38
1 การจัดการ ตนเอง เมื่อเปนมะเร็ง

การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง จะเห็นได้ว่ามีผู้ป่วยหลายรายที่กลับบ้านได้หลังจากรับเคมีและรังสีบำบัด เมื่ออยู่บ้านไม่รู้จะปฏิบัติตนอย่างไร จึงได้แต่วิตกกังวลและคิดฟุ้งซ่านทำให้เครียด อันอาจเป็นเหตุให้ไม่อยากทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่า ผมจึงมีความประสงค์จะถ่ายทอดความรู้ให้ผู้ที่สนใจนำโปรแกรมการจัดการตนเองไปปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Citation preview

Page 1: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

1  

 

 

การจัดการตนเอง

เมื่อเปนมะเร็ง

Page 2: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

2  

การจัดการตนเองเมื่อเปนมะเร็ง

ดร.ศุภลักษณ เข็มทอง ปจจุบัน “มะเร็ง” เปนหนึ่งในสิบโรคที่คราชีวิตประชากรของ

ประเทศไทยจํานวนมาก ซ่ึงสาเหตุของการเกิดโรคมีหลากหลาย มีผูเชี่ยวชาญหลายทานเนนการรักษามะเร็งดวยเคมีและรังสีบําบัด แตพบนอยมากสําหรับการบําบัดฟนฟูดวยทีมวิชาชีพทางการแพทย ผมเองในฐานะนักเรียนทุนรัฐบาลไทยไดศึกษากิจกรรมบําบัดจิตสังคมจากประเทศออสเตรเลีย และมีประสบการณในการดูแลผูปวยโรควิถีชีวิตเรื้อรัง ซ่ึงผมตองการเผยแพรใหรับรูโดยทั่วกัน เนื่องจากศาสตรทางกิจกรรมบําบัดสําหรับผูปวยที่เปนมะเร็งในประเทศไทยยังไมเปนที่แพรหลายเหมือนตางประเทศ โดยเฉพาะการจัดการตนเองเมื่อเปนมะเรง็ จะเห็นไดวามีผูปวยหลายรายที่กลับบานไดหลังจากรับเคมีและรังสีบําบัด เมื่ออยูบานไมรูจะปฏิบัติตนอยางไร จึงไดแตวิตกกังวลและคิดฟุงซานทําใหเครียด อันอาจเปนเหตุใหไมอยากทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตที่มีคุณคา ผมจึงมีความประสงคจะถายทอดความรูใหผูที่สนใจนําโปรแกรมการจัดการตนเองไปปฏิบัติและประยุกตใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

“กิจกรรมบําบัด หมายความวา การกระทําเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลที่มีความบกพรองทางดานรางกาย จิตใจ การเรียนรู และการ

Page 3: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

3  

พัฒนา เกี่ยวกับเด็ก โดยกระบวนการตรวจประเมิน สงเสริม ปองกัน บําบัด และฟนฟูสมรรถภาพ ใหสามารถทํากิจกรรมตางๆ ได เพื่อใหบุคคลดําเนินชีวิตไดตามศักยภาพโดยการนํากิจกรรม วิธีการ และอุปกรณที่เหมาะสมมาเปนวิธีการในการบําบัด” (จากพระราชกฤษฎีกากําหนดใหสาขากิจกรรมบําบัด เปนสาขาการประกอบโรค

ศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 พ.ศ.2545)

รูปแบบการดูแลจัดการตนเอง (The Self-Management Model of Care) คือ วิธีการหนึ่งทางกิจกรรมบําบัดที่ฝกทักษะการคิดแกไขปญหาและ ทักษะการคิดวางแผนจัดการปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับอาการเจ็บปวยเรื้อรัง ความบกพรองของรางกาย-จิตใจ-สังคม ความแปรปรวนของอารมณภายใตสถานการณหรือส่ิงแวดลอมต างๆ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดําเนินชีวิต ไดแก การมีสวนรวมทํากิจกรรมตางๆ ดวยความเชื่อมั่นในสมรรถนะแหงตน การยอมตามหรือปฏิบัติตามคําแนะนําของบุคลากรทางการแพทยอยางเหมาะสม การรับรูทักษะการจัดลําดับความสําคัญของอาการของโรคจนถึงสิ่งที่มีผลตามมาจากอาการของโรค การเรียนรูความสัมพันธระหวางผูตองการดูแลตนเอง คนดูแล ผูบําบัด คน/สังคมรอบขาง และสิ่งแวดลอมและการรับรูความกาวหนาของโปรแกรมการรักษาดวยการประเมินตนเอง แตในประเทศไทยยังขาดแคลนผูเชี่ยวชาญพัฒนารูปแบบการดูแลจัดการตนเองใหเปนโปรแกรมการจัดการตนเอง และระบบการทํางานเปนทีมระหวางบุคลากรทางการแพทยยังไมมีประสิทธิผลนัก

Page 4: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

4  

ยกตัวอย าง การตัดสินใจใหการรักษาดวย เคมีบํ าบัดโดยไมมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู กับผูปวยถึงการจัดการพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิต ตลอดจนการฟนฟูสมรรถภาพในผูปวยโรคมะเร็งยังเนนระบบการตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุของการดําเนินของโรคมะเร็งมากเกินไป ทําใหผูปวยโรคมะเร็งเกิดความลาและไมมีแรงบันดาลใจในการสรางความสุขทางรางกาย จิตใจ การเรียนรูของตนเองและบุคคลรอบขาง

ดังนั้นผมจึงขอแลกเปลี่ยนเรียนรูผานหวัขอถามตอบที่

นาสนใจดังนี:้-

ถาม: แนวคิดของการจัดการตนเอง คือ อะไร? ตอบ: คิดดี พูดดี มองโลกในแงดี แกไขปญหาดี สรางแรงจูงใจดี จัดการเวลาดี และจัดการกิจกรรมการดําเนินชีวิตดี ถาม: โปรแกรมการจัดการตนเอง คือ อะไร? ตอบ: โปรแกรมทบทวนความคิดของตนเองใหเขาใจผลกระทบของโรคตอสุขภาวะและประเมินสุขภาวะของตนเองเพื่อวางแผนฝกทักษะการดําเนินชีวิตที่เกี่ยวของกับสุขภาพอยางมีระบบ ไดแก การจัดการเวลาและพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิต การจัดการอุปสรรคและอารมณ การจัดการสิ่งแวดลอมภายในตนเองดวยการสื่อสารใหรางกายเปล่ียนแปลงทาทางอยางเหมาะสม และการจัดการสิ่งแวดลอมภายนอกตนเองดวยการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอ่ืนในการใชชีวิตอยางมีคุณคา

Page 5: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

5  

ถาม: ทําไมผูปวยมะเร็งควรเขารวมโปรแกรมการจัดการตนเอง? ตอบ: เพราะผูปวยมะเร็งสวนมากจะปลอยความคิดใหอยูวางและรูสึกออนลาทางความคิด ออนลาทางจิตใจ และออนลาทางรางกายตามลําดับ จนไมอยากทํากิจกรรมใดๆอยางมีเปาหมาย มุงแตรอคอยความชวยเหลือจากบุคลากรทางการแพทย ครอบครัว และญาติ จนเกิดความรูสึกสับสน วิตกกังวล และคาดการณผลกระทบของโรคมะเร็งมากจนเกินไป ดังนั้นโปรแกรมการจัดการตนเองจึงออกแบบใหผูปวยโรคมะเร็ง

ทบทวนและวางแผนความคดิของตนเองภายใน 6 สัปดาห ไดแก

สัปดาหท่ี 1 การสํารวจพลังงานที่รางกายใชในทานั่ง ทายืน ทาเดิน และทาทางในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยแบงเปนคะแนนความรูสึกถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรมนั้นๆ (จาก 0 หรือไมใชพลังงานถึง10 หรือใชพลังงานจนหมด) และคะแนนความคาดการณถึงพลังงานที่ใชใน การทํากิจกรรมนั้น ๆ (จาก 0 หรือไมใชพลังงาน ถึง 10 หรือใชพลังงานจนหมด) สัปดาหที่ 2 การปรับเปลี่ยนทาทางจากสัปดาหที่ 1 โดยส่ือสารกับรางกายเพื่อสงวนพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตประจําวัน สัปดาหที่ 3 การปรับอารมณและสิ่งแวดลอมที่สงผลใหเกิดการปรับเปลี่ยนทาทางจากสัปดาหที่ 2 เพื่อสงวนพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตประจําวัน

Page 6: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

สัปดาหที่ 4 การประเมินคะแนนความรุนแรงของความลาจากโรคมะเร็ง (จาก 1 หรือนอย ถึง 7 หรือมาก) และคะแนนความลาหรือความเจ็บปวดของตนเองที่ เ กิดจากผลกระทบของโรคมะเร็ ง

แผนภาพขางตนแสดงระดับความลาหรือความเจ็บปวดที่รูสึกขณะทํากิจกรรมหนึ่งจาก 0 (ไมมี) 1 (มีเล็กนอย) ถึง 5 (มีมากที่สุด) และทําความเขาใจกลไกการเกิดความลาทางความคิด ความลาทางจิตใจ และความลาทางรางกาย ที่เกี่ยวของกับการสงวนพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตประจําวันจากสัปดาหที่ 3 สัปดาหที่ 5 การสํารวจรูปแบบการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตในสัปดาหที่ 4 โดยจัดลําดับความสําคัญและความพึงพอใจในแตละกิจกรรมที่แยกเปนกิจกรรมการดูแลตนเอง กิจกรรมการทํางาน กิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมการใชเวลาวาง กิจกรรมการพักผอน กิจกรรมการมีสวนรวมทางสังคม และกิจกรรมที่เกี่ยวของกับสุขภาพที่มีโรคมะเร็ง สัปดาหที่ 6 การวิเคราะหเพื่อปรับรูปแบบการทํากิจกรรมชีวิตในสัปดาหที่ 5 ใหมีความสมดุลระหวางกิจกรรมที่สรางความสุขทางรางกาย จิตใจ การเรียนรู และ สังคม โดยแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอ่ืนที่มี

6  

Page 7: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

7  

หรือไมมีประสบการณของโรคมะเร็งและวางแผน ในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตที่มีเปาหมายและคุณคามากขึ้นโดยใชการบันทึกความคิดดวยการวางแผนในการทํากิจกรรมอะไร ทํากิจกรรมนั้นดวยพลังงานเทาไร ทํากิจกรรมนั้น ณ เวลาใด ทํากิจกรรมนั้นเปนจํานวนครั้งเทาไร ความมั่นใจในการทํากิจกรรมนั้นมีคะแนนเทาไร (จาก 0 หรือไมมี ถึง 10 หรือมากที่สุด) ความเชื่อมั่นในคุณคาของการทํากิจกรรมนั้นมีคะแนนเทาไร (จาก 0 หรือไมมี ถึง 10 หรือมากที่สุด) ถาม: ผูปวยโรคมะเร็งจะฝกฝนโปรแกรมการจัดการตนเองใหตอเนื่องอยางไร ? ตอบ: นักกิจกรรมบําบัดจะเปนผูใหคําปรึกษาแกผูปวยมะเร็งเพื่อฝกฝนใหมีการทบทวนตนเองอยางมีระบบ ไดแก การสอบถามตนเองดวยคําถามปลายเปด การฟงคําตอบจากความคิดของตนเองอยางใครครวญ การยืนยันคําตอบนั้นจากความคิดที่มั่นใจ และการสรุปคําตอบจากความคิดที่ส่ือสารกับรางกายของตนเอง ตัวอยางคําถาม คือ:-

ก. คุณจําเปนตองเปลี่ยนแปลงการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตอยางไรบาง?

ข. จุดแข็งและจุดออนของคุณในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตคืออะไร?

ค. เปาหมายหลักในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตของคุณคืออะไร ง. แผนการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตของคุณคืออะไร?

Page 8: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

8  

จ. คุณจะทําอะไรบาง เพื่อใหแผนการของคุณกลายเปนการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตจริงๆ

*************************

Page 9: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

9  

ประสบการณการจดัการตนเองของผูปวยมะเร็ง

ทนงศักดิ์ ธัญญปกรณพันธ

ถาคุณเขารับการตรวจสุขภาพประจําปแลวหมอ บอกวาคุณปวยเปนมะเร็ง คุณคงช็อค วาทําไมเราตองเปนโรคนี้ดวย ถาใหเลือกไดคงไมมีใครอยากเปนโรคนี้แน แตถาคุณโชครายเปน “มะเร็ง” แลว มีวิธีใดในการรักษาและการรักษาตองใชเวลานานเทาไรทรมานแคไหนจะดแูลตัวเองอยางไร ระหวางการรักษาและจะทาํตัวอยางไรหลังการรักษาไปแลว นานเทาไรที่จะไมให “มะเร็ง” กลับมาเยี่ยมเยียนคุณอีก คําถามตางๆ เหลานี้คงทําใหคุณสับสนวุนวายใจไมนอย มะเร็ง คือ กลุมของโรคที่เกิดจากเซลลของรางกายที่มีความผิดปกติ ใน DNA หรือสารพันธุกรรม สงผลใหเซลลเจริญเติบโต มีการแบงตวัเพิ่มจํานวนเซลล รวดเรว็ และมากกวาปกติ จงึทําใหเกิดกอนเนื้อผิดปกติ และในที่สุดทําใหเกิดการตายของเซลลในกอนเนื้อซ่ึงขาดเลือดไปเลี้ยง เพราะการเจริญเติบโตของหลอดเลือด ถาเซลลพวกนี้เกิดขึน้ที่อวยัวะสวนใด จะทําใหเกิด “มะเร็ง” ที่อวัยวะสวนนั้น เชน มะเรง็ปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเตานม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง เม็ดเลือดขาว มะเร็งตอมน้ําเหลอืง และมะเร็งผิวหนัง เปนตน

Page 10: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

10  

จากรายงานในปจจุบัน พบวาในรางกายมนษุยมีเชื้อมะเร็งมากกวา 100 ชนิดซึ่ง มะเร็งแตละชนดิจะมกีาร ดําเนินของโรคไมเหมือนกนั ดงันั้น การรักษามะเร็งแตละชนดิจึงไมเหมือนกัน วิธีการรักษากแ็ตกตางกันดวย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอวัยวะสวนที่เปนมะเร็ง ระยะของมะเร็ง สภาพรางกายและภูมิตานทานของผูปวยมะเร็ง ความยากงายในการรักษาขึ้นอยูกับชนดิและการกระจายของเซลลมะเร็ง เชน มะเร็งตอมน้ําเหลือง มะเร็งผิวหนัง จะรกัษางายกวา มะเร็งปอด และมะเร็งสมอง เปนตน อาการบงบอกของการเปน มะเร็ง 1. ไมมีอาการใดเลยในชวงแรกขณะที่รางกายมีเซลลมะเร็งเปนจํานวนนอย 2. มีอาการอยางใดอยางหนึ่งตามสัญญาณอันตราย 8 ประการ ที่เปนสัญญาณเตือน วาควรไปพบแพทย เพือ่การตรวจคนหาโรคมะเร็ง หรือสาเหตุอ่ืน ๆ ที่ทําใหมีสัญญาณ เหลานี้ เพื่อการรักษาและแกไขทางการแพทยที่ถูกตองกอนที่จะกลายเปนโรคมะเร็ง หรือเปนมะเร็งระยะลุกลาม 3. มีอาการปวยของโรคทั่วไป เชน ออนเพลีย เบื่ออาหาร น้ําหนกัลด รางกายทรุดโทรม ไมสดชื่น และไมแจมใส 4. มีอาการที่บงบอกวา มะเรง็อยูในระยะลุกลาม หรือเปนมาก ขึ้นอยูกบัวาเปนมะเร็ง ชนิดใดและมีการกระจายของโรคอยูที่สวนใดของรางกายที่สําคัญที่สุดของอาการในกลุม นี้ ไดแก อาการเจ็บปวด ที่แสนทุกขทรมาน

Page 11: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

11  

สัญญาณอันตราย 8 ประการ ที่ทุกคนควรจะจําไวเพื่อสุขภาพที่ดี ไดแก 1. มีการเปลี่ยนแปลงของระบบขับถายอุจจาระ และปสสาวะ เชน ถายอุจจาระเปนสีดํา หรือปสสาวะเปนเลือด 2. กลืนอาหารลําบาก หรือมีอาการเสียด แนนทองเปนเวลานาน 3. มีอาการเสียงแหบ และไอเรื้อรัง 4. มีเลือดหรือตกขาวที่ผิดปกติ เชน มีกล่ินเหม็น 5. แผลซึ่งรักษาแลวไมยอมหาย 6. มีการเปลี่ยนแปลงของหดูหรือไฝตามรางกาย 7. มีกอนที่เตานมหรือสวนตาง ๆ ของรางกาย 8. หูอ้ือหรือมีเลือดกําเดาไหล

เมื่อคุณรูตัววาคุณเปนมะเร็งแลว คุณตองคิดตอไปวาจะทําการรักษาอยางไร ทําใหหายจากโรคมะเร็ง โดยท่ัวไปถาคณุเขารับการรักษาทางแพทยแผนปจจุบันใน โรงพยาบาล แพทยจะแนะนําใหคุณทําการผาตัดเอาเซลลมะเร็งออกจากอวัยวะทีเ่ปน(รวมทั้งตอมน้ําเหลืองบริเวณขาง) และอาจทําการรักษาเพิ่มเติมโดยการใชยาเคมี (เปนการรักษาหรือทําลายเซลลมะเร็งทั้งที่ตนตอและทีก่ระจาย ไปตามทางเดินน้ําเหลือง กระแสเลือดหรืออวัยวะอ่ืนของรางกายเปนการรักษามะเร็งแบบทั้งตัวของผูปวยมะเร็งมีทั้งการรับประทานยาและการฉีดยาทางเสนเลือดดําหรือแดง) หรือวิธีการฉายแสง(บริเวณที่มีเซลลมะเร็งอยูเปนการรักษาแบบเฉพาะที่เชนเดียวกับการผาตัด) รวมดวยข้ึนอยูกับผูปวยตามระยะของมะเร็ง ดังนี ้

Page 12: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

12  

ระยะที่ 1: มะเร็งยังจํากดัอยูเฉพาะบริเวณทีเ่ปน ยังไมรบกวนเนื้อเยื่อขางเคียง

ระยะที่ 2: มะเร็งลุกลามเขาเนื้อเยื่อขางเคียง แตยังไมลามไปไกลเกินกวาอวัยวะนั้นๆ ระยะที่ 3: มะเร็งลุกลามไปถึงตอมน้ําเหลืองใกลเคียง ระยะที่ 4: มะเร็งแพรกระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ ของรางกาย นอกจากวิธีรักษาทั้งสามวิธีที่กลาวมาแลวขางตน ยังมีการรักษาที่ผูปวยมะเร็งมีทางเลอืกอื่นอีกที่นยิมกันไดแกการเพิ่มภูมิคุมกนัใหกับรางกาย เพื่อที่จะไดกําจัดเซลลมะเร็งใหหมดไปจากรางกายและผูปวยกจ็ะหายจากโรคมะเร็ง ซ่ึงวิธีการรักษาแบบนี้เร่ิมเปนทีแ่พรหลายในประเทศไทยมากขึ้น การเพิ่มภูมิคุมกันใหแกรางกายมีหลายชนิด โดยเฉพาะเรือ่งอาหารที่จําเปนตองเปลี่ยนแปลง เชนเปลี่ยนการกนิขาวขัดสีขาว เปนขาวกลอง ผักสดและผลไมสดควรรับประทานเพิ่มมากขึ้นในแตละวนั นอกจากอาหารแลวสิ่งที่ควรปฏิบัติเปนประจํา คอื การออกกําลังกาย การสวดมนต การทําสมาธิ การฝกหายใจ การคิดในแงบวก การอาบน้าํรอน น้ําเยน็ การอาบแดดชวงเชา มะเร็งทําใหชีวิตเปล่ียนไป ความเครียดเปนสาเหตุสําคัญของมะเร็ง เพราะความเครยีดทําใหเกดิอนุมูลอิสระ ในรางกายเพิ่มมากขึ้นในขณะที่ทําใหภูมิตานทานภายในตัวลดลง ผูเปนมะเร็งตองปรับตัวปรับใจ ไมควรทําใหตวัเองเกดิความเครียด การสูกับ

Page 13: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

13  

โรคมะเร็งควรสูดวยจิตใจ พยายามฝกจิตใหนิ่ง คิดในทางบวกเสมอถงึแมวาส่ิงนั้นๆจะเปนลบก็ตามพิจารณาใหเปนดหีมดทุกอยาง เมื่อฝกไดอยางนี้บอยขึ้นลักษณะนสัิยของตนเองจะเปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ ซ่ึงเปนผลดีกับตวัเราทั้งทางโลกและทางธรรม เพราะการทําใหจิตมีสมาธิ ตัวจิตนี้จะไปกระตุนตอมทูลารี ใหหล่ังโกรทฮอรโมน ที่ซอมแซมสวนที่สึกหรอของรางกาย ออกมากระตุนตอมไทรอยด และตอมแอดดินอล ขับแตฮอรโมนดีๆออกมากระตุนใหอวัยวะตางๆทาํงานไดดี จนทําใหตอมตางๆที่ผลิตภูมิตานทานหรือเมด็เลือดขาวทํางานไดเต็มที่ ดังนั้นทุกอยางจึงเกิดขึ้นที่จิต การคดิดีทําดี หรือการทําสมาธิได จะทาํใหสมองสวนนี้ขับฮอรโมนที่เปนประโยชนออกมา แตถาจิตไมมีสมาธิ มองโลกในแงลบ สมองสวนนี้แทนทีจ่ะไปกระตุนใหรางกายผลิตฮอรโมนชนิดดีออกมา มันจะไปกระตุนตอมหมวกไตใหผลิตฮอรโมนอะดรินาลิน ซ่ึงเปนฮอรโมนที่เกิดจากความเครียด ทําใหรางกายผลิตเม็ดเลือดขาวที่ออนแอออกมา เมื่อรางกายไมมีภูมิคุมกนั ทําใหเซลลตางๆในรางกายออนแอ ไมสามารถกําจัดเซลลมะเร็งออกไปได ดังนั้นระบบภมูิคุมกันของรางกายมีความสําคัญตอชีวิตมาก ถาไมมีภูมิคุมกันไมมใีครสามารถมีชีวิตอยูได เชน ผูปวยโรคเอดสที่ระบบภูมคิุมกันบกพรอง เนื่องจากไวรัสเอชไอว ี จึงทําใหผูปวยโรคนี้เสยีชีวิตปละเปนจํานวนมาก การรักษาโรคมะเร็งบางชนิด อาจใชวิธีผาตัดเอาเซลลมะเร็งออกแตเพยีงอยางเดยีว ขึ้นอยูกับระยะของโรค บางคนอาจรับการรักษาโดยการใชเคมี

Page 14: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

14  

บําบัดอยางเดียวหรืออาจจะรวมกับการผาตดั หรือทั้งสามวิธีรวมกันดือการผาตัด การฉายแสงและเคมีบาํบัด ผลของการใชเคมีบําบัด นอกจากกําจัดเซลลมะเร็งแลวยังมีผลตอเซลลปกติดวย ผูปวยบางคนเกิดผลขางเคียงมากเมื่อไดรับเคมีบําบัดในปริมาณสูง หมอจะเปลี่ยนเปนวิธีการใหยาเปนคอรส ในคอรสหนึ่งอาจใหยา 4 ถึง 6 คร้ัง แตละครั้งอาจหางกัน 3 ถึง 4 สัปดาห เพื่อใหเซลลปกติมีการฟนตัวกอนใหยาในครั้งตอไป การจะใชยาตัวไหน วิธีไหน ปริมาณเทาไรหรือจํานวนกี่คอรส ขึ้นอยูกับชนิดและระยะของโรคมะเร็ง รวมไปถึงสภาพรางกายและอายุของผูปวย การตอบสนองตอยาหรือเคมีบําบัดของผูปวยแตละรายจะมีความแตกตางกัน ผลขางเคียงระหวางการรักษาดวยยาเคมีบําบัดและการฉายรังสีระยะเฉียบพลัน

1. ผมมักรวง บางรายอาจรวงหมดทั้งศีรษะ แตผมจะกลับขึน้มาเปนปรกติครบ กําหนดรักษาแลวตั้งแต 2 ถึง 4 เดือน ผมที่ขึ้นมาใหมนี้จะดกดํากวาเดิมดวยซํ้า อาการผมรวงบางรายอาจรวงไมมาก

2. ยาเคมีบําบัดมผีลทําใหการสรางเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดจะต่าํลงทําใหเกดิภาวะซีด ติดเชือ้

3. มีอาการคลื่นไสหรือมีอาเจียนรวมดวย 4. ผิวหนังของฝามือ ฝาเทาลอก 5. มีผลตอผิวหนงัและเล็บ สีผิวหนังโดยเฉพาะปลายนิว้มือ นิ้วเทา

เปลี่ยนเปนสีคลํ้าดํา เล็บอาจดําหรือหลุดได

Page 15: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

15  

6. ทองเสีย ยาเคมีบําบัดมีผลตอเยื่อบุผนังลําไส ทําใหเยื่อบผุนังลําไสอักเสบ

7. เยื่อบุภายในชองปากและลําคอมีอาการอักเสบ มีการเจ็บริมฝปากและบางครั้งในลําคอรวมดวยทําใหรับประทานอาหารลําบาก

8. ผลตอทารกในครรภ อาจทําใหเสียชีวติหรือพิการได 9. มีอาการออนเปลี้ยเพลียแรง (Fatigue-Weakness) จะเห็นวาผลขางเคียงระหวางการรักษาดวยยาเคมีบําบดัและการฉาย

แสงในระหวางการรักษาโรคมะเร็งมีคอนขางมาก ผูปวยบางคนอาจมีผลขางเคียงนอยแตบางคนอาจไดรับผลกระทบคอนขางมาก บางคนอาจตองหยุดการใหยาระหวางการรักษาดวยยาเคมบีําบัดและการฉายแสง

อาการออนเปลี้ยเพลียแรง (Fatigue-weakness) คืออาการที่ผูปวยรูสึกวาหมดแรงทั้งกายและใจที่จะทํางานหรือปฏิบัติภารกิจใดๆ แมจะนอนพักผอนมากๆแลวก็ตามเปนอาการที่พบในผูปวยโรคมะเร็ง ถึงรอยละ 70-– 80 เปนผลใหลดคุณภาพชีวิตของผูปวย บุคคลใกลเคียง และญาติ แตอาการเชนนี้สามารถเกิดขึ้นกับคนทั่วไปที่ไมใชคนปวยไดเชนกัน คือมีความรูสึก ออนเพลีย อยูตลอดเวลาทั้งที่ไมไดเปนโรค

สาเหตุของอาการออนเพลีย ในผูปวยมะเร็งหรือโรคระยะสุดทายอ่ืนๆแบงไดเปน 4 สาเหตุคือ

1. สาเหตุจากตัวโรคมะเร็ง อาการออนเพลียเปนผลมาจากปฏิกิริยาระหวางตัวมะเร็งและการตอบสนองทางเคมีของรางกาย พบไดถึงรอยละ 80 ของมะเร็งระยะสุดทาย

Page 16: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

2. สาเหตุจากการรักษา เชน ออนเพลียจากเคมีบําบัด มักเกิดอาการมากที่สุดในชวงวันแรกๆ ของการรักษา ออนเพลียจากรังสีรักษา มักเกิดอาการสะสมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หรือ ออนเพลียจากการผาตัด

3. สาเหตุอ่ืนๆ เชนนอนไมพอ ซึมเศรา วิตกกังวล โลหิตจาง ผลจากการกินยา และ ภาวะติดเชื้อตางๆ

4. เกิดจากตัวผูปวยเองเมื่อรูตัววารักษาไมไดหรือมีจิตใจหอเหี่ยว ทอถอยไมสูและไมอยากมีชีวิตอยูตอไป

วงจรความเหนื่อยลา อุปสรรคของการใชชีวิตหลังโรคมะเร็ง

ความเหนื่อยลาจากโรคมะเร็ง

ความรูสึกเบื่อ เครียด ซึมเศรา

ความเหนื่อยลาเพิ่มขึ้นจากกจิวัตรประจําวัน

16  

Page 17: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

17  

ขอสังเกตถึงตนเหตุท่ีทําใหเกิดอาการออนเพลีย คือ การรักษาดวยยา ขอสําคัญที่สุดคือการหยุดใชยา การลดการใชยา หรือหยุดยาที่สงผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลางซึ่งจะทําใหเกิดอาการออนเพลีย การรักษาโดยไมใชยา คือการแกไขตามสาเหตุ และการแกไขโดยการออกกําลังกายอยางเหมาะสมตามสภาพของโรค รวมทั้งการรักษาแบบอ่ืนๆ เชนการนอนหลับ การปรับอาหารการกิน การเปลี่ยนอิริยาบถในส่ิงแวดลอมที่เปนธรรมชาติหรือการผอนคลาย การนั่งสมาธิ การทํากิจกรรมอาสาสมัครชวยเหลือผูอ่ืนที่ไมเกี่ยวกับกิจกรรมในกลุมผูปวย ก็สามารถลดอาการออนเพลีย และเพิ่มความสดชื่นในผูปวยไดมาก ดังนั้นการรักษาอาการออนเพลียโดยไมใชยาจะใชการดูแลรักษาโดยเขาโปรแกรมการจัดการตนเอง (Self-Management Program) กับนักกิจกรรมบําบัด ผูใหคําแนะนําและสอนวิธีการเรียนรูเพื่อจัดการพลังงานของผูปวยมะเร็ง ประโยชนที่ไดรับจากการเรียนรูโปรแกรมการจัดการตนเอง คือการที่ผูปวยสามารถจัดการบริหารการดําเนินชีวิตของตัวเองในแตละวันไดโดยไมออนเพลียจนเกินไปและมีกําลังใจในการที่จะตอสูและจัดการกับโรคที่กําลังเปนอยู หรือการลดความออนเพลียโดยการจัดการกับพลังงานที่มีอยูของผูปวยใหเพียงพอในการจะทํากิจกรรมใหสําเร็จ โดยการพักผอนหรือใชเครื่องมืออุปกรณชวยใหใชพลังงานนอยลง หรือการแบงกิจกรรมที่กําลังทําเปนชวงๆ ไมหนักมากเกินไปที่จะทําใหสําเร็จภายในระยะเวลาอันสั้น หรือการกําหนดกิจกรรมที่จะ

Page 18: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

18  

ทําในแตละวันขึ้นมากอนแลวเลือกทํากิจกรรมที่สําคัญและคาดวามีพลังงานพอที่จะทําไดกอนเปนตน สําหรับกิจกรรมที่สําคัญรองลงมาอาจเลื่อนไปทําในวันอื่นที่เหมาะสมตอไป ถาทําไดดังนี้จะทําใหผูปวยมีกําลังใจไมทอแทและพยายามตอสูตอไป เมื่อไดปฏิบัติตอเนื่องแลวทําใหสามารถสรางโปรแกรมพลังงานของตนเองได ดังนี้:- การจัดการกับพลังงานในรางกาย รางกายของคนเราเปรียบเสมือนธนาคาร แตเปนธนาคารพลังงาน โดยปกติรางกายของเราสามารถเก็บพลังงานไดมากพอควร เมื่อเราใชพลังงานออกไปโดยการทํากิจกรรมจึงมีความจําเปนตองเพิ่มพลังงานเขาสูรางกายโดยการทานอาหารใหครบ 5 หมูและการพักผอน ในที่นี้จะเนนเรื่องการพักผอน (Rest) ความสําคัญของการพักผอน ถาคุณทํางาน(กิจกรรม)อยางหนักตอเนื่องกันโดยไมพักผอน เมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งคุณจะไมสามารถทํางานอีกตอไปได เปรียบเสมือนคุณใชอุปกรณไฟฟาที่ใชแบตเตอรี่ติดตอกัน เมื่อกระแสไฟฟาออนลงเครื่องใชไฟฟานั้นจะทํางานผิดเพี้ยนไปหรือหยุดการทํางานในที่สุด การพักผอนคืออะไร การพักผอนคือ การสรางและสะสมพลังงานสะสมไวในรางกายเพื่อสามารถกิจกรรมตางๆตอไปได การพักผอนเปนการปองกันและซอมแซมสวนสึกหรอที่เกิดขึ้นกับรางกายของมนุษยใหกลับสูสภาพปกติ

Page 19: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

19  

ขอควรปฏิบัติในการพักผอน 1. พักผอนกอนที่จะรูสึกเพลียทําใหสามารถปองกันการเพลีย

ตอเนื่อง ทําใหใชเวลาในการพักนอยลง 2. แบงการพักผอนเปนชวงๆ ในระยะเวลาสั้นๆหลายครั้ง 3. เปรียบเทียบการพักผอนนานๆ กับการแบงเวลาพักผอนสั้นๆ

บอยๆ 4. ทํางานที่ชอบแลวพักผอน 5. จดกิจกรรมที่จะตองทํา การวางแผนการพักผอน จัดทําตาราง

กิจกรรมลวงหนาเปนวันเปนสัปดาห รูปแบบของการพักผอน การนอนพักผอน การนั่งพักผอน การนอนหลับ การทํากิจกรรมที่ชอบ การชมภาพยนตร การดูโทรทัศน การฟงวิทยุ การอานหนังสือ การฟงเพลงที่ชอบ การสวดมนต และการนั่งสมาธิ ผลดีที่ไดรับจากการพักผอน

1. สามารถทํางาน (กิจกรรม) ไดเพิ่มขึ้น 2. มีความรูสึกสดชื่น กระตือรือรน 3. เกิดความสุขหลังจากพักผอนเพียงพอ หรือความสุขจากการได

ทํากิจกรรมที่ชอบ โดยปกติผูที่เปนโรคมะเร็ง เมื่อไดรับการผาตัดเอาชิ้นเนื้อที่เปน

มะเร็งออกแลว หรือการรับรังสีบําบัด เคมีบําบัด หรือท้ังสองอยางพรอมกันแลว ในระยะที่กําลังรักษาอยูผูที่ไดรับการรักษาจะมีผลขางเคียง นอย

Page 20: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

20  

บาง มากบางแลวแตกรณี แตผลที่เกิดขึ้นอยางมากคืออาการออนเพลีย หมดแรง ไมอยากทํากิจกรรมใดๆเลย ดังนั้นควรพักผอนใหมากที่สุดจนรูสึกวารางกายเริ่มดีขึ้น จึงพยายามหากิจกรรมทําเพื่อใหเกิดความรูสึกวาชีวิตเรายังมีคุณคา แตถายังรูสึกเพลียอยูบางก็พยายามทําเทาที่เราสามารถทําได การกําหนดตารางการพักผอน 1.จดรายการ (List) ที่อยากจะทําหรือตองทําในกระดาษหรือ สมุดบันทึกสวนตัว 2.วางแผนการพักผอน (Plan Your Rests) โดยการแบงเวลาในตารางเปนชวงๆ เชน เชา บาย และ เย็นของแตละวัน โดยการกําหนดเวลาที่ตองการพักผอนลงไปในตารางที่ตองการพักแตละชวงที่คิดวาจะใหผลดีแกตัวคุณมากที่สุด (คาดการณชวงเวลาที่ตองการพักผอนและแบบของการพักผอนที่คิดวาดีที่สุด) 3.เมื่อทําตารางทั้ง 1 และ 2 ขอขางตนแลวใหปฏิบัติดู โดยการปรับตารางการพักผอนไดเต็มที่ถาอยากพักผอนเพิ่มก็เพิ่มตามความตองการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการทํากิจกรรมตอไปได 3.กําหนดกิจกรรมและทําในตารางที่ 1 มาใหคะแนนการใชพลังงานในแตละวัน(โดยใหคะแนนทุกกิจกรรมที่กําหนดไวโดยตองทําจริง การใหคะแนนขึ้นอยูกับพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรม) โดยการใหคะแนนตั้งแต พลังงานนอยสุดคือ 1 ไปจนถึงใชพลังงานสูงสุดคือ 10

Page 21: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

21  

การสื่อสารกับตัวเอง การสื่อสารกับรางกายคือการที่คุณบอกกับตัวคุณเองกอนเริ่มทํากิจกรรมที่ตองการทํา การบอกกับรางกายกอนทํากิจกรรมจริงเพื่อชวยใหคุณใชพลังงานนอยลงในการทํากิจกรรมนั้นๆ จะทําใหคุณสามารถทํากิจกรรมไดเพิ่มขึ้น เกิดความออนลานอยลงเปนการประหยัดพลังงานไปในตัว ทําใหมีพลังงานเหลือมากขึ้น การใชอวัยวะทุกสวนของรางกายอยางมีประสิทธิภาพมากในการทํากิจกรรมแตใชพลังงานนอย อาจเปนเพราะเรามีการสื่อสารกับรางกายกอนทําจริง ทําใหสามารถใชกลามเนื้อไดมากขึ้นแข็งแรงขึ้น ความเครียดเปนอีกเหตุผลหนึ่งที่ทําใหใชพลังงานมาก จะสังเกตวาถาคุณไดทํากิจกรรมอยางมีความสุขจะทําใหใชพลังงานนอยลง เชน การทํางานอดิเรกที่เราชอบ เราจะทําดวยความสุขไมรูสึกเหนื่อยแสดงวาเราใชพลังงานนอย สังเกตวาผูปวยที่รูจักการใชสวนตางๆของรางกายอยางถูกตองจะสามารถลดการใชพลังงานที่ทํากิจกรรมได อันนําไปสูการลดความออนเพลียซ่ึงเปนผลพลอยได เชน การยืน ถาเราตองยืนนานๆ เราสามารถลดความเมื่อยลาไดโดยการสวมใสรองเทาที่สบายเหมาะสมกับเทาที่สวมใส การถายน้ําหนักไปที่ขาทั้งสองขางแทนที่ใหขางใดขางหนึ่งรับน้ําหนักมากกวาอีกขาง แขนทั้งสองปลอยตามสบายแตชิดกับรางกาย ศีรษะตั้งตรง และปรับเปลี่ยนอิริยาบถบาง

Page 22: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

22  

การนั่งทํางาน นั่งตัวตรงหลังแนบกับพนักเกาอี้ ขาทั้งสองวางแนบกับเบาะนั่ง นั่งติดกับโตะทํางาน การนั่งเพื่อพักผอน ควรหาเกาอี้นั่งสบายๆเปนเกาอี้ตัวโปรดเพื่อเปนการนั่งพักทําอะไรที่ชอบเชนอานหนังสือ การนอน ควรนอนในที่สบายๆที่นอนไมนิ่มหรือแข็งและจน หมอนไมสูงจนเกินไปอาจใชหมอนอีกใบวางใตขา การยกของ ไมควรยกของหนักเกินกําลัง การยกของจากพื้นใหยอตัวลงแลวยกขึ้นไมกมหลังยกของ ยกของแนบตัวขณะเคลื่อนที่ สถานที่เหมาะสําหรับการทํากิจกรรม ผูปวยที่ตองทํางานประจําระหวางการรักษาโรคจําเปนตองปรับเปล่ียนอุปกรณที่ใชประจําในการทํางานเพื่อใหเหมาะสมในการทํางานโดยใชพลังงานนอยที่สุด อุปกรณที่ติดตั้งถาวรเชนโตะทํางานใหมีขนาดพอเหมาะกับผูใชงาน ตัวอยางถาเรายืนทํางานไมควรตองกมตัวลงตลอดเวลา จะทําใหมีความรูสึกไมสบายในการทํางานเกิดอาการปวดเมื่อย หรือการนั่งทํางาน โตะที่ใชทํางานไมควรจะต่ําเกินไป อุปกรณที่ชวยใหผูปวยทํางานสะดวกและใชพลังงานนอยลง ไดแก อุปกรณไฟฟาตางๆ เชน สวานไฟฟา เล่ือยไฟฟา เปนตน อุปกรณการเคลื่อนที่ตางๆ เชน การขนยายส่ิงของ ควรใชอุปกรณทุนแรงชวยยาย เชน การใชลอเล่ือนเขามาชวยแทนการยกดวยแรงของผูปวย หรือการที่ผูปวยตองการเคลื่อนยายตัวเองจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ควรใชรถเข็น หรือ รถยนต เปนตน

Page 23: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

23  

การจัดการตนเองตลอดชีวิต เมื่อผูปวยมะเร็งไดรับการรักษาจากแพทยแผนปจจุบันแลวไมวาจะเปนการผาตัดการใหเคมีบําบัดหรือรังสีบําบัดอยางใดอยางหนึ่ง ทั้งสองอยาง หรือทั้งสามอยางรวมกันแลวก็ตามผูปวยจะแนใจวาหายจากมะเร็งเด็ดขาดแลวไมได ผูปวยจําเปนตองปรับเปลี่ยนตัวเองจากที่เคยปฏิบัติกอนการเกิดโรคจึงจะมีโอกาสในการใชชีวิตตอใหยืนยาวที่สุด ตัวอยาง:- เร่ืองอาหาร มีผูกลาวไววาคุณจะเปนอะไรก็ขึ้นกับอาหารที่คุณกนิเขาไป (you are what you eat) การที่คุณเปนมะเร็งเพราะภูมิคุมกันของคุณนอยหรือไมทํางาน เซลลมะเร็งจะลุกลามโจมตีคุณทันที ถาตองการใหเซลลหยุดการโจมตีหรือหยุดการแพรกระจายของเชื้อมะเร็ง จําเปนยิ่งที่ตองปรับเปลี่ยนการกินอาหาร เพื่อใหภูมิตานทานฟนสภาพคืนมาเหมือนเดิมกอนเปนใหได โดยธรรมชาติแลวตัวเซลลมะเร็งเองก็จําเปนตองการอาหารในการเติบโตเชนกัน ดังนั้นผูปวยเองตองทําใหมะเร็งไมมีโอกาสเจริญเติบโตและขยายพันธุได อาหารที่ไมควรกินไดแก เนื้อสัตว และไขมันทุกประเภท อาหารที่มีรสเค็ม ควรกินผักสดและผลไมสดมากๆ ถาเปนไปไดควรกินสาหรายทะเลทุกมื้อ เพราะสาหรายเปนแหลงเกลือแรเสริมภูมิตานทานที่รางกายจําเปนตองใช

การจะฟนภูมิตานทานใหไดเร็วจําเปนตองใชวิตามินชวยเสริม ไดแก

Page 24: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

24  

วิตามินเอ มาจากเบตาแคโรทีน สวนมากอยูในผักสีเขียวจัด เหลืองจัดแดงจัด ไดแกหัวแครอท ฟกทอง มันเทศสีเหลือง ขาวโพดเหลือง บรอกโคลี ผักบุง วิตามินบี มาจากโปรตีนของพืชที่หมักโดยวิธีธรรมชาติ เชนมิโซะ(เตาเจี้ยวญ่ีปุน) โชยุ (ซีอ๊ิวญี่ปุน) วิตามินซี มีมากใน สม มะนาว ในผักเชนมันฝร่ัง ถ่ัวพู มะเขือเทศ กะหล่ําปลี คะนา หัวหอม เร่ืองการปรับภูมิตานทานใหสูงขึ้น โดย การออกกําลังกาย ควรออกกําลังกายอยางนอยวันละ 20 -– 30 นาทีอยางสม่ําเสมอโดยออกแรงพอสมควรไมนอยกวารอยละ 60 - 70 ของความสามารถสูงสุดของผูปวยจึงจะเพียงพอที่จะเพิ่มภูมิตานทานใหสูงขึ้น

การสวดมนต ไหวพระและการทําสมาธิ ทําใหรางกายสามารถสรางพลังกายและเสริมกําลังใจ ทําใหรางกายเกิดความรูสึกแข็งแรงดีขึ้น

การใชความรอน ความเย็น การอาบแดด การอบสมุนไพร ซาวนาสลับรอนเย็นเพื่อใหความรอนไปกระตุนรางกายทําใหภูมิตานทานเพิ่มสูงขึ้น

*************************

Page 25: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

25  

ตัวอยางกิจกรรมบําบัดของผูปวยมะเร็ง

ดร.ศุภลักษณ เข็มทอง

จากบันทกึการทํากิจกรรมและปรับเปลี่ยนกจิกรรมของกรณีศึกษาไทยทานหนึ่ง ถือเปนตัวอยางที่ประสบความสําเร็จในการทํากิจกรรมการดําเนินชวีิตหลังจากเขารวมการจัดการตนเอง 6 สัปดาห แมวาผูปวยไดรับการวินิจฉยัเปนโรคมะเร็งระยะที่ 3 แตเขาสามารถจัดทาทาง ส่ือสารกับรางกาย วางแผนการทํากิจกรรมการดําเนินชวีิต มคีวามมั่นใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองจากสภาวะทีต่องขับถายหนาทองจนปรบัเปลี่ยนเปนการฝกขับถายปกติ และมีกําลังใจที่ดีในการทํากจิกรรมยามวางที่มีคุณประโยชนแกผูอ่ืน

เมื่อบันทึกเปรียบเทียบคะแนนความรูสึกถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรมขณะตื่นนอน (จาก 0 หรือไมใชพลังงาน ถึง 10 หรือใชพลังงานจนหมด) คะแนนความคาดการณถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรม (จาก 0 หรือไมใชพลังงาน ถึง 10 หรือใชพลังงานจนหมด) และคะแนนความรุนแรงของความลาจากโรคมะเร็ง (จาก 1 หรือนอย ถึง 7 หรือมาก) กอนและหลังเขาโปรแกรมการจัดการตนเอง พบวา

Page 26: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

26  

กอนเขาโปรแกรม: คะแนนความคาดการณถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรมเฉลี่ยตลอดสัปดาห = 3.33 คะแนนความรูสึกถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรมเฉลี่ยตลอดสัปดาห = 3.21 คะแนนความรุนแรงของความลาจากโรคมะเร็ง = 4.33 รูปแบบกิจกรรมการดําเนินชีวิต กิจกรรมที่ใชพลังงานมาก ( > 5 คะแนนของการใชพลังงานจากคะแนนเต็ม 10) ไดแก ขับรถเดินทางไปทํางาน ขับรถเดินทางไปเจาะเลือดที่ รพ. พบแพทยที่ศนูยมะเร็ง ขับรถไปซื้อยา ความถี่ของกิจกรรมที่ใชพลังงานมาก = 5 กิจกรรมตอสัปดาห โดยทํากจิกรรมคร้ังละ 1-3 ชม. กิจกรรมที่ตองใชพลังงานนอย ( < 5 คะแนนของการใชพลังงานจากคะแนนเต็ม 10) ไดแก พักผอนที่บาน นั่งทํางาน สงลูกไปเรียน รดน้ําตนไม อานหนังสือ ดูทีวี สวดมนต ความถี่ของกิจกรรมที่ใชพลังงานนอย = 12 กิจกรรมตอสัปดาห โดยทํากิจกรรมครั้งละ 40 นาท–ี -7 ชม.

Page 27: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

27  

หลังเขาโปรแกรม: คะแนนความคาดการณถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรมเฉลี่ยตลอดสัปดาห = 2.41 คะแนนความรูสึกถึงพลังงานที่ใชในการทํากิจกรรมเฉลี่ยตลอดสัปดาห = 2.31 คะแนนความรุนแรงของความลาจากโรคมะเร็ง = 3.25 รูปแบบกิจกรรมการดําเนินชีวิต กิจกรรมที่ใชพลังงานมาก ( > 5 คะแนนของการใชพลังงานจากคะแนนเต็ม 10) ไดแก ไปงานศพติดตอกนัวันที่สอง เขาอบรมความรูมะเร็งติดตอกนัวันที่สอง ความถี่ของกิจกรรมที่ใชพลังงานมาก = 2 กิจกรรมตอสัปดาห โดยทํากจิกรรมคร้ังละ 2-8 ชม. กิจกรรมที่ใชพลังงานนอย ( < 5 คะแนนของการใชพลังงานจากคะแนนเต็ม 10) ไดแก พักผอนที่บาน นั่งทํางาน กวาดใบไม รดน้ําตนไม อานหนังสือ ดูทีวี สวดมนต เยี่ยมพี่สาว ไปงานศพวนัแรก เขาอบรมความรูมะเร็งวันแรก ความถี่ของกิจกรรมที่ใชพลังงานมาก = 17 กิจกรรมตอสัปดาห โดยทํากิจกรรมครั้งละ 2-13 ชม.

Page 28: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

28  

สรุปผล: ผูปวยสามารถจัดการสุขภาพของตนเองใหวางแผนการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตที่มีคุณคามากขึ้น มีความถี่ของกิจกรรมที่ตองใชพลังงานนอยถึงมากอยางเหมาะสม มีเวลาพักผอนสะสมพลังงานเพิ่มขึ้นเมื่อพิจารณากิจกรรมที่ใชพลังงานนอย ทํากิจกรรมที่ตองใชพลังงานมากดวยความถี่ลดลงและใชเวลาไดทนทานขึน้ มีคะแนนคาดการณกอนการทํากิจกรรมใกลเคียงกับคะแนนความรูสึกหลังการทํากิจกรรมจริง ทั้งคะแนนคาดการณกับคะแนนความรูสึกลดลง เมื่อเปรียบเทียบกอนและหลังเขาโปรแกรม นั่นคือผูปวยมีทักษะความเขาใจถึงการสงวนพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตไดดีขึ้น ซ่ึงมีแนวโนมทําใหคะแนนความรุนแรงของความลาจากโรคมะเร็งลดลง เมื่อเปรียบเทียบกอนและหลังเขาโปรแกรม นัน้คือผูปวยมีความสามารถจัดการความลาจากโรคมะเร็งดวยตนเองไดดีขึ้น *************************

Page 29: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

29  

เพื่อใหทานผูอานเขาใจถึงที่มาของตัวเลขการใชพลังงานกอนและหลังเขาโปรแกรมเปนอยางไร จึงขอแสดงตัวอยางเพียงวันเดียวของผูปวยมะเร็งระยะ 3 ที่ไดบันทึกการทํากิจกรรมของตนเองในการรวมโปรแกรมการจัดการตนเองกับนักกิจกรรมบําบัด 6 สัปดาห

วัน-เวลา กอนเขาโปรแกรม

จันทร กิจกรรม คาดการณ พลังงานที่ใช ความลา

6-7 ต่ืนนอน 0 1 0

7-8 ทานขาว 1 2 2

8-9 ขับรถ 4 5 5

9-10 ทํางาน 6 5 5

10-11 ทํางาน 7 6 6

11-12 ทํางาน 7 6 5 “ “

“ “

“ “

คาเฉลี่ยคะแนน จันทร-อาทิตย 3.35 3.21 4.33

Page 30: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

30  

วัน-เวลา หลังเขาโปรแกรม

จันทร กิจกรรม คาดการณ พลังงานที่ใช ความลา

6-7 ต่ืนนอน 0 0 0

7-8 ทานขาว 1 1 1

8-9 พักผอน 1 1 1

9-10 ทํางาน 2 1 2

10-11 ดูโทรทัศน 1 1 1

11-12 รดน้ําตนไม 3 2 1 “ “

“ “

“ “

คาเฉลี่ยคะแนน จันทร-อาทิตย 2.41 2.31 3.25

Page 31: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

31  

การดูแลผูปวยมะเร็งกอนสิ้นชีวิต ดร.ศุภลักษณ เข็มทอง

ในบานเราอาจจะไมคุนกับคําวา “การดูแลผูปวยมะเร็งกอนส้ินชีวิต” (มิใชวาผูที่เปนมะเร็งทุกคนตองเสียชีวิต) เพราะสวนมากคิดวาเปนลางราย ที่จะพูดถึงความตายทั้งๆที่ยังไมตาย ซ่ึงตรงกันขามกับตางประเทศ ที่เตรียมพรอมสําหรับผูปวยมะเร็งระยะสุดทายที่หมอสามารถกําหนดระยะเวลามีชีวิตอยูได จะไดรับการดูแลเปนพิเศษ เพื่อใหผูปวยใชชีวิตชวงสุดทายอยางมีความสุขที่สุด จากการเรียนรูระบบการดูแลผูปวยมะเร็งกอนสิ้นชีวิตที่ออสเตรเลีย...นักกิจกรรมบําบัดเปนบุคลากรทางการแพทยที่ชวยระบบนี้ไดอยางดี นักกิจกรรมบําบัดจะทําการประเมินดังนี้ เชน

1. "ผูปวยตองการอะไร 2. ผูปวยเขาใจสภาพรางกายและจิตใจของตนเองมากนอยแคไหน

อยางไร 3. ผูปวยอยากสื่อสารและเชื่อมโยงความรักและความเห็นอกเห็น

ใจจากคนที่รักอยางไร 4. ผูปวยปรับความคิดและวางแผนทํากิจกรรมที่มีคุณคาแกชีวิตที่

เหลืออยูไมมากนักอยางไร"

Page 32: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

32  

จากนั้นจึงใหคําแนะนําแกคนที่ผูปวยรักในรูปแบบกิจกรรมเชิงแลกเปลี่ยนเรียนรูวา จะจัดกิจกรรมใดใหผูปวยรูสึกสบายกายสบายใจและวางแผนความตองการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิตในชวงเวลาสุดทาย

ขอเสนอแนะนําใหญาติหรือคนใกลชิดของผูปวยไดปฏิบัติ ดังนี้

• เปนตัวกลางเชื่อมโยงระหวางคุณหมอและผูปวยใหเกิดความรูความเขาใจและยอมรับสภาวะของรางกายที่อาจมีขอจํากัดในการฟนคืนสภาพ

• ใหกําลังใจและเขาใจความตองการของผูปวยในการวางแผนทํากิจกรรมตางๆ ในชวงระยะเวลาที่เหลืออยู

• ใหกําลังใจและความรักผานการกระทําที่เสริมแรงบันดาลใจตอการใชชีวิตที่เหลืออยูอยางมีเปาหมายและมีความหมายรวมกับคนที่รัก มิใชญาติมาเยี่ยมที่เตียงแลวกลับไปหรือจางคนดูแลเฝา การกระทําดังกลาวขางตน เชน

• ญาติอาบน้ําเช็ดตัวผูปวย

• ผูปวยและญาติคุยในสิ่งที่ประทับใจที่ผานมา หรือฟง เทปชวนชมภาพที่ประทับใจรวมกัน

• ญาติจัดหาของทําบุญสังฆทานโดยใหผูปวยไหวจบอนุโมทนาแลวญาตินําไปถวายแทน หรือจะนิมนตพระมาใหผูปวยไดทําบุญโดยตรง เพื่อใหผูปวยมีกําลังใจหรือมีความสุขกอนส้ินชีวิต ดังคําโบราณที่วา กอนส้ินใจขอใหไดเห็นชายผาเหลือง

Page 33: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

33  

• จัดหาอาหารที่ผูปวยชอบมาใหกิน (ปรึกษาแพทยและนักโภชนาการบําบัดในการปรับสภาพอาหารที่ชอบ หรืออาหารใหทางสาย ที่ไดตั้งแสดงใหเห็นดวยพรอมกัน)

• ญาติชวนผูปวยจัดกิจกรรมยามวางในหอง รพ. เพื่อเบี่ยงเบนความคิดหมกมุนแต เร่ืองมะเร็งกับวันที่ส้ินใจ

***********************

Page 34: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

34  

สุขภาพทางจิตวิญญาณกับโรคมะเรง็ ดร.ศุภลักษณ เข็มทอง

สุขภาพทางจติวิญญาณ คืออะไร 1. การปรับจิตรูสํานึกใหเกดิประสบการณของการทํา

กิจกรรมอยางตั้งใจและมีทางเลือกดวยความคิดที่ดีของตนเอง (ศีล)

2. การใหความรูสึกถึงเปาหมายของการทํากจิกรรมการดําเนินชวีิต

3. การอยูนิ่ง (สมาธิ) ทบทวนตนเองใหเกิดความคิดสรางสรรค ความคิดริเร่ิม และความรัก

4. การเขาใจ (ปญญา) ในที่มาของคุณลักษณะและความสามารถของตนเอง

5. การแสดงความเมตตากรุณาแกส่ิงมีชีวิตรอบขาง 6. การแยกแยะความทุกขเพื่อเปนอิสระดวยแนวทางแกไข

สาเหตุของความทุกขนั้นอยางมีสติ (อริยสัจจ: ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค)

Page 35: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

35  

โรคมะเร็งสงผลกระทบตอสุขภาพทางจิตวิญญาณอยางไร เมื่อคนเราทราบการวินจิฉัยจากคุณหมอวาเปนมะเร็ง จิตรูสํานึกมองมะเร็งวา เปนสิ่งที่เลวราย นากลัว และมีอาการที่แสนทุกขทรมาน ความยึดมั่นถือมั่นในรางกายของตนเองทําใหจิตวิญญาณไรการควบคุม ไมมีบุคลากรทางการแพทยที่มีเวลาใหความรูถึงผลกระทบของโรคมะเร็งและแนวทางการปฏิบัติตนใหอยูรวมกับโรคมะเร็ง เนื่องจากประชากรโรคมะเร็งมีมากกวาจํานวนผูเชี่ยวชาญทางการแพทย ทําใหแพทยมุงติดตามปริมาณเซลลมะเร็งและภูมิตานทางของรางกายจากผลเลือด รวมถึงการใชเคมี/รังสีบําบัด โดยมีเวลาพบปะพูดคุยกับผูปวยไมเกิน 3 นาที ทั้งๆที่ผูปวยตองออกจากบานตั้งแตตีหา นั่งรอตามคิวรพ. อีก 5-6 ชม. ผูปวยที่มคีวามเปนมิตรและการรับรูโรคมะเร็งไมเทากัน บางคนก็พูดคุยโดยไมมี “ระบบชมรมเพื่อนชวยเพื่อน” แตละคนลงทนุและทดลองการบําบัดทางเลือกที่หลากหลาย ซ่ึงมีประสิทธิผลที่ไมยั่งยนื ผูปวยมีรางกายที่เสื่อมถอยลงเรื่อยๆ ในชวงระยะเวลาไมเกนิ 5 ปที่ไมสงเสริมกําลังใจใดๆ นัน่คือ “เมื่อจิตวญิญาณ ไมมีการพัฒนาขณะที่กําลังมีประสบการณของการดําเนนิชีวิตอยูกับโรคมะเร็ง...สมรรถภาพรางกายก็คอยๆ ทรุดโทรมลงไปเรื่อยๆ โดยไมสามารถหยุดยั้งไดโดยธรรมชาติ หากแตชะลอหรือเพิ่มพูนอาการของโรคมะเร็งดวยกรอบความคิดทางการแพทยที่มีขีดจํากัด”

Page 36: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

36  

ทําอยางไรผูปวยมะเร็งจึงมีสุขภาพทางจติวิญญาณ

1. ทบทวนความสามารถของตนเองในปจจุบนั ทําความเขาใจถึงผลกระทบของโรคมะเร็งและแนวทางการจัดการตนเองใหทํากิจกรรมที่มีเปาหมายและมีความสุข เชน แสวงหาความรูและเปดใจยอมรับกระบวนการดูแลตนเอง ตั้งแตอาหารสุขภาพ การสงวนพลังงานในการทํากิจกรรมการดําเนินชวีิต และการฝกกจิกรรมเพื่อสุขภาพตางๆ

2. การฝกพัฒนาจิตวิญญาณอยางมุงมั่น ไดแก การมีสติคิดกอนทาํกิจกรรมใดๆ เขาใจและชวยเหลือคนรอบขาง วางแผนทีมการทํางานโดยเปนผูตามและประสานงานในระยะเวลาและโอกาสทีเ่หมาะสม ยอนทบทวนชวีิตที่ผานมาใหเปนบทเรียนของการใชรางกายที่เหมาะสมตอความสามารถในปจจุบัน

3. การแสวงหาความรูเพื่อประยุกตใชในสถานการณชีวิต เชน การอานหนังสือและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูที่มีประสบการณโรคมะเร็ง (ผูบําบัดและผูปวย) การลงทุนเขาอบรมเชิงปฏิบัติที่พอเพียงแลวเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับตนเอง การไมอยูนิ่งแตคนหากิจกรรมที่มีประโยชนตอสุขภาพของตนเองและผูอ่ืน

4. การพิจารณาประสิทธิผลทางการแพทยแผนปจจุบันควบคูกับการแพทยทางเลือก แลวพัฒนา “แกนความคิดสูการฝกปฏิบัติอยาง

Page 37: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

37  

คอยเปนคอยไป” หากไมไดผล...ก็ทบทวนถึงเหตุแลวเร่ิมตนใหมดวยความมั่นใจในจิตวิญญาณของตนเอง

5. มอง “มะเร็ง” วาเปน “เพื่อนชีวิต” อยาคิดวามะเร็งนั้นนากลัว เราตองมั่นใจวาจะใชชีวิตอยูกับมะเร็งจนถึงวันสิน้ชีวิต เราตองขอบคุณที่มะเร็งชวยจุดประกายความคิดใหเกิดการปรับจิตวิญญาณและปรับการกระทําที่สรางสรรค ควบคุมได วดัผลได และฝกสติมากขึ้น แมวาชีวิตจะเคยตดิสุขสบาย แตสุขภาวะนั้นไมมีตัวตน ไมเทีย่ง ไมสามารถควบคุมไดรอยเปอรเซ็นต

6. มะเร็งเกดิจากหลายปจจยั เชน พันธุกรรม พฤตินิสัย มลพิษ หัตถการทางการแพทย และเวรกรรม แตสําคัญที่สุดคือ สรางพลังจิตวิญญาณที่แข็งแกรง แมเพียงรางกายจะออนแอลง แตจงปลอยวางและพัฒนาจิตวิญญาณ ดวยความมุงมั่นในการคิดดีทําดีตอไป

*********************** จากคําจํากัดความของสุขภาพจิตวิญญาณขางตน ผูเขียนไดระดมความคิดเพื่อตอบโจทย “สุขภาพทางจิตวิญญาณ” บนพื้นฐานความเชื่อและประสบการณการเรียนรูที่แตกตางกัน จาก ความจริงในการจัดการตนเองของผูปวยมะเร็ง ความรูความเขาใจของผูปฏิบัติธรรม และความรูสึกนึกคิดของอดีตผูเปนโรควิถีชีวิตเรื้อรัง (โรครูมาตอยด) ปจจุบันมีสุขภาพปกติ อยางไรก็ตามทานผูอานโปรดใชวิจารณญาณที่ไมมีรูปแบบเฉพาะเจาะจง ผูเขียนขอขอบคุณ คุณทนงศักดิ์ ธัญญปกรณพันธ คุณฉัตรบุญ ภัทรประภา และ คุณประนอมศรี เขม็ทอง ที่ไดรวมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานะภาพทางจิตวิญญาณ ของทานทั้งสาม เปนการบันทึกขอมูลทันทีที่ทําใหเห็นภาพชัดเจนของสขุภาพทางจิตวิญญาณ

Page 38: การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง

38  

สาระประโยชนที่จะพึงมีพึงไดจากหนังสือเลมนี้

คณะผูเขียนขอยกความดีทั้งหมดเปนทานมัย

แดผูปวยโรคมะเร็ง ญาติผูปวยโรคมะเร็ง และผูสนใจทุกทาน

ขอใหมีสมรรถนะความเชื่อมั่นในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น