89
9 5. สรุปผลการดําเนินงานอพ.สธ. 2552 5.1 กรอบการเรียนรูทรัพยากร กิจกรรมที1 กิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช กิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช มีเปาหมายที่จะปกปกพื้นที่ปาธรรมชาติ นอกเขตพื้นทีรับผิดชอบของกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดแกปาใน สถาบันการศึกษา ปาในศูนยวิจัยและสถานีทดลอง ปาที่ประชาชนรวมใจกันปกปก ซึ่งเมื่อรักษา ปาธรรมชาติไวก็จะรักษาพันธุกรรมดั้งเดิมในแตละพื้นทีโดยมีเปาหมายใหมีกระจายทั่ว ประเทศในทุกเขตพรรณพฤกษชาติ การปกปกพันธุกรรมสิ่งมีชีวิตในปาของสถาบันการศึกษา ไดสนับสนุนให สถาบันการศึกษาในระดับตางๆ จัดทําโครงการปกปกรักษาปาของสถาบัน ทําการสํารวจ ทํา รหัสประจําตน และขึ้นทะเบียนพันธุกรรมในพื้นทีเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี มหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนตน การปกปกพันธุกรรมสิ่งมีชีวิตในปาของจังหวัด สวนราชการและหนวยงานตางๆ ที่ได รวมสนองพระราชดําริ เชน พื้นที่ปกปกพันธุกรรมพืชจังหวัดชุมพร พื้นที่ปกปกพันธุกรรมพืช เขื่อนตางๆของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และพื้นที่ปกปกพันธุกรรมพืชหนวย บัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทยเปนตน สรุปงานในกิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช 1. พื้นที่ปกปกพันธุกรรมพืชของ อพ.สธ. และหนวยงานที่เขารวมสนองพระราชดําริ (รายละเอียดในตารางที1) รวมทั้งสิ้นจํานวน 29 หนวยงาน และศูนยศึกษาการ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ จํานวน 6 แหง 2. การปฏิบัติงานในพื้นที่ปกปกพันธุกรรมพืช โดยเจาหนาทีอพ.สธ. และ/ ชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. จํานวน 60 ครั้ง 3. การสนับสนุนและใหการฝกอบรมดานพฤกษศาสตรแกอาสาสมัคร และเครือขาย บุคลากรสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช โดยเจาหนาที่อพ.สธ. เปนวิทยากรให การฝกอบรม จํานวน 5 ครั้ง

5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

9

5. สรุปผลการดําเนินงานอพ.สธ. ป 2552

5.1 กรอบการเรียนรูทรัพยากร

กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช กิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช มีเปาหมายที่จะปกปกพ้ืนที่ปาธรรมชาติ นอกเขตพ้ืนที่

รับผิดชอบของกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดแกปาใน

สถาบันการศึกษา ปาในศูนยวิจัยและสถานีทดลอง ปาที่ประชาชนรวมใจกันปกปก ซึ่งเม่ือรักษา

ปาธรรมชาติไวก็จะรักษาพันธุกรรมดั้งเดิมในแตละพ้ืนที่ โดยมีเปาหมายใหมีกระจายทั่ว

ประเทศในทุกเขตพรรณพฤกษชาติ การปกปกพันธุกรรม ส่ิง มีชี วิตในปาของสถาบันการศึกษา ไดสนับสนุนให

สถาบันการศึกษาในระดับตางๆ จัดทําโครงการปกปกรักษาปาของสถาบัน ทําการสํารวจ ทํา

รหัสประจําตน และขึ้นทะเบียนพันธุกรรมในพ้ืนที่ เชน มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

มหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนตน การปกปกพันธุกรรมส่ิงมีชีวิตในปาของจังหวัด สวนราชการและหนวยงานตางๆ ที่ได

รวมสนองพระราชดําริ เชน พ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืชจังหวัดชุมพร พ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช ณ เขื่อนตางๆของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืชหนวย

บัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทยเปนตน

สรุปงานในกิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช

1. พ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืชของ อพ.สธ. และหนวยงานที่เขารวมสนองพระราชดําริ (รายละเอยีดในตารางที ่1) รวมทั้งส้ินจํานวน 29 หนวยงาน และศูนยศึกษาการ พัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริฯ จํานวน 6 แหง 2. การปฏิบัติงานในพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช โดยเจาหนาที่ อพ.สธ. และ/ ชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. จํานวน 60 ครั้ง 3. การสนับสนุนและใหการฝกอบรมดานพฤกษศาสตรแกอาสาสมัคร และเครือขาย บุคลากรสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช โดยเจาหนาที่อพ.สธ. เปนวิทยากรให การฝกอบรม จํานวน 5 ครั้ง

Page 2: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

10

1. พ้ืนท่ีปกปกพันธกุรรมพืชอพ.สธ. และหนวยงานท่ีเขารวมสนองพระราชดําริ

(รายละเอียดในตารางท่ี 1) มีการปฏิบตัิงานในภาพรวมแตละพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช

ตารางท่ี 1 พ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช หนวยงานรับผิดชอบ พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมพืช

พื้นท่ีเปาหมาย ขนาดของพื้นท่ี

1. โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช

อันเน่ืองมาจากพระราชดําริฯ (อพ.สธ.)

- ธนาคารพืชพรรณ สวนจิตรลดา

- ศูนยขอมูลพันธุกรรมพืช สวนจิตรลดา

- พื้นท่ีอพ.สธ. ทุกภาคในประเทศ

มีพื้น ท่ีร วมกับหนวยงานที่ ร วม

สนองพระราชดําริดังรายละเอียด

ดานลาง

2. กองทัพเรือ

- เกาะแสมสาร, เกาะขาม, เกาะจวง, เกาะจาน, เกาะแรด, เกาะโรงโขน, เกาะโรงหนัง, เกาะฉางเกลือ และเกาะปลาหมึก - เกาะตางๆในอาวไทยและทะเลอันดามัน - พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเลไทย

2,738 ไร 3 งาน 36 ตารางวา

3. หนวยบัญชาการทหารพัฒนา

กองบัญชาการทหารสูงสุด - พื้นท่ีรับผิดชอบของกองการเกษตรและ สหกรณ สํานักงานทหารพัฒนา อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี

เน้ือท่ี 15,880 ไร

4. กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน

สํานักงานตํารวจแหงชาติ

- พื้นท่ีที่ตั้งหนวย กกก.ตชด. จํานวน 70 แหง

เน้ือท่ี 5,134 ไร 3 งาน 18 ตารางวา - พื้นท่ีงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน จํานวน

147 แหง เน้ือท่ี 2,099 ไร 3 งาน 37

ตารางวา

รวมเน้ือท่ี 7,234 ไร 2 งาน 55 ตารางวา

5. กรมปาไม - พื้นท่ี ต.ซับจําปา อ.ทาหลวง จ.ลพบุรี

700 ไร (ปาจําปสิรินธร 100 ไร

สวนปา 600 ไร)

6. กรมวิชาการเกษตร

- ศูนยวิจัยพืชสวนลําปาง - ศูนยวิจัยยางหนองคาย - ศูนยวิจัยพืชสวนตรัง - ศูนยวิจัยพืชไรนครราชสีมา -ศูนยวิจัยพืชสวนยะลา

500 ไร 110 ไร 296 ไร 150 ไร 200 ไร

7. กรมพัฒนาที่ดิน -สถานีพัฒนาที่ดินท่ัวประเทศ 76 แหง 76 ไร

8. องคการสวนสัตวในพระบรมราชูปถัมภ

- สวนสัตวเปดเขาเขียว จ.ชลบุรี 3,500 ไร - การสํารวจพันธุไมตามเสนทาง

ศึกษาธรรมชาติ ระยะทาง 3

กิโลเมตร ,1,800 เมตร และ 500

เมตร

- ติดปายชื่อตนไมรอบสวนสัตว

63 ชนิด - สํารวจพันธุไมบริเวณเขาเจดีย - สํารวจปาในพ้ืนท่ีโกรกนํ้าแดง - ความหลากหลายของผีเส้ือ และ

พืชอาหาร (พบผีเส้ือ36 ชนิด)

Page 3: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

11

9. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พื้นท่ีเขื่อน 13 เขื่อน (เขื่อนภูมิพล, เขื่อนสิริกิติ์, เขื่อนศรีนครินทร, เขื่อนทาทุงนา, เขื่อนวชิราลงกรณ, เขื่อนรัชชประภา, เขื่อนบางลาง, เขื่อนอุบลรัตน, เขื่อนสิรินธร, เขื่อนจุฬาภรณ, เขื่อนนํ้าพุง, เขื่อนหวยกุม, โรงไฟฟาลําตะคอง)

21,066 ไร 1. สํารวจและเ ก็บตัวอยางพืช

พรรณพรอมเก็บรักษาตัวอยางแหง

จํานวน 364 ชนิด 2.บันทึกขอมูลการใชประโยชน

ตามภูมิปญญาทองถ่ิน จํานวน

151 ชนิด 3. จัดทําทะเบียนพืชพรรณ จํานวน

194 ชนิด 4.จัดเก็บตัวอยางเพ่ือการแสดงและ

กา รศึ กษ าค น ค ว า ในอนาคต

จํานวน 118 ชนิด 5.การจัดทําฝายชะลอนํ้า จํานวน

38 ฝาย จัดทําแนวปองกันไฟปา

เปนระยะทาง 55 กิโลเมตร ใน

พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมพืชตามเขื่อน

ตางๆ 6. สํารวจทรัพยากรกายภาพและ

ชีวภาพเขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี จํานวน 15 โครงการ 7. สํารวจทรัพยากรกายภาพและ

ชีวภาพเขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน

จํานวน 27 โครงการ

10.สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แหงประเทศไทย (วว.)

พื้นท่ีสถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช อ.วังนํ้าเขียว จ.นครราชสีมา

48,800 ไร - ดําเนินการบํารุงรักษาสถานีวิจัย

ส่ิงแวดลอมสะแกราช อ.วังนํ้าเขียว

จ .นค ร ร า ช สี ม า ภ า ย ใ ต ก า ร

ดํ า เ นิ น ก า ร โ ด ย ส ถ า บั น วิ จั ย

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง

ประเทศไทย มีพรรณไมปาท่ีเปน

ไมยืนตนมากกวา 200 ชนิด - ทําการศึกษาการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของพรรณไมใน

แปลงตัวอยางถาวรขนาดใหญใน

ปาดิบแลงและปาผลัดใบในสถานี

วิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช อ.วังนํ้า

เขียว จ .นครราชสีมา เพื่อเปน

ขอมูลในดานการศึกษาและการ

จัดการระบบนิเวศวิทยา 11. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- วิทยาเขตบางเขน - วิทยาเขตกําแพงแสน - วิทยาเขตศรีราชา - วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร (อุทยานธรรมชาติวิทยาปาเต็งรัง 72 พรรษา ) - วิทยาเขตลพบุรี - ศูนยวิจัยและสถานีวิจัยของมหาวิทยาลัยในภูมิภาค

20 ไร 100 ไร 370 ไร 2,000 ไร

200 ไร 680 ไร

Page 4: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

12

12. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - พื้นท่ีสนองพระราชดําริในโครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริฯ

ศึกษาวิจัยความหลากหลายทาง

ชีวภาพในพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช จํานวน 3 โครงการ 1. การศึกษาความหลากหลายทาง

ชีวภาพของผึ้ง ชันโรง แตนเบียน

ต อ แ ต น แ ล ะ แ ม ล ง อ่ื น ๆ ท่ี มี

ความ สําคัญทาง เศรษฐ กิจ ใน

บริเวณพ้ืนท่ีเขื่อนศรีนครินทร จ.

กาญจนบุรี เพื่อประโยชนดานการ

อนุรักษและทางเศรษฐกิจ 2. ความหลากหลายของสัตว

ส ะ เ ทิ น นํ้ า ส ะ เ ทิ น บ ก แ ล ะ

สัตวเลื้อยคลานและปรสิตในเลือด

ของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกใน

พื้นท่ี อพ.สธ.-เขื่อนศรีนครินทร 3. การสํารวจชนิดของปลาและเม

ตาเซอคาเรียของพยาธิใบไมใน

ปลามีเกล็ดในอางเก็บนํ้าของเขื่อน

ศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี

13. มหาวิทยาลัยแมโจ

- พื้นท่ีปาบานโปง - พื้นท่ีปาธรรมชาติมหาวิทยาลัยแมโจ-ชุมพร - พื้นท่ีมหาวิทยาลัยแมโจ

500 ไร - ความหลากหลายของละอองเรณู ในพื้นท่ีโครงการอนุรักษพันธุกรรม

พืช อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยาม

บรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยแมโจ - ลักษณะทางกายภาพของดินใน

พื้นท่ีโครงการอนุรักษพันธุกรรม

พืช บานโปง สันทราย จ.เชียงใหม - การแบ ง เ ขตและการ จัด ทํ า

ฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอัน

เน่ืองมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี - โครงการพัฒนาและฟนฟูพื้นท่ี

ปาบานโปงเพ่ือเปนศูนยกลางองค

ความรูดานการจัดการทรัพยากร

นํ้า โดยระบบฝายดินและหินชะลอ

นํ้า (ฝายชะลอความชุมชื้น) และ

การฟ น ฟูป า เ ต็ ง รั งด ว ย ร ะบบ

ชลประทาน 14. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง

- พื้นท่ีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

500 ไร

15. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

- พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมส่ิงมีชีวิตเขาคอหงส 200 ไร - โครงการพื้นท่ีปกปกพันธุกรรม

ส่ิงมีชีวิตเขาคอหงส - โครงการศึกษาความหลากชนิด

ประชากรและการกระจายของสัตว

Page 5: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

13

เลี้ยงลูกดวยนมในพ้ืนท่ีปกปกเขา

คอหงส - โครงการฝกอบรมตามกิจกรรม

ปกปกพันธุกรรมพืช 16. มหาวิทยาลัยนเรศวร - พื้นท่ี ต.ทาโพธ์ิ อ.เมือง จ.พิษณุโลก

- พื้นท่ีมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ต.แมกา อ.เมือง จ.พะเยา

อยูในระหวางการกําหนดขอบเขต

พื้นท่ี

17. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

- พื้นท่ีในเขตกรุงเทพมหานคร, อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท

60 ไร

18. มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี - พื้นท่ีปาธรรมชาติเดิม มหาวิทยาลัย ราชภัฏรําไพพรรณี จ.จันทบุรี

50 ไร -การสํารวจพืชพรรณตามเสนทาง

ในปาอนุรักษพันธุกรรมพืชฯ โดย

ไดชนิดพืชเพ่ิมเติมจากป 2551

จํานวน 48 ชนิด เชน กระฉอด,

เตารางหนู, โมกหอม ,ระกํา, ชงโค

ขาว และ หญาคมบาง เปนตน

- สนับสนุนงานวิจัยซ่ึงทําภายใน

พื้นท่ีปาอนุรักษฯ ดังน้ี 1. การคัดแยกเชื้อรากอโรคจาก

เห็ ด ย านา งิ ถุ ง แล ะ ยับ ย้ั ง ด ว ย

Actinomycete จากดินในปา

โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชฯ 2. Actinomycete ที่มีความ สามารถสรางสารปฏิชีวนะยับย้ัง

การเจริญและการสรางสารอะ ฟลาทอกซินของเชื้อรา Aspergillus flavus 3. คัดแยกแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติ

ในการดูดซับโลหะหนักจากดินใน

ปาอนุรักษพันธุกรรมพืชฯ 19. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน

- พื้นท่ี อ.หนองระเวียง มทร.อีสาน ศูนยกลาง

มหาวิทยาลัย จ.นครราชสีมา

1,000 ไร - การขยายพันธุพืชท่ีหายากในปาอนุรักษฯ เพื่อนําไปปลูกขยายใน

พื้นท่ีปาอนุรักษฯ 20. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ภาคตะวันออก

- วิทยาเขตบางพระ - วิทยาเขตจันทบุรี

3 ไร 450 ไร - ดําเนินการจัดทําปายชื่อพันธุพืช

อนุรักษในพ้ืนท่ีวิทยาเขตบางพระ

จํานวน 200 ปาย

21. มหาวิทยาลัยเชียงใหม พื้นท่ีศูนยการศึกษาม.เชียงใหมหริภูญชัย จ.

ลําพูน 500 ไร - โครงการการสํารวจพรรณพืชทองถ่ิน พฤกษศาสตรพื้นบาน

ปจจัยทางนิเวศวิทยาและการจัดทํา

ฐานขอมูลพืชพรรณ

Page 6: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

14

22. จังหวัดขอนแกน

- พื้นท่ีสาธารณประโยชนโคกภูตากา จ.ขอนแกน

694 ไร

23. จังหวัดจันทบุรี

- พื้นท่ีสาธารณประโยชนทุงสน ต.สนามไชย อ.นายายอาม จ.จันทบุรี

444 ไร - จัดทําแนวกันไฟปาในพ้ืนท่ี

จํานวน 400 ไร 24. จังหวัดปราจีนบุรี

- พื้นท่ีสาธารณประโยชน ต.บานสราง

อ.บานสราง จ.ปราจีนบุรี

87 ไร - ดําเนินการปกปกพันธุกรรมขาว

ปา ชนิด Oryza rufipogon Griff ซ่ึงเปนขาวปาชนิดขามป ดังน้ี 1. ดู แล รักษาแปลงข า วป า ให

เจริญเติบโตตามสภาพธรรมชาติ

ใ น ถ่ิ น ท่ี อ ยู เ ดิ ม เ พื่ อ ใ ห มี

วิ วัฒนาการไปตามธรรมชา ติ

ปองกันการบุกรุก

2 . ใชรถแทรกเตอร ไถดินรอบ

บริเวณแปลงอนุรักษในฤดูแลง เพื่อ

เปนแนวกันไฟ 3. เสริมตกแตงคันดินและกําจัด

วัชพืชรอบบริเวณแปลงอนุรักษ 4. สํารวจและกําจัดวัชพืชชนิด

รายแรง เชน ไมยราบยักษ ที่แพร

ระบาดมากับนํ้า เก็บส่ิงปฏิกูลออก 5 . ใ ช ป ระ โ ยชน จ ากข า วป า ท่ี

อนุรักษไวในการทํางานวิจัย เชน 5.1 การศึกษาความทนทานตอ

สภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม 5.2 การศึกษาความทนทานตอ

โรค แมลง ศัตรูขาวท่ีสําคัญ 5.3 การศึกษาการเคลื่อนยาย

หนวยพันธุกรรมระหวางขาวปา

กับขาวปลูก - ดําเนินการรวบรวมสายพันธุ

หญ า แ ฝก 1 0 ส ายพั น ธุ แ ล ะ

ขยายพันธุเพื่อสงเสริมการปลูก

หญาแฝกเพื่อการอนุรักษดินและ

นํ้าและสงเสริมการปลูกหนอน

ตายหยากดวยการ ขยายพันธุ

ตามปกติ โดยสถานีพัฒนาท่ีดิน

ปราจีนบุรี 25. จังหวัดชุมพร

- พื้นท่ีต.สลุย, ต.สองพี่นอง อ.ทาแซะ จ.ชุมพร

- พื้นท่ี ต.ครน อ.สวี จ.ชุมพร

- พื้นท่ี ต.บางนํ้าจืด อ.หลังสวน จ.ชุมพร

พื้นท่ี 1,945-3-64ไร พื้นท่ี 332-2-68 ไร พื้นท่ี 84-2-48 ไร

26. จังหวัดหนองคาย - ศูนยวิจัยยางหนองคาย

155 ไร

27. จังหวัดชลบุรี - พื้นท่ีในจังหวัดชลบุรี 1) พื้นท่ีปาวัดเขาดินญาณนิมิต หมูที่ 7

ตําบลหัวถนน อําเภอพนัสนิคม จังหวัด

217 ไร - ดําเนินการสํารวจจัดทําทะเบียน

รหัสประจําตน ติดปายชื่อพันธุไม

Page 7: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

15

ชลบุรี เน้ือท่ีจํานวน 60 ไร 2) พื้นท่ีปาวัดเขาคีรีรมย หมูที่ 3 ตําบลหัว

ถนน อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เน้ือท่ี

จํานวน 57 ไร 3) พื้นท่ีจิตตภาวันวิทยาลัย ตําบลนาเกลือ

จังหวัดชลบุรี เน้ือท่ีจํานวน 100 ไร

ทั้งชื่อพ้ืนเมืองและช่ือวิทยาศาสตร

จัดต้ังอาสาสมัครรักษาปาระดับ

หมูบาน เปนตน

28. จังหวัดภูเก็ต -พื้นท่ีเขาพระแทว สถานีพัฒนาและสงเสริมการอนุรักษสัตวปาเขาพระแทว อ.ถลาง จ.ภูเก็ต

อยูในระหวางการกําหนดขอบเขต

พื้นท่ี -จัดทําปายชื่อพันธุไม จํานวน 50

ปายโดยสถานีพัฒนาและสงเสริม

การอนุรักษสัตวปาเขาพระแทว

29. จังหวัดนาน - พื้นท่ี อ.เวียงสา จ.นาน

2,000 ไร

30. ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.เชียงใหม

- ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครฯ 250 ไร - งานวิจัยความหลากหลายของ

กลวยไมในปาเต็งรังของศูนยศึกษา

การพัฒนาหวยฮองไครฯ

31. ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอัน

เน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.จันทบุรี - ศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนฯ ดําเนินการปกปกพื้นท่ีปาชายเลนรอบอาวคุง

กระเบน ปาไมตามแนวเขา และแหลงหญาทะเลใน

พื้นท่ี

13,326 ไร -สํารวจพันธุกรรมพืชโครงสรางปา บ ริ เ วณ เขตห ามล า สัต ว ป าคุ ง

กระเบน พบพันธุไมจํานวน 195

ชนิด -สํารวจชนิดจํานวนสัตวปาบริเวณ

เขตหามลาสัตวปาคุงกระเบน พบ

สัตว 67วงศ 99 สกุล 141 ชนิด -สํารวจสัตวเลี้ยงลูกดวยนมบริเวณ

เทือกเขาหมูดุด พบสัตวจํานวน

578 ตัว -สํารวจทรัพยากรสัตวทะเลในอาว

คุงกระเบน พบสัตวนํ้า 152 ชนิด

32. ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.นราธิวาส

- พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมหมอขาวหมอแกงลิง ภายในศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ

85 ไร

33. ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา

- ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนฯ

20 ไร

34. ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยทราย อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.เพชรบุรี

- พื้นท่ีบริเวณเขาเสวยกะป อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี

200 ไร -ซอมแซมทางเดินศึกษาธรรมชาติ

ระยะทาง 400 เมตร

-จัดทําศาลาชั่วคราว หกเหลี่ยม

จํานวน 1 หลัง ส่ีเหลี่ยม 2 หลัง -จัดทําปายส่ือความหมาย 10 ปาย

-จัดทําปายชื่อตนไม 200 ปาย

Page 8: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

16

35. ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จ.สกลนคร

- ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานฯ

100 ไร ดู แล รักษาพรรณไม ใน พ้ืน ท่ี ฯ

พร รณ ไม ที่ พ บ ใ น พ้ื น ท่ี จ า กป 2551 จํานวน 208 ชนิด ไดทํา

ก า ร เ ก็ บ ข อ มู ล ศึ ก ษ า ก า ร

เปลี่ยนแปลงของพรรณไมในสวน

ของดอก ใบ ผล ร วมทั้ ง ก า ร

นําไปใชประโยชนดานตางๆ ของ

พ ร ร ณ ไ ม เ พื่ อ นํ า เ ข า ร ะ บ บ

ฐานขอมูล สวนการศึกษาขอมูล

เห็ดปาในพ้ืนท่ีฯ จากป 2551 พบ

153 ชนิด สํารวจพบเ พ่ิมเติม

จํานวน 32 ชนิด รวมเปน 185

ชนิด

การปฏิบัติงานในภาพรวม หนวยงานสนองพระราชดําริที่มีพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช

ดําเนินการตามแนวทางการดําเนินกิจกรรมปกปกพันธุกรรมพืช โดยมีอพ.สธ. ชวยดูแลกํากับ

ใหเปนไปตามกรอบแผนแมบทที่วางไว ดังน้ี 1.1 การสํารวจทํารหัสประจําตน และขึ้นทะเบียนพันธุกรรมพืชในพ้ืนที่ของหนวยงานที่

รวมสนองพระราชดําริ ดังในตารางท่ี 1 ปาที่ชาวบานรวมใจปกปกรักษา ปาใน

สถาบันการศึกษา ปาที่ใชพ้ืนที่เปนสวนสัตว ปาในพ้ืนที่บริเวณเขื่อนตาง ๆ ของการไฟฟาฝาย

ผลิตแหงประเทศไทย เปนตน

1.2 การสํารวจ ทํารหัสประจําตน และข้ึนทะเบียนพันธุกรรมพืชที่ นําเขาจาก

ตางประเทศมาปลูกดูแลรักษา ในลักษณะสวนรวบรวมพันธุพืชโดยเอกชน 1.3 สนับสนุนใหมีอาสาสมัครปกปกรักษาพันธุกรรมพืชในระดับหมูบาน

1.4 สนับสนุนใหมีการฝกอบรมและศึกษาดานอนุกรมวิธานพืช

Page 9: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

17

สังคมพืชปาเบญจพรรณ และปาเต็งรัง ณ พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. - สวนสัตวเปดเขาเขียว

พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมพืช อ.หลังสวน จ.ชุมพร

พื้นท่ีปกปกพันธุกรรมพืชเข่ือนศรีนครินทร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

Page 10: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

18

2. การปฏิบตัิงานโดยเจาหนาท่ีอพ.สธ. และ/ชมรมคณะปฏิบตัิงานวิทยาการ อพ.สธ. ดังนี ้

2.1 การสํารวจบริเวณเกาะแสมสารและเกาะขางเคียง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี จํานวน 6 ครัง้

ครั้งที่ 1/2552 ระหวางวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2551 ครั้งที่ 2/2552 ระหวางวันที่ 23-25 มกราคม 2552

ครั้งที่ 3/2552 ระหวางวันที่ 20-22 มีนาคม 2552

ครั้งที่ 4/2552 ระหวางวันที่ 22-24 พฤษภาคม 2552

ครั้งที่ 5/2552 ระหวางวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2552 ครั้งที่ 6/2552 ระหวางวันที่ 18-20 กันยายน 2552

2.2 การสํารวจบริเวณพ้ืนทีป่กปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี จํานวน 8 ครัง้

ครั้งที่ 1/2552 ระหวางวันที่ 13-16 พฤศจิกายน 2551 ครั้งที่ 2/2552 ระหวางวันที่ 8-11 มกราคม 2552

ครั้งที่ 3/2552 ระหวางวันที่ 5-8 มีนาคม 2552

ครั้งที่ 4/2552 ระหวางวันที่ 23-26 เมษายน 2552 ครั้งที่ 5/2552 ระหวางวันที่ 16-19 พฤษภาคม 2552 ครั้งที่ 6/2552 ระหวางวันที่ 11-14 มิถุนายน 2552 ครั้งที่ 7/2552 ระหวางวันที่ 9-12 กรกฎาคม 2552 ครั้งที่ 8/2552 ระหวางวันที่ 10-13 กันยายน 2552

2.3 การสํารวจบริเวณพ้ืนทีป่กปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน จํานวน 4 ครัง้

ครั้งที่ 1/2552 ระหวางวันที่ 13-16 มกราคม 2552 ครั้งที่ 2/2552 ระหวางวันที่ 1-3 เมษายน 2552

ครั้งที่ 3/2552 ระหวางวันที่ 3-5 กรกฎาคม 2552

ครั้งที่ 4/2552 ระหวางวันที่ 16-18 กันยายน 2552

Page 11: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

19

คณะปฏิบตัิงานวิทยาการ อพ.สธ. ประกอบดวย

เจาหนาที่และนักวิจัย อพ.สธ. คณาจารยและนักวิจัยจากสถานศึกษาตาง ๆ ที่เขารวม

สนองพระราชดําริฯ อพ.สธ. (เชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,

มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยมหิดล) กรม

วิทยาศาสตรทหารเรือ (วศ.ทร.) กรมอุทกศาสตรทหารเรือ (อศ.ทร.) กรมกิจการพลเรือน

ทหารเรือ (กพร.) หนวยสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ กองทัพเรือ (นสร.) เปนตน

2.1 สรุปผลการสํารวจเกาะแสมสารและเกาะขางเคียง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ระหวางเดือน พฤศจิกายน 2551 ถึงเดือน กันยายน 2552

ทางอพ.สธ. และคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ไดดําเนินการสํารวจพ้ืนที่บริเวณเกาะแสมสารและเกาะขางเคียง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ซึ่งเปนงานที่ตอเน่ืองมาตั้งแตป 2545 จนถึงส้ิน

ปงบประมาณ 2552 น้ัน นําไปสูการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและการใชประโยชน

อยางยั่งยืนในพ้ืนที่บริเวณอาวสัตหีบ

ตัวอยางงานวิจัยตอเน่ืองท่ีเกี่ยวของกบักิจกรรมปกปกพันธกุรรมพืชและตอเน่ืองไป

ถึงกรอบการใชประโยชนในอนาคต ไดแก 2.1.1 ความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงกตอนทะเลบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข และหมูเกาะจวง อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยบูรพา) ผลการศึกษา

จากการศึกษาเบ้ืองตนพบแพลงกตอน 139 ชนิด จาก 87 สกุล ประกอบดวย

1. แพลงกตอนพืช พบ 115 ชนิด 67 สกุล 33 วงศ - สกุลที่พบเดนคือ Chaetoceros พบ 19 ชนิด รองลงมาคือ สกุล Rhizosolenia

และ Coscinodiscus พบสกุลละ 9 ชนิด สกุลที่พบความหลากชนิดมากที่สุดคือ Chaetoceros พบ 19 ชนิด

Chaetoceros diversus Chaetoceros lorenzianus

Page 12: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

20

Rhizosolenia spp. พบ 9 ชนิด

Coscinodiscus spp. พบ 9 ชนิด

2. แพลงกตอนสัตว พบมากกวา 24 ชนิด จาก 20 สกุล และเปนระยะตัวออนของสัตวนํ้า

อีกจํานวน 16 กลุม

- ไฟล่ัมที่พบเดนคือ Phylum Arthropodaรองลงมาคอื Phylum Protozoa

PHYLUM ARTHROPODA Subclass Ostracoda Order Cladocera

Page 13: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

21

Subclass Copepoda

2.1.2 ความหลากหลายทางชีวภาพของโคพีพอดและไมซิด บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข

และกลุมเกาะจวงอาํเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยบูรพา)

ผลการศึกษา

ทําการสํารวจโคพีพอดและไมซิด บริเวณเกาะจวง เกาะจาน เกาะจระเข และหาดนางรอง

เสร็จส้ิน 4 ครั้ง ไดแก เดือนพฤศจิกายน 2551 มกราคม มีนาคม และ พฤษภาคม 2552 และทํา

การจําแนกชนิดของโคพีพอดและไมซิดเสร็จแลวจํานวน 3 ครั้ง พบโคพีพอดทั้งส้ิน 4 Suborder

ไดแก Calanoida, Cyclopoida, Harpacticoida, และ Poecilo stomatoida ประกอบดวย 13

ครอบครัว 18 สกุล 32 ชนิด สวนไมซิดพบทั้งส้ิน 3 ครอบครัวยอยไดแก Mysidae,

Gastrosaccinae, และ Mysinae ประกอบดวย 10 สกุล 11 ชนิด

Class Ciliophora Tintinnopsis sp.

Class Rhizopoda foraminiferan

Page 14: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

22

2.1.3 ลักษณะทางพันธกุรรมและความหลากหลายของจุลชีพท่ีอาศัยอยูรวมกับฟองน้ําทะเลบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข และกลุมเกาะจวง อาํเภอสัตหีบ จังหวดัชลบุรี

โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยบูรพา) ผลการศึกษา

• การคัดแยกแบคทีเรียใหบริสุทธิ์ จากการดําเนินการเก็บตัวอยางฟองนํ้าเพ่ือคัดแยกแบคทีเรียจากฟองนํ้า จํานวน 21

ตัวอยางใหบริสุทธ ไดแบคทีเรีย 160 สายพันธุ และเก็บรักษาสายพันธุแบคทีเรียในอาหารเล้ียง

เชื้อ modified Zobell 0.3% agar

พบปริมาณแบคทีเรยีที่อาศัยอยูกับฟองนํ้าจํานวนตั้งแต 7.7 x 103 โคโลนี/ กรมั ถึง 4.7

x 106 โคโลนี/ กรัม

• การตรวจสอบฤทธิ์ในการยับยั้งแบคทีเรีย จากการนําแบคทีเรียที่คัดแยกจากฟองนํ้าจํานวน 160 สายพันธุ มาทําการตรวจสอบ

ฤทธ์ิในการยับยั้งการเจริญกับตัวแทนแบคทีเรียกรัมบวกไดแก Staphylococcus aureus

ATCC25923; Micrococcus luteus ATCC; Bacillus subtillus ATCC6633; และกรัมลบไดแก

Pseudomonas aeruginosa ATCC27853; Vibrio anguilarum; Escherichia coli ATCC25922) พบวา

แบคทีเรียที่คัดแยกจากฟองนํ้าจํานวน 22 สายพันธุแสดงฤทธ์ิยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย คิด

เปนรอยละ 13.75 ของแบคทีเรียที่ทดสอบ

การสกัดสารพันธุกรรม ดําเนินการสกัดสารพันธุกรรมจากแบคทีเรียที่อาศัยอยูกับฟองนํ้าที่มีฤทธ์ิยับยั้งแบคทีเรียรวม 22 สายพันธุ โดยสามารถวิเคราะหลําดับเบสเพ่ือจําแนก

ชนิดทางชีวโมเลกุลได 14 สายพันธุ พบเปนแบคทีเรียแกรมลบ รูปทอนจัดอยูในกลุมไฟลัม Proteobacteria แยกเปนคลาส Gamma proteobacteria 6 สายพันธุ และ Alpha proteobacteria

8 สายพันธุ มีผูรายงานวาลําดับเบสใน 16S rRNA น้ัน พบวาแบคทีเรียทั้งสองคลาสน้ีพบโดดเดน

ที่ผิวของฟองนํ้า (Hentschel et al, 2006; Taylor et al, 2007; Thiel et al, 2007; Wang, 2006)

ซึ่งสวนใหญพบวาเปนจีนัส Pseudoalteromonas เปนเแบคทีเรียที่เปนแหลงของสารสังเคราะหที่มี

ฤทธ์ิทางชีวภาพและมีนัยสําคัญทางนิเวศ (Bowman, 2007) และพบสารไซคลิคเปปไตดชนิดใหม

หลายชนิด(Rungprom et al, 2008) สวนอีก 8 สายพันธุ ยังไมสามารถจําแนกไดจําเปนจะตอง

วิเคราะหลําดับเบสเพ่ิมเติม • การศึกษารูปแบบดีเอ็นเอจําเพาะของแบคทีเรียท่ีอาศัยรวมกับฟองนํ้าทะเล

เม่ือพิจารณาขอมูลลําดับนิวคลีโอไทดในบริเวณยีน 16S rRNA ของแบคทีเรียที่อาศัย

รวมกับฟองนํ้าทะเลพบวามีความแปรปรวนในระดับชนิด และ/หรือสกุลนอย และไมสามารถบงชี้

ชนิดแบคทีเรียในบางตัวอยางได ดังน้ันคณะผูวิจัยจึงทําการศึกษาเพ่ิมเติมในบริเวณ internal

transcribed region (ITS) ระหวางยีน 16S rRNA และยีน 23S rRNA ซึ่งมีรายงานพบความ

Page 15: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

23

แปรปรวนของลําดับนิวคลีโอไทดมากกวาบริเวณยีน 16S rRNA เพ่ือนํามาใชเปนรูปแบบดีเอ็นเอจําเพาะของแบคทีเรียทะเล

ทําการสกัดดีเอ็นเอจากเน้ือเยื่อแตละตัวอยางดวยชุดสําเร็จรูป (GF-1 Bacterial DNA

Extraction Kit; Vivantis) จากน้ันเม่ือเพ่ิมปริมาณดีเอ็นเอในบริเวณ ITS ดวยคูไพรเมอร ITSL/R

พบวาปฏิกิริยา PCR ในขั้นตอน annealing มีชวงอุณหภูมิที่กวางแตกตางกันไปในแตละกลุมของ

แบคทีเรียที่ศึกษา (30-56 องศาเซลเซียส) และไดผลผลิต PCR ที่มีขนาดตั้งแต 900-1500 bp โดยประมาณ ปจจุบันกําลังอยูในระหวางดําเนินการโคลนและอานลําดับเบสเพ่ือยืนยันผล และ

วิเคราะหรูปแบบดีเอ็นเอตอไป

• การศึกษารูปแบบดีเอ็นเอจําเพาะของฟองน้ําทะเล เชนเดียวกันกับกรณีศึกษาในบริเวณยีน 16S rRNA ของแบคทีเรียที่พบวามีความ

แปรปรวนนอยในระดับสกุลของฟองนํ้าทะเล และไมสามารถจําแนกความแตกตางไดในฟองนํ้า

ทะเลบางชนิด ดังน้ันคณะผูวิจัยจึงศึกษาเพ่ิมเติมในบริเวณ ITS2 ระหวางยีน 5.8S และยีน 28S rRNA โดยเริ่มตนศึกษาในตัวอยางฟองนํ้าครกที่มีสัณฐานวิทยาที่แตกตางกันพบในแตละแหลงและไดรับการบงชี้ชนิดดวยลักษณะสัณฐานวิทยาภายนอกแลว นํามาทําการสกัดดีเอ็นเอดวย

สําเร็จรูป (GF-1 Tissue DNA Extraction Kit; Vivantis) ซึ่งพบวาทําการสกัดดีเอ็นเอไดเพียงบางตัวอยางเน่ืองจากเน้ือเยื่อนอย และถูกเก็บรักษาไวในแอลกอฮอล ปจจุบันประสบผลสําเร็จในการ

เพ่ิมจํานวนดวยเทคนิค PCR ดวยคูไพรเมอร ITS2L/R ซึ่งคาดวาเปนบริเวณเปาหมายมีขนาดประมาณ 680 คูเบส ปจจุบันกําลังอยูในระหวางดําเนินการโคลนและอานลําดับเบสเพ่ือยืนยัน

ผล วิเคราะหรูปแบบดีเอ็นเอ และศึกษาตัวอยางอ่ืนๆ ตอไป

Jarn2 P.sp.2

Joung2 P.sp.3

Joung2 P.sp.2

Jarn2 P.sp.1

Joung2 P.sp.1

Jarn2 P.viridis

Joung1 P.luteoviolacea

Joung2 P.luteoviolacea

Joung2 P.sp.4

P s e u d o a l te r o m o n a s

Jarn1 V.sp.

Jarn2 V.sp.V ib r io

Jarn1 A.proteobacterium

Joung2 A.proteobact1

Joung1 A.proteobact1

Jarn3 A.proteobacterium

Jarn2 A.proteobacterium

Joung1 A.proteobact2

A lp h a p r o te o b a c te r iu m

100

93

85

100

99

51

75

100

100

100

0.02

Jan2 = Xestospongia muta

ความสัมพันธในสายวิวัฒนาการในสวนของยีน 16s rRNAของแบคทีเรีย 17 สายพันธุจากฟองน้ําทะเล 5 ตัวอยางรวบรวมจากหมูเกาะจาน และเกาะจวง

Page 16: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

24

ฟองน้ําทะเลฟองน้ําทะเล::เทียบเคียงลําดับเบสบริเวณยีนเทียบเคียงลําดับเบสบริเวณยีน 1616S S rRNArRNA

2.1.4 ความผันแปรของลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางพันธุกรรมของปะการัง

ออน, Sinularia May, 1898 (Octocorallia: Alcyonacea) ท่ีพบบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเขและกลุมเกาะจวง อาํเภอสัตหีบ จังหวดัชลบุรี

โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยบูรพา)

ตารางแสดงรายละเอียดของตัวอยาง Sinularia ที่นํามาศึกษา ซึ่งไดแก ชื่อตัวอยาง สถานีศึกษา ลักษณะของแนวปะการัง (reef zone) ความลึกของนํ้าและส่ิงแวดลอมที่ปะการังออนยดึเกาะ

ช่ือตัวอยาง สถานีศึกษา ลักษณะของ แนวปะการัง

ความลึกของนํ้า (m)

สิ่งแวดลอมที่ปะการังยึดเกาะ

jua-nov-51-4 jor-nov-51-2 jor-nov-51-3 jor-nov-51-7 jua-jan-52-1 jua-jan-52-2 jua-jan-52-3

เกาะจวง หาดน้ําเขียว เกาะจระเข ทิศตะวันตก เกาะจระเข ทิศตะวันตก เกาะจระเข ทิศตะวันตก เกาะจวง แหลมญี่ปุน เกาะจวง แหลมญี่ปุน เกาะจวง แหลมญี่ปุน

ลาดชัน ลาดชัน ลาดชัน ลาดชัน ลาดชัน พ้ืนราบ พ้ืนราบ

6 4 4 4 6 3 4

หิน หินที่มีสาหรายเกาะ ปะการังตาย หินที่มีสาหรายเกาะ ปะการังตาย หิน ปะการังตาย

ผลการศึกษา

การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายนอกของตัวอยาง Sinularia ทั้ง 7 ตัวอยาง พบวา

โดยสวนใหญแลวโคโลนีของ Sinularia ที่พบในบริเวณที่ศึกษาจะมีสีเหลืองหรือนํ้าตาล รูปรางของ

โคโลนีจะมีกิ่งกานตั้งขึ้นและมีการแตกของกิ่งอันดับที่สองและสาม มีสวนนอยที่มีกิ่งกานแตก

ขึ้นมาบนแผนของโคโลนีที่เคลือบไปบนหินหรือซากปะการัง และไมมีการแตกของกิ่งอันดับที่สอง

Page 17: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

25

ซึ่งคลายกันกับรูปรางของโคโลนีของปะการังออนในสกุล Lobophytum บางชนิด เปนที่นาสังเกตวา

โคโลนีของตัวอยางที่พบบริเวณแนวปะการังในโซนลาดชันจะมีกิ่งกานที่ยาวกวาโคโลนีที่พบ

บริเวณพ้ืนราบของแนวปะการัง โคโลนีของตัวอยางเมื่อผานการดองดวยแอลกอฮอล 70% แลวจะมีรูปราง และสีแตกตางไปจากโคโลนีขณะที่มีชีวิตมาก สวนใหญแลวจะมีสีออกนํ้าตาลเขม มีเพียง

ตัวอยางเดียวคือ jor-nov-51-2 ที่มีสีออกเหลือง รูปรางของ sclerites ที่พบในแตละตัวอยางจะมีลักษณะเดนที่เหมือนกัน ซึ่งใชในการจัด

จําแนก Sinularia ออกจากปะการังออนสกุลอ่ืน ๆ เชน ที่กิ่งบริเวณผิวจะพบ sclerites แบบ club สวนบริเวณช้ันในจะพบ warty rod เปนแทงหนาและ warty spindle ที่ฐานบริเวณผิวจะพบ sclerites แบบ club เชนเดียวกับที่พบบริเวณก่ิง สวนบริเวณช้ันในพบ warty rod ขนาดใหญประมาณ 2-3

มิลลิเมตร อยางไรก็ตาม รูปแบบและขนาดของ sclerites ที่พบในโคโลนีของ Sinularia แตละ

ตัวอยางมีหลากหลายรูปแบบและมีขนาดที่แตกตางกันออกไป ซึ่งมีความจําเปนที่จะตองศึกษาใน

รายละเอียดเพ่ิมเติม เพ่ือที่จะไดใชเปนหลักเกณฑในการจัดจําแนกชนิดของ Sinularia ตอไป

ภาพตัวอยางการศึกษา 1. jua-nov-51-4 ลักษณะของตวัอยางที่มีชีวิตมีสีนํ้าตาล พบบริเวณโซนลาดชันของแนวปะการัง หาดนํ้า

เขียว เกาะจวง เกาะกับหิน ที่ความลึกประมาณ 6 เมตร ลักษณะของโคโลนีมีกิ่งกานยาวประมาณ

5-10 เซนติเมตร มีการแตกของก่ิงอันดับที่สองและสาม (2nd branch, 3rd branch) ลักษณะโพลิบ

มีขนาดใหญ เม่ือพิจารณาจากตัวอยางดองจะเห็นการแตกของก่ิงชดัเจน (ภาพที่ 1)

ภาพท่ี 1 ลักษณะโคโลนีของ jua-nov-51-4 เปรียบเทียบขณะที่ยงัมีชีวิตและหลังจากผานการดอง

a b c d ภาพท่ี 2 Sclerite ที่พบบริเวณกิ่งของ jua-nov-51-4 (a=club, b=club, c=club, d= spindle)

Page 18: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

26

a b c ภาพท่ี 3 Sclerite ที่พบบริเวณฐานของโคโลนี jua-nov-51-4 (a=warty rod และ club, b=club, c=rod) 2. jor-nov-51-2

ลักษณะของตัวอยางที่มีชีวิตมีสีเหลือง พบบริเวณโซนลาดชันของแนวปะการังดานทิศ

ตะวันตกของเกาะจระเข ที่ความลึกประมาณ 4 เมตร ขึ้นบนหินที่มีสาหรายเกาะ ลักษณะของ

โคโลนีมีคลายแผนและมีกิ่งกานตั้งขึ้น กิ่งกานยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร มีการแตกของกิ่ง

อันดับที่สองและสาม (2nd branch, 3rd branch) ลักษณะโพลิบมีสีเหลือง (ภาพที่ 4)

ภาพท่ี 4 ลักษณะโคโลนีของ jor-nov-51-2 เปรียบเทียบขณะที่ยงัมีชีวิตและหลังจากผานการดอง

a b c ภาพท่ี 5 Sclerite ที่พบบริเวณกิ่งของ jor-nov-51-2 (a=club, b=spindle, c=rod)

Page 19: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

27

a b c ภาพท่ี 6 Sclerite ที่พบบริเวณฐานของโคโลนีของ jor-nov-51-2 (a=club, b และ c แสดง rod ที่มีการแตกเปนก่ิงออกดานขาง) การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม

• MSH1 (mitochondrial MutS homolog) ในไมโตคอนเดรยี

• ITS2 (internal transcribed spacer) ในนิวเคลียส

ตําแหนงท่ีพบความแตกตางของลําดับพันธุกรรม-MSH1000111111111111222222222222233333334444444445555558990356788888990011222367788012346713455699926666613658611456897838020168904560582319453065126312789

jor-nov-51-3 ACGGTGCAACGAATAACCTACCGCAACTGTCGGAGACCCGCAAGGGACAAjua-jan-52-1 ...A..............................................jor-nov-51-2 .........T..G...T...T.A..GT.......A.T.T.T........Gjua-nov-51-4 .T....TGG.CGG.GG...G.....G.C.CT.A.ACTT.ATGG.A.GT.Gjua-jan-52-2 G.A.CAT..TT.GC.G.TC..T..T.T.ACTC.G..T.T....A.A..TGjua-jan-52-3 G.A.CAT..TT.GC.G.TC..T.AT.T.ACTC.G..T.T....A.A..TGjor-nov-51-7 G.A.CAT..TT.GC.G.TC..T..T.T.ACTC.G..T.T....A.A..TG

555556666666666667788899223344567889230562467692913227009

jor-nov-51-3 GGTATCGGTCATGCGATTCjua-jan-52-1 ...................jor-nov-51-2 ....C......CA..G...jua-nov-51-4 .AC.C.AACT..ATAGCCTjua-jan-52-2 A..GCT..C.G..T.G...jua-jan-52-3 A..GCT..C.G..T.G...jor-nov-51-7 A..GCT..C.G..T.G...

MSH1 746 bp พบความแตกตาง 69 ตําแหนง-jor-nov-51-3 ~ jua-jan-52-1-jua-jan-52-2 = jor-nov-51-7, ~ jua-jan-52-3

Page 20: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

28

000000000000000000000011111111111111111111111111112223333444444667777779000000001111111122222222345527817890245670134567851345678903456789012345696501

jor-nov-51-3 -CGA----AGAGC-CA----ACTGTGTAT--AAGATTGCACGGCCTATAGjua-jan-52-1 -..CAACG..C..-..----........C--...................jor-nov-51-2 -A.CAGCGG.C.T-..GGTA..CT.A-----.-------GTC..T.G.CTjua-nov-51-4 A.ATAGAAGTT-.ATGTGT-GGC.CTCTGTAGTACGG.G.AACG.CGC.T

111111111111111111111111111111112222222222222225555566666667777788888899999999900000000111122334579012456901259015789012345689012345670123373

jor-nov-51-3 GTCT--TGCTACCTTGACAAAGCGGCGGCAATGT-----TCGTGTGTjua-jan-52-1 ....--............................-----..A..GAAjor-nov-51-2 .C..--C...T.......GG.AGT.AACTG.C..GTGACCAAC.GAGjua-nov-51-4 T.AAACCTGCGTGCAAGT-CTCGTCTTCGCC.ACATTTTC-A.CGAG

ตําแหนงท่ีพบความแตกตางของลําดับพันธุกรรม-ITS2

ITS2 238 bp พบความแตกตาง 97 ตําแหนง

ผลการศึกษาความผันแปรของลักษณะทางพันธุกรรม

เม่ือพิจารณาดูความเหมาะสมของคาความหลากหลายทางพันธุกรรมกับการศึกษา

วิเคราะหความผันแปรทางพันธุกรรมในระดับชนิดของปะการังออนในสกุล Sinularia พบวา ความหลากหลายทางพันธุกรรมที่พบในบริเวณ MSH1 มีความหลากหลายเหมาะสมกับการศึกษาใน

ระดับชนิดมากกวาในบริเวณ ITS2 ที่พบคาความหลากหลายสูงมาก ซึ่งนาจะเหมาะสมกับ

การศึกษาในระดับประชากรหรือในระดับชนิดของ Sinularia ที่มีความใกลเคียงกัน

2.1.5 ความหลากหลายทางชีวภาพของกุง ปู และ กั้งตั๊กแตน บริเวณหาดนางรอง เกาะ

จระเข เกาะจวง และเกาะแสมสาร อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยบูรพา)

ผลการศึกษา ในชวงระยะเวลาประมาณ 6 เดือนที่ผานมา ไดออกสํารวจภาคสนาม 3 ครั้ง คือ เดือน

พฤศจิกายน 2551 เดือนมกราคม 2552 และเดือนพฤษภาคม 2552 ในการออกภาคสนาม

ดังกลาว ไดเก็บตัวอยางกุงและปู (จากการสํารวจยังไมพบตัวอยางของก้ังตั๊กแตน) ที่อาศัยอยู

บริเวณชายฝง บริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข เกาะจวง เกาะจาน เกาะแรด และบริเวณชอง

แสมสาร อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี มาทําการศึกษาอนุกรมวิธาน ตัวอยางทั้งหมดที่สํารวจพบ

สามารถจําแนกไดเปน 3 infraorders 18 families 34 genera 45 species

Page 21: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

29

– Infraorder Caridea สามารถจําแนกไดเปน 2 families 2 genera 3 species

– Infraorder Anomura สามารถจาํแนกไดเปน 2 families 3 genera 4 species

– Infraorder Brachyura สามารถจาํแนกไดเปน 14 families 29 genera 38

species

ตัวอยางภาพความหลากหลายของกุงและปูชนิดตางๆ

Family Palaemonidae Family Alpheidae

Porcellana sp. Petrolisthes sp.

Dromidiopsis cranioides (De Man, 1888) Dorippe frascone(Herbst, 1785)

Page 22: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

30

ตัวอยางภาพความหลากหลายของกุงและปูชนิดตางๆ

Matuta victor (Fabricius, 1781) Composcia retusa Latreille, 1892

Pugettia sp. Hyastenus sp.

Charybdis annulata (Fabricius, 1798) Thalamita crenata (Latreille, 1829)

Thalamita danae Stimpson, 1858 Thalamita prymna (Herbst, 1803)

Page 23: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

31

2.1.6 สถานภาพทรัพยากรส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝงทะเล บริเวณหาดนางรอง เกาะ

จระเข และกลุมเกาะจวง อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบรีุ (สาหราย และหญาทะเล)

โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยบูรพา) พ้ืนที่ศึกษา

บริเวณชายฝงทะเลหาดนางรอง และเกาะจระเข อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยแบง

พ้ืนที่ศึกษาออกเปนระบบนิเวศหาดทราย ระบบนิเวศหาดหิน และระบบนิเวศแนวปะการัง พรอม

ทั้งบันทึกพิกัดภูมิศาสตรของพ้ืนที่โดยใชเครื่องมือบอกตําแหนงบนผิวโลกดวยดาวเทียม (Global Positioning System; GPS) ผลการศึกษา เน่ืองจากขณะน้ียังไมเสร็จส้ินโครงการและยังคงมีการออกเก็บขอมูลการวิจยัอยูอยาง

ตอเน่ืองทุกเดอืน ขอมูลที่ไดกําลังอยูในระหวางการนําไปวิเคราะหตอไป

ผลการศึกษาการประเมินสถานะภาพของเพรียงหัวหอมบริเวณหาดนางรองและเกาะจระเข หาดนางรอง จุดสํารวจที่ 1 ครั้งที่ 1 ระยะทาง 90 เมตร

พบเพรียงหัวหอมประมาณ 30 % ของพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร หาดนางรอง จุดสํารวจที่ 2 ครั้งที่ 1 ระยะทาง 90 เมตร

พบเพรียงหัวหอมประมาณ 30 % ของพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร

หาดนางรอง จุดสํารวจที่ 3 ครั้งที่ 1 ระยะทาง 90 เมตร

พบเพรียงหัวหอมประมาณ 30 % ของพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร หาดเกาะจระเข ทิศตะวันออก จุดสํารวจที่ 1 ครั้งที่ 1 ระยะทาง 90 เมตร

พบเพรียงหัวหอมประมาณ 30 % ของพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร หาดเกาะจระเข ทิศตะวันตก จุดสํารวจที ่1 ครั้งที่ 1 ระยะทาง 90 เมตร

พบเพรียงหัวหอมประมาณ 30 % ของพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร พบเพรียงหัวหอมชนิด Didemnum molle เปนชนิดเดน และมีอยูเฉพาะพ้ืนที่ หาดนางรอง

และเกาะจระเข เทาน้ัน และพบจํานวนมาก ผลการศึกษาฟองนํ้าทะเล

จากการสํารวจฟองน้ําทะเลในแนวสํารวจตั้งฉากกับชายฝง บริเวณหาดนางรอง ในเดือน

ธันวาคม 2551พบ 2 ชนิดคือ ฟองนํ้าทอพุมสีแดง Oceanapia sagittaria (Sollas, 1902) และฟองนํ้าครก Xestospongia testudinaria (Lamarck, 1814) โดยพบวาฟองนํ้าทอพุมสีแดงมีการแพรกระจายอยูบริเวณเขตปะการังพ้ืนราบและฟองนํ้าครกมีการแพรกระจายอยูในบริเวณเขต

ปะการังลาดชัน สวนบริเวณเกาะจระเข ทําการสํารวจ 2 ดานคือดานทิศตะวันตกและดานทิศ

Page 24: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

32

ตะวันออก พบวาทั้งสองดานพบ 1 ชนิดคือ ฟองนํ้าครก Xestospongia testudinaria ซึ่งพบในเขต

ปะการังลาดชัน สําหรับแนวสํารวจขนานกับชายฝง บริเวณหาดนางรองพบฟองนํ้า 1 ชนิดคือ ฟองนํ้าครก

Xestospongia testudinaria และบริเวณเกาะจระเข พบฟองนํ้าเพียงชนิดเดียวเชนกันคือฟองนํ้าครก ผลการศึกษาเอคไคโนเดิรม

จากการสํารวจเอคไคโนเดิรมในแนวสํารวจตั้งฉากกับชายฝง บริเวณหาดนางรอง ใน

เดือนธันวาคม 2551 พบเอคไคโนเดิรม 2 ชนิดคือ เมนทะเลดําหนามยาว Diadema setosum (Leske, 1778) และปลิงทะเลดําน่ิม Holothuria (Mertensiothuria) leucospilota (Brandt, 1835) โดยพบวาทั้งเมนดําหนามยาวและปลิงดําน่ิมมีการแพรกระจายอยูหนาแนนบริเวณเขตปะการัง

ลาดชันและไมพบในเขตปะการังพ้ืนราบเลย สวนบริเวณเกาะจระเข ทําการสํารวจ 2 ดานคือดาน

ทิศตะวันตกและดานทิศตะวันออก พบวาทั้งสองดานพบ เอคไคโนเดิรม 2 ชนิดคือ เมนทะเลดํา

หนามยาว และปลิงทะเลดําน่ิมและมีการแพรกระจายในบริเวณเขตปะการังลาดชันเชนกัน

สําหรับแนวสํารวจขนานกับชายฝง บริเวณหาดนางรองพบเฉพาะเมนทะเลดําหนามยาว

และปลิงทะเลดําน่ิมเชนกัน สวนบริเวณเกาะจระเข ดานทิศตะวันตกพบทั้งเมนทะเลดําหนามยาว

และปลิงทะเลดําน่ิม สวนทางทิศตะวันออกพบเฉพาะปลิงทะเลดําน่ิมเพียงชนิดเดียว

ผลการศึกษาโครงสรางประชาคมปะการัง สถานีท่ี 1 หาดนางรอง สถานีท่ี 1 แนวปะการังมีความกวางประมาณ 260 เมตร ส้ินที่ความลึกนํ้า 4.5 เมตร เม่ือ

ระดับนํ้าทะเลลงต่ําสุด พบปะการังมีชีวิตครอบคลุมพ้ืนที่แนวปะการังมาก ในชวงระยะหางฝง

ตั้งแต 170 เมตร ออกไปทางดานนอกของแนวปะการัง โดยพบวามีปะการังมีชีวิตครอบคลุมพ้ืนที่

สูง (ประมาณ 30-40%) ในชวงระยะหางฝง 190-210 เมตรสวนดานในของแนวปะการังพบ

ปะการังมีชีวิตนอยมาก สวนใหญเปนปะการังตายประมาณ 70-90% ของพ้ืนที่แนวปะการัง สถานีท่ี 2 หาดนางรอง สถานีท่ี 2 แนวปะการังมีความกวางประมาณ 300 เมตร ส้ินที่ความลึกนํ้า 3 เมตร เ ม่ือ

ระดับนํ้าทะเลลงต่ําสุด ชวงแรกของแนวปะการังในดานเปนทราย เริ่มมีปะการังตั้งแตระยะหางฝง

80 เมตรออกไป แตมีปะการังมีชีวิตปกคลุมพ้ืนที่นอย ไมเกิน 20% สวนใหญเปนปะการังตาย

ชวงระยะ 280 เมตร ออกไปจนสุดแนวปะการังพบปะการังมีชีวิตครอบคลุมพ้ืนที่มากข้ึนประมาณ

20-40% สถานีท่ี 3 หาดนางรอง สถานีท่ี 3 แนวปะการังมีความกวางประมาณ 300 เมตร ส้ินที่ความลึกนํ้า 3 เมตร เ ม่ือ

ระดับนํ้าทะเลลงต่ําสุด ชวงแรกของแนวปะการังในดานเปนทราย เริ่มมีปะการังตั้งแตระยะหางฝง

80 เมตรออกไป แตมีปะการังมีชีวิตปกคลุมพ้ืนที่นอย ไมเกิน 20% สวนใหญเปนปะการังตาย

Page 25: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

33

ชวงระยะ 280 เมตร ออกไปจนสุดแนวปะการังพบปะการังมีชีวิตครอบคลุมพ้ืนที่มากข้ึนประมาณ

20-40% สถานีท่ี 4 เกาะจระเข ดานทิศตะวันออก

แนวปะการังมีความกวาง 110 เมตร ส้ินที่ความลึกนํ้าประมาณ 3 เมตร เ ม่ือ

ระดับนํ้าทะเลลงต่ําสุด พบปะการังมีชีวิตครอบคลุมพ้ืนที่มาก 30-40% ของพ้ืนที่แนวปะการัง

ในชวงระยะหางฝงประมาณ 70-90 เมตร สวนในชวงอ่ืน ๆ ของแนวปะการังพบปะการังตาย

ครอบคลุมพ้ืนที่สูงประมาณ 40-80% สถานีท่ี 5 เกาะจระเข ดานทิศตะวันตก

แนวปะการังมีความกวาง 30 เมตร ส้ินที่ความลึกนํ้าประมาณ 3 เมตร เม่ือระดับนํ้าทะเล

ลงต่ําสุด พบปะการังมีชีวิตครอบคลุมพ้ืนที่ทุกชวงของแนวปะการัง แตมีปริมาณนอย คือ

ประมาณ 10 % ในขณะที่พบปะการังตายครอบคลุมพ้ืนที่ประมาณ 30-60% โดยในชวงหางฝง 20 เมตรแรก เปนกลุมปะการังที่ขึ้นบนโขดหิน

ตัวอยางภาพแสดงลักษณะความลาดชันของพ้ืนแนวปะการังตามแนวตัดตามขวาง

บริเวณเกาะจระเข ดานทิศตะวันตก (บน) และปริมาณครอบคลุมพ้ืนท่ี (% cover) ขององคประกอบพ้ืนผิว (LC = ปะการังมีชีวิต, DC = ปะการังตาย, SD = พ้ืนทราย, R = พ้ืนหิน, OT = อื่น ๆ) ในทุกชวง ระยะทาง 10 เมตร บนพ้ืนหนาตัดของแนวปะการัง (ลาง)

Ko Chorakhe (W)

-3.5

-3.0

-2.5

-2.0

-1.5

-1.0

-0.5

0.0

0 10 20 30

Distance (m)

Dep

th (m

)

Ko Chorakhe (W)

0102030405060708090

100

1 2 3

Distance ( x10 m)

% C

over

OT

SC

R

S

DC

LC

Page 26: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

34

2.2 การสํารวจบริเวณพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี ระหวางเดอืน พฤศจิกายน 2551 ถึงเดือน กันยายน 2552

ทางอพ.สธ. และคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ดําเนินการสํารวจพ้ืนที่ปกปก

พันธุกรรมพืช อพ.สธ. ในพ้ืนที่เขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี โดยกําหนดเสนทางศึกษา 5

เสนทางเพื่อเปนตัวอยางของพ้ืนที่โดยรวมของพื้นที่ปกปกพันธุกรรมพืชในการเขาสํารวจครั้งน้ี

อันจะนําไปสูการใชประโยชนอยางยั่งยืนในพ้ืนที่

1,600 ม.

2,000 ม.

1,000 ม.

1,050 ม.

1,800 ม.

ภาพแสดงเสนทางสํารวจเขื่อนศรีนครินทร 5 เสนทาง

เสนทางสํารวจแบงเปน 5 เสนทางคือ

• เสนทางที่ 1 ระยะทาง 1,800 เมตร เปนเสนทางที่เชื่อมตอกับเสนทางศึกษา

ธรรมชาติในพ้ืนที่ อพ.สธ. เสนทางเสรมิระยะทาง 500 เมตร เปนเสนทางที่เดนิสะดวกที่สุด มีความหลากหลายของเห็ดรามาก

• เสนทางที่ 2 ระยะทาง 1,050 เมตร เริ่มจากสถานพยาบาลเกา บริเวณ camp นํ้าโจน เสนทางน้ีมีความหลากหลายของหอยทากมาก มีเตาเผาถานเกา

• เสนทางที่ 3 ระยะทาง 1,600 เมตร มีลําหวยในเสนทาง เปนเสนทางที่ตดั

ผานสันเขา 2 ลูก เดินคอนขางลําบาก • เสนทางที่ 4 ระยะทาง 2,000 เมตร • เสนทางที่ 5 ระยะทาง 1,000 เมตร มีลําธารไหลผาน

Page 27: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

35

ตัวอยางงานวิจัยตอเน่ืองท่ีเกี่ยวของกบักิจกรรมปกปกพันธกุรรมพืชและตอเน่ืองไป

ถึงกรอบการใชประโยชนในอนาคต ไดแก 2.2.1 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของผึ้ง ชันโรง แตนเบียน ตอแตน และแมลง

อื่นๆท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจในบริเวณพื้นท่ีเขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี เพ่ือ

ประโยชนดานการอนุรักษและทางเศรษฐกิจ

โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ผลการศึกษา

การสํารวจตัวอยางผึ้งและชันโรงตามเสนทางศึกษาตางๆโดยเนนที่เสนทางศึกษาที่ 2

และ 5 พบผึ้งในสกุล Apis ทั้งหมด 4 ชนิดคือ ผึ้งหลวง (Apis dorsata) ผึ้งม้ิม (Apis florea)

ผึ้งโพรง (Apis cerana) และ ผึ้งมาน (Apis andrenifomis) โดยมากเปนบริเวณพ้ืนที่เปดโลงที่มีพืชลมลุกที่มีดอกไมอยู เชน ดาวกระจาย ยางปา ผกากรอง อยูดานปลายของเสนทางศึกษาที่ 2

สวนชันโรงในสกุล Trigona พบจํานวน 4 ชนิด ไดแก Trigona apicalis T. collina T. fimbriata

และ T. terminata โดย T. apicalis T. collina และ T. terminate พบรังในบริเวณหนาผาหิน

โดยเฉพาะในเสนทางที่ 2 สวน T. fimbriata พบรังบนตนไม นอกจากน้ียังพบยางไมที่มีการนํามา

ไวหนารังของ T. apicalis และ T. collina ซึ่งอยูรวมในบริเวณเดียวกันและจะไดทําการพิสูจน

องคประกอบเพ่ือเทียบกับตัวอยางรังและยางไมที่ไดเก็บมาตอไป สวนการสํารวจแมลงอื่นๆนอกจากผ้ึงและชันโรงกําลังดําเนินการแยกและจําแนกยังไม

แลวเสร็จ อยางไรก็ดีผลในเบ้ืองตนพบวา แมลงและไรในดินพบในปริมาณมากสวนมากอยูในกลุม

Oribatida อยางไรก็ดีพบไร Phyllolohmannia luisea ที่พบระยะตางๆครบทั้งวงจรชีวิตจากดิน

ตัวอยางในเสนทางที่ 5 ซึ่งจากรายงานที่เคยมีมากอนหนาน้ีพบเพียงตัวเต็มวัยจากบริเวณนํ้าตก

เอราวัณ ไรสวนมากพบจากดินในบริเวณที่ใกลกับแหลงนํ้า ซึ่งไดผลใกลเคียงกับการสํารวจโดยใช

Malaise Trap ซึ่งไดกลุมแมลงตางๆ เชน แตนเบียน แมลงวัน ยุง ผีเส้ือ เปนตน มากในบริเวณที่

ใกลแหลงนํ้าเชนเดียวกัน สวนกับดักแสงไฟ พบกลุมแมลงแตกตางตามเดือนและฤดูที่พบ

สวนมากเปนผีเส้ือกลางคืน และพบตั๊กแตนตําขาวอยางนอย 4 ชนิดแสดงถึงความหลากหลาย

ของผูลาแมลงรวมทั้งแมลงที่พบในพ้ืนที่ดวย

จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของผึ้ง ชันโรง แตนเบียน ตอแตน และแมลง

อ่ืนๆที่ในบริเวณพ้ืนที่เขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี ดวยวิธีการตางๆ ไดแก การใชสวิงจับ

แมลง การแยกแมลงและไรจากดิน การต้ังกับดักแสงไฟ และการต้ังกับดัก Malaise trap เปน

จํานวน 5 ครั้งในเดือน มกราคม มีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคมและ กันยายน พบวาพ้ืนที่

อนุรักษในโครงการ อพ.สธ. เขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี มีปริมาณความหลากหลายทาง

ชีวภาพของแมลงอยูในขั้นปานกลางถึงสูงโดยเฉพาะในเสนทางศึกษาที่ 2 และ 5 ที่มีแหลงนํ้าใน

เสนทาง และในชวงคร้ังการสํารวจในชวงฤดูฝน (พฤษภาคม กรกฎาคมและ กันยายน) เน่ืองจาก

สภาพปาในพ้ืนที่เปนปาดิบแลงและปาเต็งรัง ทําใหบริเวณใกลแหลงนํ้าเปนถ่ินที่อยูอาศัยที่สําคัญ

Page 28: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

36

ของพืชและแมลงตางๆ สามารถพบผึ้งทองถ่ินของไทยไดทั้ง 4 ชนิด และชันโรงอีก 4 ชนิด พบตัว

อยางไรดินครบตลอดทั้งวงชีวิตในขณะที่รายงานที่เคยมีมาพบเฉพาะตัวเต็มวัย สวนตัวอยางแมลง

อ่ืนๆและไรดินไดทําการคัดแยกและดําเนินการจําแนกกลุมอยู นอกจากน้ีการศึกษาในอนาคตจะ

ไดทําการเก็บตัวอยางพืชและยางไมที่คาดวาจะเปนแหลงของยางสําหรับผลิตโพรโพลิสในผึ้งและ

ชันโรง เพ่ือนํายางไมตนกําเนิดไปใชประโยชนทางเศรษฐกิจตอไป สวนแมลงที่เปนประโยชนในการควบคุมโดยชีววิธี เชน แตนเบียน จะไดมีการศึกษาเพ่ือใชประโยชนทางการเกษตรตอไปใน

อนาคต

ผ้ึงหลวง (Apis dorsata) ผ้ึงม้ิม (Apis florea)

ผ้ึงโพรง (Apis cerana) รังผ้ึงมาน (Apis andrenifomis)

ภาพผึ้งในสกุล Apis ท่ีพบในบริเวณพ้ืนท่ีเขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี ท้ังหมด 4

ชนิดคือ ผ้ึงหลวง (Apis dorsata) ผ้ึงม้ิม (Apis florea) ผ้ึงโพรง (Apis cerana) และ ผ้ึงมาน

(Apis andrenifomis)

Page 29: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

37

Trigona apicalis Trigona collina

Trigona fimbriata Trigona terminata

ภาพรังของชันโรงชนิดตางๆท่ีพบในบริเวณพ้ืนท่ีเขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี ไดแก Trigona apicalis T. collina T. fimbriata และ T. terminate

ภาพไร Phyllolohmannia luisea ท่ีพบระยะตางๆครบท้ังวงจรชวีิตจากดินตัวอยาง

ในเสนทางศกึษาท่ี 5 บริเวณพ้ืนท่ีเขือ่นศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี

Page 30: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

38

ภาพวาด ไร P. luisea เพื่อใชประกอบในการศึกษา Ontogeny (วาดโดยมารุต เฟองอาวรณ)

ภาพการเก็บตัวอยางแตนเบียนดวย Malaise Trap และตัวอยางแตนเบียนท่ีพบ

บริเวณพ้ืนท่ีเขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี

Page 31: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

39

ภาพการเก็บตัวอยางแมลงและแมลงท่ีไดจากต้ังกับดักแสงไฟซึ่งประกอบดวย

Blacklight และหลอดไฟแสงจันทร ในบริเวณท่ีพักบริเวณพ้ืนท่ีเขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี ตั้งแต 17.00น. - 03.00น. 2.2.2 การศึกษาความหลากหลายของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกและสัตวเล้ือยคลานและ

ปรสิตในเลือดของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกในพ้ืนท่ี อพ.สธ.-เขื่อนศรีนครินทร โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)

ผลการศึกษา จากการสํารวจในชวงเวลา 10 เดือน ในพ้ืนที่ อพ.สธ.-เขื่อนศรีนครินทร พบสัตวสะเทิน

นํ้าสะเทินบกจํานวน 15 ชนิดและสัตวเล้ือยคลาน 16 ชนิด ซึ่ง เสนทางหลักในการศึกษาคือเสน

ที่ทางที่ 2 และ 5 ซึ่งทั้ง 2 เสนทางมีลักษณะที่แตกตางกันคือ เสน 5 จะเปนเสนที่มีลําธารไหล

ผาน ซึ่งพบสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกเปนสวนใหญ สวนสัตวเล้ือยคลานพบในทั้ง 2 เสนทาง

ดังกลาว โดยเฉพาะเสนที่ 2 ซึ่งมีลักษณะแหงแลง เหมาะแกการอยูอาศัยของสัตวเล้ือยคลาน และ

นอกจากน้ี ยังมีการศึกษาชนิดของปรสิตในสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก พบปรสิตในเลือดของสัตว

สะเทินนํ้าสะเทินบกมีการติดปรสิตในเลือด เพียง 10% ปรสิตที่พบไดแก เชื้อริคเคตเซีย

Aegyptianella sp., เชื้อโพรโทซัว ไดแก Trypanosoma chattoni, Hepatozoon sp. และโพรโทซัวกลุม

apicomplexan ที่ไมสามารถแยกสกุลได ปรสิตเหลาน้ีมีปลิงนํ้าจืดหรือแมลงเปนพาหะ

รายชื่อสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกที่ดําเนินการสํารวจระหวางเดือนมกราคม มีนาคม

พฤษภาคม และกรกฏาคม 2552 จํานวน 4 ครั้ง ครั้งละ 2 คืน 3 วัน พบสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกจํานวน 15 ชนิด จําแนกตามวงศไดดังตอไปน้ี รายชือ่สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกในแตละวงศ วงศ Ranidae กลุมกบเขียด จํานวน 7 ชนิด

1. กบทูด Limnonectes blythii 2. กบหัวโต Rana hascheana

3. กบออง Rana nigrovittata

Page 32: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

40

4. กบหัวโต Rana macrongathus 5. กบปาไผ Rana limborgi 6. กบหนอง Fejervarya limnocharis 7. เขียดนํ้านอง Phrynoglossus martensii

วงศ Microhylidae กลุมอ่ึง จํานวน 6 ชนิด 1. อ่ึงขาคํา Microhyla pulchra

2. อ่ึงนํ้าเตา Microhyla fissipes 3. อ่ึงลายเลอะ Microhyla butleri 4. อ่ึงขางดํา Microhyla heymonsi 5. อ่ึงแมหนาว Microhyla berdmorei 6. อ่ึงหลังขีด Micryletta inornata

วงศ Rhacophoridae กลุมปาด จํานวน 1 ชนิด (ปาดบาน Polypedates leucomystax) วงศ Bufonidae จํานวน 1 ชนิด (คางคกบาน Bufo melanostictus)

ภาพแสดงจาํนวนชนิดเปรียบเทียบในแตละวงศ

ภาพแสดงเปอรเซนตเปรียบเทียบในแตละวงศ

จํานวนชนิดของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกในวงศตางๆ

0

2

4

6

8

วงศ Ranidae วงศ Microhylidae วงศ Rhacophoridae วงศ Bufonidae

วงศ

จาํนวน

(ชนิด

)

เปอรเซ็นตจํานวนชนิดสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกในแตละวงศ

0.010.020.030.040.050.0

วงศ Ranidae วงศ Microhylidae วงศ Rhacophoridae วงศ Bufonidae

วงศ

เปอรเซ็นต

Page 33: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

41

ความหลากหลายชนิดของสัตวเล้ือยคลาน พบสัตวเล้ือยคลานจาํนวนทั้งหมด 16 ชนิดประกอบดวย

กลุมงู 3 ชนิด ไดแก

• งูเขียวปากแหนบ: Ahaetulla nasuta

• งูเขียวปากจิ้งจก: Ahaetulla prasina

• งูกินทากจุดขาว: Pareas margaritophorus กลุมจิ้งจก ตุกแก 13 ชนิด ไดแก

• จิ้งจกหางแบน: Cosymbotus platyurus

• จิ้งจกหางหนาม: Hemidactylus frenatus

• จิ้งจกดินลายจุด: Dixonius siamensis

• ตุกแกบาน: Gekko gecko

• กิ้งกานอยหางยาว: Takydromus sexlineatus

• กิ้งการั้ว: Calotes versicolor

• กิ้งกาแกว: Calotes emma

• กิ้งกาหัวสีฟา: Calotes mystaceus

• แย: Leiolepis beliana

• เหี้ย: Varanus salvator

• จิ้งเหลนบาน: Mabuya multifasciata

• จิ้งเหลนหลากลาย: Mabuya macularia

• จิ้งเหลนภูเขาเกล็ดเรียบ: Sphenomorphus maculates ผลการศึกษาปรสิตในเลือดของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกจากพ้ืนท่ีเขื่อนศรีนครินทร

ผลการตรวจปรสิตในเลือดของสัตวสะเทินนํ้าสะทินบกพ้ืนที่เขื่อนศรีนครินทร จังหวัด

กาญจนบุรี พบปรสิต ไดแกเชื้อริคเคทเซยีส Aegyptianella sp. เชื้อโพรโทซัว ไดแก Trypanosoma chattoni, Hepatozoon sp. และโพรโทซัวกลุม apicomplexan ที่ไมสามารถแยกสกุลได ดังแสดงไวในตาราง

Page 34: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

42

ตารางการตดิปรสิตในเลือดของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกพ้ืนที่เขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุร ี

% การติดปรสิต วันท่ี

สัตวสะเทินนํ้าสะเทินบก

จํานวนที่ศึกษา (ตัว)

การติดปรสิต (%) A T H Unk A

6-8 มี.ค. 2552

ปาดบาน Polypedates leucomystax กบอองเล็ก Rana nigrovittata

2

3

0

0

0

0

0 0

0 0

0 0

15-17พ.ค. 2552 ปาดบาน Polypedates leucomystax กบอองเล็ก Rana nigrovittata

6

4

0

0

0 0

0 0

0 0

0 0

10-12 ก.ค. 2552 กบทูด Limnonectes blythii

1 0 0 0 0 0

12-13 ก.ย. 2552 กบอองเล็ก Rana nigrovittata กบทูด Limnonectes blythii

3

1

33.3

100

0

100

33.3

100

33.3 0

0

100

ผลรวม 20 10 0.5 1.0 1.0 0.5 A = Aegyptianella sp., T = Trypanosoma chattoni, H = Hepatozoon sp., Unk A = unknown apicomplexan

ผลการศึกษาปรสิตในเลือดของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกมีการติดปรสิตในเลือด10% ปรสิตที่พบไดแก เชื้อรคิเคตเซีย Aegyptianella sp., เชื้อโพรโทซัว ไดแก Trypanosoma chattoni, Hepatozoon sp. และโพรโทซัวกลุมapicomplexan ที่ไมสามารถแยกสกุลได และปรสิตเหลาน้ีมีปลิงนํ้าจืดหรือแมลงเปนพาหะ

Page 35: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

43

ภาพตัวอยางแสดงความหลากหลายของสัตวสะเทินนํ้าสะเทินบกและสัตวเล้ือยคลาน ในพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. ณ เขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี

ภาพแสดงอึง่ขาคํา ภาพแสดงกบทูดหรือเขยีดแลว

ภาพแสดงอึง่น้ําเตา ภาพแสดงก้ิงการ้ัว

ภาพแสดงงูเขยีวปากจิ้งจก ภาพแสดงจิ้งจกดนิลายจุด

Page 36: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

44

2.2.3 การสํารวจชนิดของปลาและเมตาเซอคาเรียของพยาธิใบไมในปลามีเกล็ด ในอางเก็บนํ้าของเขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี

โดยคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ผลการศึกษา

1. ผลการสํารวจชนิดของปลา จากการสํารวจปลาที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามตลาดและโดยการสอบถามจาก

ชาวบานที่อาศัยตามบริเวณรอบอางเก็บนํ้าเขื่อนศรีนครินทร ระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือน

กันยายน 2552 พบปลาจํานวน 25 ชนิด 21 สกุลและ 11 ครอบครัว โดยเรียงลําดับตาม

ตัวอักษรภาษาไทยดังรายชื่อตอไปน้ี

ครอบครัว (Family) ช่ือสามัญ ช่ือวิทยาศาสตร ครอบครัวปลากด, แขยง (Bagridae) กดคัง Hemibagrus wyckioides

กดเหลือง กดหมอ Hemibagrus nemurus

แขยงใบขาว Mystus sp.

ครอบครัวปลากระทิง (Mastacembelidae) กระทิง Mastacembelus armatus

ครอบครัวปลากราย (Notopteridae) สลาด Notopterus notopterus

กราย Chitala ornata

ครอบครัวปลาชอน (Channidae) ชะโด Channa micropeltes

ครอบครัวปลาตะเพียน (Cyprinidae) กระสูบขีด Hampala macrolepidota

กระแห Barbonymus schwanfeldii

กะมัง Puntioplites proctozysron

กา, เพี้ย Morulius chrysophykadian

แกง สรอยน้ําเงิน Cirrhinus chinensis

ตะพากปกแดง Hypsibarbus suvatti

ตะเพียนขาว Barbonymus gonionotus

ตะเพียนทอง Barbonymus altus

สรอยขาว Henicorhynchus siamensis

สรอยนกเขา Osteochilus hasselti

ไสตันตาแดง Cyclocheilichthys apogon

ครอบครัวปลานิล (Cichlidae) นิล Oreochromis niloticus

ครอบครัวปลาเน้ือออน (Siluridae) แดงไห นาง Micronema micronema

ครอบครัวปลาบึก (Pangasiidae) บึก Pangasianodon gigas

สวาย Pangasianodon hypophthalmus

ครอบครัวปลาบู (Eleotridae) บูทราย Oxyeleotris marmoratus

ครอบครัวปลาแรด (Osphromemidae) แรด Osphronemus goramy

ครอบครัวปลาเสือดํา (Nandidae) หมอชางเหยียบ Pristolepis fasciatus

Page 37: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

45

2. ผลการตรวจหาปรสิต ผลการตรวจหาปรสิตพยาธิใบไมระยะเมตาเซอคาเรีย ในปลาชนิดตางๆ จากพ้ืนที่เขื่อนศรี

นครินทร ในระหวางเดือนมีนาคมถึงกันยายน 2552 ตรวจปลาทั้งหมด 18 ชนิด จํานวน 82 ตัว

พบวา การตรวจปลาในครอบครัวปลาตะเพียน (Family Cyprinidae) จํานวน 68 ตัว มีการติด

ปรสิตมากที่สุด โดยมีการติดปรสิตเมตาเซอคาเรียของพยาธิใบไม 51.4% ปลากระสูบขีดมีการ

ติดปรสิตสูงถึง 100% รองลงมาคือปลาไสตันตาแดงซ่ึงติดปรสิต 75% รูปที่ 1 และ 2 แสดงเม

ตาเซอคาเรียที่พบใตเกล็ดและในเน้ือปลา สําหรับปลานิลพบการติดปรสิตเพียง 1 ตัวและพบเมตาเซอคาเรียเพียง 1 อันเทาน้ัน

สวนปลาในกลุมอ่ืนๆ ไดแก ชะโด แรด หมอชางเหยียบ และสลาด ไมพบเมตาเซอคาเรีย

สรุปและวิจารณผล จากการศึกษาพบปลาทั้งส้ินจํานวน 25 ชนิด เปนปลาในกลุมปลาตะเพียนจํานวน 11

ชนิด จํานวนชนิดของปลาที่ไดนอยกวาความเปนจริง เน่ืองจากไมไดมีการสํารวจภายในอางเก็บ

นํ้าโดยตรง อยางไรก็ตามปลาเหลาน้ีเปนปลาที่ประชากรนิยมนํามาบริโภค ผลการตรวจพยาธิใบไมระยะเมตาเซอคาเรียในปลา 18 ชนิด รวม 82 ตัว ศึกษาในชวง

2 ฤดูกาล ปรากฎวาปลาในครอบครัวปลาตะเพียน (Family Cyprinidae) มีการติดปรสิตสูงที่สุด

คือ มีการติดปรสิต 52.9 % โดยในชวงฤดูรอน ไดแกเดือนมีนาคม พฤษภาคม และ กรกฎาคม มี

การติดปรสิต 41.7 54.2 และ 39.1% ตามลําดับ เมตาเซอคาเรียพบบริเวณใตเกล็ดปลา สวน

ในฤดูฝน ไดแกเดือนกันยายนพบการติดปรสิต 100 % พบเมอตาเซอคาเรียเปนจํานวนมาก

บริเวณใตเกล็ดและในเน้ือปลา ซึ่งผลการศึกษาน้ีสอดคลองกับการศึกษาของ Vichasri และคณะ

(1982) ซึ่งพบวาปลาที่เปนเจาบานก่ึงกลางของพยาธิใบไมตับ ไดแก กลุมปลาตะเพียน และการ

ติดพยาธิในปลาจะแตกตางกันตามฤดูกาล และยังแปรผันตามการติดพยาธิในคนดวย การศึกษาครั้งน้ียังไมสามารถระบุวาเมตาเซอคาเรียที่พบวาเปนของพยาธิใบไมในตับ

หรือพยาธิใบไมในลําไสชนิดใด ทั้งน้ีเพราะวาลักษณะรูปรางของเมตาเซอคาเรียมีลักษณะ

เมตาเซอคาเรยีที่พบใตเกล็ดของปลาตะเพียนขาว เมตาเซอคาเรียที่พบในเน้ือของปลาตะเพียน

Page 38: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

46

คลายกันมาก การศึกษาเพ่ือระบุชนิดตองอาศัยเทคนิคอ่ืนรวมดวย เชน การนําเมตาเซอคาเรียไป

ใหสัตวทดลองกิน และศึกษาระยะตัวเต็มวัยของพยาธิจากสัตวทดลองน้ัน หรือใชเทคนิคทางอณู

ชีววิทยา เปนตน จากการศึกษาสามารถสรปุไดวา การบริโภคปลาดิบมีความเส่ียงสูงตอการติดพยาธิใบไม

ทั้งพยาธิใบไมในตับ และพยาธิใบไมในลําไส ซึ่งสามารถกอใหเกิดโรคมะเร็งตับและมะเร็งลําไสได

วิธีปองกันดีที่สุดคือ การบรโิภคปลาที่ปรงุสุกแลว ภาพตัวอยางความหลากหลายของปลา

ปลาตะเพียนขาว (Barbonymus gonionotus) ปลาไสตันตาแดง (Cyclocheilichthys apogon)

ปลากระแห (Barbonymus schwanenfeldi ปลาแกง (Cirrhinus chinensis)

ปลาตะเพียนทอง (Barbonymus altus) ปลากระสูบขดี (Hampala macrolepidota)

Page 39: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

47

2.2.4 งานสํารวจความหลากหลายของทรัพยากรกายภาพและทรัพยากรชีวภาพ

(ดิน นํ้า ปาไม) ในพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืชเขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี ดําเนินการโดยเจาหนาที่ อพ.สธ.

ผลการศึกษา บริเวณเสนทางที่ 1 สังคมปาเต็งรัง สํารวจพบทรัพยากรภายภาพและ ทรัพยากรชีวภาพ

ดังน้ี ลําดับท่ี ทรัพยากร รหัสพิกัด พิกัดภูมิศาสตร การเก็บตัวอยาง หมายเหตุ

1 ผลตะครอ (ผลออน) 030 47Q0513825 UTM1591843 ภาพถาย

2 หนอนตายหยาก มีผล 031 47Q0513845 UTM1591858 ภาพถาย

3 อบเชยเถา 032 47Q0513854 UTM1591853

ภาพถาย 4 จุดเก็บตัวอยางดิน 1 033 47Q0513872

UTM1591860 ภาพถาย สภาพของมอสที่คลุมดิน

ยังไมเขียว แสดงวาดินช้ันลางความช้ืนตํ่า ช้ันบนความช้ืนปานกลาง พบตนพระรามเดินดงออกดอกและแตกใบออน

5 บุกอีรอก 034 47Q0513889 UTM1591853 ภาพถาย

6 จุดเก็บตัวอยางดิน 2 035 47Q0513915 UTM1591880 ภาพถาย จุด เ ก็บ ตัวอย า ง ดิน เ ดิม

ความหนาของ litter 3 cm7 กลวยไม เชน เขาแกะ

และหนวดพราหมณ

036 47Q0513925 UTM1591891 เก็บตัวอยางเพ่ือการศึกษาโดยสง

ศูนยฯ คลองไผ ในกิจกรรมที่ 3 พบอิ ง อ า ศั ย อ ยู บนต นหนามแทน และตนจําปปา

8 กลวยไมดินไมทราบชนิด

037 47Q0513904 UTM1591899 ภาพถาย เริ่มแทงยอดเน่ืองจากมี

ความช้ืนในดินสูง 9 เมล็ดของพืชวงศถ่ัว 038 47Q0513887

UTM1591908 ภาพถาย กําลังงอก เ น่ืองจากนกเปนตัวกระจายเมล็ดพันธุ

10 ลูกใตใบดอกสีแดง และพืชวงศเปลา

039 47Q0513872 UTM1591948 ภาพถาย พบคว ามสั ม พันธ ท า ง

นิ เวศวิทยาโดยมีแมลงเตาทองเปนตัวกินใบพืช แ ล ะ มี ผู ล า ข อ ง แ ม ล งเตาทองไดแกแมงมุม

11 โครงสรางดินสามระดับ O-B horizons

040 47Q0513834 UTM1591951 ภาพถาย ความสูง 245 m a.s.l.

เน้ือดินทรายจัด ความช้ืนตํ่า ระดับความลึกรวม 20 cm

12 ดอกไมไมทราบชนิด 041 47Q0513831 UTM1591992 ความสูง 255 m a.s.l.

Page 40: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

48

ลําดับท่ี ทรัพยากร รหัสพิกัด พิกัดภูมิศาสตร การเก็บตัวอยาง หมายเหตุ 13 หมุดบริเวณยอดเขา 042 47Q0513764

UTM1592066 ภาพถาย จุดเก็บตัวอยางดินในฤดูแลง

14 วานจูงนาง, เปราะแดง หรือเปราะนกคุม

043 47Q0513946 UTM1591921 ภาพถาย

15 เห็ดหลายชนิด 044 47Q0514049 UTM1591578 ภาพถาย

16 ตนตีนนก 045 47Q0514054 UTM1591569 ภาพถาย

17 ตําแหนงแสดง profile ดิน

046 47Q0514085 UTM1591511 ภาพถาย เกิด land slide

18 จุดเก็บตัวอยางนํ้าบริเวณเสนทางที่ 2

047 47Q0514109 UTM1591483 ภาพถาย

19 สภาพแปลงตัวอยาง 048 47Q0514186 UTM1591435 ภาพถาย

20 Profile ดินธรรมชาติ 049 47Q0514279 UTM1591350 ภาพถาย บริเวณเสนทางนํ้า

21 รองนํ้าหลาก 050 47Q0514427 UTM1591511 ภาพถาย

22 ปอบิด 051 47Q0514487 UTM1591518 ภาพถาย ออกดอกสีแดงสม พบ

หนอนของผีเสื้อกลางคืนไมทราบชนิดบริเวณพืชอาหารใกลเคียง

23 กลวยไมชางผสมโขลง 052 47Q0514519 UTM1591507 ภาพถาย กลวยไมดิน

แสดงสภาพดินบริเวณเสนทางท่ี 1 เน้ือดินเปน Sandy Clay Loam

Page 41: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

49

ภาพแสดงโครงสรางของชั้นดิน (soil profile) 3 ระดับดังนี ้

• O Horizon ระดับผิวดินเปนแหลงสะสมของ

ซากส่ิงมีชีวิตที่กําลังอยูในกระบวนการยอย

สลายโดยจุลินทรียผิวดิน • A Horizon ระดับความลึกประมาณ 7 cm

จากตอจากชัน้ผิวดินเปนระดับที่มีการผสม

ระหวางแรธาตุอาหารพืชและอินทรียวัตถุ

ในดิน • B Horizon ระดับความลึกประมาณ 13 cm

ตอจากชั้น A Horizon เปนระดับชั้นที่เกดิ

จากการชะลางวัตถุดิบจากชั้น A ลงมาสูชั้น

น้ี สังเกตไดจากสีของชั้นดนิน้ีที่มีสีจางลง (สี

นํ้าตาล) เปนชั้นที่มีความสําคัญกับพืชมากที่สุด โดยที่สังเกตไดจากพบรากพืช ไดแก

รากแขนงและรากฝอยเปนจํานวนมากใน

ชั้นน้ี พบสวนผสมของธาตอุาหารพืช และ

อินทรียวัตถุทีเ่รียกวา humus ดินสีดําสนิท

• C Horizon เปนชั้นที่อยูถัดไปจากชั้น B ชั้นน้ีเกิดกระบวนการผุพังยอยสลายวัตถุตน

กําเนิดดิน (parent material) หรือที่เรยีกวา

กระบวนการ weathering process โดยจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพของวัตถุตน

กําเนิดดินใหกลายเปนดิน สังเกตไดจาก

พบกอนหินขนาดเล็กแตกกระจายอยูทั่วไป

ในชั้นน้ีและพบกอนหินขนาดใหญอยูลึกลง

ไป (bed rock)

Page 42: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

50

ภาพโครงสรางหนาตดัดนิ (soil profile) ตามธรรมชาติบริเวณเสนทางท่ี 2

ภาพแหลงน้าํบริเวณเสนทางท่ี 2 มีความชื้นสูงมาก สํารวจพบพืชจําพวก moss

ท่ีเปนดัชนีชีว้ัดความชื้นของดินไดเปนอยางด ี

Page 43: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

51

เสนทางที่ 5 พบพรรณไมในสังคมพืชเขาหินปูน สํารวจพบไมพ้ืนลางจําพวก กลวยไมดิน

เปราะ พันธุไมที่ มีความจําเพาะปรับตัวใหอาศัยอยูไดในพ้ืนที่ เขาหินปูน ไดแก สลัดได

Euphorbia antiquorum Linn. (EUPHOBIACEAE) และจันผา Dracaena loureiri Gagnep.

(AGAVACEAE) เปนตน เส้ียว Bauhinia sp. (LEGUMINOSEAE) ไมตน ไดแก มะคาโมง Afzelia

xylocarpa (Kurz) Craib. ปอ และไมวงศถ่ัว (LEGUMINOSEAE)

เสนที่ 1 เสนที่ 2

เสนที่ 3,4 เสนที่ 5

แสดงสภาพสังคมพืชบริเวณเสนทางสํารวจ 5 เสนทาง

สภาพปาที่เปล่ียนแปลงไปตามฤดูกาล โดยเฉพาะอยางยิ่งฤดูฝนปริมาณนํ้าและความชื้น

ที่เพ่ิมขึ้นสงผลตอส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ ในระบบนิเวศปาไม ปจจัยจํากัดที่สําคัญ คือ นํ้า ชวยกอกําเนิด

สรรพชีวิต ส่ิงมีชีวิตขึ้นอยูกับชวงระยะเวลาในฤดูกาลน้ีที่จะเรงขยายเผาพันธุเพ่ือสงตอพันธุกรรม

จากรุนสูรุนกอใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพตอไป

บริเวณเสนทางที่ 1, 2, 3 สังคมพืชเปน สังคมปาเต็งรัง บริเวณเสนทางที่ 4 และ 5 พบ

สังคมปาผสมผลัดใบที่มีไผเปนไมเดน บริเวณใกลลําหวยของเสนทางที่ 5 พบสังคมปาดิบแลง

อันเปนสังคมพืชปาที่ ปริมาณนํ้า อันเปนปจจัยจํากัดของผืนปาบริเวณพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช

เขื่อนศรีนครินทร ก็เริ่มมีเพ่ิมขึ้นสงผลใหความชื้นในดินสูงขึ้น ทําใหสภาพของพรรณไม

เปล่ียนแปลงไปจากชวงฤดูแลงอยางเห็นไดชัด สภาพดินปาเต็งรัง และปาผสมผลัดใบ ซึ่งสวนมาก

เปนดินทราย (sandy loam) ที่มีอัตราการอุมนํ้าต่ําอัตราการซึมนํ้าสูง ทําใหปริมาณนํ้าในดินหายไปอยางรวดเร็ว บางพ้ืนที่เชนเสนทางสํารวจเสนที่ 2 พบรองรอยการไหลของนํ้าที่ทิ้งไวโดย

พบจากหนาดินถูกชะลางพังทลายไป และกองใบไมถูกพัดพามาทับถมกันไว ทําใหพรรณไมใน

สังคมตองปรับตัวเพ่ือลดการสูญเสียนํ้าโดยการผลัดใบ

Page 44: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

52

การชะลางหนาดินและกองใบไมท่ีทับถมบริเวณพ้ืนปาโดยนํ้า

สัตวปาหลายชนิด โดยเฉพาะสัตวไมมีกระดูกสันหลัง (invertebrate) จําพวกแมลง มี

บทบาทสําคัญในการสงเสริมในดานการสืบพันธุของพรรณไมปา ในบทบาทของการชวยผสม

เกสร (pollinator) และการกระจายเมล็ดพันธุ (disperser) นอกจากน้ีแมลงกินพืช (phytophagy)

อีกหลายๆ ชนิดยังชวยควบคุมประชากรของพืชปา ในรูปแบบของตัวทําลายพืช (predator) เชน

เตาทองที่ทําลายใบของพืชวงศเปลา ซึ่งยังมีผูลาเชน แมงมุม (Arachnids) ที่ชวยควบคุมประชากรของแมลงตออีกทอด แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธทางนิเวศวิทยาที่ชวยค้ําจุนระบบนิเวศอัน

ซับซอน

ภาพถายทางอากาศแสดงตําแหนงท่ีพบทรัพยากรกายภาพและทรัพยากรชีวภาพบริเวณ

เสนทางสํารวจพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืชเขือ่นศรีนครินทร (Base Map จาก www.PointAsia.com)

Page 45: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

53

การตรวจสอบเนื้อสัมผัสของดินโดยวิธใีชความรูสึก (Soil texture determination by Feel Method)

การสํารวจบริเวณเสนทางที่ 1,2 และ 3 สุมเก็บตัวอยางทรัพยากรดิน บันทึกพิกัด

ทรัพยากร และประเภทของสังคมพืชที่พบ สุมเก็บตัวอยางรวม 6 ตัวอยาง สํารวจบริเวณเสนทาง

ที่ 4 และ 5 สุมเก็บตัวอยางทรัพยากรดิน บันทึกพิกัดทรัพยากร และประเภทของสังคมพืชที่พบ สุมเก็บตัวอยางดินรวม 3 ตัวอยาง สรุปผลการสํารวจแสดงในตาราง

เสนทางสํารวจท่ี 1 อุณหภูมิเฉล่ีย 28.33 °C ความชื้นสัมพัทธเฉล่ีย 86.66 % สุมเก็บ

ตัวอยางดินรวม 3 จุด ดังน้ี

จุดสํารวจ S1 พิกัด 47Q0513829 UTM1591849 บริเวณพ้ืนที่กันชนระหวางปากับถนน

(forest edge) สังคมพืชปาเต็งรัง มีไมรังเปนไมเดน เน้ือดินที่ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินรวน

ปนทรายแปง (silt loam)

จุดสํารวจ S2 พิกัด 47Q0513921 UTM1591880 บริเวณพ้ืนที่ในปาเต็งรัง เน้ือดินที่

ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินรวนปนทรายแปง (silt loam)

จุดสํารวจ S3 พิกัด 47Q0513767 UTM1592067 บริเวณพ้ืนที่ในปาเต็งรัง เน้ือดินที่

ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินรวนปนทราย (sandy loam)

เสนทางสํารวจท่ี 2 อุณหภูมิเฉล่ีย 30 °C ความชื้นสัมพัทธเฉล่ีย 86 % สุมเก็บตัวอยาง

ดินรวม 2 จุด ดังน้ี

จุดสํารวจ S4 พิกัด 47Q0514123 UTM1591466 สังคมพืชปาผสมผลัดใบ บริเวณใกลลํา

หวยนํ้าไหล มีความชุมชื้นสูง สภาพดินมีลักษณะคลายดินพีท (peat) ที่เกิดจากการทับถมของ

ซากส่ิงมีชีวิต หินที่สํารวจพบบริเวณจุดน้ีอยูในกระบวนการผุพังยอยสลาย (weathering process)

กลายสภาพเปนดิน และสวนหน่ึงเกิดจากการพังทลาย (erosion) ของชั้นดินและหินบริเวณหนา

ผา เน้ือดินที่ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินทราย (sand)

จุดสํารวจ S5 พิกัด 47Q0514182 UTM1591433 สังคมพืชปาผสมผลัดใบ บริเวณแปลง

สํารวจที่ชุดสํารวจไดจัดทําไว เน้ือดินที่ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินทราย (sand)

เสนทางสํารวจท่ี 3 สุมเก็บตัวอยางดินรวม 1 จุด ดังน้ี

จุดสํารวจ S6 พิกัด 47Q0514202 UTM1591282 สังคมพืชปาเต็งรัง บริเวณใกลกับ

เสาไฟฟาแรงสูง อุณหภูมิ 30 °C ความชื้นสัมพัทธ 86 % เน้ือดินที่ระดับความลึก 0-20 cm เปน

ดินทราย (sand)

เสนทางสํารวจท่ี 4 อุณหภูมิเฉล่ีย 26.65 °C ความชื้นสัมพัทธเฉล่ีย 93.5 % สุมเก็บ

ตัวอยางดินรวม 2 จุด ดังน้ี

Page 46: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

54

จุดสํารวจ S7 พิกัด 47Q0514415 UTM1590854 สังคมพืชปาผสมผลัดใบที่มีสังคมเดน

เปนไมไผ เน้ือดินที่ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินรวนปนทราย (sandy loam)

จุดสํารวจ S8 พิกัด 47Q0514416 UTM1590811 สังคมพืชปาผสมผลัดใบ เน้ือดินที่

ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินเหนียวปนทราย (sandy clay)

เสนทางสํารวจท่ี 5 สุมเก็บตัวอยางดิน 1 จุด ดังนี้

จุดสํารวจ S9 พิกัด 47Q0514416 UTM1590424 สังคมพืชปาผสมผลัดใบ ใกลเขาหินปูน

อุณหภูมิ 27.5 °C ความชื้นสัมพัทธ 97 % เน้ือดินที่ระดับความลึก 0-20 cm เปนดินเหนียวปน

ทราย (sandy clay)

ภาพตัวอยางแสดงเนื้อสัมผัสดิน (soil texture) และสีของดิน 6 ตัวอยาง

Page 47: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

55

2.2.5 การสํารวจและรวบรวมพันธุกรรมของเห็ด ราและไลเคน ในพ้ืนท่ีปกปก

พันธุกรรมพืชเขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี

ดําเนินการโดยเจาหนาที่ อพ.สธ. ผลการศึกษา จากการสํารวจรวม 4 ครั้งพบเห็ดทั้งหมด 44 สกุล (genus) 29 ชนิด (species) และไม

สามารถจําแนกได 6 ตัวอยาง โดยจากการสํารวจพบวาชวงเวลาที่พบชนิดของเห็ดมากที่สุดไดแก

ชวงฤดูฝนตั้งแตเดือนพฤษภาคมเปนตนไป ซึ่งอากาศมีความช้ืนเพ่ิมสูงขึ้นเน่ืองจากฝนตก ทําให

สภาพของพ้ืนที่มีความชุมชื้นซ่ึงเปนสภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญเติบ+โตของเห็ดดวย เห็ดที่มัก

พบจะเปนเห็ดหิ้งหรือเห็ดในวงศ Polyporaceae เชนเห็ดกรวยทองตากรู เห็ดหิ้งใหญ เห็ดรังผึ้ง เปนตน เน่ืองจากเห็ดเหลาน้ีมีลักษณะเหนียวและทนทานตอสภาพแวดลอม สําหรับเห็ดอ่ืนๆที่มี

ลักษณะออนนุม เนาเสียไดงายจะพบมากในชวงหนาฝนเปนตนไป ตารางที่ 1 แสดงจํานวนตัวอยางของเห็ด รายอยสลายไม และไลเคนที่เก็บไดจากเสนทาง

สํารวจทุกเสนทางของเข่ือนศรีนครินทร การสํารวจของหนวยน้ันจะเนนในสวนที่มีความช้ืนมาเปน

พิเศษเพื่อประโยชนในการพบเห็ดมากขึ้น โดยเสนทางที่เปนเปาหมายหลักของการสํารวจในครั้ง

น้ีคือ เสนทางที่ 1, 2 และ 5 ซึ่งเสนทางเหลาน้ีเปนเสนทางที่มีแหลงนํ้า หรือสายนํ้าเล็กไหลผาน

สําหรับเสนทางที่ 3 และ 4 จะเปนบริเวณที่สูงซ่ึงการไดมาของตัวอยางจะเปนชวงฤดูฝนเปน

สวนมาก จากตารางจะพบวาทั้งสามเสนทางคือ เสนทางที่ 1, 2 และ 5 ที่เปนเปาหมายหลักน้ัน

พบจํานวนของเห็ดมาก เน่ืองจากมีความช้ืนสูงกวา และเห็ดที่พบในทุกเสนทางไดแกเห็ด

ตีนตุกแก (Schizophyllum commune) สําหรับชนิดอ่ืนๆจะกระจายโดยทั่วไป

รูปท่ี 2 ภาพบางสวนของเสนทางศึกษา

Page 48: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

56

ตารางท่ี 1 แสดงจํานวนตวัอยางเห็ด รายอยสลายไม และไลเคนจากเขื่อนศรีนครินทร (มกราคม, มีนาคม, พฤษภาคม และกนัยายน 2552)

เสนทางท่ี จํานวนตวัอยาง

ท้ังหมด เห็ด รายอยสลายไม ไลเคน

1 44 25 16 3 2 37 22 13 2

3-4 17 16 1 0 5 40 27 12 1 รวม 138 90 42 6

การจําแนกเห็ดและรายอยสลายไมเบ้ืองตน โดยการจําแนกเห็ดน้ันจะขึ้นกับลักษณะทาง

สัณฐานวิทยาเปนสําคัญ โดยเปรียบเทียบลักษณะสีของหมวกเห็ด ลักษณะหมวกเห็ด ครีบ กาน

ฐานหุมดอกเห็ด วงแหวนเห็ด และขนาดกับหนังสือการจําแนกเห็ดเพ่ือจําแนกเห็ดไดอยางถูกตอง

สําหรับในกลุใของยายอยสลายไมน้ันเชื้อราบางชนิดสามารถที่จําแนกไดจากตาเปลาเน่ืองมาจาก

ลักษณะสัณฐานวิทยาที่โดดเดนของราชนิดน้ันๆ สําหรับสวนที่เหลือจะตองทําการศึกษาลักษณะ

ภายใน เชน ลักษณะสปอร, ascus, apical apparatus, เปนตนตอไป สวนกลุมไลเคน ที่พบมาก

จะเปนไลเคนฝุนผง โดยบริเวณที่มีแสงแดดสองแรงจะพบไลเคนฝุนผงกลุม Laurera sp. มาก

สําหรับการเจริญของไลเคนจะอยูบนตนไม ทั้งในที่รมและที่มีแสง และเจริญบนกอนหินไดดวย

เชนกัน

ภาพตัวอยางบางสวนท่ีสํารวจไดจากเขือ่นศรีนครินทร

เห็ดรังนก

Cyathus striatus (Huds.)Willd.&Pers.

เห็ดห้ิงแดง

Pycnoporus sanguineus

Page 49: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

57

เห็ดรังผ้ึง

Hexagonia tenuis (Cke.)Fr.

เห็ดตีนตุกแก

Schizophyllum commune Fr.

รายอยสลายไม

Daldinia eschscholzii

Cantharellus cf. minor Peck.

เห็ดห้ิง

Lenzites elegans (Fr.)Pat.

เห็ดห้ิง

Trametes cf. cingulata Beck.

ภาพตัวอยางบางสวนท่ีสํารวจไดจากเขือ่นศรีนครินทร

Page 50: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

58

2.2.6 การเพาะเล้ียงเนือ้เยื่อสมุนไพรท่ีใกลสูญพันธุ ในพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริฯ เขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี

ดําเนินการโดยเจาหนาที่ อพ.สธ. ผลการศึกษา

ลําดับ ชิ้นสวน รายชือ่รูป การเพาะเล้ียงเน้ือเยือ่

1

ชางผสมโขลง Eulophia

andamanensis Rchb.f. อาย ุ 7 เดือน

2

เอื้องหนวดพราหมณ Seidensadenia mitrata

(Rchb.f.) Garay อาย ุ6 เดือน

3

ฝาง Caesalpinia sappan

Linn. Leguminosae-

Caesalpinioideae อายุ 6 เดือน

4 หนอนตายหยาก Stemona collinsae

Craib. STEMONACEAE อาย ุ5 เดือน

Page 51: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

59

2.2.7 การสํารวจเก็บรวบรวมเมล็ดพันธุ ในพ้ืนท่ีปกปกพันธกุรรมพืช โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริฯ เขื่อนศรีนครินทร จ.กาญจนบุรี

ดําเนินการโดยเจาหนาที่ อพ.สธ. ผลการศึกษา สํารวจเก็บรวบรวมเมล็ดพันธุพืชบริเวณพ้ืนที่ปกปก ณ เขื่อนศรีนครินทร จํานวนทั้งส้ิน

8 ครั้ง เก็บรวบรวมเมล็ดพันธืและตนพันธุกรรมพืช ไดทั้งส้ิน 95 ชนิด เปนเมล็ดพันธุจํานวนทั้งส้ิน 90 ชนิด และตนพันธุกรรมพืชจํานวนทั้งส้ิน 5 ชนิด ดังมีรายละเอียดในแตละเสนทาง

สํารวจดังน้ี - เสนทางสํารวจเสนที่ 1 เปนปาเต็งรังผสมพลัดใบ และปาเบญจพรรณ เมล็ดพันธุและ

ตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 26 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน 23 ชนิด

และตนพันธุกรรมพืช จํานวน 3 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 1

มะกาตน แจง

ยานางใหญ หนามแทง

Page 52: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

60

รกฟา ปอขาวแหง

- เสนทางสํารวจเสนที่ 2 เปนปาเต็งรังผสมพลัดใบ รุน 2 และปาเบญจพรรณผสมกอไผ

(เน่ืองจากมีไฟเขาทุกป) เมล็ดพันธุและตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 24

ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน 22 ชนิด และตนพันธุกรรมพืช จํานวน 2 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 2

มะซาง ปอบิด

มันนก ผักหวานปา

Page 53: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

61

เส้ียว มะลิเครือ

- เสนทางสํารวจเสนที่ 3 เปนปาเต็งรังผสมพลัดใบ และปาเบญจพรรณ เมล็ดพันธุ

และตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 23 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน

21 ชนิด และตนพันธุกรรมพืช จํานวน 2 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 3

มะกอกโคก ดีหมี

ยอปา อบเชยเถา

Page 54: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

62

หางกระรอก กระเจี๊ยบปา

- เสนทางสํารวจเสนที่ 4 เปนปาเต็งรังผสมพลัดใบ และปาเบญจพรรณ เมล็ดพันธุและ

ตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 19 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน 15

ชนิด และตนพันธุกรรมพืช จํานวน 4 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 4

หางจิ้งจอก Argyreia sp.

หนอนตายหยาก มะเมา

Page 55: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

63

- เสนทางสํารวจเสนที่ 5 เปนปาเต็งรังผสมพลัดใบ และปาเบญจพรรณผสมกอไผ

เมล็ดพันธุและตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 26 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุ

จํานวน 22 ชนิด และตนพันธุกรรมพืช จํานวน 4 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 5

มะดูก ถอบแถบ

งูเขียว เครือเถานํ้า

มะกอกปา มะคาโมง

Page 56: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

64

2.2.8 โครงการสํารวจและจัดทําฐานขอมูลคุณคาทางโภชนาการและสารสําคัญของแหลงอาหารจากพืชและสัตวบริเวณเขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี

ดําเนินการโดย คณะปฏิบัตงิานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยมหดิล) ผลการศึกษา ก. การสํารวจแหลงอาหารท้ังจากพืชและสัตวท่ีพบในพ้ืนท่ีศึกษา ในชวง 12 เดือน

ตั้งแตเริ่มโครงการไดดําเนินการสํารวจไปแลว 8 ครั้ง ดังรายละเอียดตอไปน้ี 1) การสํารวจครั้งท่ี 1 (วันที่ 13-16 พฤศจิกายน 2551) สํารวจทั้ง 5

เสนทาง พบพืชที่กินไดจํานวน 40 ชนิดไดแก 1) ผักหวานปา 2) อีนูน 3) มะขามปอม 4)

ตะขบปา 5) เห็ดละโงก (เห็ดไขหาน) 6) มะเมา (เมาไขปลา, หมากเมา หรือขาวเมา) 7) ตน

บุก (เพาะ, แมงเพาะหรืออีลอก) 8) เครือไสตัน 9) เห็ดลวก 10) วานเปราะ 11) เรวปา 12)

ฝาง 13) รากสามสิบ 14) ไพลปา 15) เขาพรรษาใต 16) สีหวด (มะหวด) 17) แคทราย 18)

แคพุงหมู 19) แคหางขาง 20) แจงหาใบ 21) มะมวงหัวแมงวัน 22) ขี้เหล็กปา 23) กระพ้ีจั่น

24) กระถิน 25) เล็บเหย่ียว 26) ตะคึก (อีตุด) 27) อุโลก (สมกบ) 28)มะก๊ัก 29)มะกอกปา 30) ตานเส้ียน 31) เถาวัลยปูน 32) เถาขาวเย็นใต 33) เส้ียวดอกขาว 34) มันเหล่ียม 35)

กระเจียวขาว 36) มุย 37) ผักกูด 38) ไมลาย 39) สมลม 40) กะทือ

ในการสํารวจครั้งแรก ซึ่งเปนชวงปลายฝนตนหนาว การเก็บตัวอยางยังคอนขาง

ขลุกขลักจากการแบงกลุมสํารวจและเน่ืองจากยังไมเห็นภาพรวมของแตละเสนทางวาจะมี พืชชนิด

ใดที่มีผลผลิตในปริมาณมากพอใหเก็บได จึงเก็บไดเพียง 2 ชนิด เพ่ือการศึกษาในเบ้ืองตนคือ

วานเปราะ และตนเขาพรรษาใต 1.2) การสํารวจคร้ังท่ี 2 (วันที่ 8-10 มกราคม 2552) สํารวจ 4 เสนทาง

(เสนทางที่ 1,2,3,5) พบพืชที่กินไดทั้งหมดจํานวน 21 ชนิด เปนพืชชนิดใหม เพ่ิมจากการ

สํารวจครั้งที่ 1 จํานวน 4 ชนิด ไดแก 1) ขาวตาก (ขาวแหง) 2) เปง 3) ตะครอ 4) ฝรั่งปา การสํารวจคร้ังน้ีเปนชวงอากาศ เย็นและแหง แมตัวอยางที่ไดอาจจะไมมากพอ

แตไดเก็บเพ่ือลองนําไปวิเคราะหจํานวน 1 ชนิด คือ แจงหาใบ (นําไปทดลองดอง ตามที่ไดขอมูลการบริโภค) 1.3) การสํารวจคร้ังท่ี 3 (วันที่ 6-8 มีนาคม 2552) สํารวจ 4 เสนทาง

(เสนทางที่ 1,2,3,5) พบพืชที่กินไดทั้งหมดจํานวน 18 ชนิด เปนพืชชนิดใหมเพ่ิมเติมจากการ

สํารวจ 2 ครั้งที่ผานมา 1 ชนิด ไดแก มะกลํ่าตาหนู ในคร้ังน้ีไดสํารวจแหลงนํ้านอกเหนือจาก

แนวปา พบสัตวนํ้าที่กินได 7 ชนิดไดแก 1) ปลากระสูบขีด 2) ปลาสรอยนกเขา 3) ปลากระมัง

4) ปลาตะกรับ 5) ปลาบู 6) ปลาแขยง และ 7) ปลาฉลาด การสํารวจคร้ังน้ี เปนชวงที่อากาศรอนและแหง แตสามารถเก็บตัวอยางพืชได 5

ชนิด เพ่ือการศึกษาในหองปฏิบัติการไดแก ผักหวานปา (แยกเปน สวนดอก และยอดออน) อีนูน

ผักกูด ไพลปา (ดอก) และกระพ้ีจั่น มีพืช 3 ชนิดที่เก็บไดมากสามารถนําไปแบงสําหรับปรุงสุก

Page 57: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

65

โดยการลวก/ตมเพ่ือเปรียบเทียบได คือ ยอดออนผักหวานปา ไพลปา (ดอก) และผักกูด สําหรบั

ตัวอยางปลาเก็บ 5 ชนิด ไดแก ปลากระสูบขีด ปลาสรอยนกเขา ปลากระมัง ปลาตะกรับ และ

ปลาบู 1.4) การสํารวจคร้ังท่ี 4 (วันที่ 23-25 เมษายน 2552) สํารวจทั้ง 5 เสนทาง พบพืชที่กินไดจํานวน 15 ชนิด เปนพืชชนิดใหมเพ่ิมจากการสํารวจ 3 ครั้งที่ผานมาจํานวน 1

ชนิด ไดแก เครือเอ็น การสํารวจในครั้งน้ีเปนชวงอากาศรอนและแหง แตสามารถเก็บตัวอยางพืชได 3

ชนิด เพ่ือการศึกษาในหองปฏิบัติการไดแก วานเปราะ (ทั้งใบออน และใบแก ซึ่งตางกับการเก็บ

ตัวอยางครั้งที่ 1 ที่เก็บไดแตใบแกเทาน้ัน) ตนบุก และเรวปา

1.5) การสํารวจครั้งท่ี 5 (วันที่ 16-17 พฤษภาคม 2552) สํารวจทั้ง 5 เสนทาง พบพืชที่กินไดจํานวน 31 ชนิด เปนพืชชนิดใหมเพ่ิมจากการสํารวจครั้งที่ผานมาจํานวน

5 ชนิด ไดแก ขิงปา มันเสา สมกุง สมอไทย และแหวปา การสํารวจในครั้งน้ีเปนชวงอากาศรอนและแหง แตมีฝนตกเปนบางชวง

สามารถเก็บตัวอยางพืชได 3 ชนิด เพ่ือการศึกษาในหองปฏิบัติการไดแกผักหวานปา (ยอดออน)

กะทือ (ดอก) และ มะเมา (ผล) 1.6) การสํารวจครั้งท่ี 6 (วันที่ 11-12 มิถุนายน 2552) สํารวจทั้ง 5 เสนทาง พบพืชที่กินไดจํานวน 35 ชนิด เปนพืชชนิดใหมเพ่ิมจากการสํารวจครั้งที่ผานมาจํานวน

8 ชนิด ไดแก เถาวัลยสลิด (ดอกขจร) มะเฟองปา ล้ินฟา (เพกา) เห็ดขาส้ัน เห็ดจาวมะพราว

เห็ดนํ้าหมาก องุนปา และตะโกหนาม

การสํารวจในคร้ังน้ีเปนชวงอากาศรอน และมีฝนตกเปนชวงๆ สามารถเก็บ

ตัวอยางพืชได 2 ชนิด เพ่ือการศึกษาในหองปฏิบัติการไดแก ใบอุโลก (สมกบ) และยอดเครอื

ไสตัน 1.7) การสํารวจคร้ังท่ี 7 (วันที ่9-11 กรกฎาคม 2552) สํารวจทั้ง 5 เสนทาง

พบพืชที่กินไดจํานวน 34 ชนิด เปนพืชชนิดใหมเพ่ิมจากการสํารวจคร้ังทีผ่านมาจํานวน 4 ชนิด

ไดแก ถ่ัวแระปา หนอไมไผนวล เห็ดตะไคร และเห็ดมันปู การสํารวจในคร้ังน้ีเปนชวงอากาศรอนชืน้ และมีฝนตกเปนชวงๆ สามารถเกบ็

ตัวอยางพืชได 3 ชนิด เพ่ือการศึกษาในหองปฏิบัติการไดแก ขี้เหล็กปา (ยอดออน) ถ่ัวแระปา

(ฝก) และขิงปา (หัว) 1.8) การสํารวจคร้ังท่ี 8 (วันที ่11-13 กันยายน 2552) สํารวจทั้ง 5 เสนทาง

พบพืชที่กินไดจํานวน 33 ชนิด เปนพืชชนิดใหม เพ่ิมจากการสํารวจคร้ังทีผ่านมาจํานวน 2 ชนิด

ไดแก สมสันดาน (สมถอบแถบ เถาสมถอบ สมขาว) และกระทกรกปา การสํารวจในคร้ังน้ีเปนชวงอากาศรอน และมฝีนตกเล็กนอย สามารถเก็บ

ตัวอยางพืชเพียง 1 ชนิด เพ่ือการศึกษาในหองปฏิบัติการไดแก ถ่ัวแระปา (ฝก)

Page 58: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

66

ตารางท่ี 1 แสดงขอมูลตวัอยางพืชที่เก็บเพ่ือการวิเคราะหในหองปฏิบัติการ

ลําดับ

ท่ี

ช่ือ ช่ือวิทยาศาสตร สวนท่ีกิน ลักษณะ การกิน

รูปภาพ

1. วานเปราะ

Kaempferia roscoeana Wall. วงศ ZINGIBERACEAE

ใบ หันฝอยชุบแปงทอด ทํา

หอหมก ทอดมัน แกง

เผ็ด ผัดวุนเสน

2. เขาพรรษาใต

Globba sp. วงศ ZINGIBERACEAE

ตนออน กินสด จ้ิมน้ําพริก

3. แจงหาใบ Maerua siamensis (Kurz) Pax. วงศ CAPPARACEAE

ยอดออน ดอก

ดอง จ้ิมน้ําพริก

4.

ผักหวานปา Melientha suavis Pierre วงศ OPILIACEAE

ยอดออน ดอก

ตม, จ้ิมน้ําพริก

5. อีนูน (อะนูน ,นางนูน, ผักสาบ)

Adenia viridiflora Craib วงศ PASSIFLORACEAE เปนไมเถาเล้ือย

ยอดออน

ดอก ผล

ตม จ้ิมน้ําพริก ผลใชดอง

6. ผักกูด Diplazium esculentum (Retz.) Swartz วงศ ATHYRIACEAE

ยอดออน แกงสม จ้ิมน้ําพริก, แกงเผ็ด

Page 59: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

67

ลําดับ

ท่ี

ช่ือ ช่ือวิทยาศาสตร สวนท่ีกิน ลักษณะ การกิน

รูปภาพ

7. กระพี้จ่ัน Millettia brandisiana Kurz วงศ LEGUMINOSAE วงศยอย PAPILIONOIDEAE

ยอดออน ลวกจ้ิมน้ําพริก,แกงสม

8. ตนบุก (เพาะ

,แมงเพาะ

หรือ อีลอก)

Amorphophallus sp. วงศ ARACEAE

ดานใน

ของลําตน

แกงสม แกงกะทิ

9. เรวปา Zingiber sp. วงศ ZINGIBERACEAE

หัว, ยอดออน

ตม เผาไฟ แกงเผ็ด แกงปา

10. มะเมา (เมาไขปลา, หมากเมา

ขาวเมา)

Antidesma velutinosum Blume วงศ Stilaginaceae

ลูก ทําสมตํา(กินท้ังเม็ด)

11. อุโลก (สมกบ)

Hymenodictyon exelsum Wall. วงศ RUBIACEAE

ใบออน จ้ิมน้ําพริก หอหมก

12. เครือไสตัน Aganosma marginata (Roxb.) G. Don วงศ Apocynaceae

ยอดออน จ้ิมน้ําพริก

13. ขี้เหล็กปา Senna timoriensis (DC.) Irwin & Barneby วงศ LEGUMINOSAE

ยอดออน แกงขี้เหล็ก

14. ถั่วแระปา

(อัญชันปา)

Clitoria macrophylla Wall. วงศ Fabaceae

ฝก ตม กินเนื้อดานใน

15. ขิงปา Melientha suavis Pierre วงศ OPILIACEAE

ยอดออน ตม, จ้ิมน้ําพริก

16. ไพลปา Zingiber sp. วงศ ZINGIBERACEAE

ดอก ตม

Page 60: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

68

ตารางท่ี 2 แสดงขอมูลตวัอยางปลาที่เก็บเพ่ือการวิเคราะหในหองปฏิบัติการ

ลําดับ ท่ี

ช่ือ ช่ือวิทยาศาสตร สวนท่ี

กิน ลักษณะ การกิน

รูปภาพ

1. ปลากระสูบขีด

(Transverse-

bar Barb)

Hampala macrolepidota

วงศปลาตะเพียน

(Cyprinidae) วงศยอย

Cyprininae - Systomi

เนื้อ ตม

2. ปลาสรอย

นกเขา (Oriental sweetlip)

Plectorhinchus orientalis

เนื้อ ตม

3. ปลากระมัง

Puntioplites proctozysron ชื่อสามัญ

Smith barb

เนื้อ ตม

4. ปลาตะกรับ

(ปลาหมอโคว ปลากา หมอน้ํา)

Pritolepis fasciatus ชื่อสามัญ

Striped Tiger Nandid

เนื้อ ตม

5. ปลาบู

(บูทราย บูจาก

บูทอง บูเอ้ือย

บูสิงโต)

Oxyeleotris marmoratus ชื่อสามัญ

Sand Gody, Marbled Sleepy Gody

เนื้อ ตม

Page 61: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

69

ข. การวิเคราะหสารอาหารในหองปฏิบัติการ

ผลการวิเคราะหตัวอยางพืช

1) องคประกอบสวนใหญของพืชเปนนํ้า สารอาหารหลัก (Proximate composition) ที่พบคือ คารโบไฮเดรท สวนใหญเปนใยอาหารชนิดที่ไมละลายนํ้า ตัวอยางพืชที่พบใยอาหารสูง ไดแก

ลูกมะเมา ดอกผักหวานปา ยอดออนขี้เหล็กปา ยอดออนผักหวานปา แจงหาใบ และยอดออน

กระพ้ีจั่น สารอาหารรองลงมาคือโปรตีน พบคอนขางสูงในผักหวานปา โดยเฉพาะในดอก

ผักหวานมีสูงถึง 10.3 กรัมตอ 100 กรัมในขณะที่ยอดออนพบวามีคา 7-8 กรัมตอ 100 กรัม

สวนไขมันมีปริมาณต่ํา 2) แรธาตุ ที่เดนๆ ไดแก แคลเซียม พบสูงในดอกผักหวานปา รองลงมาคือ ยอด

ผักหวานปา ลูกมะเมา และยอดออนกระพ้ีจั่น สําหรับธาตุเหล็ก พบสูงในตนเขาพรรษา ถ่ัวแระ

ปา วานเปราะ (ใบแก) 3) วิตามิน ที่เดนๆไดแก วิตามินซี พบสูงในยอดและดอกผักหวานปา (120 และ 98

มิลลิกรัมตอ 100 กรัม ตามลําดับ) รองลงมาไดแกยอดออนผักอีนูน วิตามินอี พบสูงในผักหวาน

ปา วานเปราะ (ใบแก) และตนเขาพรรษา 4) สารสําคัญอ่ืนๆ 4.1) แคโรทีนอยด (Carotenoids) พบสูงในใบสมกบ (2,417 ไมโครกรัมตอ

100 กรัม) รองลงมาคือวานเปราะใบออน ยอดออนผักหวาน และยอดออนเครือไสตัน (1243, 985 และ 806 ไมโครกรัมตอ 100 กรัม ตามลําดับ) โดยสวนใหญที่พบอยูในรูปของลูทีน

(lutein) และเบตาแคโรทีน (β-carotene) 4.2) ไฟโตสเตอรอล (Phytosterols) พบมากในดอกและยอดออนผักหวาน

(43.7 และ 35.1 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม) รองลงมาคือยอดออนของผักอีนูน ขี้เหล็กปา และ

เครือไสตัน (37.9, 32.3 และ 28.0 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม) โดยสวนใหญอยูในรูปของเบตา- สิ

โตสเตอรอล (beta-sitosterol) 4.3) ฟลาโวนอยด (Flavonoids) พบสูงในยอดออนผักหวานปา (251.9-265.4

มิลลิกรัมตอ 100 กรัม) รองลงมาคือยอดออนผักหวานปา และกระพ้ีจั่น (187.7 และ 36.7

มิลลิกรัมตอ 100 กรัม) 4.4) โพลีฟนอล (Polyphenol) พบสูงในแจงหาใบ และถ่ัวแระปา (2678.4 และ 2324.7 มิลลิกรัมแกลิคอิคิวาเลนซตอ 100 กรัม ตามลําดับ) รองลงมาคืยอดออนกระพ้ีจั่น มะ

เมา ดอกผักหวานปา และยอดออนผักหวานปา (853.2, 402.4, 369.1, 378.6 และ 36.7

มิลลิกรัมแกลิคอิคิวาเลนซตอ 100 กรัม) 4.5) สารตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) พบสูงในแจงหาใบ (ORAC, และ DPPH = 848, 99 umole/g ตามลําดับ) ยอดออนเครือไสตัน (ORAC, และ DPPH = 338, 68 umole/g

Page 62: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

70

ตามลําดับ) รองลงมาคือถ่ัวแระปา และกระพ้ีจั่น (ORAC และ DPPH (295, 36 และ 231, 37 umole/g ตามลําดับ)

จากผลการวิเคราะหเบ้ืองตนที่ได พบวาพืชหลายชนิดมีสารอาหารที่สําคัญไดแก แรธาตุ

และวิตามินในปริมาณสูง นอกจากน้ันยังพบใยอาหารชนิดไมละลายนํ้าในปริมาณสูงดวย สําหรับ

สารออกฤทธ์ิสําคัญกลุมตางๆ ที่มีรายงานวามีคุณสมบัติในการตานอนุมูลอิสระและปองกันโรค

ไมติดตอเรื้อรังได พบวามีปริมาณสูงเชนกัน ผลการวิเคราะหตัวอยางปลา สารอาหารหลักที่พบไดแก โปรตีน (21-22 กรัมตอ 100 กรัม) รองลงมาคือ ไขมัน

พบธาตุเหล็กสูงในปลาสรอยนกเขา (5.0 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม) สวนกรดไขมันและ

โคเลสเตอรอลพบวาปลาที่ทําการศึกษามีกรดไขมันอ่ิมตัวนอยมาก (<1 กรัมตอ 100 กรัม) และมี

โคเลสเตอรอลไมสูงมากนัก (45-76 มิลลิกรัมตอ 100 กรัม) สําหรับปลาตางๆ ที่พบในแหลง

นํ้าธรรมชาติ สามารถใชเปนแหลงของโปรตีน ไขมันที่ดี แรธาตุ ที่มีประโยชนตอสุขภาพ ควร

สงเสริมใหเพาะเล้ียงเพ่ือใชเปนแหลงอาหารที่ดีตอไป โดยสรุปขอมูลทั้งหมดที่ไดจากการศึกษาในโครงการน้ี สมควรนําไปเผยแพร เพ่ือสงเสริม

ใหมีการอนุรักษ เพาะปลูก หรือ เพาะเล้ียงเพ่ือใชสําหรับบริโภคใหกวางขวางมากข้ึน เปนตัวเลือก

ที่เพ่ิมความหลากหลายของแหลงอาหารใหแกชุมชน หรือในเชิงพาณิชยได อีกทั้งสามารถนําไป

วิจัย และพัฒนาตอยอด ในดานของประโยชนตอสุขภาพ และสามารถเพ่ิมมูลคาใหมากยิ่งขึ้นได เชน ผักหวานปา กระพ้ีจั่น ปลาสรอยนกเขา เปนตน

2.2.9 โครงการศึกษาอนุกรมวิธาน ความหลากหลาย และอนุรักษพันธุกรรมพืชท่ีพบใน

พ้ืนท่ีโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชเขื่อนศรีนครินทร จ. กาญจนบุรี

ดําเนินการโดย คณะปฏิบัตงิานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยมหดิล) ผลการศึกษา

1.การศกึษาทางอนุกรมวธิาน ทําการสํารวจและเก็บตัวอยางพรรณไมแหงประมาณ 300 ตัวอยาง

1.1 ระบุชนิดและจัดทําคําบรรยายลักษณะ 140 ชนิด (เฟรน 3 ชนิด, พืชเมล็ด

เปลือย 1 ชนิด, พืชใบเล้ียงเดี่ยวประมาณ 30 ชนิด, พืชใบเล้ียงคูประมาณ 106 ชนิด) 1.2 พืชที่ไดจัดทําคําบรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตรที่ครบถวนสมบูรณแลว

นําไปเตรียมตนฉบับหนังสือพรรณไมในเขื่อนศรีนครินทร รวมกับภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร

คณะเภสัชศาสตร ซึ่งจะออกเปนฉบับแรกในงานประชุมวิชาการ อพ.สธ. ในเดือนตุลาคมน้ี

Page 63: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

71

ตัวอยางการจัดทําคําบรรยายลักษณะของพืช ชื่อไทย: หนวดพราหมณ ชื่ออื่นๆ: เอ้ืองกุหลาบสระบุรี เอ้ืองผมเงือก เอ้ืองผมผีพราย ชื่อวิทยาศาสตร: Seidenfadenia mitratra (Rchb. f.) Garay วงศ Orchidaceae กลวยไมอากาศ ขึ้นตามลําตนไม สูงจากพ้ืนดินตั้งแต 1.5 เมตรขึ้นไป บางครั้งพบเกาะหิน

ใบเดี่ยว เรียงสลับ มีจํานวนใบนอย 2-5 ใบตอตน หนาตัดขวางใบรงูปก่ึงทรงกลม มีรอง

ตามยาวใบ ยาว 30-40 ซม. สีเขียวหมน ดอกเปนชอที่ซอกใบ แบบชอกระจะ (raceme) ยาว6-15 ซม. กานดอกยอยยาวประมาณ 1.5 ซม. เปนส้ันตื้นตามยาว สีขาว กลีบเล้ียงคลายกลีบ

ดอก สีขาว ขอบสีชมพู กลีบบนรูปรี กวาง 3.5-4 มม. ยาว9 มม. ปลายกลีบแหลม กลีบเล้ียง

ดานขางรูปรี เบ้ียวเล็กนอย กวาง 4 มม. ยาว ปลายกลีบกลม กลีบดอกดานขาง 2 กลีบ รูปใบ

หอก กวาง 4 มม. ยาว 8 มม. ปลายกลีบแหลม สีขาว ปลายสีชมพู เม่ือดอกบานเต็มที่กลีบทั้ง 5

จะบิดกลับไปดานหลัง กลีบปาก (labellum, lip) รูปส่ีเหล่ียม กวาง 6 มม. ยาว 9 มม. โคนกลม

ปลายตัด อาจมีติ่งส้ันๆ สีมวงอมชมพู มีแถบกลางสีขาว โคนกลีบทั้งสองขางยื่นเปนพูขางขนาด

เล็กรูปสามเหล่ียมปลายแหลม เดือย (spur) รูปก่ึงสามเหล่ียม แบนดานขาง หนา 1 มม. สูง 5มม.

ยาวประมาณ 7 มม. คอลัมยาว 2-3มม. สีขาว Anther cap สีมวงเขม ผลเปนฝกแหงแตก รูปก่ึง

ทรงกระบอก โคนสอบ ปลายตัด เมล็ดขนาดเล็ก จํานวนมาก การกระจายพันธุ: ทั่วทุกภาคของประเทศ แตพบจํานวนนอย นิเวศนวิทยา: ปาเบญจพรรณ ปาเบญจพรรณผสมปาไผ ระยะเวลาออกดอกติดผล: เริ่มออกชอดอกเดือนมีนาคม พบจนถึงเมษายน

ประโยชน: เปนไมเฉพาะถ่ินของจังหวัดกาญจนบุรี ไมประดับเน่ืองจากดอกสวยงามมาก ตัวอยางพรรณไมอางอิง: T. Tiptabiankarn sn (Trail 2) ชื่อไทย: โหมหัด

ชื่อวิทยาศาสตร: Duplipetala hexagona (Kerr) Thiv วงศ Gentianaceae ไมลมลุกอายหุน่ึงป สูง 10-30ซม. ลําตนมีหนาตัดเปนส่ีเหล่ียม และเปนปกเล็กนอย

ตามลําตนมีขน คอนขางเหนียว สีเขียวออน ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไขแกมรูปร ี กวาง 2-3.5

ซม. ยาว 2-5 ซม. โคนใบกลม ปลายใบแหลม กานใบส้ัน ดอกออกเปนชอทีซ่อกใบ แบบชอ

กระจุก มีดอกยอยนอย กานชอดอกยาว 4-7 ซม. ใบประดับยอยสีเขียวออน ดอกมีสมมาตร

ตามแนวรัศมี กลีบเล้ียงเชื่อมติดกันเปนรูปโกฐ ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม. ยาว

ประมาณ 1.5 ซม. แยกลึกดานหน่ึง ปลายแยกเปน 6 กลีบ รูปสามเหล่ียม สีเขียวออน กลีบดอก

เชื่อมติดกัน ปลายแยกเปน 5 กลีบ หยักลึกมากกวาครึ่ง กลีบดอกรูปรี สีขาว เกสรเพศผู 4 อัน

ติดบนหลอดกลีบดอก กานเกสรเพศผู สีดําอมแดง อับเรณูรูปแถบ กานชูยอดเกสรเพศเมียสีขาว

ผลแหงแตก

Page 64: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

72

การกระจายพันธุ:จังหวัดกาญจนบุร ี นิเวศนวิทยา: พบในปาเบญจพรรณผสมปาไผ ขึ้นอยูในซอกหินของหนาผาเตี้ยๆ หรือเนินดนิริม

ฝงลําธารเล็กๆพ้ืนที่มีรมเงาไมมากก็นอย ระยะเวลาออกดอกติดผล: พฤศจิกายน

ประโยชน: ไมพบการใชประโยชนจากบุคคลในพ้ืนที ่สถานภาพ: พืชหายาก (อยูในรายช่ือพืชหายากของประเทศไทย พ.ศ.2551 จัดทําโดยสํานักงาน

หอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ตัวอยางอางอิง: T. Tiptabiankarn 17110 (Trail 2; Nov. 15, 2008) พิกัด: N 514142 Y 1591461 2. การศึกษาทางเซลลพันธุศาสตร ไดขอมูลทางเซลลพันธุศาสตรของพืชจํานวน 15 ชนิด ดังตารางตอไปน้ี

Family Local Name Scientific name Anthericaceae Nang Leo Chlorophytum orchidatum Wall. Commelinaceae Dode Murdannia edulis (Stokes) Faden Euphorbiaceae Kaew Nam Cleitanthus hirsutulus Hook. f. Ta Tum Lao Excoecaria laotica (Gagnep.) Esser Lin Krabue E. cochinchinensis Lour. Mayom Pha Phyllanthus mirabilis Mull. Arg. Gesneriaceae Paraboea sp. (violet flower) Leguminoseae- Caesalpinioideae

Sieo Pa Bauhinia saccocalyx Pierre

Leguminosae-Papilionoideae

Hang Ma Chok Uraria crinita (L.) Desv.

Opiliaceae Phak Wan Pa Melientha suavis Pierre. Orchidaceae Wan Chung nang Geodorum citrinum Jacks. Sterculiaceae Khi On Helicteres elongata Wall. Zingberaceae Kra Chai Dam Kaempferia parviflora Wall. Proh pa K. roscoeana Wall. Wan Ta Krai Zingiber citriodorum Mood

Page 65: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

73

ขอมูลทางเซลลพันธุศาสตรน้ีจะบงชี้ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช ซึ่งเปนประโยชนตอ

การระบุชื่อพืช การปรับปรุงพันธุ การอนุรักษพันธุกรรมและวิวัฒนาการของพืชได ในขณะน้ียังไม

สามารถตีพิมพผลงานไดเน่ืองจากขอมูลยังมีจํานวนนอย ทั้งน้ีไดเก็บตัวอยางพืชมาเปนจํานวน

มากแตตัวอยางพืชไมอยูในระยะที่จะทําการศึกษาไดประสบความสําเร็จ จึงตองมีการออกเก็บ

ตัวอยางซ้ําและเพ่ิมเติมตอไป - เก็บตัวอยางฝกและเมล็ดพืชหายาก กลวยไม และสมุนไพร เพ่ือเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อและ

ขยายพันธุ เชน โหมหัด ตาลเดี่ยว หญาแมมดใหญ สัตตฤาษี เปง เปราะปา กระชายดํา

หนวดพราหมณ หนอนตายหยาก ระยอมนอย และ ปรงเหล่ียม 3. การเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืชท่ีไดจากเขื่อนศรีนครินทร จากการนําชิ้นพืชและเมล็ดพืชพืชจากการสํารวจและเก็บตัวอยางจากเข่ือนศรีนครินทร

มาทําการฟอกฆาเชื้อผิวโดยใชสารสําหรับการฟอกฆาเชื้อผิว และนําไปเพาะเล้ียงในหลอดทดลอง

ที่มีอาหารวิทยาศาสตรสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) เพ่ือใหไดชิ้นพืชหรือตนพืชปลอดเชื้อในหลอดทดลองกอนนําไปศึกษาวิธีการขยายพันธุในหลอดทดลองตอไปน้ัน พบวาเน้ือเยื่อพืช

และเมล็ดพืชที่นํามาสวนมากประสบปญหาการปนเปอนจากเชื้อจุลินทรียหลากหลายชนิด ทั้งน้ี

มีสาเหตุมากจากพืชอยูในสภาพธรรมชาติซึ่งมีเชื้อจุลินทรียสะสมอยู สําหรับเน้ือเยื่อที่นํามาฟอก

ฆาเชื้อผิวและไมเกิดการปนเปอนแบงเปน 3 ประเภทใหญๆ ไดแก 3.1 เมล็ดพืชที่ปลอดเชื้อและเก็บรักษาในหลอดทดลอง แตยังไมงอกไดแก โหมหัด ตาลเดี่ยว หญาแมมดใหญ (Striga masuria (Buch.-Ham. ex Benth.) Benth.) Commelina sp., Smilax sp. สัตตฤษี (Iphigenia indica (L.) A. grey ex Kunth.), Geodorum citrinum Jacks, Geodorum recurvum (Roxb.) Alston, และ Paraboea brunnescens B. L. Burtt (ดังแสดงในภาพที่ 1 การที่

เมล็ดพืชดังกลาวยังไมงอกอาจมีสาเหตุมาจาก อายุของเมล็ดพืชที่นํามาใช การพักตัวของเมล็ด

พืชซ่ึงแตละสายพันธุมีการพักตัวแตกตางกันไป

โหมหัด [Duplipetala hexagona

(Kerr) Thiv ] ตาลเดี่ยว (Hypoxis aurea Lour.)

Page 66: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

74

หญาแมมด [Striga masuria

(Buch.-Ham. ex Benth.) Benth.] Commelina sp.

Smilax sp. สัตฤษี [Iphigenia indica (L.) A. grey ex

Kunth.]

Paraboea brunnescens (ดอกขาว)

ภาพท่ี 1 เมล็ดพืช โหมหัด ตาลเดี่ยว หญาแมมดใหญ Commelina sp., Smilax sp., สัตฤาษี และ Paraboea brunnescens (ดอกขาว) ทีผ่านการฟอกฆาเชือ้ผิว และยังไมงอก

1.1 ตนพืชงอกจากเมล็ด ซึ่งไดแก เปง Paraboe sp. (ดอกมวง) หนอนตายหยาก

Kaempferia parviflora และหนวดพราหมณ

เปง (Phoenix acaulis) Paraboea sp. (ดอกมวง)

Page 67: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

75

Kaempferia parviflora หนอนตายหยาก (Stemona sp.)

ภาพท่ี 2 ตัวอยางตนพืชท่ีไดจากการฟอกฆาเชื้อเมล็ด

1.3 ชิ้นพืชที่ใชในการทดลองมีการพัฒนาเปนแคลลัส ซึ่งไดแก ปรงเหล่ียม (ภาพที่ 3)

ภาพท่ี 3 ปรงเหล่ียม (Cycas siamensis Miq.) พืชท่ีไดจากการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อจะดําเนินการตอไปดังนี้ 1. พืชที่ยังไมงอกหรือยังไมมีการเปล่ียนแปลงจะดําเนินการศึกษาเพ่ือหาสูตรอาหารที่

เหมาะสมสําหรับการขยายพันธุพืชในปริมาณมากและคงพันธุกรรมเดิมไวไดตอไป

2. พืชในสภาพแคลลัส จะดําเนินการศึกษาเพ่ือใหเกิดตนพืชที่สมบูรณตอไป

3. พืชที่เปนตนออนที่สมบูรณ จะทําการขยายพันธุ เพ่ือใหไดปริมาณมาก และนําออกทดลอง

ปลูกอนุบาล เพ่ือใหตนแข็งแรง แลวจะนําไปมอบใหผูที่เกี่ยวของไปปลูกเพ่ืออนุรักษและขยายพันธุ

ในสภาพธรรมชาติตอไป

Page 68: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

76

2.3 การสํารวจบริเวณพ้ืนท่ีปกปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. เขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน ระหวางเดอืน พฤศจิกายน 2551 ถึงเดือน กันยายน 2552

ทางอพ.สธ. และคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ดําเนินการสํารวจพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช อพ.สธ. ในพ้ืนที่เขื่อนอุบลรัตน จังหวัดขอนแกน โดยกําหนดเสนทางศึกษา 3

เสนทางเพ่ือเปนตัวอยางของพ้ืนที่โดยรวมของพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืชในการเขาสํารวจครั้งน้ี

อันจะนําไปสูการใชประโยชนอยางยั่งยนืในพ้ืนที่

ผังเสนทางเดนิสํารวจพ้ืนท่ีปกปกพันธกุรรมพืชเขือ่นอุบลรัตน จ.ขอนแกน

เสนทางท่ี 1 ระยะทางประมาณ 950

เสนทางท่ี 2 ระยะทางประมาณ 850

เสนทางท่ี 3 ระยะทางประมาณ 3,100

เข่ือนอุบลรัตน

3

1

2

Page 69: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

77

ตัวอยางงานวิจัยตอเน่ืองท่ีเกี่ยวของกบักิจกรรมปกปกพันธกุรรมพืชและตอเน่ืองไป

ถึงกรอบการใชประโยชนในอนาคต ไดแก

2.3.1 การสํารวจและรวบรวมพันธุกรรมของเห็ด ราและไลเคนในพ้ืนท่ีเขื่อนอุบลรัตน อ.อุบลรัตน จ.ขอนแกน

ดําเนินการโดย เจาหนาที่ อพ.สธ. ผลการศึกษา จากการสํารวจเขื่อนอุบลรัตน รวม 4 ครั้ง พบเห็ดรวม 27 สกุล 23 สายพันธุ และไม

สามารถจําแนกไดรวม 3 ตัวอยาง โดยเสนทางที่พบตัวอยางเห็ดคอนขางมากไดแกเสนทางที่ 1

และแนวเสนทางที่ 3 ตอนลาง (ตารางที่ 1) เน่ืองจากมีความช้ืนมากกวา ความหลากหลายของ

เห็ดในบริเวณเขื่อนอุบลรัตนไมมากเทาที่คาดหวังไว อาจจะเน่ืองจากบริเวณของเขื่อนเปนแนวหิน

และเปนปาเบญจพรรณและทุงหญา พบเห็ดในชวงฤดูหนาวและฤดูฝนมากกวาในชวงฤดูรอน

เน่ืองจากอากาศและรอนจัดและสภาพพ้ืนที่ที่แหงแลง เห็ดที่มักพบในทุกครั้งของการสํารวจไดแก

เห็ดในตระกูล Polyporaceae เห็ดหิ้ง ซึ่งเปนเห็ดที่มีความทนทานตอสภาพอากาศไดดีกวาชนิด

อ่ืน สําหรับการสํารวจเชื้อรายอยลายไมในกลุม Xylariaceae พบเชื้อราในสกุล Daldinia ,

Hypoxylon, Nemanis และ Xylaria ซึ่งจะตองทําการตรวจสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยาใน

หองปฏิบัติการตอไป

ตารางท่ี 1 แสดงจํานวนตวัอยางเห็ด รายอยสลายไม และไลเคนจากเขื่อนอบุลรัตน

(มกราคม, เมษายน, กรกฎาคม และกันยายน 2552) เสนทางท่ี จํานวนตวัอยาง

ท้ังหมด เห็ด รายอยสลายไม ไลเคน

1 41 24 9 8 2 19 10 5 4 3 24 17 1 6 รวม 84 51 15 18

ตารางที่ 2 แสดงถึงชนิดของตัวอยางที่ตรวจสอบไดจากบริเวณเขื่อนอุบลรัตน พบวาใน

สวนของเห็ด เห็ดชนิดที่พบมากก็เปนดังที่กลาวมาแลวคือเห็ดหิ้งทั้งหลาย ไดแกเห็ดในสกุล

Ganoderma, Fomitopsis, Daedaleopsis, Hexagonia, Lenzites, Phellinus เปนตน สําหรับ

เห็ดที่มีเน้ือเห็ดออนนุมบาง จะพบมากในชวงหนาฝนเปนตนไป กลาวคือตั้งแตการสํารวจครั้งที่ 3

ในเดือนกรกฎาคม และครั้งที่ 4 ในเดือนกันยายน 2552 ในสวนของไลเคนที่พบมากจะเปนไลเคนชนิดฝุนผงซึ่งเจริญไดทั่วไปในปา โดยพบทั้ง

บริเวณกอนหิน หนาผา และบริเวณลําตนของพืช แสดงใหเห็นวามีความชื้นพอควรและอากาศ

สะอาด ไลเคนเหลาน้ีจึงเจริญเติบโตขึ้นมาได สําหรับไลเคนแผนใบซ่ึงจะพบนอยกวาน้ันจะพบได

ในทุกเสนทาง

Page 70: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

78

ตารางท่ี 2 การจําแนกเห็ด,เชือ้รายอยสลายไมและไลเคนเบ้ืองตนท่ีสํารวจพบ ณ เขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน (มกราคม, เมษายน, กรกฎาคม และกันยายน 2552)

เห็ด รายอยสลายไม ไลเคน

Auricularia sp. Daldinia eschscholzii ไลเคนแผนใบ

Boletus ananus H. haematostroma ไลเคนฝุนผง

graphidaceae

Chlorophyllum molybdites Hypoxylon spp. ไลเคนฝุนผง Laurera sp.

Coriolus versicolor Nemania sp. ไลเคนฝุนผงอ่ืนๆ

Crinipellis zonata Xylaria cf. hypoxylon

Dacryopinax spathularia Xylaria sp. (Club shaped)

Daedaleopsis sp. Xylaria spp.

Fomitopsis sp.

Ganoderma applanatum

Ganoderma dahlia

Ganoderma lucidum

Ganoderma sp.

Hexagonia tenuis

Inocybe sp.

Irpex sp.

Laetiporus sulphureus

Lentinus polychrous

Lenzites elegan

Marasmius sp.

Microporus xanthopus

Phellinus adamantinus

Pisolithus cf. tinctorius

Polyporus returugis

Page 71: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

79

เห็ด รายอยสลายไม ไลเคน

Polyporus spp.

Pycnoporus sanguineus

Russula emetica

Russula sp.

Schizophyllum commune

Scytinopogon angulisporus

Stecchericium seriatum

Termitomyces sp.

Trichaptum byssogenum

Trichaptum sp.

Unknown1 tooth fungi

Unknown2 Catharellus

mushroom

Unknown3 polypore

ภาพตัวอยางบางสวนท่ีสํารวจไดจากเขือ่นอบุลรัตน

ไลเคนชนิดแผนใบเจริญบนก่ิงไม

เชื้อรายอยสลายไมสกุล Xylaria

รูปทรง Club-shaped

Page 72: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

80

เชื้อรายอยสลายไมสกุล Hypoxylon

เชื้อรายอยสลายไม Daldinia eschscholzii

เห็ดรังผ้ึง Hexagonia tenuis

ไลเคนชนิดฝุนผงเจริญบนกอนหิน

เห็ดฟน Trichaptum sp.

เห็ดปะการังขาวScytinopogon angulisporus

เห็ดห้ิง Ganoderma dahlii

Chlorophyllum molybdites

Page 73: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

81

2.3.2 การสํารวจเก็บรวบรวมเมล็ดพันธุ ในพ้ืนท่ีเขื่อนอุบลรัตน อ.อุบลรัตน จ.ขอนแกน

ดําเนินการโดย เจาหนาที่ อพ.สธ. ผลการศึกษา

สํารวจเก็บรวบรวมเมล็ดพันธุพืชบริเวณพ้ืนที่ปกปก ณ เขื่อนอุบลรัตน จํานวนทั้งส้ิน 3

ครั้ง เก็บรวบรวมเมล็ดพันธืและตนพันธุกรรมพืช ไดทั้งส้ิน 46 ชนิด เปนเมล็ดพันธุจํานวนทั้งส้ิน

43 ชนิด และตนพันธุกรรมพืชจํานวนทั้งส้ิน 3 ชนิด ดังมีรายละเอียดในแตละเสนทางสํารวจดังน้ี - เสนทางสํารวจเสนที่ 1 เปนปาเต็งรังมีสภาพสมบูรณดานลางบริเวณลานวัดถึง

โรงเรียนมีสภาพพ้ืนที่ปาบางสวนเปนปาเบญจพรรณ ( รุน 2 ) เมล็ดพันธุและตนพันธุกรรมพืช

ที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 20 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน 18 ชนิด และตน

พันธุกรรมพืช จํานวน 2 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 1

กําแพงเจด็ชัน้ มะพอก

มะมวงหัวแมงวัน นมแมว

Page 74: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

82

กระเชา ไชหิน

- เสนทางสํารวจเสนที่ 2 เปนปาเต็งรัง เมล็ดพันธุและตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจรวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 9 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน 7 ชนิด และตนพันธุกรรมพืช จํานวน 2

ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 2

ยางเหียง ชางนาว

อบเชยเถา กลวยไมเขาแกะ

Page 75: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

83

- เสนทางสํารวจเสนที่ 3 เปนปาเต็งรังสภาพ เมล็ดพันธุและตนพันธุกรรมพืชที่สํารวจ

รวบรวมไดมีจํานวนทั้งส้ิน 28 ชนิด แบงเปนเมล็ดพันธุจํานวน 26 ชนิด และตนพันธุกรรมพืช

จํานวน 2 ชนิด

ภาพตัวอยางเมล็ดพันธุท่ีไดจากการสํารวจในเสนทางท่ี 3

ตระกูลบอระเพ็ด ออยชาง

มะดัง หมากหมอ

ดอกหมากหมอ ดอกมะลิผา

Page 76: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

84

2.3.3 การศึกษาสังคมพืช และความหลากหลายของชนิดพันธุไมโดยการสุม

สํารวจ ในพ้ืนท่ีเขื่อนอุบลรัตน อ.อุบลรัตน จ.ขอนแกน

ดําเนินการโดย เจาหนาที่ อพ.สธ. วิธีการศึกษา

1. สุมสํารวจตามเสนทางทั้งสามรวม 9 จุด โดยวิธีลุมจุดสํารวจแบบไมใชแปลงตัวอยาง

(Plotless sampling) ในพ้ืนที่ ดังภาพ

2. บันทึกชนิด และจํานวนตนในแตละชนิดของพันธุไมยืนตนที่สํารวจพบ 3. วัดขนาดเสนผานศูนยกลางลําตนที่ระดับอก (Diameter at Breast High; DBH) และวัดความสูงของตนไมแตละตน หนวยเปนเมตร 4. วิเคราะหผลการสํารวจโดยใชโมเดลทางนิเวศวิทยา เพ่ือประมาณคาความ

หลากหลายทางชีวภาพ ความมากมาย (abundance) ของไมตนบริเวณเสนทางสํารวจ

ภาพการตรวจสอบผิวเน้ือของตนไมโดยการถากเปลือกเพ่ือดูสีเน้ือใน และการวัด DBH

Page 77: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

85

ผลการศึกษา เสนทางสํารวจ 3 สังคมพืชปาเต็งรัง สุมสํารวจครั้งที่ 1 ทั้งส้ิน 5 จุด (สถานี) ดังน้ี

สถานีท่ี 1 สังคมพืชปาเต็งรังบริเวณเสนทางที่ 3 พิกัดจุดอางอิง 48Q 0246102 UTM

1857032 ความสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง 211 เมตร สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 32 ลําดับ

12 ชนิด สถานีท่ี 2 สังคมพืชปาเต็งรังบริเวณเสนทางที่ 3 พิกัดจุดอางอิง 48Q 0245854 UTM

1857242 ความสูงจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง 220 เมตร สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 22

ลําดับ สถานีท่ี 3 บริเวณเสนทางสํารวจที่ 3 สังคมพืชปาเต็งรัง พิกัดอางอิง 48Q 0245833 UTM

1857413 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 33 ลําดับ

สถานีท่ี 4 บริเวณเสนทางที่ 3 สังคมพืชปาเต็งรัง พิกัดอางอิง 48Q 0246352 UTM

1857198 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 37 ลําดับ

สถานีท่ี 5 สังคมพืชปาเต็งรังบริเวณสุดเสนทางที่ 3 ติดกับพ้ืนที่ทิ้งขยะ บริเวณน้ีพบ

รองรอยการพังทลายของชั้นดิน (soil erosion) แบบ landslide พิกัดอางอิง 48Q 0246372 UTM

1857145 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 15 ลําดับ

การสุมสํารวจครั้งท่ี 2 ณ สถานีสํารวจบริเวณเสนทางท่ี 2 สังคมพืชปารุนบริเวณตนเสนทาง และสังคมพืชปาเต็งรังบริเวณกลาง-ปลายเสนทาง ดังน้ี

สถานีท่ี 6 บริเวณปารุนสอง พิกัดอางอิง 48Q 0246460 UTM 1854808 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 12 ลําดับ

สถานีท่ี 7 บริเวณปาเต็งรัง ลานหินทราย พิกัดอางอิง 48Q 0246383 UTM 1854808 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 19 ลําดับ

สถานีท่ี 8 บริเวณปาเต็งรัง ลานหิน พิกัดอางอิง 48Q 0246476 UTM 1854737 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 19 ลําดับ

การสุมจุดสํารวจบริเวณเสนทางท่ี 1 สุมสํารวจ 1 สถานี ดังน้ี สถานีท่ี 9 สังคมพืชบริเวณชายขอบปา (ecotone) ระหวางพ้ืนที่ถูกบุกรุก กับปาเต็งรัง

พิกัดอางอิง 48Q 0247120 UTM 1854654 สํารวจพบพันธุกรรมพืชรวม 10 ลําดับ

การวิเคราะหผลการสํารวจพืช โดยใชโมเดลทางนิเวศวิทยา คาดัชนีความ

หลากหลายทางชีวภาพ Shannon-Wiener’s Index เปนคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพที่นิยมใชกันโดยทั่วไปในการวิเคราะหคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพแบบอัลฟา (Alpha

Diversity) ในพ้ืนที่โดยการสุมตัวอยางสํารวจเพ่ือใหเปนตัวแทนของความหลากหลายทางชีวภาพของพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืชโดยรวม ขอดีคือ คาดัชนีตัวน้ีเหมาะสมกับกลุมตัวอยางที่มีขนาดเล็ก

และใหญ (Molles, 2002 และ Van Dyke, 2008 ) มีสูตรคํานวณดังน้ี

Page 78: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

86

โดยที่;

H’ = คาดัชนีของ Shannon-Wiener

pi = สัดสวนของชนิดพันธุที่ i

ln = ลอกาลิธึมธรรมชาติของ pi

s = จํานวนชนิดพันธุที่สํารวจพบในสังคม

คาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของ Shannon-Wiener คํานวณดวย โปรแกรม

Species Diversity and Richness version 2.64 อางอิงจาก Henderson และ Seaby (2001)

เพ่ือเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพระหวางกลุมตัวอยางจุดสํารวจ (ขอมูลดิบ) ที่เปน

ตัวแทนของแตละสังคมพืชที่ถูกสุมตามเสนทางสํารวจ รวมทั้งส้ิน 9 ตัวอยาง/สถานี (สังคมพืช) สํารวจพบพรรณไมทั้งส้ิน 36 ชนิด ดังตารางแสดงจํานวนชนิดและจํานวนตนตอชนิดที่สํารวจพบ

จากจุดสํารวจทั้ง 9 จุด (station) ดังน้ี

species station1 station2 station3 station5 station5 station6 station7 station8 station9 Dipterocarpus 0 1 0 0 1 0 0 0 0

Ficus sp. 0 1 0 0 0 0 0 0 0

อะราง 0 1 0 0 0 0 0 0 0

Unknown species 0 0 0 0 1 0 0 0 0

กระทุม 0 0 0 0 0 0 3 0 0

กอแพะ 0 2 1 2 0 0 0 1 0

คํามอกนอย 1 0 0 0 0 0 1 1 0

แดง 5 2 3 0 0 2 4 0 0

ตะครอ 0 1 0 0 3 0 1 1 0

ตะแบก 0 1 0 1 0 0 0 0 0

ตานกกด 0 0 0 0 0 2 0 0 0

ติ้ว 2 0 0 0 0 0 1 0 0

แตว 2 0 0 0 0 0 0 0 0

เนียง 0 0 0 0 0 1 0 0 0

ประดู 0 0 3 1 0 0 1 6 4

ปอ 0 0 1 0 0 0 0 0 0

พลอง 4 0 0 7 0 0 0 0 0

พลับพลา 0 0 0 0 0 1 0 0 0

พ้ีจั่น 0 0 0 0 0 0 1 0 0

มะกอกเกลื้อน 0 1 2 0 0 0 0 0 0

มะขามปอม 0 0 0 0 3 0 0 0 0

มะคาแต 0 1 0 0 2 0 0 0 0

มะมวงหัวแมงวัน 7 4 6 9 3 0 0 0 0

มะเหลื่อม 0 0 0 0 0 2 1 0 0

โมกหลวง 1 0 0 0 0 0 0 0 0

ยอ 0 0 0 1 0 0 0 0 0

Page 79: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

87

species station1 station2 station3 station5 station5 station6 station7 station8 station9

ยางพลวง 1 0 0 0 0 0 0 0 0

ยางเหียง 1 1 1 1 0 0 3 9 0

รกฟา 0 0 1 1 1 2 0 0 0

รัก 2 0 1 3 0 0 0 0 0

รัง 6 6 7 0 0 0 2 1 0

สงวน 0 0 1 0 1 0 0 0 0

สะเดา 0 0 0 0 0 0 0 0 6

สาน 0 0 2 11 0 0 0 0 0

หมักหมอ 0 0 0 0 0 1 1 0 0

หมากคอน 0 0 0 0 0 1 0 0 0

ตารางเปรียบเทียบคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพที่ไดจากการคํานวณระหวางจุดที่

สุมสํารวจทั้ง 9 จุดซ่ึงเปนตัวแทนของสังคมพืชทั้งสามเสนทาง ดังน้ี

สังคมพืช/สถานี เสนทางท่ี Shannon-Wiener’s Index (H´)

จํานวนชนิด หมายเหตุ

1 3 2.1494 11 ปาเต็งรัง

2 3 2.2243 12 ปาเต็งรัง 3 3 2.204 12 ปาเต็งรัง 4 3 1.8689 10 ปาเต็งรัง 5 3 1.9565 8 ปาเต็งรัง 6 2 2.0228 8 ปาเต็งรัง 7 2 2.2327 11 ปาเต็งรัง 8 2 1.3378 6 ปาเต็งรัง 9 1 0.67301 2 ปาเต็งรัง

จากตารางขางตน พบวา จุดสํารวจสถานีที่ 7 มีคาดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของ

Shannon-Wiewner สูงที่สุด (H’ = 2.2327) เปนสังคมพืชปาเต็งรังบริเวณเสนทางที่ 2

นอกจากน้ีสังคมพืชพ้ืนลางจําพวกไมพุมสามารถปรับตัวใหอาศัยไดในลานหินทราย แสดงมี

ความหลากหลายของถ่ินอาศัยหลายรูปแบบ ถึงแมวาจะพบชนิดตนไมนอยเมื่อเทียบกับสถานีที่

2 และ 3 ของเสนทางที่ 3 แตสถานีที่ 7 มีความสมํ่าเสมอของชนิดพันธุตนไมที่สํารวจพบ

มากกวา จึงทําใหมีมีดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพสูง สถานีที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ

สูงรองลงมาคือ เสนสํารวจที่ 3 สถานีที่ 2 (H’ = 2.2243) และสถานีที่ 3 (H’ = 2.204) ตามลําดับ ซึ่งเปนสังคมพืชปาเต็งรังเชนเดียวกัน อยางไรก็ตามถึงแมวาทั้งสองสถานีจะพบชนิด

ตนไมสูงกวาสถานีที่ 7 กลาวคือทั้งสองสถานีพบจํานวนชนิดตนไม 12 ชนิด แตความสม่ําเสมอ

ของชนิดตนไมของทั้งสองสถานีต่ํากวา จึงทําใหมีดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพต่ํากวาสถานีที่ 7 สถานีที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของตนไมต่ําที่สุดคือสถานีที่ 9 พบตนไมเพียง 2 ชนิด

เน่ืองจากเปนสังคมพืชปาเต็งรังที่อยูบนรอยตอระหวางปากับพ้ืนที่ ถูกรบกวนโดยมนุษย

นอกจากน้ีบริเวณพ้ืนที่ยังมีผลกระทบของการปลอยวัวเขามาใหเล็มหญา ทําใหเกิดผลเสียตอ

Page 80: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

88

สังคมพืชพ้ืนลางและกลาไมที่กําลังจะเจริญไปเปนไมตน ทําใหอัตราการเกิดการทดแทนของ

สังคมพืชในพ้ืนที่ต่ํา

Rank-Abundance Curves เปนการวิเคราะหความสัมพันธ ระหวางความมากมาย

สัมพัทธของชนิดตนไม (relative abundance) และความหลากหลายของชนิดตนไม (species

richness) ในสังคมพืชแตละตัวอยางที่สุมสํารวจ ทําใหสามารถอธิบายโดยการเปรียบเทียบ

โครงสรางของสังคมพืชแตละจุดสํารวจได เปรียบเทียบระหวางสังคมพืชแยกตามสถานี ดังกราฟ

Rank-Abundance Curve

การวิเคราะหเสนกราฟพบวา สถานีที่ 5 มีชนิดพันธุเดนอยูสูงมาก (ความชันของ

เสนกราฟสูง) เน่ืองจากสํารวจพบจํานวนชนิดพันธุ และความสม่ําเสมอของชนิดพันธุ (species

evenness) ต่ํา จึงทําใหมีความหลากหลายทางชีวภาพต่ํา สถานีที่ 2 และ 3 มีความชันของ

เสนกราฟรองรองลงมา ถึงแมวามีจํานวนชนิดตนไมที่สํารวจพบมากที่สุด (n = 12 ชนิด) แตมี

ความผันแปร (variance) ของขอมูลสูง จึงทําใหมีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุต่ํา สงผลใหมีคา

ความหลากหลายทางชีวภาพต่ํา สถานีที่ 7 มีชนิดพันธุเดนนอยที่สุด (ความชันของเสนกราฟต่ํา) แสดงถึงสังคมพืชที่สํารวจพบ ณ จุดน้ีมีความสม่ําเสมอของชนิดพันธุสูงมาก สงผลใหมีคาความ

หลากหลายทางชีวภาพสูงมากที่สุด ขอเสนอแนะในการจัดการพ้ืนท่ี ควรจัดการดานการควบคุมดูแลพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรม

พืชโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชเขื่อนอุบลรัตน ควรควบคุมมิใหเกิดการลักลอบเขาไปลาสัตว

ในพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช และมิใหชาวบานนําปศุสัตวเขาไปเล้ียงในพ้ืนที่กันชน (buffer zone) เน่ืองจากจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพพ้ืนที่ และสงผลเสียตอโครงสรางของสังคมพืชใน

พ้ืนที่ระยะยาวตอไป ในการจัดการเชิงพ้ืนที่ควรใชหลักการ การแบงขอบเขตของพ้ืนท่ีเพ่ือการจัดการหรือที่เรียกวา zonation management (Van Dyke, 2008) ดังภาพ

Page 81: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

89

แบงขอบเขตของพ้ืนที่ออกเปน 3 สวนหลักๆ ไดแก พ้ืนท่ีปกปกทรัพยากรอยางเขมขน

(core area) เปนพ้ืนที่หามการบุกรุกเพ่ือการรบกวนโดยเด็ดขาด อนุญาตเฉพาะการสํารวจและ

วิจัยเทาน้ัน โดยผูที่จะเขาพ้ืนที่จําเปนตองขออนุญาตกอนทุกครั้ง พ้ืนท่ีกันชน (buffer zone) เปนพ้ืนที่ที่มีการจัดการอยางเครงครัดโดยมีการควบคุมการบุรุกพ้ืนที่ การลักลอบตัดไม การ

ลักลอบเก็บหาของปา และการลักลอบลาสัตว พ้ืนท่ีถูกรบกวนโดยกิจกรรมของมนุษย เปน

พ้ืนที่ที่จําเปนตองเรงในการใหการศึกษาและสรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากร แกเยาวชน

และชาวบานในพ้ืนที่

ทั้งน้ีขนาดและขอบเขตของพ้ืนที่ดังกลาวจําเปนตองศึกษาเพ่ิมเติมโดยใชขอมูลจากการลง

สํารวจในภาคสนามและการเก็บรวบรวมตัวอยางทรัพยากรเปนสําคัญ เพ่ือวิเคราะหขนาดและ

กําหนดขอบเขตของพ้ืนที่ดังกลาว อยางไรก็ตามส่ิงที่สําคัญที่สุดคือการใหความรูและการสราง

จิตสํานึกใหกับเยาวชน และชาวบานในพ้ืนที่ เพ่ือใหเกิดสํานึกในการหวงแหนและอนุรักษ

ทรัพยากรในทองถ่ินของตน

พื้นท่ีถูกรบกวนโดยมนุษย: จําเปนตองมีการใหการศึกษาและสรางจิตสํานึกอนุรักษทรัพยากร

พื้นท่ีกันชน : มีการจัดการควบคุมการบุกรุกพื้นท่ี ตัดไม เก็บหาของปาและการลักลอบลาสัตว

พื้นท่ีปกปกทรัพยากรอยางเขมขน: หามการบุกรุกพื้นท่ีโดยเด็ดขาด

Page 82: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

90

2.3.4 การสํารวจและอนุรักษพันธุกลวยไมปาในโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช อัน

เน่ืองมาจากพระราชดําริ ฯ พ้ืนท่ีเขื่อนอุบลรัตน อ.อุบลรัตน จ.ขอนแกน

โดย คณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยขอนแกน) ผลการศึกษา ทําการสํารวจกลวยไมปาบริเวณเสนทางสํารวจที่ 1 - เสนทางที่ 3 โดยเดินสํารวจตาม

เสนทางที่กําหนดไว ทําการจดบันทึก ถายภาพ และเก็บตัวอยางตนกลวยไม และฝกกลวยไมบาง

ชนิด เพ่ือนํามาจําแนกชนิด และเพาะขยายพันธุ จากการสํารวจในครั้งน้ีพบกลวยไมปาเพ่ิมขึ้น 1 ชนิด สํารวจพบครั้งกอนจํานวน 11 ชนิดรวมเปน 12 ชนิด เปนกลวยไมอิงอาศัย 9 ชนิด กลวยไมดิน 3 ชนิด จัดจําแนกอยูใน 9

สกุล ระบุชนิดไดแลวจํานวน 9 ชนิด และทราบเฉพาะชื่อสกุล 3 ชนิด คือ Bulbophyllum sp. 1

ชนิด และ Dendrobium sp. 2 ชนิด

ความหลากหลายของชนิดกลวยไมปาในแตละเสนทางมีความแตกตางกัน โดยพบ

กลวยไมปามากที่สุดจํานวน 12 ชนิดในเสนทางที่ 3 ในเสนทางที่ 1 พบกลวยไมปา 5 ชนิด

สวนในเสนทางที่ 2 ไมพบกลวยไมปาชนิดที่พบมากที่ สุดในเสนทางสํารวจ คือ เขาแกะ

(Rhyncostylis coelestis Rchb.f.) การขยายพันธุกลวยไมที่พบในพ้ืนที่เขื่อนอุบลรัตน ซึ่งเก็บฝกจากพ้ืนที่ จํานวน 3 ชนิด

นํามาเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื้อ เมล็ดกลวยไมทั้ง 3 ชนิดงอกแลว และอยูในระหวางการ

ขยายพันธุ

ตารางแสดงชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ และชวงเวลาดอกบานของกลวยไมปา ท่ีพบในพ้ืนท่ีโครงการอนรัุกษพันธุกรรมพืชฯ เขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน

ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ ชวงเวลาดอกบาน

1 .Cleisomeria pilosulum (Gagnep.)Seidenf.&Garay เอ้ืองเขี้ยวเสือ ก.ค.-ส.ค.

2. Cleisostoma arietinum ( Rchb.f.) Garay เขาแพะ เม.ย.-พ.ค.

3. Cleisostoma fuertenbergianum F.Kranzl. กางปลา มิ.ย.-ก.ค.

4. Dendrobium delacourii Guill. เอ้ืองดอกมะขามแคระ พ.ค.-มิ.ย.

5. Eulophia graminea Lindl. ชางผสมโขลง ม.ค.-ก.พ.

6. Geodorum siamensis Rolfe ex Downie วานจูงนาง มี.ค.- พ.ค.

7. Habenaria dentata (Sw.) Schltr. นางอ้ัวนอย ก.พ.-เม.ย.

8. Rhyncostylis coelestis Rchb.f. เขาแกะ เม.ย.-พ.ค.

9. Vanda lilacina Teijsm. & Binnend เข็มขาว ม.ค.-ก.พ.

Page 83: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

91

ภาพตัวอยางกลวยไมปาบางชนิดท่ีพบในพ้ืนท่ีเขื่อนอุบลรัตน จ.ขอนแกน

Cleisostoma arietinum ( Rchb.f.) Garay

Cleisostoma fuertenbergianum F.Kranzl.

Eulophia graminea Lindl.

Geodorum siamensis Rolfe ex Downie

Dendrobium delacourii Guill.

Bulbophyllum sp.

Rhyncostylis coelestis Rchb.f.

Vanda lilacina Teijsm. & Binnend

Page 84: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

92

2.3.5 การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซมไลเปสจากดินในเขตพื้นที่เขื่อนอุบลรัตนเพ่ือใชประโยชนในการผลิตไบโอดีเซล

โดย คณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยขอนแกน) ผลการศึกษา การคัดแยกแบคทีเรียจากตัวอยางดินท่ีสามารถผลิตเอนไซมไลเปส

การศึกษาโดยเก็บตัวอยางดินในพ้ืนที่เขื่อนอุบลรัตนพ้ืนที่เขต 1 และ 3 จากนั้นทําการ

คัดแยกแบคทีเรียจากตัวอยางดิน โดยการเพาะเล้ียงเพ่ือเพ่ิมจํานวน (enrichment) ในอาหาร

เล้ียงเชื้อชนิดเหลว enrichment medium ที่มีกรดโอเลอิค (oleic acid) เปนสวนประกอบเพื่อกระตุนการผลิตเอนไซมไลเปสของแบคทีเรีย การศึกษาโดยชั่งตัวอยางดินประมาณ 1 กรัม ใสลง

ในอาหารเล้ียงเชื้อชนิดเหลว enrichment medium ปริมาตร 10 มิลลิลิตรในหลอดทดลอง บมใน

ตูบมที่อุณหภูมิ 30°C เปนเวลา 48-72 ชั่วโมง จากน้ันทําการแยกแบคทีเรียดวยเทคนิค spread plate ในจานอาหารเล้ียงเชื้อ บมในตูบมที่อุณหภูมิ 30°C เปนเวลา 48-72 ชั่วโมง จากน้ันแยก

แบคทีเรียดวยเทคนิค spread plate ในจานอาหารเล้ียงเชื้อภายหลังการบมเชื้อในตูบมที่อุณหภูมิ

30 °C เปนเวลา 48-72 ชั่วโมง คัดเลือกโคโลนีของแบคทีเรียที่เจริญบนอาหารเล้ียงเชื้อมาแยก

ใหบริสุทธ์ิดวยเทคนิคการขีดลากแบบไขว (cross streak technique) ดังรูปที่ 1 จากการคัดแยก

แบคทีเรียจากตัวอยางดิน สามารถแยกแบคทีเรียไดทั้งส้ิน 110 ไอโซเลท ตัวอยางแบคทีเรีย

ภาพท่ี 1 ขั้นตอนการคัดแยกแบคทีเรียจากตัวอยางดิน การคัดแยกแบคทีเรียดวยเทคนิค

spread plate บนผิวหนาอาหารแข็ง enrichment medium และการคัดแยกแบคทีเรียดวย

เทคนิคการ cross streak บนผิวหนาอาหารแข็ง

Page 85: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

93

จากน้ันทําการศึกษาเพ่ือคัดเลือกแบคทีเรียที่สามารถผลิตไลเปสไดโดยการนําแบคทีเรีย

ที่คัดแยกไดจํานวน 110 ไอโซเลท มาเพาะเลี้ยงดวยเทคนิค cross-streak ในอาหารเล้ียงเชื้อ

ชนิดแข็งที่มี tributyrin เปนสวนประกอบ บมเชื้อในตูบมที่อุณหภูมิ 30°C เปนเวลา 24-48

ชั่วโมง จากผลการศึกษาพบวาไดแบคทีเรียจํานวน 75 ไอโซเลทที่เกิดบริเวณใส (clear zone) รอบๆ โคโลนี เก็บรักษาแบคทีเรียที่มีบริเวณใสรอบโคโลนีในอาหารเล้ียงเชื้อชนิดแข็งผิวหนาเอียง

(agar slant) เพ่ือใชศึกษาในขั้นตอไป (ตัวอยางแบคทีเรียบางไอโซเลทที่เจริญบนอาหารแข็งที่มี

tributyrin เปนสวนประกอบ แสดงดังรูปที่ 2

ภาพท่ี 2 แสดงตัวอยางเช้ือแบคทีเรียบริสุทธิ์บางไอโซเลทท่ีคัดเลือกได แบคทีเรียท่ีไมมี

โซนใสรอบโคโลนี และ แบคทีเรียท่ีมีโซนใสรอบโคโลนี

การคัดเลือกแบคทีเรียขั้นตนท่ีสามารถผลิตไลเปสไดสูง การศึกษาโดยการเพาะเล้ียงแบคทีเรียที่มีบริเวณโซนใสที่คัดแยกไดจํานวน 75 ไอโซเลท

ดวยเทคนิค point inoculum ในอาหารแข็งที่มี tributyrin เปนสวนประกอบ บมที่ 30 °C เปนเวลา 24-36 ชั่วโมง วัดเสนผาศูนยกลางของบริเวณโซนใส (ดังรูปที่ 3) จากน้ันคัดเลือกแบคทีเรียไอโซเลทที่ใหบริเวณโซนใสมากกวาหรือเทากับ 10 มิลลิเมตร จากผลการศึกษาพบวามีแบคทีเรียจํานวน 24 ไอโซเลทที่ใหบริเวณใสมากกวา 10 มิลลิเมตร จึงคัดเลือกเพ่ือใชศึกษาในขั้นตอไป

Page 86: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

94

ภาพท่ี 3 แสดงลักษณะบริเวณใส (clear zone) ในการคัดเลือกแบคทีเรียท่ีผลิตไลเปสในขั้นตนดวยเทคนิค point inoculum ในอาหารเล้ียงเชื้อท่ีมี tributyrin เปนสวนประกอบ

2.3.6 ความหลากหลายทางชีวภาพของดวงมูลสัตวในระบบนิเวศในโครงการ

อนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริฯ มหาวิทยาลัยขอนแกน พ้ืนท่ีเขื่อนอุบล

รัตน จังหวัดขอนแกน โดย คณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. (มหาวิทยาลัยขอนแกน)

ผลการศึกษา ในการสํารวจดวงมูลสัตวที่พบสวนใหญอยูในสกุล Onthophagus ซึ่งเปนดวงมูลสัตวสกุล

ใหญที่สุด ซึ่งการสํารวจในคร้ังน้ีพบวา การสํารวจในชวงเวลากลางวัน พบปริมาณดวงมูลสัตว

มากกวาชวงเวลากลางคืนทั้ง 3 แปลง โดยชวงเวลากลางวัน แปลงที่ 1 พบดวงมูลสัตวมากที่สุด

Page 87: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

95

คือ 974 ตัว จากทั้งหมด 15 ชนิด รองลงมาแปลงที่ 2 พบปริมาณดวงมูลสัตวทั้งหมด 551

ตัว จากชนิดที่พบทั้งหมด 18 ชนิด และแปลงท่ี 3 พบปริมาณดวงมูลสัตวทั้งหมด 311 ตัว จาก

ชนิดที่พบทั้งหมด 15 ชนิด สวนในชวงเวลากลางคืน ก็เชนกัน แปลงที่ 1 พบปริมาณดวงมูล

สัตวมากที่สุดทั้งหมด 543 ตัว จากชนิดที่พบทั้งหมด 12 ชนิด รองลงมาคือแปลงที่ 2 พบ

ปริมาณดวงมูลสัตวทั้งหมด 505 ตัว จากชนิดที่พบทั้งหมด 13 ชนิด และสุดทายแปลงที่ 3 พบ

ปริมาณดวงมูลสัตวทั้งหมด 245 ตัว จากชนิดที่พบทั้งหมด 15 ชนิด ซึ่งแปลงที่ 1 มีปริมาณดวง

มูลสัตวมากที่สุดใน 3 แปลง ทั้ง 2 ชวงเวลา แตเม่ือพิจารณาถึงจํานวนชนิด พบวาแปลงที่ 2 มี

จํานวนชนิดมากกวา แปลงอ่ืนทั้งชวงเวลากลางวันและกลางคืน ซึ่งการสํารวจในครั้งน้ีพบจํานวน

ชนิดมากวาการสํารวจใน 2 ครั้งที่ผานมา จึงแสดงวาแปลงที่ 2 มีความหลากหลายของดวงมูล

สัตวมากที่สุด

ตัวอยางภาพแสดงความหลากหลายของดวงมูลสัตว ในพ้ืนท่ีเขือ่นอบุลรัตน จ.ขอนแกน

Page 88: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

96

Onthophagus sp.7 Sisyphus longipes

Onthophagus sp.6 Onthophagus sp.

l-l 1 mm.

M3

l--l 1 mm.

M4

l--l 1 mm.

M7

l--l 1 mm.

M8

Page 89: 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ สธ ป 2552 · 2017. 12. 11. · 9 5. สรุปผลการด ําเนินงานอพ.สธ.ป

97

3. การสนับสนุนและใหการฝกอบรมดานพฤกษศาสตรแกอาสาสมัคร และเครือขาย

บุคลากรสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช โดยเจาหนาท่ีอพ.สธ. เปนวิทยากรใหการ

ฝกอบรม จํานวน 5 คร้ัง เปนการดําเนินการใหมีการฝกอบรมในหนวยงานที่มีพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืช ไดแกการ

ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ซึ่งมีพ้ืนที่ปกปกพันธุกรรมพืชอยูตามเขื่อนตางๆ และหนวยงานที่

สนใจจึงดําเนินการจัดใหมีการฝกอบรมน้ีขึ้นเพ่ือใหสามารถดําเนินงานปกปกพันธุกรรมพืชได

การฝกอบรมมีรายละเอียดในกิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษพันธุกรรมพืช (หนาที่ 265)