23
ปญหาของยางผสมและเทคนิคการแกไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ปญหาของยางผสมและเทคนิคการแกไข

ดร.กฤษฎา สุชวีะ

Page 2: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ปญหาในทางปฏิบัติของการใชยางผสม

ยางที่นํามาผสมกัน สวนใหญผสมเขากันไมได ทําใหโครงสรางแยกเปนวัฏภาค

ปญหาที่สําคัญที่ตามมาคือ

1. ปญหาเรื่องการวัลคาไนซยางผสม

2. ปญหาเรื่องการกระจายตัวของสารตัวเดิม/สารเคมี ในยางแตละวัฏภาค

Page 3: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1. ปญหาเรื่องการวัลคาไนซยางผสม(เนนการวัลคาไนซโดยใชกํามะถันแบบเรง)

Page 4: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1.1 พื้นฐานของการวัลคาไนซยางโดยใชกํามะถันแบบเรง

1.1.1 อัตราเรงของการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับ• ชนิดของยาง

ยางที่มีพันธะคูสูง จะวัลคาไนซไดเร็วกวาและมากกวายางที่มีพันธะคูต่ํา

• ชนิดของตัวเรงตอ NR- ยาง NR จะวัลคาไนซไดเร็วกวาและมากกวายาง EPDM

Page 5: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1.1.2 ปริมาณการเกิดการวัลคาไนซ (Crosslink density) ขึ้นกับ• ปริมาณกํามะถันที่ใช• ชนิดและปริมาณของตัวเรงที่ใช

1.1.3 โครงสรางของยางที่วัลคาไนซขึ้นกับ• อัตราสวนของกํามะถัน/ตัวเรง• อุณหภูมิที่วัลคาไนซ• เวลาที่วัลคาไนซ

S Sx

Sy SSSz

Ac.

แผนภาพแสดงโครงสรางของยางที่วัลคาไนซดวยกํามะถัน

Page 6: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ฉะนั้นการวัลคาไนซยางโดยใชกํามะถันแบบเรง เพื่อใหไดยางที่มีสมบัติที่ดี

ตามตองการ แมเพียงยางชนิดเดียวก็ไมใชของงาย มีความยุงยากพอควร

Page 7: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1.2 การวัลคาไนซยางผสม (โครงสรางแยกสวน)

ปญหาเกิดจาก

• สารวัลคาไนซ (กํามะถัน, ตัวเรง) ชอบยางตางชนิดไมเทากัน

• ยางตางชนิดในวัฏภาคยางมีความไวตอปฏิกิริยาไมเทากัน ทําให

เกิดความไมสมดุลในการวัลคาไนซ

Page 8: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1.2.1 เมื่อผสมสารวัลคาไนซเขาไปในยางผสม สารวัลคาไนซจะกระจายตัวในวัฏภาคยางตางชนิดไมเทากัน

S SS SS S

S SS

S SS

S SS

SS

SS

S

S SS

SS

เกิดความไมสมดุลของชนิดและปริมาณของพันธะเชื่อมโยง (crosslinks)

Page 9: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

สมบตัขิองยางดอยลง

Effect of Crosslink Distribution on Tensile Strength of NR/NBR Gum 50 : 50 (41% Acrylonitrile) Blends

Accelerator (s)a, phr

Tensile strength, MPa

Crosslink distributionηNR : ηNBR

phys phys

TBBS, 1.17

TBBS, 1.17/TMTM, 0.1

TBBS, 1.17/ODIP, 0.37a With 1.3 phr sulphur

1.01

0.67

1.75

26.8

17.8

19.8

Page 10: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1.2.2 สารเคมียางสามารถเคลื่อนยายขามวัฏภาคยางที่ตางกันได โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป

Diffusion of sulphur from NR to SBR (150 °C, 9 sec).(J.B.Gardiner, Rubber Chem.Technol. 42, 1058 (1969))

Diffusion of sulphur from NR to butyl (150 °C, 9 sec).(J.B.Gardiner, Rubber Chem.Technol. 42, 1058 (1969))

Page 11: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ฉะนั้นอาจเกิดการเคลื่อนยายของสารวัลคาไนซเพิ่มขึ้นในระหวางการวัลคาไนซยางผสม

- เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เชนที่อุณหภูมิที่วัลคาไนซ- การเคลื่อนยายจากวัฏภาคยางที่วัลคาไนซชาไปยังวัฏภาคยางที่วัลคาไนซเร็ว

ทําใหการควบคุมสมดุลของสารวัลคาไนซในยางผสมยากขึ้น

Page 12: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

1.3 แนวทางแกไข

1. ควบคุมไมใหสารวัลคาไนซในยางวัฏภาคตางๆ ตางกันมาก- ปรับวิธีการผสมยางกับสารเคมียาง เชน เปลี่ยนลําดับการเติมสารเคมียาง- ผสมสารวัลคาไนซในยางแตละตัวกอน แลวจึงผสมยางภายหลัง

2. ปรับอัตราเร็วของการวัลคาไนซยางในวัฏภาคตางๆ โดย- ปรับชนิดของตัวเรง- ใชตัวเรงมากกวา 1 ชนิดรวมกัน- ใชสารหนวงปฏิกิริยา (retarder)- ดัดแปรยางเชิงเคมีเพื่อเพิ่มความไวปฏิกิริยาของยาง

Page 13: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

การปรับชนิดของตัวเรง

0

10

20

30

40

50

60

70

1.3 CBS 1.24 MBS 1.17 TBBS 1.3 CBS + 0.1TMTM

1.17 TBBS +0.37 O DIP

Accelerator(s), phr

Phys

ical

cro

sslin

k de

nsity

, mol

/m3

NR NBR

Crosslink distribution in gum vulcanisates of 50 : 50 NR : NBR (41% acrylonitrile) blends, all contain 1.3 phr sulphur.

Page 14: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

การดัดแปรยางเชิงเคมีเพื่อเพิ่มความไวปฏิกิริยาของยาง

ความไวปฏิกิริยาเปลี่ยนไป

S

BT

EPDM + L – S – S – L

Sulphurdonor

S

L

Modified EPDM

+

Accelerator

MBT

+ L - H

Vulcanisation precursor

Page 15: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

BAPD = Bis-alkylphenoldisulphideDTDC = DithiodicaprolactamDTDM = Dithiodimorpholine

ความไวปฏิกิริยาของ EPDM เปลี่ยนไป

0

0.5

1

1.5

2

Control BAPD DTDC DTDM0

0.05

0.1

0.15

0.2

Bound rubberVolume swelling

Bound rubber, g/g black

Volume swelling (Vr toluene)

Interaction between EPDM and carbon black (50 phr N660)

มีผลตอสมบัติของยางผสม (NR/EPDM)

0

1

2

3

4

5

Control BAPD DTDC DTDM0

5

10

15

20

25M100 TS

Modulus, MPa

Tensile strength, MPa

Tensile properties of black-filled (50 phr N660) NR/EPDMblends (2.0 phr S/0.6 phr CBS, tmax / 150 °C)

Page 16: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

3. หาวิธีติดตามการวัลคาไนซในยางแตละวัฏภาคอยางนอยจะชวยใหทราบปญหาและหาทางแกไขตอไป

3.1 วัดสมบัติทางกลเชิงพลวัตร (dynamicmechanical property)- วัดสมบัติการวัลคาไนซยางแบบ

ปกติ (MDR,ODR) ใชไมได- วัดสมบัติทางกลเชิงพลวัตร

สามารถใชได (RPA)

Page 17: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

3.2 ใช Nuclear Magnetic Resonance Spectroscopy (NMR)วัด NMR ของตัวอยางที่บวมดวยตัวทําละลาย

วัดความแตกตางของความกวางของสญัญาณ

Comparison of swollen-state 1H NMR spectra of gum vulcanisates cured with S/CBSto have high (3.0/0.8 phr) and low (1.0/0.2 phr) crosslink densities.

Page 18: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

2. ปญหาการกระจายของสารตัวเติม (เสริมแรง) ในยางผสม

Page 19: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

การกระจายตัวของสารตัวเติม (เสริมแรง) ในยางแตละวัฏภาคอาจไมเทากัน หรือไมเปนไปตามที่ตองการ เนื่องจากยางแตละชนิดชอบสารตัวเติม (เขมาดํา,ซิลิกา) ไมเทากัน

การกระจายตัวของสารตัวเติมในยางผสม (50/50) ของ NR

ยางผสม

NR / CIIR

NR / BR

% สารตัวเติมใน NR

เขมาดํา ซิลิกา

88

28

90

70

ใชสารตัวเติม 20 phr

Page 20: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ซึ่งมีผลเสียตอสมบัติของยางผสม

Effect of carbon black distribution on vulcanisateproperties (40 parts per hundred rubber ISAF black; 50 NR/50 BR).(W.M.Hess et.al., Rubber Chem.Technol., 40, 371 (1967))

Effect of carbon black distribution on hysteresis(40 parts per hundred rubber ISAF black; 50 NR/50 BR).(W.M.Hess et.al., Rubber Chem.Technol., 40, 371 (1967))

Page 21: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

แนวทางแกไข

ปรับวิธีการผสมสารตัวเติม

ยางผสม (50/50) ของ NR/BR ใชเขมาดํา (CB) 20 phr

วิธีการผสม %CB ใน BR

ผสมยางกอนแลวใส CBผสม CB ใน masterbatch ของ NR และ BRผสม CB ใน NR masterbatchผสม CB ใน NR masterbatch แลวใหความรอนที่ 155 ° C 10 นาที

75594018

Page 22: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

ผลตอสมบัติของยางผสมที่ไดยางผสม (50/50) ของ NR/BR ใชเขมาดํา (CB) 40 phr

100% NR CB ทัง้หมดใน NR

Tensile strength (kg/cm2)

300% Modulus

Elongation at break (%)

Tear resistance (kg/tp)

Resilience at 50 °C (%)

Hardness (BS Degree)

50% CBใน BR

CB ทัง้หมดใน BR

ผสมปกติ

250

124

511

19.1

87.5

59

179

110

435

15.1

86

57

171

104

438

15.6

84.5

59

161

95

439

11.5

84

56

156

102

415

11.3

86

60

Page 23: ดร กฤษฎา สุชีวะป ญหาของยางผสมและเทคนิคการแก ไข ดร.กฤษฎา สุชีวะ

สรุป

1. การใชยางผสมมีปญหาเนื่องจากยางสวนใหญผสมเขากันไมได ทําใหมีโครงสรางแยกเปนวัฏภาค

2. โครงสรางของยางผสมดังกลาวทําใหมีปญหาในดาน- การวัลคาไนซยางในแตละวัฏภาคใหไดสมดุล- การกระจายตัวของสารตัวเติมในยางแตละวัฏภาคไมสมดุล

3. ฉะนั้นควรตองทําความเขาใจกับปญหาดังกลาว และทราบแนวทางในการแกไขเพื่อนําไปปรับทําจริงใหไดในการผลิตภัณฑในอุตสาหกรรม