25
หลักการรับฟังพยานหลักฐาน ดร.กาพล วันทา สานักนิติการ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

  • Upload
    -

  • View
    108

  • Download
    3

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

หลักการรับฟังพยานหลักฐาน

ดร.ก าพล วันทา

ส านักนติิการ

ส านักงานปลัดกระทรวงศกึษาธิการ

Page 2: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระท าทางปกครอง

ฝ่ายปกครองจะกระท าการใดที่มีผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพ หรือประโยชน์โดยชอบธรรมของเอกชนได้ ต่อเมื่อ๑. มีกฎหมายให้อ านาจ และ๒. จะต้องกระท าการดังกล่าวภายในกรอบหรือขั้นตอนที่

กฎหมายก าหนด

Page 3: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

การกระท าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

๑. ไม่มีอ านาจหรือนอกเหนืออ านาจหน้าที่๒.ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย๓.ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระส าคัญ๔.ไม่สุจริต๕.เลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม๖. สร้างขั้นตอนโดยไม่จ าเป็นหรือสร้างภาระเกินสมควร๗.ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ

Page 4: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

การรับฟังพยานหลักฐานคือ การพิจารณาข้อเท็จจริงที่ได้จากการ

สอบสวนว่า ข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร ผู้ถูกกล่าวหา

มีการกระท าหรือไม่ได้กระท าการใด อย่างไร

หรือไม่โดยอาศัยพยานหลักฐานและเหตุผลใด

เพื่อหาข้อยุติของเรื่อง

Page 5: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

หลักในการรวบรวมพยานหลักฐาน

การท าบันทึก

การใช้ภาษาไทย

การตั้งประเด็น

- ประเด็นข้อเท็จจริง

- ประเด็นข้อกฎหมาย

Page 6: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

ข้อเท็จจริงที่เข้าสู่ส านวน

โดยพยานหลักฐาน

โดยผู้สอบสวนหรือผู้พิจารณารับรู้เอง

โดยข้อสันนิษฐาน

โดยผู้สอบสวนหรือผู้พิจารณาตรวจเห็นเอง

โดยผู้ถูกกล่าวหารับ

Page 7: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

การรับฟังข้อสันนิษฐานหลัก รับฟังไม่ได้

ข้อยกเว้น

มีกฎหมาย ระเบียบ หรือแบบธรรมเนียม

ให้สันนิษฐานไว้ก่อนอย่างใด ก็ตกเป็นหน้าที่

ของผู้ถูกกล่าวหาที่จะน าสืบหักล้าง ถ้าน าสืบ

หักล้างไม่ได้ ก็ต้องฟังตามข้อสันนิษฐาน

Page 8: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

ข้อเท็จจริงที่รับรู้เอง

1. ถ้อยค าภาษาไทยหรือภาษาอื่นที่เป็นที่เข้าใจกัน

อยู่ทั่วไป

2. ธรรมเนียม ประเพณี ซึ่งเป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไป

3. กิจการความเป็นไปของบ้านเมือง

4. สิ่งธรรมดา ธรรมชาติ

Page 9: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

ประเภทของพยานหลักฐาน

1. พยานบุคคล

2. พยานเอกสาร

3. พยานวัตถุ

4. พยานผู้เชี่ยวชาญ

Page 10: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานบุคคล

บุคคลที่จะให้ถ้อยค าเกี่ยวกับข้อเท็จจริง

ที่ตนได้รับรู้มา โดยสามารถเข้าใจและตอบ

ค าถามได้

Page 11: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานเอกสาร

สิ่งที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่แสดงออก

ซึ่งความหมาย

Page 12: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานวัตถุ

สิ่งที่มีรูปร่างทั้งหลายที่สามารถมีผลต่อ

ความเห็นของบุคคล โดยความคงอยู่

ที่ตั้ง หรือสภาพของสิ่งนั้น

Page 13: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานผู้เชี่ยวชาญ

พยานบุคคลซึ่งเป็นผู้มีความรู้เชี่ยวชาญ

ในศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง และมาให้

ถ้อยค า โดยการให้ความเห็นในทาง

วิชาการ

Page 14: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานหลักฐานแบ่งตามน้ าหนักพยาน

ได้หลายประเภท ดังนี้

1. พยานชั้นหนึ่งและพยานชั้นสอง

•พยานชั้นหนึ่ง ได้แก่ พยานหลักฐาน

ที่ดีที่สุดที่พึงจะมีได้ในขณะนั้น เช่น

พยานที่ลงนามเป็นพยานในสัญญา

Page 15: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

•พยานชั้นสอง ได้แก่ พยานหลักฐานอื่นที่

ยังไม่ดีที่สุด แม้จะบ่งชี้ข้อเท็จจริงได้ เช่น

บุคคลที่ให้การว่าเคยเห็นและจ าลายมือของ

คู่สัญญาได้

Page 16: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

2. พยานโดยตรง และพยานเหตุผลหรือ

พยานแวดลอ้มกรณี

• พยานโดยตรง - พยานหลักฐานใด

ๆ ที่ระบุว่าข้อเท็จจริงได้มีอยู่ โดยไม่ต้อง

หาเหตุผลสันนิษฐานอย่างใดต่อไปอีก

Page 17: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

•พยานเหตุผลหรือพยานแวดล้อมกรณี

- พยานที่ ไม่ ร ะบุ โดยตรงว่ าข้ อ เท็ จจริ ง

เป็นเช่นนั้น แต่มีเหตุผลหรือพฤติการณ์

เชื่อมโยงพอจะเชื่อได้ว่าข้อเท็จจริงควรจะ

เป็นเช่นนั้น

Page 18: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

การรับฟังพยานเหตุผลหรือพยานแวดล้อมกรณี

1. รับฟังประกอบพยานโดยตรงให้มีน้ าหนักยิ่งขึ้น

2. รับฟังเมื่อบ่งชี้โดยแน่นอนไม่มีทางจะคิดเป็นอย่างอื่น

3. รับฟังว่าพยานฝ่ายใดมีน้ าหนักกว่ากันเมื่อสองฝ่าย

โต้เถียงกัน โดยอ้างพยานเหตุผลหรือพยาน

แวดล้อมกรณีด้วยกัน

4. รับฟังเพ่ือแย้งพยานโดยตรงที่ปราศจากเหตุผล

Page 19: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

3. ประจักษ์พยานและพยานบอกเล่า

• ประจักษ์พยาน - พยานที่ได้รู้ได้เห็น

ข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเอง

• พยานบอกเล่า - พยานที่มิได้รู้เห็น

ข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเอง หากแต่ได้ยิน

ได้ฟังผู้อื่นเล่าถึงข้อเท็จจริงนั้นมาอีกทอดหนึ่ง

หรือหลายทอด

Page 20: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

การรับฟังพยานบอกเล่า

หลัก ไม่พอรับฟัง

ข้อยกเว้น

รับฟังเป็นพยานเหตุผล หรือพยานแวดล้อมกรณี

ประกอบพยาน

รับฟังเม่ือสมเหตุสมผล และมีพยานแวดล้อมกรณี

อื่นสนับสนุนพอ

Page 21: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานที่มีน้ าหนักมากควรรับฟัง 1. พยานที่เป็นกลาง

2. พยานที่มีเหตุผลเชื่อมโยง

3. พยานคู่

4. พยานร่วม

5. พยานเอกสาร

6. พยานวัตถุ

7. พยานผู้เชี่ยวชาญ

Page 22: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

พยานที่มีน้ าหนักน้อยไม่ควรรับฟัง 1. พยานที่ไมอ่ยู่กับรอ่งกับรอย

2. พยานที่มีสาเหตุโกรธเคือง

3. พยานที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด

4. พยานเดี่ยว

5. พยานที่ให้การที่แตกต่างกัน

6. พยานที่ไมส่มเหตุสมผล

7. พยานบอกเล่า

8. ค าซัดทอดของผู้ถูกกล่าวหา

Page 23: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

หลักการชั่งน้ าหนักพยาน

1. ต้องฟังพยานที่มีน้ าหนักมากก่อน

2. ถ้าไม่มีพยานที่มีน้ าหนักมาก ฟังพยานที่มี

น้ าหนักน้อย

3. ฟังค าพยานที่สมเหตุสมผลในสภาพปกติ

วิสัยของคนทั่วไป

Page 24: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

การชั่งน้ าหนักหรือการรับฟัง

พยานหลักฐานของผู้พิจารณา

1. สามัญส านึก

2. หลักตรรกวิทยา

3. ประสบการณ์

ขึ้นอยู่กับ :

Page 25: ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

ข้อควรระวัง

- พยานหลักฐานนอกส านวน

- พยานรับสมอ้าง / เท็จ

- พยานเลื่อนลอย