานวน แปลงสํารวจทั้งสิ้น 54 แปลง โดยมีพื้นที่ในการสํารวจประมาณ 10,800 ตารางเมตร สําหรับการวัดตนไมที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอก ตั้งแต 4.5 เมตรขึ้นไป ผลการสํารวจ ดังตารางที่ 4.1 แปลงตัวอยางรูปสี่เหล่ียมผืนผาขนาด 4 x 8 เมตร อยูในแปลงตัวอยางขนาด 10 x 20 เมตร จํานวนทั้งสิ้น 54 แปลง โดยมีพื้นที่ในการสํารวจประมาณ 1,728 ตารางเมตร และนับจํานวน

Page 2: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

76

ลูกไมขนาดเสนผาศูนยกลางเพียงอกนอยกวา 4.5 เซนติเมตร แตมีความสูงเกิน 1.3 เมตร ผลการสํารวจดังตารางที่ 4.2 แปลงตัวอยางรูปสี่เหล่ียมผืนผาขนาด 1 x 2 เมตร อยูในแปลงตัวอยางขนาด 4 x 8 เมตร จํานวนทั้งสิ้น 54 แปลง โดยมีพื้นที่ในการสํารวจประมาณ 108 ตารางเมตร เพื่อใชสําหรับนับจํานวนกลาไมที่มีความสูงนอยกวา 1.30 เมตร ผลการสํารวจ ดังตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.1 แสดงเปอรเซ็นตความหนาแนนสัมพัทธ (Relative of Density, R. De.) ความถี่สัมพัทธ (Relative of Frepuency, RF) ความเดนสัมพันธ (Relative of Dominance, R Do.) และคาดัชนีความสําคัญ (Importance Value Index, IVI) ของตนไมท่ีขนาดเสนผาน ศูนยกลางท่ีระดับความสูงเพียงอก (1.30 เมตร) ตั้งแต 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป บริเวณ แนวสํารวจของเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ อุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร

ลําดับ ท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร R De RF R Do IVI

1 เต็ง

Shorea obtusa Wall. ex Blume

7.162 4.242 3.096 14.5

2 รัง Pentueme suavis 1.921 1.815 8.559 12.297

3 กระพี้จัน่ Milletia brandisiana Kurz 4.367 4.242 2.116 10.726

4 ชงโค Bauhinia purpurea 2.358 3.434 3.809 9.597

5 แดง Xylia xyloearpa Taubvar. 2.445 1.212 4.162 7.82

6 กระพี้เขาควาย Milletia leusuntha 2.62 2.626 2.292 7.539

7 โมกมัน Wrightia pubescens R.Br. 2.445 2.424 1.891 6.761

8 ปรง Cycas circinalis L. 1.31 1.818 3.55 6.678

9 มะขามปอม Phyllanthus emblrea 1.834 2.02 1.595 5.449

10 ตะแบก Largerstroemia balansae Kehne 1.31 1.818 2.114 5.242

11 มะมวงหัวแมลงวัน Buchanania latifolia Roxb. 1.397 1.616 2.169 5.183

12 เลือดควาย Knema erratica Warb 1.921 2.424 0.561 4.906

Page 3: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

77

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ลําดับ ท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร R De RF R Do IVI

13 เปลานอย Croton joufra Roxb. 2.445 1.616 0.832 4.894

14 ยอปา Morinda eoreia 1.397 1.818 1.369 4.584

15 เปลาใหญ Cratandolongiflius 0.873 1.616 1.867 4.356

16 สะเดาดง Azadiraehta siamensis 0.873 1.212 2.088 4.173

17 ผาเสี้ยน Vitex canescens Kurz 1.048 1.414 1.275 3.737

18 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata 1.485 1.818 0.409 3.712

19 ผักหวานปา Melientha suavis Pierre 1.485 1.616 0.441 3.542

20 ประดูลาย Pterocarpus indicus Willd. 1.135 1.818 0.503 3.457

21 งิ้ว Bombax spp. 0.437 0.808 2.188 3.432

22 มะยมปา Ailanthus triphysa ( Dennst ) Alston 0.961 1.414 0.743 3.118

23 แคหางคาง Markhamia pierrei P. Dop 0.961 0.818 0.637 2.406

24 ปบ Millingtonia hortensis Linn.f. 0.349 0.404 1.316 2.069

25 มะกล่ําตน Adenanthera pavonian Linn. 0.349 0.808 0.797 1.954

26 ติ้ว Cratoxylon spp. 0.437 1.01 0.132 1.579

27 ขี้หนอน Zollingeria dongnaiensis Pierre 3.49 0.808 0.329 1.487

28 แดงดง Diospyros variegata Kurz. 0.262 0.606 0.55 1.418

29 ตีนเปด Alstonia scholaris ( L.) R.Br. 0.262 0.606 0.354 1.222

30 ปอสําโรง Sterculia ornata Wall. 0.087 0.202 0.637 0.927

31 ล้ินฟา Oroxylum indicum Vent. 0.349 0.202 0.083 0.634

32 ตะครอ Schleichera oleosa Oken. 0.087 0.202 0.328 o.618

33 มะกัก Spondias bipinnata 0.175 0.404 0.05 0.629

34 เสลา Lagerstroemia loudonii 0.175 0.404 0.046 0.625

Page 4: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

78

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ลําดับ ท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร R De RF R Do IVI

35 ออยชาง Lannea eoromandeliea 0.087 0.202 0.328 0.615

36 สีเสียด Aeacia catechu 0.175 0.404 0.037 0.615

37 ทองหลาง Erythrina variegata 0.175 0.404 0.034 0.612

38 กาญจนิกา Nyctathes arbotristis 0.087 0.202 0.107 0.397

39 รกฟา Terminalia alata 0.087 0.202 0.637 0.927

หมายเหตุ : เปนขอมูลที่ทําการสํารวจเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551 จากตารางที่ 4.1 เมื่อนําผลการวิเคราะหความสําคัญทางนิเวศวิทยาของพรรณไม เสนศึกษาธรรมชาติ ไดดังนี้ ความหนาแนนสัมพัทธ พบวาตนเต็ง มีความหนาแนนสัมพัทธมากที่สุดเทากับ 7.162 รองลงมาคือ ตนกระพี้จั่น กระพี้เขาควาย และแดง โดยมีความหนาแนนสัมพัทธ 4.367 , 2.445 และ 2.358 ตามลําดับ

คาความถี่สัมพัทธ พบวาตนเต็ง ที่มีคาความถี่สัมพัทธมากที่สุดเทากับ 4.242 รองลงมาคือ ตนกระพี้จั่น ชงโค กระพี้เขาควาย โดยมีคาความถ่ีสัมพัทธเทากัน 4.242 , 3.434 และ 2.626 ตามลําดับ

คาความเดนสัมพัทธ พบวาตนรัง มีความเดนสัมพัทธมากที่สุดเทากับ 8.559 รองลงมาคือแดง ชงโค กระพี้จั่น และเต็ง โดยมีความถี่สัมพัทธเทากับ 4.162 , 3.809 และ 3.096 ตามลําดับ

Page 5: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

79

ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนและความหนาแนนของลูกไม ของตนไมท่ีขนาดเสนผานศูนยกลาง ท่ีระดับความสูงเพียงอก (1.30 เมตร) นอยกวา 4.5 เซนติเมตร แตมีความสูงเกิน 1.3 เมตร ในบริเวณแนวสํารวจของเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทร

ลําดับ ท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร

จํานวน ( ตน )

ความ หนาแนนตน / แปลงตัวอยาง

ความ หนาแนน ตน/ตรม.

1 เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume 122 2.259 0.071

2 รัง Pentueme suavis 100 1.852 0.058

3 กระพี้จั่น Milletia brandisiana Kurz 76 1.407 0.044

4 มะขามปอม Phyllanthus emblrea 54 1.000 0.031

5 ชงโค Bauhinia purpurea 52 0.963 0.030

6 ปบ Millingtonia hortensis Linn.f. 39 0.722 0.023

7 เปลานอย Croton joufra Roxb. 25 0.463 0.014

8 แดงดง Diospyros variegata Kurz. 21 0.389 0.012

9 ทองหลาง Erythrina variegata 10 0.185 0.006

10 ขี้หนอน Zollingeria dongnaiensis Pierre 9 0.167 0.005 11 ตะเคียนหน ู Anogeissus acuminata 9 0.167 0.005

12 งิ้ว Bombax spp. 8 0.148 0.005

13 ปอหูชาง Pterospermum acerifolium 8 0.148 0.005

14 ผักหวานปา Melientha suavis Pierre 3 0.056 0.002

15 ล้ินฟา Oroxylum indicum Vent. 3 0.056 0.002

16 ตะแบก Largerstroemia balansae Kehne 2 0.037 0.001 17 ปอยาบ Colona flagrocaupa Craib,var.

siamica Craib 1 0.019 0.001

หมายเหตุ : เปนขอมูลที่ทําการศึกษาสํารวจเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551

Page 6: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

80

จากตารางที่ 4.2 พบวาตนเต็ง มีความหนาแนนมากที่สุดพบจํานวน 122 ตน โดยมีความหนาแนนตอตารางเมตรเทากับ 0.071 รองลงมาคือ ตนรัง กระพี้จั่น และมะขามปอม โดยมีจํานวนความหนาแนนตอตารางเมตรเทากับ 0.058 , 0.044 และ 0.031 ตามลําดับ ตารางที่ 4.3 แสดงจํานวนและความหนาแนนของกลาไม ท่ีมีความสูงนอยกวา 1.30 เมตร ในบริเวณ แนวสํารวจของเสนทางเดินศกึษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทร

ลําดับ ท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร จํานวน ( ตน )

ความ หนาแนนตน / แปลงตัวอยาง

ความ หนาแนน ตน/ตรม.

1 เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume

43 0.796 0.398

2 รัง Pentueme suavis 22 0.407 0.204

3 มะขามปอม Phyllanthus emblrea 17 0.315 0.157

4 งิ้ว Bombax spp. 14 0.259 0.130

5 แดง Diospyros variegata Kurz. 11 0.204 0.102

6 กระพี้จั่น Milletia brandisiana Kurz 10 0.185 0.093

7 ปอหูชาง

Pterospermum acerifolium 4 0.074 0.037

8 ชงโค Bauhinia purpurea 4 0.074 0.037 9 ผักหวานปา Melientha suavis Pierre 3 0.056 0.028

10 ล้ินฟา Oroxylum indicum Vent. 1 0.019 0.009

11 ปบ Millingtonia hortensis Linn.f.

3 0.056 0.028

หมายเหตุ : เปนขอมูลที่ทําการศึกษาสํารวจเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551

Page 7: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

81

จากตารางที่ 4.3 พบวาตนเต็งมีจํานวนมากที่สุดคือ 43 ตน และมีความหนาแนนมากที่สุดเทากับ 0.398 ตน ตอตารางเมตร รองลงมาคือ ตนรัง มะขามปอม และงิ้ว 0.204, 0.157 และ 0.130 ตนตอตารางเมตร ตามลําดับ 2. การวิเคราะหและการแปลผลขอมูลจากการสํารวจ

2.1 ไมยืนตน จํานวนชนิดตนไมที่เปนไมยืนตน 40 ชนิด มีความหนาแนนของตนไมวัดได 15.21 ตนตอตารางเมตร จํานวนรอยละของพื้นที่หนาตัดรวมคิดเปนรอยละ 0.2997 จากการสํารวจพรรณไมในเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร พบวาขนาดของไมยืนตนที่พบ มีขนาดเสนผาศูนยกลางเฉลี่ยที่ประมาณ 21 เซนติเมตร ความหนาแนนสัมพัทธของตนไมบริเวณเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อน ศรีนครินทรพบวาตนเต็งมีความหนาแนนสัมพัทธสูงสุดคือ 7.162 รองลงมาคือกระพี้จั่น กระพี้ เขาควาย และแดง โดยมีคาความถี่สัมพัทธคือ 4.367 , 2.620 และ 2.445 ตามลําดับ ความถี่ สัมพัทธ ของตนไมบริ เวณเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ เขื่อน ศรีนครินทร พบวาตนเต็ง มีความหนาแนนมากที่สุดคือ 4.242 รองลงมาคือ ตนกระพี้จั่น ชงโค และกระพี้เขาควาย โดยมีคาโดยมีคาความถี่หนาแนน 4.242 , 3.434 และ 2.626 ตามลําดับ ความเดนสัมพัทธ ของตนไมบริเวณเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อน ศรีนครินทร พบวา ตนรัง มีความเดนสัมพัทธสูงสุดคือ 8.559 รองลงมาคือ ตนแดง ชงโคและเต็ง โดยมีคาความถี่สัมพัทธ 4.162 , 3.809 และ 3.096 ตามลําดับ ดัชนีความสําคัญของตนไมบริ เวณเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ เขื่อน ศรีนครินทรพบวาตนเต็งมีความสําคัญตอระบบนิเวศนปาสูงสุดคือ 14.5 รองลงมาคือ ตนรัง กระพี้จั่น และชงโค โดยมีดัชนีความสําคัญคือ 12.299 , 10,726 และ 9.597 ตามลําดับ 2.2 ลูกไม จํานวนลูกไมที่พบ 17 ชนิด มีความหนาแนน 14.70 ตนตอตารางเมตรพบวาในชวงที่ไดทําการศึกษาจํานวนลูกไมที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือตนเต็ง รองลงมาไดแก รัง กระพี้จั่น มะขามปอม ชงโค ปบ และอื่น ๆ ตามลําดับ 2.3 กลาไม จํานวนกลาไมที่พบ 10 ชนิด พบวาในชวงที่ไดทําการศึกษาตนเต็งเปนกลาไมมีความหนาแนนมากที่สุดเทากับ 0.398 ตนตอตารางเมตร รองลงมาคือรัง มะขามปอม งิ้วแดง กระพี้จั่น ปอหูชาง ชงโค ปบ และอื่น ๆ ตามลําดับ จากขอมูลที่กลาวมาขางตนพบวา สภาพปาในบริเวณแนวเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทรเปนปาที่กําลังฟนตัวจากปาเสื่อมโทรม มีการปลูกปาทดแทน รวมกับรณรงคใหคนอยูรวมกับปา และใชประโยชนจากปาไมได สภาพปาเปนปาผสมระหวางปาเต็งรัง และปาเบญจพรรณ โดยพันธุไมที่พบที่มีความสําคัญทางนิเวศวิทยาคือ เต็ง รัง แดง กรพี้จั่น กระพ้ี

Page 8: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

82

เขาควาย ซ่ึงเปนพันธุไมที่แสดงลักษณะของปาผสมผลัดใบ ดังนั้นจึงสรุปไดวาระบบนิเวศปาของเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติเขื่อนศรีนครินทร เปนปาผสมผลัดใบ 3. การกําหนดจุดศึกษา ผูวิจัยไดกําหนดพื้นที่ เพื่อพัฒนาใหเปนจุดศึกษา โดยการนําขอมูลที่ไดจากการศึกษาสํารวจพรรณไมและสภาพแวดลอมของเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร จํานวน 6 จุดศึกษา โดยมีรายละเอียดของแตและพื้นที่ดังนี้ จุดที่ 1 บริเวณตนกาญจนิกา มีระยะทางอยูบริเวณจุดเริ่มตนของเสนทางประมาณ 200 เมตร มีคาพิกัดทางภูมิศาสตร 1618451 N/498706 E มีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 171 เมตร ซ่ึงบริเวณดังกลาวมีตนไมเดน เชน หนามคนฑา ความหนาแนนของตนไมไมมากนัก บริเวณทั่วไปจะพบวามีปาไผ สภาพพื้นที่มีความลาดชันต่ํา จุดที่ 2 บริเวณรอยตอปา มีระยะทางหางจากจุดเริ่มตนของเสนทางประมาณ 260 เมตร พิกัดทางภูมิศาสตร 1618524 N/478694 E มีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 221 เมตร ซ่ึงบริเวณดังกลาวเปนรอยตอปา ระหวางปาเบญจพรรณ และปาเต็งรังพบแมลงและสัตวเล็กๆ มากมายในบริเวณนี้ เนื่องจากอาหารคอนขางอุดมสมบูรณ จุดที่ 3 บริเวณปาเต็งรัง มีระยะหางจากจุดเริ่มตน ประมาณ 310 เมตร พิกัดทางภูมิศาสตร 1618529 N/498704 E ความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 195 เมตร ซ่ึงบริเวณดังกลาวพบตนเต็งและตนรัง เหมาะสําหรับศึกษาปาเต็งรัง จุดที่ 4 บริเวณตนปรง มีระยะหางจากจุดเริ่มตน ประมาณ 620 เมตร มีพิกัดทางภูมิศาสตร 1618559 N/498609 E มีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 190 เมตร ซ่ึงบริเวณดังกลาวพบตนปรงและตนเปงจํานวนมาก ซ่ึงเปนพืชโตชา ความสูง 1 ซม.ใชระยะเวลา 10 ป เหมาะสําหรับศึกษาชีวิตของพืชดึกดําบรรพ จุดที่ 5 บริเวณปาไผ มีระยะทางหางจากจุดเริ่มตนประมาณ 713 เมตร มีพิกัดทางภูมิศาสตร 1618410 N/498586 E มีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 220 เมตร ซ่ึงบริเวณนี้เปนปาไผมีตนไมอยูหลายชนิด เชนตนแดง และตนงิ้วเปนตน จุดที่ 6 บริเวณน้ําตกไหลจนหลง อยูบริเวณจุดสุดทายของเสนทางศึกษาธรรมชาติ เสนนี้มีคาพิกัดทางภูมิศาสตร 1618328 N/498601 E มีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 170 เมตร ซ่ึงบริเวณนี้มีความชื้นสูง มีพืช และสัตวเล็ก ๆ อยูบริเวณนี้มากมาย 4. การสํารวจพรรณไมบริเวณจุดศึกษา การสํารวจพรรณไมและสภาพแวดลอมตาง ๆ บริเวณจุดศึกษา โดยการวางแปลงตัวอยางขนาด 20 x 20 เมตร ใหครอบคลุมพื้นที่จุดศึกษาตาง ๆ ดังตารางที่ 4.4 ถึง 4.8

Page 9: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

83

ตารางท่ี 4.4 แสดงจํานวนตนไม คารอยละของพันธุไม และรายละเอียดของสภาพแวดลอมของจุดศึกษาที่ 1 (บริเวณตนกาญจนิกา)

ลําดับท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Habit จํานวน รอยละ

1 ขี้หนอน Zollingeria dongnaiensis Pierre ยืนตน 8 11.94 2 กระพี้จั่น Milletia brandisiana Kurz ยืนตน 5 7.46 3 เปลาใหญ Cratandolongiflius ยืนตน 3 4.48 4 ชงโค Bauhinia purpurea ยืนตน 3 4.48 5 งิ้ว Bombax spp. ยืนตน 3 4.48 6 กาวเครือขาว Pueraria candollei Graham เถา 2 2.99 7 ปบ Millingtonia hortensis Linn.f. ยืนตน 8 11.94 8 คนฑา Harrisonia perforate Merr. ไมพุม 2 2.99 9 กระเจียว Zingiberaceae ลมลุก 8 11.94 10 ไผรวก Thrysostaehys siamensis หญา 21 31.34 11 ตะครอ Schleichera oleosa Oken. ยืนตน 3 4.48 12 ตนกาญจนิกา Nyctathes arbotristis ยืนตน 3 4.48

รวม 67 100

ตารางที่ 4.5 รองรอยสัตวท่ีพบบริเวณจุดศึกษาท่ี 1

ลําดับท่ี ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร 1 เลียงผา Noemorhedus geralo 2 ตัวกินมด Tamandua Tatradactyla 3 แมลงชาง Chrysopa basalis Walker

Page 10: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

84

จากตารางที่ 4.4 จํานวนตนพืชที่พบจํานวน 12 ชนิด จํานวน 67 ตน พืชที่พบมากที่สุดในบริเวณจุดศึกษาที่ 1 คือตนไผรวก จํานวน 21 ตน โดยคิดเปนคารอยละ 31.34 ของจํานวนตนไมทั้งหมด รองลงมาคือตนขี้หนอน ปบ กระเจียว รอยละ 11.94 , 11.94 , 11.94 ตามลําดับ ในบริเวณดังกลาวมีตนไมใหญอยู เชน ตนขี้หนอน กระพ้ีจั่น และในบริเวณใกลเคียงกับแปลงศึกษาพันธุไมยังมีตนกาญจนิกาซึ่งเปนดอกไมประจําจังหวัดกาญจนบุรี อีก 3 ตน ความหนาแนนของตนไมไมมากนักและในบริเวณใกลเคียงจะพบวามีปาไผ สภาพภูมิประเทศมีความลาดชันต่ํา ตารางท่ี 4.6 แสดงจํานวนตนไม คารอยละของพันธุไม และรายละเอียดของสภาพแวดลอมของจุด

ศึกษาที่ 2 (บริเวณรอยตอปา)

ลําดับท่ี

ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Habit จํานวน รอยละ

1 เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume ยืนตน 15 18.07 2 รัง Pentueme suavis ยืนตน 12 14.46 3 กระพี้จั่น Milletia brandisiana Kurz ยืนตน 9 10.84 4 มะกัก Spondias bipinnata ยืนตน 3 3.61 5 ปอสําโรง Sterculia ornata Wall. ยืนตน 2 2.41 6 ตะแบก Largerstroemia balansae Kehne ยืนตน 2 2.41 7 เสลา Lagerstroemia loudonii ยืนตน 1 1.21 8 ออยชาง Lannea eoromandeliea ยืนตน 6 7.22 9 กระพี้เขาควาย Milletia leusuntha ยืนตน 3 3.61 10 งิ้ว Bombax spp. ยืนตน 7 8.43 11 แดง Diospyros variegata Kurz. ยืนตน 3 3.61 12 ไผรวก Thrysostaehys siamensis หญา 18 21.69 13 กะเลกะลอนปากเปด Cymbidium finlaysonianum กลาไม 2 2.41

รวม 83 100

Page 11: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

85

ตารางที่ 4.7 รองรอยสัตวท่ีพบบริเวณจุดศึกษาท่ี 2

ลําดับท่ี ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร 1 อีเห็น Paradoxurus hermaphroditus 2 จักจั่น Meimuna opalifera Walker, Pompania sp 3 ยุง Culex quinquifasciatus 4 นกปลอด Hypsipetes leucocephalus 5 จิ่งหรีด Gryllus bimaculatus degeer

จากตารางที่ 4.6 จํานวนตนพืชที่พบจํานวน 13 ชนิด จํานวน 83 ตน พืชที่พบมากที่สุดในบริเวณจุดศึกษาที่ 2 คือตนเต็ง จํานวน 15 ตนโดยคิดเปนคารอยละ 18.07 ของจํานวนตนไมที่หมด รองลงมาคือตน รัง ไผรวก และกระพี้จั่น รอยละ 14.46 , 10.84 , 3.61 ตามลําดับ บริเวณที่เปนรอยตอระหวางปาเบญจพรรณและปาเต็งรังนั้นบริเวณนี้มีสัตวมากกวาบริเวณอื่น เพราะสัตวจะอยูระหวางปา 2 ชนิดรวมตัวกัน ตารางที่ 4.8 แสดงจํานวนตนไม คารอยละของพันธุไม และรายละเอียดของสภาพแวดลอมของจุด

ศึกษาที่ 3 (บริเวณปาเต็งรัง)

ลําดับท่ี ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Habit จํานวน รอยละ 1 เต็ง Shorea obtusa Wall. ex Blume ยืนตน 22 32.35 2 รัง Pentueme suavis ยืนตน 17 25.00 3 กระพี้จั่น Milletia brandisiana Kurz ยืนตน 10 14.71 4 ออยชาง Lannea eoromandeliea ยืนตน 5 7.35 5 รกฟา Terminalia alata ยืนตน 5 7.35 6 งิ้ว Bombax spp. ยืนตน 5 7.35 7 แดง Diospyros variegata Kurz. ยืนตน 4 5.88

รวม 68 100

Page 12: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

86

ตารางที่ 4.9 รองรอยสัตวท่ีพบบริเวณจุดศึกษาท่ี 3

ลําดับท่ี ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร 1 นกปรอด Hypsipetes leucocephalus 2 จักจั่น Meimuna opalifera Walker, Pompania sp 3 ยุง Culex quinquifasciatus 4 จักจั่นงวง Pyrops candellaria 5 ผ้ึง Apis andreniformis

จากตารางที่ 4.8 จํานวนตนพืชที่พบ จํานวน 7 ชนิด จํานวน 68 ตน พืชที่พบมากทีสุ่ดในบริเวณจุดศึกษาที่ 3 คือตน เต็ง จํานวน 22 ตน โดยคิดเปนคารอยละ 32.35 ของจํานวนตนไมทั้งหมด รองลงมาคือตน รัง กระพี้จั่น ออยชาง และ รกฟา รอยละ 25.0 , 14.71 และ 7.35 ตามลําดับ บริเวณปาเต็งรังนี้ไมเดนคือตนเต็ง และตนรัง ซ่ึงมีความหนาแนนสูงสุด 11.12 ลูกไมก็คือตนเต็ง และตนรัง เชนเดียวกัน สวนพื้นดินก็จะพบหญาเพ็กเปนจํานวนมาก เพราะเปนบริเวณที่มีเรือนยอดโปรง มีแสงแดงสองถึงพื้นไดมาก

Page 13: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

87

ตารางที่ 4.10 แสดงจํานวนตนไม คารอยละของพันธุไม และรายละเอียดของสภาพแวดลอมของ จุดศึกษาที่ 4 (บริเวณตนปรง)

ลําดับท่ี ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Habit จํานวน รอยละ 1 ปรง Cycas circinalis L. ยืนตน 11 21.15 2 เปง Phoenix humilis ไมพุม 8 15.38 3 มะขามปอม Phyllanthus emblrea ยืนตน 7 13.46 4 ชงโค Bauhinia purpurea ยืนตน 4 7.69 5 ปอหูชาง Pterospermum acerifolium ยืนตน 4 7.69 6 รกฟา Terminalia alata ยืนตน 4 7.69 7 ออยชาง Lannea eoromandeliea ยืนตน 3 5.77 8 ตะแบก Larherstroemia balansae Parker ยืนตน 3 5.77 9 แดง Diospyros variegata Kurz. ยืนตน 3 5.77 10 ผักหวานปา Melientha suavis Pierre ยืนตน 3 5.77 11 ตีนตุกแก Ficus pumila เฟรน 2 3.85

รวม 52 100

ตารางที่ 4.11 รองรอยสัตวท่ีพบบริเวณจุดศึกษาท่ี 4

ลําดับท่ี ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร 1 เลียงผา Capricornis sumatraensis 2 เกง Muntiacus muntjak 3 งูเขียว Chrysopelea ornata 4 ผ้ึงมิ้ม Hypsipetes leucocephalus 5 เสือดํา Panthera pardus

Page 14: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

88

จากตารางที่ 4.10 จํานวนตนพืชที่พบจํานวน 11 ชนิด จํานวน 52 ตน พืชที่พบมากที่สุดในบริเวณจุดศึกษาที่ 4 คือ ปรง จํานวน 11 ตน โดยคิดเปนคารอยละ 21.15 รองลงมาคือ เปง มะขามปอม ชงโค รอยละ 15.38 , 13.46 , 7.69 ตามลําดับ บริเวณนี้มีตนปรงขึ้นจํานวนมาก ปรงเปนพืชโตชา และพบมะขามปอม ซ่ึงลูกมะขามปอมตกลงมาที่พื้นทําใหมีสัตวเขามากินลูกมะขามปอมบริเวณนี้เปนจํานวนมาก จึงทําใหพบรอยเทาสัตวหลายชนิดในบริเวณนี้ ตารางที่ 4.12 แสดงจํานวนตนไม คารอยละของพันธุไมและรายละเอียดของสภาพแวดลอมของจุด ศึกษาที่ 5 (บริเวณปาไผ)

ลําดับท่ี ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Habit จํานวน รอยละ 1 ผักหวานปา Melientha suavis Pierre ยืนตน 9 9.49 2 กระพี้จั่น Milletia brandisiana Kurz ไมพุม 8 8.42 3 ปอสําโรง Sterculia ornata Wall. ยืนตน 2 2.11 4 ยอปา Morinda eoreia ยืนตน 3 3.16 5 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata ยืนตน 3 3.16 6 เสลา Lagerstroemia loudonii ยืนตน 2 2.11 7 งิ้ว Bombax spp ยืนตน 3 3.16 8 เปลาใหญ Cratandolongiflius ยืนตน 3 3.16 9 บัวผุด Rafflesia kerrii ลมลุก 4 3.16 10 เปราะ Kaempferia marginata Carey ลมลุก 7 7.37 11 ขาลิง Alpinia conchigera Griff ลมลุก 2 2.11 12 วานจูงนาง Geodorum attenuatum ลมลุก 2 2.11 13 ไผบง Bambusa nutans หญา 20 21.05 14 ไผรวก Thrysostaehys siamensis หญา 27 28.42

รวม 95 100

Page 15: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

89

ตารางที่ 4.13 รองรอยสัตวท่ีพบบริเวณจุดศึกษาท่ี 5

ลําดับท่ี ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร 1 แมงมุม Thrixspernum centipeda Lour. 2 มดดํา Dolichoderus sp 3 ปลวก Odontotermes obesus Ramb 4 จิ้งหรีด Acheta bimaculatus De Geer 5 มดน้ําผ้ึง Anoplolepis gracilipes 6 ผีเสื้อ Catopsilia pomona pomona Fabricius 7 ดวง Mylabris phalerata 8 แมลงหางดีด Chalcosom a atlas

จากตารางที่ 4.12 จํานวนตนพืชที่พบจํานวน 14 ชนิด จํานวน 95 ตน พืชที่พบมากที่สุดในบริเวณจุดศึกษาที่ 5 คือ ไผรวก จํานวน 27 ตน โดยคิดเปนรอยละ 28.42 รองลงมาคือ ไผบง ผักหวานปา กระพี้จั่น และ เปราะ รอยละ 21.05 , 9.47 , 8.42 , 7.37 ตามลําดับ บริเวณปาไผนี้ มีตนไผรวกและไผบงจํานวนมาก ดังนั้นใบไผจึงมีมากที่พื้นกองทับถมกันจนหนาเปนที่อยูอาศัยของสัตวเล็กสัตวนอยเปนจํานวนมาก

Page 16: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

90

ตารางที่ 4.14 แสดงจํานวนตนไม คารอยละของพันธุไมและรายละเอียดของสภาพแวดลอมของจุด ศึกษาที่ 6 (บริเวณน้ําตกไหลจนหลง)

ลําดับท่ี ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Habit จํานวน รอยละ 1 ปบ Millingtonia hortensis Linn.f. ยืนตน 7 14.00 2 ปอสําโรง Sterculia � rnate Wall. ยืนตน 6 12.00 3 สะเดาดง Millingtonia hortensis Linn.f. ยืนตน 3 6.00 4 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata ยืนตน 7 14.00 5 ชางนาว Ochna integerrima ยืนตน 3 6.00 6 ยอปา Morinda eoreia ยืนตน 4 8.00 7 กระพี้เขาควาย Milletia leusuntha ยืนตน 2 4.00 8 ขี้หนอน Zollingeria dongnaiensis Pierre ยืนตน 5 10.00 9 สีเสียด Aeacia catechu ยืนตน 4 8.00 10 ทองหลาง Erythrina variegata ยืนตน 3 6.00 11 กระไดลิง Bauhinia scandens ไมเล้ือย 2 4.00 12 รางจืด Thunbergia laurifolia ไมเล้ือย 2 4.00 13 สะแกวัลย Combretum punctatum ไมเล้ือย 1 2.00 14 หนามขี้แรด Streblus ilicifolius ไมเล้ือย 1 2.00

รวม 50 100 ตารางที่ 4.15 รองรอยสัตวท่ีพบบริเวณจุดศึกษาท่ี 6

ลําดับท่ี ชนิด ชื่อวิทยาศาสตร 1 ตะกวด Varanus bengalensis

จากตารางที่ 4.14 จํานวนตนพืชที่พบจํานวน 14 ชนิด จํานวน 50 ตน พืชที่พบมากที่สุดในบริเวณจุดศึกษาที่ 6 คือ ปบ จํานวนประมาณ 7 ตน โดยคิดเปนรอยละ 14.00 รองลงมาคือ ตะเคียนหนู ปอสําโรง กระพี้เขาควาย รอยละ 14.00 , 12.00 , 10.00 ตามลําดับ

Page 17: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

91

บริเวณนี้ มีความชื้นสูงเพราะอยูใกลน้ําตก มีมอสขึ้นบนหิน เถาวัลย กระไดลิงพันเกาะตนไมเพื่อแยงแสงแดด ทําใหจุดนี้มีความสําคัญนาศึกษามาก 5. การพัฒนาเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร และการเก็บรวบรวมขอมูลเบื้องตนผูวิจัยไดนําขอมูลดังกลาวมาพัฒนาเสนทางเดินปามีขั้นตอนดําเนินการดังนี้ การปรับปรุงเสนทางเดิน โดยการริดกิ่งไมในเสนทางใหมีความกวางของเสนทาง ประมาณ 0.9 ถึง 1.2 เมตร ตลอดเสนทาง การจัดทําแผนที่ของเสนทางเดิน จากการสํารวจพันธุไมบนเสนทางเดินปาอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร ทําใหทราบถึงสภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของเสนทางเดิน เชน ความลาดชัน ความหนาแนนของตนไม ความหลากหลายดานชนิดพรรณพืช และการกําหนดจุดเพื่อใหเปนแหลงเรียนรูของผูที่สนใจได เสนทางมีลักษณะเปนเสนทางสายเดียวที่ไมบรรจบกันและไดนํามาเขียนเปนแผนที่เสนทางเดินได ดังภาพที่ 4.1

Page 18: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

92

ภาพที่ 4.1 แสดงแผนที่เสนทางศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีซอนทับกับแผนที่ทางทหาร

Page 19: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

93

ภาพที่ 4.2 แสดงแผนที่เสนทางศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทร อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรีซอนทับกับภาพถายทางอากาศสี

Page 20: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

94

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาดานสิ่งแวดลอมศึกษา หลังดําเนินการฝกอบรม 2.1 การวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ดานความรูความเขาใจ ทักษะ กอนและหลังการฝกอบรม ผลการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ดานความรู ความเขาใจ ทักษะ กอนและหลังการฝกอบรมของกลุมเปาหมายจริง มีรายละเอียดดังตารางที่ 4.16 ตารางที่ 4.16 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ความรูความเขาใจ ทักษะ กอนและหลังการ ฝกอบรม

ชวงเวลาทดสอบ N X t กอนการฝกอบรม 30 7.5 หลังการฝกอบรม 30 8.8

8.44

T (df = 29, α = 0.05) = 2.145 เห็นวาคะแนนเฉลี่ยของสัมฤทธิ์ดานความรูความเขาใจ ทักษะ จากการทําแบบทดสอบกอนและหลังการฝกอบรมของกลุมทดลองมีความแตกตางกันโดยหลังจากที่ไดรับการฝกอบรมคะแนนเฉลี่ยมีคาสูงกวา และเมื่อนําไปวิเคราะหเปรียบเทียบคาเฉลี่ยทั้งสอง โดยใช t - test พบวา คาที่คํานวณไดมีคามากกวา t จากตาราง แสดงวาการฝกอบรมทําใหพนักงานเจาหนาที่มีความรูเขาใจ ทักษะ ความตระหนัก และเจตคติเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 การวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ดานความตระหนัก และเจตคติ กอนและหลังการฝกอบรมผลการวิเคราะหสัมฤทธิ์ดานความตระหนัก และเจตคติกอนและหลังฝกอบรมของกลุมเปาหมายจริง

ตารางที่ 4.17 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ดานความตระหนัก และเจตคติ กอนและหลังการ ฝกอบรม

ชวงเวลาทดสอบ N X t กอนการฝกอบรม 30 7.1 หลังการฝกอบรม 30 9.2

9.26

T (df = 29, α = 0.05) = 2.145

Page 21: บทที่ 4 ผลการศึกษาวิจัยapp.dnp.go.th/opac/multimedia/th/337_53/chapter4.pdfบทท 4 ผลการศ กษาว จ ย การศ

95

จะเห็นวาคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ดานความตระหนัก และเจตคติ จากการทําแบบทดสอบทั้งกอนและหลังการฝกอบรม ของกลุมทดลองมีความแตกตางกันหลังจากที่ไดรับการฝกอบรมคะแนนเฉลี่ยมีคาสูงกวาและเมื่อนําไปวิเคราะหเปรียบเทียบคาเฉลี่ยทั้งสอง โดยใช t – test พบวาคาที่คํานวณไดมีคามากกวา t จากตาราง แสดงวาการฝกอบรมทําใหเด็กนักเรียน โรงเรียนโรงเรียนบานน้ํามุด มีความรูความเขาใจ ทักษะ ความตระหนัก และเจตคติเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 4.17 จะเห็นวาคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ดานความตระหนัก และเจตคติ จากการทําแบบทดสอบทั้งกอนและหลังดําเนินการฝกอบรม ของกลุมทดลองมีความแตกตางกัน โดยหลังจากที่ไดรับการฝกอบรมคะแนนเฉลี่ยมีคาสูงกวา และเมื่อนําไปวิเคราะหเปรียบเทียบคาเฉล่ียทั้งสอง โดยใช t – test พบวา คาที่คํานวณไดมีคามากกวา t จากตาราง แสดงวาการฝกอบรมทําใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ ทักษะ ความตระหนัก และเจตคติเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงใหเห็นวาคูมือฝกอบรมสิ่งแวดลอมศึกษา เร่ือง การพัฒนาเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติอุทยานแหงชาติเขื่อนศรีนครินทรโดยใชกระบวนการสิ่งแวดลอมศึกษา ทําใหนักเรียนมีความตระหนักถึงปญหาที่เกิดจากปาไมถูกทําลาย มีความรูความเขาใจ และทักษะในการปองกันรักษาสิ่งแวดลอมไมใหถูกทําลาย มีเจตคติ ใหความรวมมือในการแกปญหาและปองกันปญหาที่เกิดขึ้น ทําใหปาไมและระบบนิเวศไมถูกทําลายและอยูคูผืนแผนดินตอไป