351
สรุปผลการดาเนินงาน คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ปฏิบัติหน้ำที่สำนักงำนเลขำธิกำรสภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

สรุปผลการด าเนินงาน - Parliament...ในกระบวนการย ต ธรรมทางอาญา โดยร างพระราชบ

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สรุปผลการด าเนินงาน คณะกรรมาธิการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ

    ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

    สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ

    ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ปฏิบัติหน้ำที่ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

  • บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร (Executive Summary)

    ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม บัญญัติให้มีการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ รวม ๑๑ ด้าน ทั้งนี้ เพ่ือให้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความเหมาะสมกับสภาพสังคมไทย มีระบบการเลือกตั้งที่สุจริตและเป็นธรรม มีกลไกป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ ขจัดความเหลื่อมล้้าและสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน ท้าให้กลไกของรัฐสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดและเป็นธรรมโดยการปฏิรูปด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเป็นด้านหนึ่งที่ส้าคัญและบัญญัติไว้

    คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมมีอ้านาจหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ จัดท้าแนวทาง แผนการปฏิรูป วิธีการปฏิรูปพร้อมก้าหนดเวลาการปฏิรูป และข้อเสนอแนะเพ่ือด้าเนินการให้เกิดการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และการบังคับใช้กฎหมายให้สัมฤทธิผล ตามมาตรา ๒๗ (๓) สืบต่อจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ โดยให้ค้านึงถึงความส้าคัญเร่งด่วนและ ความสัมฤทธิผลของการปฏิรูปในระยะเวลาที่เหลืออยู่ รวมทั้งมีอ้านาจหน้าที่อ่ืนตามที่สภามอบหมาย

    ในระยะเวลาระหว่างวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ถึง วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ได้ปฏิบัติหน้าที่ ตามกรอบอ้านาจหน้าที่เพ่ือจัดท้าแผนการปฏิรูปและรายงานการปฏิรูปที่ส้าคัญเร่งด่วนให้สัมฤทธิผล โดยมี การตั้งคณะอนุกรรมาธิการเพ่ือศึกษาและจัดท้ารายงานขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมในประเด็นที่ส้าคัญ ซ่ึงแต่ละคณะมีข้อเสนอเพ่ือการปฏิรูปโดยสรุป ดังนี้

    ๑. คณะอนุกรรมาธิการจัดท้าแผนปฏิรูปด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม คณะอนุกรรมาธิการได้จัดท้าแผนปฏิรูปด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เสนอต่อ

    คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ซึ่งคณะกรรมาธิการ ได้ให้ความเห็นชอบและเสนอเป็นแผนการปฏิรูปของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ต่อสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จ้านวน ๓ แผน คือ

    ๑.๑ แผนการปฏิรูปกิจการต้ารวจ ๑.๒ แผนการปฏิรูปการด้าเนินงานในองค์กรกระบวนการยุติธรรม ๑.๓ แผนการปฏิรูปการเพิ่มประสิทธิภาพในการอ้านวยความยุติธรรมเพื่อประชาชน

    ๒. คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปกิจการต้ารวจ คณะอนุกรรมาธิการได้ศึกษาและจัดท้ารายงานการปฏิรูป วิธีการปฏิรูป และข้อเสนอแนะเสร็จสิ้น

    จ้านวน ๕ เรื่อง คือ ๒.๑ เรื่อง ระบบงานบริการประชาชนในการรับแจ้งความและสอบสวน ๒.๒ เรื่อง ความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคลของต้ารวจจากการแทรกแซงทางการเมือง ๒.๓ เรื่อง การวางแนวทางมาตรฐานการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการต้ารวจ ๒.๔ เรื่อง การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกิจการของต้ารวจ ๒.๕ เรื่อง ปฏิรูปงบประมาณของต้ารวจ และระยะเวลาที่เหลืออยู่ไม่พอให้พิจารณาศึกษา จ้านวน ๔ เรื่อง คือ ๒.๖ เรื่อง การถ่ายโอนภารกิจให้หน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่โดยตรงไปด้าเนินการ ๒.๗ เรื่อง การจัดระบบนิติวิทยาศาสตร์

  • ๒.๘ เรื่อง การป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น ๒.๙ เรื่อง ระบบการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการต้ารวจ และระบบการฝึกอบรม

    ๓. คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการด้าเนินงานในองค์กรกระบวนการยุติธรรม คณะอนุกรรมาธิการได้จัดท้ารายงานการปฏิรูป วิธีการปฏิรูป และข้อเสนอแนะ จ้านวน ๒ เรื่อง คือ ๓ .๑ เรื ่อ ง การใช ้อ ุปกรณ ์อ ิเล ็กท รอน ิกส ์ต ิดตามต ัว (Electronic Monitoring : EM)

    ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยระบบการติดตามตัวโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา พ.ศ. ....

    ๓.๒ เรื่อง การใช้ระบบบันทึกภาพและเสียงในชั้นศาล และอยู่ในระหว่างศึกษาและจัดท้ารายงานจ้านวน ๑ เรื่อง คือ ๓.๓ เรื่อง แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม

    ๔. คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการเพิ่มประสิทธิภาพในการอ้านวยความยุติธรรมเพ่ือประชาชน คณะอนุกรรมาธิการได้จัดท้ารายงานการปฏิรูป วิธีการปฏิรูป และข้อเสนอแนะ จ้านวน ๔ เรื่อง คือ ๔.๑ เรื่อง การปฏิรูปทนายความอาสา ทนายความขอแรง และที่ปรึกษากฎหมายของเด็ก

    หรือเยาวชน ๔.๒ เรื่อง การปฏิรูปประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญาโดยใช้การประเมินเป็นตัวชี้วัด ๔.๓ เรื่อง การปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท้าความผิดทางอาญา

    (เหยื่อหรือผู้เสียหาย) ๔.๔ เรื่อง การพัฒนามาตรการต่อผู้กระท้าผิดอาญาแทนการควบคุมตัว (Non – Custodial

    Measures) โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรสหวิชาชีพและชุมชน ต่อมาคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติ ธรรม

    ได้มีมติตั้งคณะอนุกรรมาธิการเพ่ิมอีก ๑ คณะ คือ คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบนิติวิทยาศาสตร์เพ่ือท้าหน้าที่ศึกษาและพัฒนาระบบนิติวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยให้มีมาตรฐานสากลและสามารถส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมเพ่ือประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ๕. คณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบนิติวิทยาศาสตร์ คณะอนุกรรมาธิการได้จัดท้ารายงานการปฏิรูป วิธีการปฏิรูป และข้อเสนอแนะ จ้านวน ๑ เรื่อง คือ เรื่อง การปฏิรูประบบงานนิติวิทยาศาสตร์ทั้งระบบ โดยร่างระเบียบส้านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย

    คณะกรรมการนโยบายนิติวิทยาศาสตร์แห่งชาติ พ.ศ. .... ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

    ได้เสนอรายงานต่อสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ให้ความเห็นชอบแล้ว จ้านวน ๙ เรื่อง อยู่ระหว่างเสนอรายงานต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เพ่ือส่งหน่วยงานรับผิดชอบ จ้านวน ๓ เรื่อง อยู่ระหว่างจัดท้ารายงานเสนอสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จ้านวน ๑ เรื่อง และระยะเวลาที่เหลืออยู่ไม่พอให้พิจารณาศึกษา จ้านวน ๔ เรื่อง

  • รำยงำนผลกำรด ำเนินกำรแผนปฏิรูปของคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

    แผนกำรปฏิรูป

    สปท.พิจำรณำ

    เห็นชอบ รำยงำน

    เสนอนำยกรัฐมนตรี

    กำรพิจำรณำของ คกก. ประสำนงำน ๓ ฝ่ำย

    กำรพิจำรณำของ คกก.ประสำนงำน สนช.และ

    สปท.

    หมำยเหตุ

    (กำรด ำเนินกำร)

    ๑. แผนกำรปฏิรูปกิจกำรต ำรวจ ๑.๑ เร่ือง ระบบงานบริการประชาชนในการ

    รับแจ้งความและสอบสวน ๑๙ มกราคม ๒๕๕๙ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๙ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

    นรม.เห็นชอบส่งเร่ืองให้ คกก.ขับเคลื่อนคณะ ๓ รวมถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้องแล้ว

    ๑.๒ เร่ือง ความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคลของต้ารวจจากการแทรกแซงทางการเมือง

    ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๙ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๙ นรม.เห็นชอบส่งเร่ืองให้ คกก.ขับเคลื่อน คณะ ๕ และคณะ ๓ สตช. สนช. และ สปท.แล้ว

    ๑.๓ เร่ือง การวางแนวทางมาตรฐานการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการต้ารวจ

    ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๙ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๙ ส่ง ตร. กราบเรียน นรม. และเสนอ ครม. เพื่อทราบแล้ว

    ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๙

  • แผนกำรปฏิรูป

    สปท.พิจำรณำ

    เห็นชอบ รำยงำน

    เสนอนำยกรัฐมนตรี

    กำรพิจำรณำของ คกก. ประสำนงำน ๓ ฝ่ำย

    กำรพิจำรณำของ คกก.ประสำนงำน สนช.และ

    สปท.

    หมำยเหตุ

    (กำรด ำเนินกำร)

    ๑.๔ เร่ือง การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในกิจการของต้ารวจ

    ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐

    ๑.๕ เร่ือง ปฏิรูประบบงบประมาณของต้ารวจ

    - เสนอ กมธ.ฯพิจารณา ๓ ก.ค. ๖๐ - จะเสนอวิป สปท. ๖ ก.ค. ๖๐

    ๑.๖ เร่ือง การถ่ายโอนภารกิจให้หน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่โดยตรงไปด้าเนนิการ

    - ระยะเวลาที่เหลืออยู่ไม่พอให้ พิจารณาศึกษา

    ๑.๗ เร่ือง การจัดระบบนิติวิทยาศาสตร ์ - ระยะเวลาที่เหลืออยู่ไม่พอให้ พิจารณาศึกษา

    ๑.๘ เร่ือง การป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น - ระยะเวลาที่เหลืออยู่ไม่พอให้ พิจารณาศึกษา

    ๑.๙ เร่ือง ระบบการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการต้ารวจ และระบบการฝกึอบรม

    - ระยะเวลาที่เหลืออยู่ไม่พอให้ พิจารณาศึกษา

    ๒. แผนกำรปฏิรูปกำรด ำเนินงำนในองค์กร กระบวนกำรยุติธรรม

    ๒.๑ เร่ือง การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (Electronic Monitoring : EM) ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิม่เติม

    ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๙ นายกรัฐมนตรีมีด้าริและบัญชาว่า “ให้สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศร่วมมือกับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผลักดัน

  • แผนกำรปฏิรูป

    สปท.พิจำรณำ

    เห็นชอบ รำยงำน

    เสนอนำยกรัฐมนตรี

    กำรพิจำรณำของ คกก. ประสำนงำน ๓ ฝ่ำย

    กำรพิจำรณำของ คกก.ประสำนงำน สนช.และ

    สปท.

    หมำยเหตุ

    (กำรด ำเนินกำร)

    ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบัที ่..) พ.ศ. .... ร่างพระราชบญัญัติวิธปีฏิบัติเก่ียวกับการกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา (ฉบบัที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติวา่ด้วยระบบการติดตามตัวโดยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการยตุิธรรมทางอาญา พ.ศ. ....

    กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปประเทศ/ให้ทันสมัย/ส้าคัญให้ออกใช้ได้ด่วน ตามหนังสือ ลงวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

    ๒.๒ เร่ือง การใช้ระบบบันทึกภาพและเสียงในชั้นศาล

    - เสนอ กมธ.ฯพิจารณา ๓ ก.ค. ๖๐ - จะเสนอวิป สปท. ๖ ก.ค. ๖๐

    ๒.๓ เรื่อง แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม - เสนอ กมธ.ฯพิจารณา ๓ ก.ค. ๖๐ ๓. แผนกำรปฏิรปูกำรเพิ่มประสิทธิภำพใน

    กำรอ ำนวยควำมยุติธรรมเพื่อประชำชน

    ๓.๑ เร่ือง การปฏิรูปทนายความอาสา ทนายความขอแรง และที่ปรึกษากฎหมายของเด็กหรือเยาวชน

    ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๙ ส่ง ยธ. กราบเรียน นรม. และ เสนอ ครม. แล้ว

    ๑๔ กันยายน ๒๕๕๙ - สนง.กิจการยุติธรรม ได้รับมอบหมายจาก ยธ.ให้รับผิดชอบ และจัดทา้รายงานผลการด้าเนนิการ เสนอต่อ ครม. ต่อไป - ครม.มีมติ ๓๐ พ.ค. ๖๐

  • แผนกำรปฏิรูป

    สปท.พิจำรณำ

    เห็นชอบ รำยงำน

    เสนอนำยกรัฐมนตรี

    กำรพิจำรณำของ คกก. ประสำนงำน ๓ ฝ่ำย

    กำรพิจำรณำของ คกก.ประสำนงำน สนช.และ

    สปท.

    หมำยเหตุ

    (กำรด ำเนินกำร)

    เห็นชอบมอบหมาย ให้ ยธ. เป็นหน่วยงานติดตามผลและรายงานผลความคืบหนา้ ให้ ครม. ทราบทุก ๖ เดือน

    ๓.๒ เร่ือง การปฏิรูปประสทิธิภาพกระบวนการยุติธรรมทางอาญาโดยการใช้การประเมินเปน็ตัวชี้วดั

    ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๙ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๙ ส่ง ยธ. กราบเรียน นรม. และเสนอ ครม. แล้ว

    ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๙

    - ๓ ก.พ. ๖๐ ที่ประชุม คกก.พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ มีมติเห็นชอบแตง่ตั้งคณะอนุกรรมการปฏิรูปตัวชี้วัดฯ และที่ประชุมคณะอนุกรรมการฯ เมื่อ ๑๗ มี.ค. ๖๐ สกธ. ในฐานะฝ่ายเลขานุการได้นา้เสนอแนวทางการขับเคลื่อนตามข้อเสนอของ สปท.

    ๓.๓ เร่ือง การปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท้าความผิดทางอาญา (เหยื่อหรือผู้เสียหาย

    ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๐ ส่งหน่วยงานที่เก่ียวข้อง คือ ๑. คณะรัฐมนตรี ๒. ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ ๓. ส้านักงานอัยการสูงสุด ๔. ส้านักงานศาลยุติธรรม ๕. เนติบัณฑิตยสภา ๖. สภาทนายความ

  • แผนกำรปฏิรูป

    สปท.พิจำรณำ

    เห็นชอบ รำยงำน

    เสนอนำยกรัฐมนตรี

    กำรพิจำรณำของ คกก. ประสำนงำน ๓ ฝ่ำย

    กำรพิจำรณำของ คกก.ประสำนงำน สนช.และ

    สปท.

    หมำยเหตุ

    (กำรด ำเนินกำร)

    ๓.๔ เรื่อง การพัฒนามาตรการต่อผู้กระทา้ผิดอาญาแทนการควบคุมตวั (Non - Custodial Measures) โดยการมสี่วนร่วมขององค์กรสหวิชาชีพและชมุชน

    ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐

    ๔. แผนกำรปฏิรูประบบนิติวิทยำศำสตร์ - การปฏิรูประบบงานนติิวิทยาศาสตร์ทั้ง

    ระบบ โดยร่างระเบยีบสา้นักนายกรัฐมนตรีวา่ด้วยคณะกรรมการนโยบายนิติวทิยาศาสตร์แห่งชาติ พ.ศ. ....

    - เสนอ กมธ.ฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ๒๙ พ.ค. ๖๐ - เสนอวิป สปท. ๘ มิ.ย. ๖๐ (ให้ปรับปรุงแก้ไขรายงาน) - จะเสนอวิป สปท. อีกครั้ง ๑๓ ก.ค. ๖๐

  • ค ำน ำ

    ด้วยในคราวประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๘ วันอังคารที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ที่ประชุมได้มีมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจ้าสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ตามข้อบังคับสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๗๓ ประกอบกับ ข้อ ๗๕ เป็นคณะกรรมาธิการสามัญคณะหนึ่งในสิบเอ็ดคณะ และที่ประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ได้มีมติ ลงวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ แต่งตั้งนายวิรัช ชินวินิจกุล เป็นประธานคณะกรรมาธิการ โดยมีอ้านาจหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์ จัดท้าแนวทาง แผนการปฏิรูป วิธีการปฏิรูปพร้อมก้าหนดเวลาการปฏิรูป และข้อเสนอแนะเพ่ือการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และการบังคับใช้กฎหมายให้สัมฤทธิผล รวมทั้งมีอ้านาจหน้าที่อ่ืนตามที่สภามอบหมาย ต่อมานายวิรัช ชินวินิจกุล ขอลาออกจากการเป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ และประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ได้มีค้าสั่ง ที่ ๒๘/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๙ แต่งตั้ง นายเข็มชัย ชุติวงศ์ เป็นประธานกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม แทนต้าแหน่งที่ว่าง (นายวิรัช ชินวินิจกุล)

    ในระยะเวลาระหว่างวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ถึงปัจจุบัน คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกรอบอ้านาจหน้าที่ เพ่ือผลักดันประเด็นการปฏิรูปที่ส้าคัญเร่งด่วน เพ่ือลดความเหลื่อมล้้า สร้างความเสมอภาคและเป็นธรรมในสังคม รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อประโยชน์ต่อประเทศและประชาชนเป็นประการส้าคัญ

    เอกสารสรุปภาพรวมการด้าเนินงานของคณะกรรมาธิการเล่มนี้ ได้รวบรวมภาพรวมการด้าเนินงาน ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ในการศึกษา วิเคราะห์ จัดท้าแนวทาง แผนการปฏิรูป วิธีการปฏิรูป พร้อมก้าหนดเวลาการปฏิรูป และข้อเสนอแนะเพ่ือการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และการบั งคับ ใช้กฎหมายให้ สั มฤทธิผล ลดความเหลื่ อมล้้ า และสร้างความเป็ นธรรมในสั งคม โดยคณะกรรมาธิการและฝ่ายเลขานุการได้ร่วมกันปฏิบัติหน้าที่ด้วยความวิระยะอุตสาหะอันมีเป้าหมายส้าคัญคือ การปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบ ทั้งนี้ เพ่ือก่อให้เกิดการปฏิรูปและส่งผลดี ต่อประเทศชาติและประชาชนโดยรวมต่อไป

    คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

    สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐

  • นายเข็มชัย ชุติวงศ ์ประธานกรรมาธิการ

    (๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๘ – ปัจจุบัน)

    นายประสิทธิ์ ปทุมารักษ์ รองประธานกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง

    พลต้ารวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา รองประธานกรรมาธิการ คนที่สอง

    พลโท กฤษณะ บวรรัตนารักษ์ รองประธานกรรมาธิการ คนที่สาม

    นายตระกูล วินิจนัยภาค ที่ปรึกษากรรมาธิการ

    พลต้ารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ที่ปรึกษากรรมาธิการ

    พลต้ารวจโท อ้านวย นิ่มมะโน โฆษกกรรมาธิการ

    พลต้ารวจโท ธีรจิตร์ อุตมะ กรรมาธิการ

    นายบัญชา ปรมีศณาภรณ์กรรมาธิการ

    คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์กรรมาธิการ

    นายไวกูณฑ์ ทองอร่ามกรรมาธิการ

    นายจุมพล สุขม่ัน เลขานุการกรรมาธิการ

    กรรมาธิการ

    นายวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตรผู้ช่วยเลขานุการกรรมาธิการ

    กรรมาธิการ

    นายวิรัช ชินวินิจกุล ประธานกรรมาธิการ

    (๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – ๙ ธันวาคม ๒๕๕๙)

    รำยนำมคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

    พันต้ารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์โฆษกกรรมาธิการ

    พลต้ารวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชากรรมาธิการ

  • นายอชิตศักดิ์ บรรจงโพธิ์กลาง ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    (๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ - ๒๙ ธนัวาคม ๒๕๕๙)

    นางสาวดวงเดือน สุทธาชีพ ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    พลต้ารวจโท ยงยุทธ เจริญวานิช ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    พลเรือตรี เผ่าเทพ ประสานพานิช ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    รองศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    นายวิพล กิติทัศนาสรชัย ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    นางสาวปิติกาญจน์ สิทธิเดช ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    พันเอก สมภพ สีตะมัย ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ กีรติวินทกร ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวิชา เปา้อารีย์ผู้ช้านาญการประจ้าคณะกรรมาธิการ

    นายอรรถสิทธิ์ กันมล ที่ปรึกษาประจ้าคณะกรรมาธิการ

    พันต้ารวจเอก ไตรเมต อู่ไทย ผู้ช้านาญการประจ้าคณะกรรมาธิการ

    รำยนำมที่ปรึกษำและผู้ช ำนำญกำรประจ ำคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

  • นายจุมพล สุขม่ัน ประธานอนกุรรมาธิการ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวิชา เปา้อารีย์ รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง

    นางเด่นเดือน กลั่นสอน รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่สอง

    พลต้ารวจโท จักรทิพย์ กุญชร ณ อยุธยา ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการ

    นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการ

    นายฐิติ สุเสารัจ ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการ

    นายบัญชา ปรมีศณาภรณ์ อนุกรรมาธิการ

    พลต้ารวจตรี เจิมศักดิ์ หอมหวล อนุกรรมาธิการ

    นายจักราวุธ ศิริฟองนุกูล อนุกรรมาธิการ

    พันต้ารวจเอก ทินกร สมวันดี อนุกรรมาธิการ

    พันต้ารวจโท สุพจน์ นาคเงินทอง อนุกรรมาธิการ

    นางสาวชวลิดา ภิรมย์วงศ ์อนุกรรมาธิการ

    นายสุรพล ฤทธิพงศ์ชูสิทธิ์ อนุกรรมาธิการ

    นางจันทวรรจ์ หรรษาภิรมย์โชค เลขานุการอนุกรรมาธิการ

    นาวาอากาศตรีหญิง อริญชย์รักย์ ฮวบเอี่ยม ผู้ช่วยเลขานุการอนุกรรมาธิการ

    รำยนำมคณะอนุกรรมำธิกำรจัดท ำแผนปฏิรูปด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม ในคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

    สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

  • ที่ปรึกษำคณะอนุกรรมำธิกำรจัดท ำแผนปฏิรูปด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม ๑) พลต้ารวจโท อ้านวย นิ่มมะโน ๒) นายประสิทธิ์ ปทุมารักษ์ ๓) นายวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร ๔) นายแพทย์ไตรยฤทธิ์ เตมหิวงศ์

  • พลต้ารวจเอก วรพงษ์ ชิวปรีชา ประธานอนุกรรมาธิการ

    รำยนำมคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูปกิจกำรต ำรวจ ในคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

    สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

    พลต้ารวจเอก ชัยยง กีรติขจร พลต้ารวจตรี พินิต มณีรัตน์ พันต้ารวจเอก กันตพิชญ์ กฤตวงศ์วิมาน รองประธานอนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ ร้อยต้ารวจโท ณกรณ์ พรหมมะ นางสาวสุภาวดี สุขมั่น นายชาคริต กฤติยาโชติปกรณ์ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ นางจันทวรรจ์ หรรษาภิรมย์โชค นางสาวอติภา ประภาสวัต นายณัฐนันท์ กัลยาศิริ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

    นางเมธินี รัตรสาร นายพลวราเทพ จิรบรรเจิดสิริ พลต้ารวจตรี ชนะชัย ลิ้มประเสริฐ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการและเลขานุการ

    พันต้ารวจโท ดุสิต จิตขุนทด อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ

  • ที่ปรึกษำคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูปกิจกำรต ำรวจ ๑. พลต้ารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ๒. พลต้ารวจเอก เดชณรงค์ สุทธิชาญบัญชา ๓. พลต้ารวจโท ธีรจิตร์ อุตมะ ๔. พลต้ารวจโท อ้านวย นิ่มมะโน ๕. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ๖. นายจุมพล สุขม่ัน ๗. นายบัญชา ปรมีศณาภรณ์ ๘. นายวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร ๙. พลต้ารวจเอก อ้านาจ อันอาตม์งาม ๑๐. พลต้ารวจเอก ปัญญา มาเม่น ๑๑. พลต้ารวจโท นเรศ เทียนกริม ๑๒. พลต้ารวจโท สฤษฎ์ชัย เอนกเวียง ๑๓. พลต้ารวจโท โสภณ พิสุทธิวงษ์ ๑๔. พลต้ารวจโท รุ่งโรจน์ แสงคร้าม ๑๕. พลต้ารวจโท จักรทิพย์ กุญชร ณ อยุธยา ๑๖. พลต้ารวจโท ยงยุทธ เจริญวานิช ๑๗. พลต้ารวจโท ปัญญา เอ่งฉ้วน ๑๘. พลต้ารวจโท ชินทัต มีศุข ๑๙. พลต้ารวจตรี เทพฤทธิ์ พรรณพัฒน์ ๒๐. พลต้ารวจตรี เจิมศักดิ์ หอมหวล ๒๑. พลต้ารวจตรี เสน่ห์ ค้าเท่ียง ๒๒. พลต้ารวจตรี ภัคพงศ์ พงษ์เภตรา ๒๓. พลต้ารวจตรี นายแพทย์ พรชัย สุธีรคุณ ๒๔. พลต้ารวจตรี วิชาญญ์วัชร์ บริรักษ์กุล ๒๕. พลต้ารวจตรี ธวัชชัย เมฆประเสริฐสุข ๒๖. พลต้ารวจตรี นัยวัฒน์ ผะเดิมชิต ๒๗. พลต้ารวจตรี ธัชชัย ปิตะนีละบุตร ๒๘. รองศาสตราจารย์ พลอากาศตรี วิชาญ เปี้ยวนิ่ม ๒๙. พันต้ารวจเอก มนตรี สีทอง ๓๐. พันต้ารวจเอก ทินกร สมวันดี ๓๑. พันต้ารวจเอก ปรีดา สถาวร ๓๒. พันต้ารวจเอก ทิวธวัช นครศรี ๓๓. พันต้ารวจโท ธวัชชัย แสวงทรัพย์ ๓๔. พันต้ารวจโทหญิง สิริพรรณ พูลสุข ๓๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันต้ารวจโท เกษมศานต์ โชติชาครพันธุ์ ๓๖. ศาสตราจารย์ไพฑูรย์ ณรงค์ชัย ๓๗. รองศาสตราจารย์บุษบา ฤกษ์อ้านวยโชค

  • ๓๘. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุดมศักดิ์ หุ่นวิจิตร ๓๙. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีระศักดิ์ จรัสชัยศรี ๔๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติชัย เวยีงสิมมา ๔๑. นายจรูญศักดิ์ นวลแจ่ม ๔๒. นายเฉลิมพล สมเกียรติกุล ๔๓. นายชาติชาย ร้าพึง ๔๔. นายเชาวกิจ ศรีเมืองวงศ์ ๔๕. นายฐนนท์ศรณ์ เลิศฤทธิ์ศิริกุล ๔๖. นายธีรพร เหลืองรังษิยานุกุล ๔๗. นายนาวิน วานิช ๔๘. นายพงษ์จักรินทร์ ถาวรพงษ์ ๔๙. นายพรเพชร ปัญจปิยะกุล ๕๐. นายวรัชญ์ เพชรร่วง ๕๑. นายวิธู พฤกษนันท์ ๕๒. นายศิวกร ชมชื่น ๕๓. นายสมศักดิ์ อรรฆศิลป์ ๕๔. นายสรธัญ จุฑาวนิชกุล

  • นายประสิทธิ์ ปทุมารักษ์ ประธานอนกุรรมาธิการ

    นางเด่นเดือน กลั่นสอน รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง

    นายยรรยง เดชภิรัตนมงคล รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่สอง

    นายวิวรรธน์ แสงสุริยะฉัตร อนุกรรมาธิการ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์ กีรติวินทกร อนุกรรมาธิการ

    นายวิษณุ ตัณฑวิรุฬห์ อนุกรรมาธิการ

    นางสาวศุภมาศ พยัฆวิเชียร อนุกรรมาธิการ

    นายจักราวุธ ศิริฟองนุกูล อนุกรรมาธิการ

    นายไพจิตร พึ่งภพ อนุกรรมาธิการ

    นายชนิสร์ คล้ายสังข์ อนุกรรมาธิการ

    นาวาอากาศตรีหญิง อริญชย์รักย์ ฮวบเอ่ียม อนุกรรมาธิการและเลขานุการ

    รำยนำมคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูปกำรด ำเนินงำนในองค์กรกระบวนกำรยุติธรรม ในคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

    สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

    นายบัญชา ปรมีศณาภรณ์ อนุกรรมาธิการ

    นายจุมพล สุขม่ัน อนุกรรมาธิการ

    นางสาวชวลิดา ภิรมย์วงศ์ อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ

    นางสาวบุญล้อม ประเสริฐสุทธิ์ อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ

  • ที่ปรึกษำคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูปกำรด ำเนินงำนในองค์กรกระบวนกำรยุติธรรม ๑. นายตระกูล วินิจนัยภาค ๒. นายเข็มชัย ชุติวงศ ์๓. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ๔. นายไวกูณฑ์ ทองอร่าม ๕. พันต้ารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์ ๖. นายคณิศร ขุริรัง ๗. นายศิริชัย ปัญจบุญ ๘. นางสุภัทรา นาคะผิว ๙. นายเผ่าพันธุ์ ชอบน้้าตาล ๑๐. นายธนพิชญ์ มูลพฤกษ์ ๑๑. พลต้ารวจโท นาวิน สิงหะผลิน ๑๒. พันต้ารวจโท วรรณพงษ์ คชรักษ์

  • รำยนำมคณะอนุกรรมำธกิำรปฏิรูปกำรเพิ่มประสทิธภิำพในกำรอ ำนวยควำมยุตธิรรมเพื่อประชำชน ในคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

    สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

    พลโท กฤษณะ บวรรัตนารักษ์

    ประธานอนุกรรมาธิการ

    นายศักดา ช่วงรังษี รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง

    นางสาวปิติกาญจน์ สิทธิเดช รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่สอง

    นายวีรศักดิ์ โชติวานิช รองประธานอนุกรรมาธิการ คนที่สาม

    ศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ อนุกรรมาธิการ

    นางสาวสุนทรียา เหมือนพะวงศ์ อนุกรรมาธิการ

    นายสรวิศ ลิมปรังษี อนุกรรมาธิการ

    นายวิพล กิติทัศนาสรชัย อนุกรรมาธิการ

    หม่อมราชวงศ์ประเดิมสวัสดิ์ สวสัดิวัตน ์อนุกรรมาธิการ

    นางจันทร์ชม จินตยานนท์ อนุกรรมาธิการ

    พันต้ารวจเอก อาคม จันทนลาช อนุกรรมาธิการ

    นายวิเชียร ชุบไธสง อนุกรรมาธิการ

    นายปัญญา จันทร์เหมือนเผือก อนุกรรมาธิการ

    พันโท ณัฐวุฒิ พรหมศร อนุกรรมาธิการและเลขานุการ

    ร้อยโท พิษณุพงศ์ อิงคนินันท์ อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ

  • ที่ปรึกษำคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูปกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรอ ำนวยควำมยุติธรรมเพื่อประชำชน ๑. นายตระกูล วินิจนัยภาค ๒. นายจุมพล สุขม่ัน ๓. คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ๔. พลเรือตรี เผ่าเทพ ประสานพานิช ๕. พันต้ารวจเอก ธรากร เลิศพรเจริญ ๖. พันโท พุฒิพงษ์ ชีพสมุทร ๗. นางเรืองรวี พิชัยกุล

  • พลต้ารวจโท ธีรจิตร์ อุตมะ อนุกรรมาธิการ

    นายณรงค์ สหเมธาพัฒน์ อนุกรรมาธิการ

    พลต้ารวจตรี นายแพทย์พรชัย สุธีรคุณ อนุกรรมาธิการ

    พลต้ารวจตรี ธวัชชัย เมฆประเสริฐสุข อนุกรรมาธิการ

    รองศาสตราจารย์บุษบา ฤกษ์อ้านวยโชค อนุกรรมาธิการ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราภรณ์ พรหมวิกร อนุกรรมาธิการ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุดมศักดิ์ หุ่นวิจิตร อนุกรรมาธิการ

    นายสุรณรงค์ ศรีสุวรรณ อนุกรรมาธิการ

    นายกัณต์ ทองแถม ณ อยุธยา อนุกรรมาธิการ

    นายพรเพชร ปัญจปิยะกุล อนุกรรมาธิการ

    นายวงศ์กฎ ภู่ภูมิรัตน์ อนุกรรมาธิการ

    นายวิธู พฤกษนันต์ อนุกรรมาธิการ

    นาวาเอก นฤมิต ศุขสมิติ อนุกรรมาธิการและเลขานุการ

    รำยนำมคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูประบบนิติวิทยำศำสตร์ ในคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

    สภำขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ

    คุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์ ประธานอนกุรรมาธิการ

    นางสุธิดา สุวรรณรังษี อนุกรรมาธิการและผู้ช่วยเลขานุการ

  • ที่ปรึกษำคณะอนุกรรมำธิกำรปฏิรูประบบนิติวิทยำศำสตร์ ๑. นางสาวสุนทรียา เหมือนพะวงศ์ ๒. นายอ้านาจ เนตยสุภา ๓. นายศราวุฒิ ประทุมราช ๔. นางอุษา จั่นพลอย บุญเปี่ยม

  • สำรบัญ หน้ำ บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) ก ตารางรายงานผลการด้าเนินการแผนปฏิรูปของคณะกรรมาธิการ ค ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ค้าน้า ซ รายนามคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ฌ และกระบวนการยุติธรรม รายนามท่ีปรึกษาและผู้ช้านาญการประจ้าคณะกรรมาธิการ ญ รายนามคณะอนุกรรมาธิการจัดท้าแผนปฏิรูปด้านกฎหมายและ ฎ กระบวนการยุติธรรม และท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ รายนามคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปกิจการต้ารวจ ฐ และท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ รายนามคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการด้าเนินงานในองค์กรกระบวนการยุติธรรม ณ และท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ รายนามคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ต อ้านวยความยุติธรรมเพ่ือประชาชน และท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ รายนามคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูประบบนิติวิทยาศาสตร์ ท และท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ บทที่ ๑ แผนกำรปฏิรูปของคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ๑

    ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ๑. แผนการปฏิรูปกิจการต้ารวจ ๑

    ๒. แผนการปฏิรูปการด้าเนินงานในองค์กรกระบวนการยุติธรรม ๑๒ ๓. แผนการปฏิรูปการเพ่ิมประสิทธิภาพในการอ้านวย ๑๖ ความยุติธรรมเพ่ือประชาชน

  • สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ บทที่ ๒ แผนกำรปฏิรูปกิจกำรต ำรวจ ๑๙

    เรื่องที่ ๑ ระบบงานบริการประชาชนในการรับแจ้งความและสอบสวน ๑๙ เรื่องที่ ๒ ความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคลของต้ารวจ ๒๗

    จากการแทรกแซงทางการเมือง เรื่องที่ ๓ การวางแนวทางมาตรฐานการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการต้ารวจ ๓๙ เรื่องที่ ๔ การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกิจการของต้ารวจ ๔๕ เรื่องที่ ๕ ปฏิรูประบบงบประมาณของต้ารวจ ๗๐

    บทที่ ๓ แผนกำรปฏิรูปกำรด ำเนินงำนในองค์กรกระบวนกำรยุติธรรม ๘๙

    เรื่องที่ ๑ การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (Electronic ๘๙ Monitoring : EM) ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา โดยร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การกักขังตามประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยระบบการติดตามตัวโดยการใช้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา พ.ศ. ....

    เรื่องที่ ๒ การใช้ระบบบันทึกภาพและเสียงในชั้นศาล ๑๑๓ เรื่องที่ ๓ แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม ๑๔๐

    บทที่ ๔ แผนกำรปฏิรูปกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรอ ำนวยควำมยุติธรรมเพื่อประชำชน ๑๕๓

    เรื่องที่ ๑ การปฏิรูปทนายความอาสา ทนายความขอแรง ๑๕๓ และท่ีปรึกษากฎหมายของเด็กหรือเยาวชน

    เรื่องที่ ๒ การปฏิรูปประสิทธิภาพกระบวนการยุติธรรม ๑๗๖ ทางอาญาโดยใช้การประเมินเป็นตัวชี้วัด

    เรื่องที่ ๓ การปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการ ๑๙๒ กระท้าความผิดทางอาญา (เหยื่อหรือผู้เสียหาย)

    เรื่องที่ ๔ การพัฒนามาตรการต่อผู้กระท้าผิดอาญาแทนการควบคุมตัว ๒๐๘ (Non - Custodial Measures) โดยการมีส่วนร่วมของ องค์กรสหวิชาชีพและชุมชน

  • สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ บทที่ ๕ แผนกำรปฏิรูประบบนิติวิทยำศำสตร์ ๒๒๘

    เรื่อง การปฏิรูประบบงานนิติวิทยาศาสตร์ทั้งระบบ โดยร่างระเบียบ ๒๒๘ ส้านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายนิติวิทยาศาสตร์ แห่งชาติ พ.ศ. ....

    ภำคผนวก ภาคผนวก ก ร่าง กฎ ก.ตร. ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งตั้งและโยกย้าย ๒๓๙

    ข้าราชการต้ารวจระดับ สารวัตร ถึง จเรต้ารวจแห่งชาติ และ รองผู้บัญชาการต้ารวจแห่งชาติ พ.ศ. ....

    ภาคผนวก ข - ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายอาญา ๒๕๐

    (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... พร้อมบันทึกหลักการและเหตุผล และบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระส้าคัญ

    - ร่างพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขังตามประมวล กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... พร้อมบันทึกหลักการ และเหตุผล และบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระส้าคัญ

    - ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยระบบการติดตามตัวโดยการใช้ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา พ.ศ. .... พร้อมบันทึกหลักการและเหตุผล และบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระส้าคัญ

    ภาคผนวก ค - ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ได้รับความเสียหายในคดีอาญา ๒๗๐

    พ.ศ. .... พร้อมบันทึกหลักการและเหตุผล และบันทึกวิเคราะห์สรุปสาระส้าคัญ

    ภาคผนวก ง ร่างระเบียบส้านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการนโยบาย ๒๙๐

    นิติวิทยาศาสตร์แห่งชาติ พ.ศ. .... ภาคผนวก จ ภาพกิจกรรม ๒๙๕

    การประชุมของคณะกรรมาธิการและคณะอนุกรรมาธิการ การศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการและคณะอนุกรรมาธิการ การจัดสัมมนาของคณะกรรมาธิการ

  • สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ ภาคผนวก ฉ ค้าสั่งคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ๓๑๙

    ด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เรื่อง ตั้งคณะท้างาน จัดท้าสรุปผลการด้าเนินการของคณะกรรมาธิการ

    ภาคผนวก ช รายชื่อฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมาธิการ ๓๒๒

  • บทที่ ๑ แผนกำรปฏิรูปของคณะกรรมำธิกำรขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม

    กระบวนการยุติธรรมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางอาญา ในปัจจุบันต้องเผชิญกับปัญหาหลายด้าน

    ทั้งปัญหาความเหลื่อมล้้า การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การบังคับใช้กฎหมาย ประชาชนผู้ถูกด้าเนินคดีที่เป็นผู้ต้องหาหรือจ้าเลย การบังคับโทษทางอาญา ความแออัดและคุณภาพชีวิตในเรือนจ้า รวมทั้ง ปัญหา การอ้านวยความยุติธรรมที่ยังหย่อนประสิทธิภาพในหลายระบบ และปัญหาการปฏิบัติงานของต้ารวจที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสังคมในวงกว้าง จนท้าให้ขาดความเชื่อถือเชื่อมั่นและไม่มีความไว้วางใจ คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมได้ท้าการศึกษาวิเคราะห์และจัดท้าแผนการปฏิรูปด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม รวม ๓ แผน ประกอบด้วย แผนการ ปฏิรูปกิจการต้ารวจ แผนการปฏิรูปการด้าเนินงานในองค์กรกระบวนการยุติธรรม และแผนการปฏิรูปการเพ่ิมประสิทธิภาพในการอ้านวยความยุติธรรมเพ่ือประชาชน มีรายละเอียด ดังนี้

    เรื่องท่ี ๑ แผนกำรปฏิรูปกิจกำรต ำรวจ ๑. แผนกำรปฏิรูป

    - ปัญหำ โดยที่การบริหารราชการของส้านักงานต้ารวจแห่งชาติตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามีเหตุและปัจจัย

    ส้าคัญอันก่อให้เกิดปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและสังคมในวงกว้าง ทั้งในด้านการรักษาความมั่นคง และความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และการอ้านวยความยุติธรรม สาเหตุส้าคัญส่วนหนึ่งเกิดจากการแทรกแซงจากฝ่ายการเมืองในการบริหาร และการปฏิบัติงานของต้ารวจทุก ๆ ด้าน ดังจะเห็นได้ว่าเกือบทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลหรือมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองจะมีการเปลี่ยนตัวอธิบดีกรมต้ารวจหรือผู้บัญชาการต้ารวจแห่งชาติเ พ่ือให้ การปฏิบัติงานของต้ารวจตอบสนองต่อผลประโยชน์ทางการเมือง นอกจากนี้ระบบงานบริหารภายใน กับโครงสร้างและระบบงานของต้ารวจเองก็มีปัญหา จนกระทั่งประชาชนไม่เชื่อถือ ขาดความเชื่อมั่นและไม่มีความไว้วางใจต่อการปฏิบัติงานของต้ารวจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานสอบสวนคดีอาญาซึ่ งอยู่ในความรับผิดชอบของส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ อยู่ในภาวะที่ประชาชนไม่เชื่อมั่นว่าพนักงานสอบสวนได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริตและมีประสิทธิภาพแท้จริง มีการร้องเรียนว่าการสอบสวนมีปัญหาตั้งแต่การไม่รับค้าร้องทุกข์หรือกล่าวโทษจากประชาชน ไม่สอบสวนจับตัวผู้กระท้าผิดมารับโทษตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน สร้างความเดือดร้อน ต่อประชาชน ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของเจ้าหน้าที่ต้ารวจ จนกระทั่งมีเสียงเรียกร้องจากสาธารณชน ให้มีการปฏิรูปประเทศไทย รวมถึงการปฏิรูปส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ

    ท่ามกลางกระแสเรียกร้องของประชาชน ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียจากภาคส่วนต่าง ๆ เกี่ยวกับการปฏิรูปส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ได้ เล็งเห็นถึงความส้าคัญว่าการปฏิรูป กิจการต้ารวจมีความส้าคัญเร่งด่วนซึ่งจะต้องเร่งรัดแก้ไขหรือท้าการปฏิรูปเพ่ือให้การบังคับใช้กฎหมาย และการอ้านวยความยุติธรรมทางอาญาเป็นไปด้วยความเป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้ รวมถึงเพ่ือให้ การปฏิบัติงานของส้านักงานต้ารวจแห่งชาติมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลสามารถตอบสนองต่อสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนและเป็นไปเพ่ือประโยชน์ของประชาชนโดยแท้จริง การปฏิรูปกิจการต้ารวจ จึงจ้าเป็นต้องด้าเนินการปรับปรุงแก้ไขปัญหาในเรื่องดังต่อไปนี้

  • เรื่อง ๑ : ระบบงานสอบสวน เรื่อง ๒ : ความเป็นอิสระในการบริหารงานของต้ารวจจากการแทรกแซงทางการเมือง เรื่อง ๓ : การวางแนวทางมาตรฐานการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการต้ารวจ เรื่อง ๔ : การถ่ายโอนภารกิจให้หน่วยงานที่มีภารกิจหน้าที่โดยตรงไปด้าเนินการ เรื่อง ๕ : ระบบงบประมาณของต้ารวจ เรื่อง ๖ : การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกิจการของต้ารวจ เรื่อง ๗ : การจัดระบบนิติวิทยาศาสตร์ เรื่อง ๘ : การป้องกันการทุจริตคอรัปชั่น เรื่อง ๙ : ระบบการสรรหาบุคคลเข้ารับราชการต้ารวจ และระบบการฝึกอบรม

    ๒. วิธีกำรปฏิรูป - วิเครำะห์ จัดท ำแนวทำง เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะปฏิรูป

    จากสภาพปัญหาข้างต้น เมื่อน้ามาวิเคราะห์เพ่ือจัดท้าแนวทางปฏิรูปทั้ง ๙ เรื่องดังกล่าว คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เห็นว่า เมื่อพิจารณา โดยค้านึงถึงความส้าคัญ เร่งด่วนและความสัมฤทธิผล สามารถด้าเนินการปฏิรูปกิจการต้ารวจตามล้าดับ ดังนี้

    เรื่อง ๑ : ระบบงำนสอบสวน เนื่องจากปัจจุบันงานสอบสวนคดีอาญาของประเทศซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของ

    ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ อยู่ในสภาวะที่ประชาชนไม่เชื่อถือเชื่อมั่นว่าพนักงานสอบสวนได้ปฏิบัติหน้าที่กันอย่างมีประสิทธิภาพและสุจริตอย่างแท้จริง การปฏิบัติงานมีปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการให้บริการประชาชนตั้งแต่การที่พนักงานสอบสวนบางส่วนไม่รับค้าร้องทุกข์หรือกล่าวโทษจากประชาชนคนยากจน ไม่ มีอ้านาจ หรือด้อยสถานภาพทางสังคม ไม่ออกไปตรวจสถานที่เกิดเหตุหรือไปตรวจสถานที่เกิดเหตุล่าช้า มีการ เลือกปฏิบัติในการให้บริการ การท้าส้านวนล่าช้า และไม่แจ้งความคืบหน้าทางคดีให้ผู้เสียหายทราบ เป็นต้น ปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวนอกจากจะมีผลกระทบต่อการให้บริการประชนแล้วยังมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน ซึ่งเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ๔ ด้าน ดังนี้

    ๑. ด้านองค์กรและบุคลากร ๒. ด้านบริหารจัดการ ระเบียบ วิธีปฏิบัติงาน ๓. ด้านงบประมาณ ๔. ด้านวัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยีและสารสนเทศ อีกทั้งจากการศึกษาพบว่า การสืบสวน สอบสวน การป้องกันปราบปราม เป็นกระบวนการ

    ในการด้าเนินการทางคดีอาญาเพ่ือทราบข้อเท็จจริง พิสูจน์ความผิดและเอาตัวผู้กระท้าผิดมาฟ้องลงโทษตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ทั้งกระบวนการไม่สามารถแยกออกจากกันได้

    จากสภาพปัญหาดังกล่าว ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติจ้าเป็นต้องปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานสอบสวนทั้งด้านการแก้ไข ปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน การน้าเทคโนโลยีมาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพในการท้างานและการให้บริการประชาชน การทบทวนแนวทางการสร้างความก้าวหน้าในสายงานสอบสวน เป็นต้น รวมทั้งต้องปรับระบบให้งานสืบสวนสอบสวนสามารถท้างานควบคู่กันไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการท้าให้พนักงานสอบสวนมีความเป็นมืออาชีพ มีขวัญก้าลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งจะส่งผลให้ การอ้านวยความยุติธรรมแก่ประชาชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ต่อเนื่องและเป็นธรรมอย่างแท้จริ ง โดยมีแนวทางปฏิรูป ดังนี้

  • ๑) ปฏิรูปวิธีปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน โดยการแก้ไข ปรับปรุงกฎ ระเบียบและค้าสั่งที่เก่ียวข้อง การบริหารจัดการ การเพ่ิมงบประมาณ และการให้การสนับสนุนเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์

    ๒) การปรับระบบการประเมินเพ่ือเลื่อนต้าแหน่งของพนักงานสอบสวน ๓) แก้ไขคุณสมบัติเฉพาะส้าหรับต้าแหน่งผู้ก้ากับการสถานี ผู้บังคับการ และผู้บัญชาการ

    หน่วยปฏิบัติที่มีอ้านาจในการสอบสวน ๔) แก้ไขกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาให้มีความสอดคล้องกับการปฏิบัติหน้าที่ โดยให้

    หัวหน้าพนักงานสอบสวนเป็นผู้มีความเห็นสั่งคดีในส้านวนการสอบสวน ในการรับแจ้งความพนักงานสอบสวนต้องรับแจ้งความทุกคด�