Author
others
View
3
Download
0
Embed Size (px)
๑
ค ำชี้แจงส ำหรับครู
แบบฝึกทักษะการเขียนสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที ่๔ ในการเตรียมความพร้อม มีรายละเอียดดังนี้ ๑. แบบฝึกทักษะการเขียนสื่อสารจ านวนทั้งหมด ๖ ชุด
ชุดที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนสื่อสาร ชุดที่ ๒ การเขียนเรียงความ ชุดที่ ๓ การเขียนย่อความ ชุดที่ ๔ การเขียนบทความ ชุดที่ ๕ การเขียนสรุปความ ชุดที่ ๖ การเขียนบันทึก ๒. แบบฝึกทักษะเล่มนี้เป็นแบบฝึก ชุดที่ ๑ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนสื่อสาร
๓. ผู้สอนศึกษาเนื้อหาวิชาในเล่มให้เข้าใจก่อนท าการสอนและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพ่ือใช้ในการเรียนการสอนตามที่ระบุไว้ในแผนการเรียนรู้ในแต่ละแผน
๔. ผู้สอนด าเนินการสอนตามแผนการเรียนรู้ทุกหน่วยให้ครบโดยมีการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยมีส่วนประกอบดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนการน าสู่บทเรียน ขั้นตอนที่ ๒ รายละเอียดเนื้อหา
ขั้นตอนที่ ๓ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ ขั้นตอนที่ ๔ สรุปผลและประเมินผล ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องมีทักษะและความช านาญในการอภิปราย
และการสาธิตอย่างดี ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล
๒
ค ำชี้แจงส ำหรับนักเรียน
แบบฝึกทักษะการเขียนสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยส าหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที ่๔ ให้นักเรียนอ่านขั้นตอนการใช้แบบฝึกดังนี้ ๑. นักเรียนศึกษาสาระส าคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน
๓. นักเรียนศึกษาใบความรู้ตามล าดับ ๔. นักเรียนท ากิจกรรมในแบบฝึกตามล าดับ ๕. เมื่อจบบทเรียนแล้ว ให้นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน ๔. นักเรียนร่วมกันตรวจค าตอบกับเฉลยในภาคผนวก ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติงานของนักเรียนจากการท ากิจกรรม ในแบบฝึก
๓
กำรเขียนสื่อสำร หมายถึง การเขียนเพ่ือการสื่อสาร สื่อความหมายผ่านตัวอักษรเพ่ือให้ผู้อ่านได้ทราบ เข้าใจเรื่องราวในสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อความออกมาในการเขียนสื่อสาร มีการก าหนดรูปแบบในการเขียนให้แตกต่างกันออกไป เช่น การเขียนรายงาน การเขียนย่อความ การเขียนจดหมาย การเขียนเรียงความ เป็นต้น
มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน
เรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ม. ๔-๖/๑ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์โดยใช้ภาษา เรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระส าคัญชัดเจนอ้างอิงอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด ม. ๔-๖/๖ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด ม. ๔-๖/๘ มีมารยาทในการเขียน
สำระส ำคัญ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้และตัวชี้วัด
๔
๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเขียนสื่อสารได้ ๒. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และแสดงข้อคิดเห็นจากเรื่องที่เรียนได้ ๓. นักเรียนสามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและใช้ถ้อยค าได้สละสลวย ไพเราะ ๔. นักเรียนมีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่และมีความสนใจในการเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ ๑ ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกำรเขียนสื่อสำร
ค ำชี้แจง จงท าเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในช่องให้ตรงกับตัวเลือกที่ต้องการ ลงในกระดาษค าตอบ (ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน)
๑. ข้อใดคือ ความหมายของการเขียนสื่อสาร
ก. การเขียนเพ่ือให้เกิดความคิด วิสัยทัศน์กว้างไกล ข. การแปลความหมายของความรู้สึก ความคิดเห็นออกมาเป็นตัวอักษร ค. การอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่ให้ความรู้ความคิดและน าไปปฏิบัติตามได้ ง. การสื่อความหมายผ่านตัวอักษรเพื่อแสดงความรู้ ความคิดและประสบการณ์
๒. ข้อใดคือ ความส าคัญของการเขียนสื่อสาร
ก. เป็นเครื่องแสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนในสังคม
ข. เป็นเครื่องมือที่แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย
ค. เป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ส าคัญอันเป็นมรดกทางสติปัญญาของมนุษย์
ง. เป็นบันทึกเหตุการณ์ประจ าวัน สามารถสืบค้นเพื่อการเรียนรู้ของคนรุ่นหลังได้
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
๕
๓. ลักษณะของงานเขียนสื่อสารที่ดีคือข้อใด ก. การใช้ค าธรรมดา ๆ แต่สามารถอ่านแล้วเข้าใจทันที ข. การใช้ภาษาเขียนที่สื่อสารยุยงส่งเสริมสิ่งที่ไม่ดีแก่ผู้อ่าน ค. การใช้ค าฟุ่มเฟือย อ้อมค้อม วกวนจนท าให้ไม่สามารถจับประเด็นได้ ง. การใช้ค าในการเรียบเรียงประโยคตามความเข้าใจ ความสนใจของผู้เขียน
๔. ข้อใดคือ จุดมุ่งหมายของการเขียนเพื่ออธิบาย ก. การเขียนเพ่ือบอกวิธีท าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ข. การเขียนเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ ค. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นของผู้เขียน ง. การเขียนเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ๕. ข้อใดอธิบายทักษะในการเขียนสื่อสารได้ถูกต้อง ก. การใช้ค าซ้ าซ้อนเพื่อก่อให้เกิดความรู้สึกสนใจแก่ผู้อ่าน
ข. การรู้จักค าและเลือกใช้ค าให้ถูกต้อง เหมาะสมและตรงความหมาย ค. การใช้ค า ข้อความ ให้เกิดความก ากวมเพ่ือสร้างความสงสัยให้แก่ผู้อ่าน
ง. การใช้ค าสมัยใหม่เพ่ือให้เกิดภาพพจน์ เสียง และความรู้สึก
๖. เพราะเหตุใด ผู้เขียนควรให้ความส าคัญกับเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ ในการเขียน ก. เพื่อสร้างความสนใจในเรื่องที่เขียนแก่ผู้อ่าน
ข. เพ่ือให้ผู้อ่านได้พักสายตาในการอ่านเรื่องน าเสนอ ค. เพ่ือให้ผู้อ่านอ่านได้สะดวก และเป็นการป้องกันความเข้าใจผิดได้
ง. เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านได้พิจารณาความเหมาะสมถูกต้องของเรื่องท่ีเขียน
ข้อ ๗ – ๘ ค ำถำมที่ ๑ เกี่ยวกับตัวเราเอง ถามว่า ปู่ ย่า ตา ยายเรา พ่อแม่เรา หรือหลักสูตร
ที่โรงเรียนเราเคยสอนเราเกี่ยวกับการรับมือภัยธรรมชาติ อาทิ อุทกภัย วาตภัย หรือไม่ ค าตอบคือ ไม่มี ไม่เคย ไม่ค่อยสอน วิชาสังคมศึกษาสอนเราว่า “เมืองไทยของเรานี้
แสนดีหนักหนา โชคดีกว่าภัยธรรมชาติแบบประเทศอ่ืน ไม่มีแผ่นดินไหวแบบหมู่เกาะญี่ปุ่น ไม่มี น้ าท่วมใหญ่แบบแม่น้ าหวางเหอ ไม่มีเฮอริเคน แบบอ่าวเม็กซิโก”
๖
๗. ผู้เขียนข้อความนี้ ต้องการน าเสนอเรื่องราวใด ก. หลักสูตร ข. ภัยธรรมชาติ ค. การเตรียมรับภัยธรรมชาติ ง. การป้องกันภัยธรรมชาติที่เกิดข้ึน ๘. ใครเป็นผู้ที่น าแนวคิดนี้ไปใช้ประโยชน์มากที่สุด ก. ครู ข. ผู้จัดท าหลักสูตรการศึกษา ค. รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ง. นักวิชาการจากทุกหน่วยงาน ข้อ ๙ – ๑๐ วันนั้นฉันและพ่ีลิงใส่ชุดประจ าชาติของภูฏาน ผู้หญิงจะเรียกว่า คีร่า ผู้ชายเรียกว่า โค เราซื้อตั้งแต่วันแรกที่มาถึงที่ร้านมีให้เลือกจนลายตาไปหมด คนขายกับคนมาซื้อต่างมาช่วยฉันแต่งตัว กันใหญ่เลย ในใจคิดว่า แล้ววันแต่งจริง ๆ ใครจะใส่ให้ มองดูทีมงานแล้วอาการไม่ต่างกัน สุดท้ายนางเอกที่มาช่วยเราคือ เหล่าแม่บ้านที่โรงแรมนั่นเองดูพวกเขา พึงพอใจที่เห็นเราใส่ชุดประจ าชาติของเขาชมทุกคนที่ใส่ว่าดูดี ดูหล่อ ดูสวย พอฉันใส่ ไปเดินถนนคนที่นั่นหลาย ๆ คน คงคิดว่าฉันเป็นคนภูฏาน หลังจากที่พวกเราไปท าแสตมป์ที่ Media center ซึ่งเขาจะให้เราเอารูปไปใส่ ในแสตมป์ที่ระลึกของงานอภิเษกได้ด้วย เราก็เดินไปตามถนนที่ทั้งสองพระองค์จะเสด็จมาเด็กมารอเฝ้ารับเสด็จเป็นแถวยาว รวมไปถึงชาวบ้านในละแวกนั้นด้วย คล้ายกับบ้านเราเวลารอเฝ้าฯ ในหลวงของเราไปอยู่สถานที่ที่เขาจัดให้สื่อจากทั่วโลกมายืนอยู่ด้วยกัน โดยแบ่งออกเป็นสองฝั่ง ของถนน ใครอยากได้มุมไหนก็ยืนตามอัธยาศัยเพียงแต่ให้อยู่ในเขตที่บอกเท่านั้น ภารกิจของเรายังไม่หมด เรามีของขวัญเป็นหุ่นกระบอกใส่ชุดไทยสวยงามวิจิตรบรรจงอยู่ในตู้กระจกซึ่งทางทีมงานให้ ๙. ข้อความดังกล่าวจัดเป็นงานเขียนประเภทใด ก. ต ารา
ข. สารคด ี ค. บันเทิงคดี ง. ชีวประวัต ิ
๗
๑๐. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น ก. เขาจะให้เราเอารูปไปใส่ในแสตมป์ที่ระลึกของงานอภิเษกได้ด้วย ข. เราไปอยู่ที่สถานที่ที่เขาจัดให้สื่อจากท่ัวโลกมายืนอยู่ด้วยกัน ค. ใครอยากได้มุมไหนก็ยืนตามอัธยาศัยเพียงแต่ให้อยู่ในเขตที่บอกเท่านั้น ง. เรามีของขวัญเป็นหุ่นกระบอกใส่ชุดไทยสวยงามวิจิตรบรรจงอยู่ในตู้กระจก
๘
ควำมหมำยของกำรเขียนสื่อสำร
ควำมหมำยของกำรเขียนสื่อสำร
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.(๒๕๔๖:๒๐๓) ให้ความหมายของค าว่า เขียน ก. ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ,วาด, แต่งหนังสือ วิภา ฌานวังศะและคณะ (๒๕๕๐ :๒-๕) ให้ความหมายของการเขียนสื่อสารไว้ว่าคือ การสื่อสารความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก และจินตนาการโดยใช้สัญลักษณ์ คือ ตัวอักษร
ถ่ายทอดจากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน ธนู ทดแทนคุณ และกานต์รวี แพทย์พิทักษ์ (๒๕๕๒ : ๑๑๗) ให้ความหมายของการเขียนสื่อสารว่าหมายถึง การเรียบเรียงความคิดในสิ่งที่จะสื่อสารเป็นตัวหนังสืออย่างมีจุดมุ่งหมายเพ่ือ
ถ่ายทอดความรู้สึก ความนึกคิด ความต้องการและข้อมูลต่าง ๆ ไปยังผู้อ่าน
โสภณ สาทรสัมฤทธิ์ผล (๒๕๕๔: ๗๗) ให้ความหมายของการเขียนสื่อสารว่า หมายถึง
ทักษะในการใช้ภาษาที่มุ่งถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ เป็นลายลักษณ์อักษร
เพ่ือให้ผู้อ่านได้รับทราบจุดประสงค์ตามเจตนาของผู้เขียน
ดังนั้นกำรเขียนสื่อสำร หมำยถึง การสื่อความหมายผ่านตัวอักษรเพ่ือแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกและประสบการณ์ของผู้เขียนออกเป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือให้ผู้อ่านได้ทราบและเข้าใจ
เรื่องราวในสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อความ
ใบควำมรู้ที่ ๑
๙
ควำมส ำคัญของกำรเขียนสื่อสำร
ควำมส ำคัญของกำรเขียนสื่อสำร
ปัจจุบันคนเราสื่อสารกันด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย แต่สิ่งที่ยังคงความส าคัญมาโดยตลอดคือ การสื่อสารด้วยการเขียน การเขียนมีความส าคัญ โดยธนู ทดแทนคุณและกานต์รวี แพทย์พิทักษ์ (๒๕๕๒: ๑๑๘) ได้แสดงความส าคัญของการเขียนไว้ดังนี้
๑. เป็นเครื่องแสดงออกถึงความรู้ ความคิด และความรู้สึกของมนุษย์
๒. เป็นเครื่องมือส าคัญที่แสดงถึงอารยธรรมของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย
๓. เป็นเครื่องมือส าหรับสื่อสารของมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ
๔. เป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ส าคัญอันเป็นมรดกทางสติปัญญาของมนุษย์ เช่น
วรรณกรรม วรรณคดี ต านาน เป็นต้น
๕. เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น ความรัก ความเข้าใจ
ความเห็นอกเห็นใจ เป็นต้น
๖. เป็นบันทึกที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ สามารถสืบค้นเพ่ือการเรียนรู้ของคนรุ่นหลังได้
๗. เป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพของคนบางอาชีพ เช่น นักเขียนข่าว นักประพันธ์
นักวิชาการ เป็นต้น
การเขียนมีลักษณะเป็นการสื่อสารที่ถาวร สามารถคงอยู่ได้นาน ตรวจสอบได้เป็นหลักฐานอ้างอิงนานนับพันหมื่นปี ถ้าสามารถเก็บรักษาให้คงสภาพเดิมไว้ได้
ใบควำมรู้ที่ ๒
๑๐
ลักษณะของงำนเขียนสื่อสำรที่ดี
งำนเขียนสื่อสำรที่ดี จะต้องมีลักษณะถูกต้องสมบูรณ์ สามารถสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิผล
ธนู ทดแทนคุณและกานต์รวี แพทย์พิทักษ์ (๒๕๕๒: ๑๒๗) ได้อธิบายลักษณะของงานเขียนสื่อสารที่ดีไว้ดังนี้ ๑ . มี ควำมชั ด เจน (Perspicuity) ได้ แก่ ก ารใช้ ค า ให้ ถู กต้ อ งตามความหมาย การเรียบเรียงประโยคที่ถูกต้อง มีจุดมุ่งหมายในการสื่อสารที่ตรงประเด็น สามารถเห็น สิ่งที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อสารได้อย่างชัดเจน เนื้อหาของงานเขียนมีเอกภาพ เป็นต้น ๒. มีควำมเรียบง่ำย (Simplicity)ได้แก่ การใช้ค าธรรมดา ๆ แต่สามารถอ่านแล้ว เข้าใจทันที ไม่ใช้ค าที่อ่านแล้วต้องแปลความหมายมาก ใช้ประโยคที่เรียบ ๆ แต่สะท้อนให้เห็นถึงอารมณ์และจินตนาการต่าง ๆ เป็นต้น ๓. มีควำมกระชับ (Brevity) ได้แก่ การใช้ค าน้อยแต่มีความหมายกว้าง ไม่ใช้ค าฟุ่มเฟือย อ้อมค้อม วกวนจนท าให้ไม่สามารถจับประเด็นของงานเขียนนั้นได้เลย ๔. สร้ำงควำมประทับใจ (Impressiveness) ได้แก่ การสร้างอารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ ให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกที่ดีด้วยการใช้ค า ส านวน โวหาร ค าภาพพจน์ต่างๆ สื่อความโดยการใช้ค าที่ เร้าความรู้สึก ๕. มีลีลำ ได้แก่ ความสามารถในการเลือกสรรค ามาใช้ในงานเขียน แล้วท าให้ผู้ อ่านเกิดความรู้สึกท่ีดี เช่น การใช้ถ้อยค าท่ีราบรื่นแต่สร้างความไพเราะ การหลากค า การเล่นค า ฯลฯ ๖. สร้ำงภำพพจน์หรือจินตนำกำร ในงานเขียนบางชนิดจ าเป็นที่ผู้เขียนจะต้องใช้ถ้อยค าที่สร้างภาพพจน์หรือจินตนาการให้ผู้อ่านเห็นภาพตามไปด้วย ๗. มีควำมสร้ำงสรรค์ ได้แก่ การใช้ภาษาเขียนที่สื่อสารในทางบวกไม่ยุยงส่งเสริมสิ่งที่ไม่ดีแก่ผู้อ่าน อันจะก่อให้เกิดการแตกร้าว ขาดความสามัคคีในสังคม
๑๑
ประเภทของกำรเขียนสื่อสำร การเขียนสื่อสาร มีหลายประเภท กิตติชัย พินโนและคณะ (๒๕๕๔: ๑๗๗) ได้แบ่งการเขียนตามรูปแบบในการเขียนได้ ๒ ประเภท คือ ๑. งานเขียนร้อยแก้ว เป็นการน าถ้อยค ามาผูกเป็นประโยคเป็นเรื่องราวโดยไม่มีการบังคับรูปแบบหรือฉันทลักษณ์ แต่อาจมีรูปแบบการเขียนแตกต่างกันไปบ้างซึ่งขึ้นอยู่กับวิธีการน าเสนอ จุดมุ่งหมายของผู้เขียนและความเป็นทางการ เช่น เรียงความ บทความ สารคดี นวนิยาย เรื่องสั้น เป็นต้น ๒. งานเขียนร้อยกรอง เป็นงานเขียนที่มีฉันทลักษณ์หรือรูปแบบบังคับ เช่น คณะ (การก าหนดจ านวนค าในแต่ละวรรค) สัมผัส ค าเอก-ค าโท ค าครุ-ค าลหุ ค าเป็น - ค าตาย เสียงวรรณยุกต์ งานเขียนร้อยกรองมีหลายชนิดแต่ละชนิดมีการบังคับรูปแบบค าประพันธ์แตกต่างกันดังนี้ โคลง มีการบังคับ คณะ สัมผัส และค าเอก-ค าโท ฉันท์ มีการบังคับ คณะ สัมผัส และค าครุ-ค าลหุ กาพย์ มีการบังคับ คณะ และสัมผัส กลอน มีการบังคับ คณะ สัมผัส และเสียงวรรณยุกต์ ร่าย มีการบังคับ สัมผัส และคณะ (ไม่จ ากัดจ านวนค าในแต่ละคณะ)
๑๒
ตอนที่ ๑ ค ำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกให้ท าเครื่องหมายถูก (✓) ให้ท าเครื่องหมาย
กากบาท (X) หน้าข้อที่ผิด(ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน)
.................๑. การเขียนสื่อสารเป็นทักษะที่มีความส าคัญน้อยมาก
.................๒. ผู้เขียนไม่จ าเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องการเขียนสื่อสาร
.................๓. เครื่องมือส าคัญอย่างหนึ่งในการสื่อสารคือ การเขียน
..................๔. การเขียนสื่อสาร คือทักษะในการใช้ภาษาออกมาเป็น
ลายลักษณ์อักษร
..................๕. การจินตนาการเป็นสิ่งหนึ่งที่ใช้ประกอบในการเขียนสื่อสาร
..................๖. การเขียนช่วยส่งเสริมให้สังคมมนุษย์มีการพัฒนา
..................๗. วรรณคดีเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดวัฒนธรรม
..................๘. มนุษย์ใช้การเขียนเป็นเครื่องมือช่วยสนองความต้องการ
..................๙. การเขียนเป็นการสื่อสารที่คงทนถาวร สามารถตรวจสอบได้
.................๑๐. เรารู้ประวัติศาสตร์ของชาติได้จากการบันทึก
แบบฝึกทักษะที่ ๑
๑๓
ตอนที่ ๒
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง(๕ คะแนน)
๑. การเขียนสื่อสาร หมายถึง (๑ คะแนน)
................................................................................................................................ ................................
................................................................................................... .............................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. การเขียนอะไรก็ตาม ผู้เขียนมักจะอาศัยอะไรบ้างประกอบในงานเขียนของตน (๒ คะแนน)
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ................................................................
............................................................................................................................. ...................................
๓. ให้นักเรียนระบุความส าคัญของการเขียนสื่อสาร (๒ คะแนน)
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
........................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
๑๔
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วน าข้อความมาเขียนต่อให้เป็นเรื่องราวตามความคิดเห็น
(ความยาว ๑๐ บรรทัด ๑๐ คะแนน)
กาลครั้งหนึ่งมีเศรษฐีคนหนึ่งเป็นคนใจบุญ และบริจาคทานอยู่เสมอ ข่าวทราบถึงขอทาน
คนหนึ่งมีความประสงค์จะขอเงินเศรษฐี ๔๐ บาท เพ่ือน าไปซื้ออาหาร ขณะเดินผ่านบ้านเศรษฐี
พบเศรษฐีก าลังกราบไหว้พระอยู่ เมื่อไหว้พระเสร็จ เศรษฐีจึงขอพรจากพระด้วยเสียงอันดังว่า
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
แบบฝึกทักษะที่ ๒
๑๕
จุดมุ่งหมำยของกำรเขียนสื่อสำร การเขียนเป็นทักษะหนึ่งในสี่ทักษะที่มีความส าคัญยิ่งต่อชีวิต เพราะเป็นเครื่องมือบันทึกและ
ถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ทั้งส าหรับตนเองและผู้อ่ืนอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร จุดเริ่มต้นของการเขียนอยู่ที่ความคิด เพราะฉะนั้นประสิทธิภาพของการเขียนย่อมขึ้นอยู่กับสมรรถภาพทางความคิด นอกจากนี้ความสามารถในเชิงภาษาก็เป็นสิ่งส าคัญยิ่ง เพราะถ้ามีความคิดที่ดีแต่ไม่สามารถใช้ภาษาในการสื่อความคิดได้ตรงตามที่ต้องการก็ไม่เกิดประโยชน์อันใด ดังนั้นจึงควรใช้ภาษาที่สามารถถ่ายทอดความคิดให้ผู้อ่านเข้าใจตรงตามความต้องการของผู้เขียน
จุดมุ่งหมำยของกำรเขียนสื่อสำร มีดังนี้ คือ ๑. กำรเขียนเพื่อเล่ำเรื่อง คือการเขียนเพ่ือถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ต่างๆ ที่ผู้เขียน
ประสบมาด้วยตนเอง เช่น การเขียนเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของตนเองที่เรียกว่า อัตชีวประวัติ การเขียนเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของบุคคลอ่ืนที่เรียกว่า ชีวประวัติ การเขียนข่าว และการเขียนสารคดีต่าง ๆ เป็นต้น
วิธีเขียนเขียนเพ่ือเล่าเรื่อง ผู้เขียนต้องเล่าเรื่องตามล าดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและให้ข้อมูลถูกต้องตามความเป็นจริง
๒. กำรเขียนเพื่ออธิบำย คือการเขียนเพ่ือบอกวิธีท าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น การเขียนอธิบายวิธีประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องมือต่าง ๆ วิธีใช้ยาหรือการเขียนเพ่ือชี้แจง ไขความ ตอบปัญหาความรู้ หรือความคิดที่เข้าใจยาก เช่น การเขียนอธิบายศัพท์ ข้อธรรมะต่าง ๆ เป็นต้น
วิธีเขียนเพ่ืออธิบาย ผู้เขียนต้องล าดับเรื่องราวตามขั้นตอน โดยใช้ภาษาให้รัดกุมและชัดเจน ในการเขียนควรแบ่งเป็นย่อหน้าย่อย ๆ หรือเป็นข้อ ๆ เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจและจ าได้ง่าย
ใบควำมรู้ที่ ๓
๑๖
๓. กำรเขียนเพื่อแสดงควำมคิดเห็น คือการเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็นของผู้เขียน
ในเรื่องต่าง ๆ เช่น ในเรื่องการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เป็นต้น วิธีเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็น จ าเป็นต้องแสดงข้อเท็จจริง ชี้แจงเหตุผล ข้อดี ข้อเสีย
อย่างชัดเจน เพ่ือให้ความคิดเห็นของผู้เขียนมีน้ าหนักและน่าเชื่อถือ ๔. กำรเขียนเพื่อโฆษณำ คือการเขียนเพ่ือโน้มน้าว จูงใจ หรือเชิญชวนให้ผู้อ่านสนใจ สิ่งที่เขียนแนะน า เช่น การเขียนค าโฆษณา ค าขวัญ เป็นต้น
วิธีเขียนเพ่ือโฆษณาควรเขียนให้สั้น ใช้ค าคล้องจอง แปลกใหม่ ซึ่งสามารถแสดงลักษณะ ของสินค้าที่ต้องการเน้นอย่างชัดเจน เพ่ือให้ผู้อ่านจดจ าได้ในเวลาอันรวดเร็ว ๕. กำรเขียนเพื่อสร้ำงจินตนำกำร คือการเขียนเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการ ให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกและเห็นภาพตามผู้เขียน เช่น การเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร กวีนิพนธ์ เป็นต้น
วิธีเขียนเพ่ือสร้างจินตนาการ ผู้เขียนต้องเลือกใช้ภาษาอย่างประณีต ละเอียดลออ ลึกซ้ึง ใช้ภาษาท่ีท าให้เกิดภาพพจน์ เป็นต้น
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การเขียนสื่อสารที่ดีนอกจากจะต้องค านึงถึงความมุ่งหมายของ
การเขียนแล้ว ยังต้องพิจารณาด้วยว่า ผู้อ่านข้อเขียนนั้น ๆ เป็นใคร ทั้งนี้เพื่อจะได้ใช้ถ้อยค า ภาษา ส านวน รวมทั้งการน าเสนอข้อมูลให้เหมาะกับวัย ระดับความรู้ ประสบการณ์ และความสนใจของผู้อ่าน
๑๗
องค์ประกอบของกำรเขียนสื่อสำร ประกอบด้วย ๑. เนื้อหำ คือ เนื้อเรื่องหรือเรื่องราวที่ผู้เขียนต้องการจะให้ผู้อ่านได้รับทราบอาจจะเป็น
เรื่องของบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ หรืออาจจะเป็นข้อคิดเห็น จินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึก ฯลฯ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างประกอบกันก็ได้
๒. ภำษำ คือ ถ้อยค า ส านวน โวหารต่าง ๆ ซึ่งมีท้ังรูปแบบตามหลักภาษาและตามความนิยมของผู้ใช้ภาษา ในการเขียนเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ผู้เขียนควรค านึงถึงการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับเพศ วัย อายุ ระดับการศึกษา ความสนใจของผู้อ่าน รวมทั้งค านึงถึงกาลเทศะและรูปแบบในการน าเสนอด้วย นอกจากนี้ ผู้เขียนควรให้ความส าคัญกับเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ ที่ใช้ในการเขียน เพราะเครื่องหมายเหล่านี้จะช่วยให้ผู้อ่านอ่านได้สะดวก และเป็นการป้องกันความเข้าใจผิดได้อีกด้วย เครื่องหมายวรรคตอนบางชนิดเมื่อใช้แล้วจะสามารถสื่ออารมณ์และความรู้สึกได้ดีขึ้น เช่น การใช้เครื่องหมายปรัศนีย์ และอัศเจรีย์ เป็นต้น แต่ทั้งนี้ควรใช้อย่างระมัดระวัง เหมาะสมกับเนื้อหา และรูปแบบ
ทักษะในกำรเขียนสื่อสำร
การใช้ภาษาเพ่ือสื่อความหมายเป็นศาสตร์ที่ผู้ ใช้ต้องรู้จักค าและเลือกใช้ค าให้ถูกต้อง เหมาะสม ตรงความหมาย ตรงราชาศัพท์ เหมาะกับกาลเทศะ ไม่ใช้ค าซ้ าซ้อน รู้จักหลบค าโดยไม่เกิดความก ากวม และใช้ ค าให้ เกิดภาพพจน์ ในการ น าค าที่ เลือกแล้วมาเรียบเรียงเป็นประโยค เป็นข้อความ ถือเป็นศิลป์แห่งการใช้ค าที่มิใช่เพียงแต่สื่อความรู้ความเข้าใจเท่านั้น หากยังสามารถก่อให้เกิดภาพ เสียง และความรู้สึกได้อีกด้วย
๑๘
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้มาพอสังเขป (ข้อละ ๕ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน)
๑. จุดมุ่งหมายของการเขียนสื่อสารมีกี่ประการ อะไรบ้าง (๕ คะแนน)
........................................................................................................................... .....................................
....................................................................................... .........................................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................... ............
....................................................................................................................... .........................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................... ........
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... ......................................................................
๒. ให้นักเรียนบอกองค์ประกอบของการเขียนสื่อสารมาโดยละเอียด (๕ คะแนน)
........................................................................................................................... .....................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................................................ ....
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................... .................................................................................................
............................................................................................................................................................... .
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................ ...............................................................
แบบฝึกทักษะที่ ๓
๑๙
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนเปลี่ยนภาษาในประโยคต่อไปนี้ให้เป็นภาษาทางการ
(ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๕ คะแนน)
๑. คุณตาและคุณยายของนุศราตายหมดแล้ว .............................................................................................................. ........................................ ๒. ในช่วงปิดเทอมวัดต่าง ๆ จะมีการบวชสามเณรภาคฤดูร้อน ............................................................................................................. .......................................... ๓. เมื่อผู้ชายไทยอายุ ๒๑ ปีเต็มจะต้องไปจับใบด าใบแดงเพ่ือเข้าเป็นทหารเกณฑ์ ............................................................................................................. ........................................ ๔. ขอเชิญร่วมฟังสวดศพคุณมะลิวัลย์ที่วัดท่าคอย ......................................................... ............................................................................................. ๕. ในหลวงรับสั่งให้นายกเร่งแก้ปัญหาน้ าท่วมภาคใต้โดยด่วน .............................................................................. .........................................................................
แบบฝึกทักษะที่ ๔
๒๐
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ ๑ ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกำรเขียนสื่อสำร
ค ำชี้แจง จงท าเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในช่องให้ตรงกับตัวเลือกที่ต้องการ ลงในกระดาษค าตอบ(ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐คะแนน)
๑.ลักษณะของงานเขียนสื่อสารที่ดีคือข้อใด ก. การใช้ค าธรรมดา ๆ แต่สามารถอ่านแล้ว เข้าใจทันที ข. การใช้ภาษาเขียนที่สื่อสารยุยงส่งเสริมสิ่งที่ไม่ดีแก่ผู้อ่าน ค. การใช้ค าฟุ่มเฟือย อ้อมค้อม วกวนจนท าให้ไม่สามารถจับประเด็นได้ ง. การใช้ค าในการเรียบเรียงประโยคตามความเข้าใจ ความสนใจของผู้เขียน
๒.ข้อใดคือ จุดมุ่งหมายของการเขียนเพื่ออธิบาย ก. การเขียนเพ่ือบอกวิธีท าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ข. การเขียนเพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ ค. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นของผู้เขียน ง. การเขียนเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก
๓. ข้อใดคือ ความหมายของการเขียนสื่อสาร ก. การเขียนเพ่ือให้เกิดความคิด วิสัยทัศน์กว้างไกล ข. การแปลความหมายของความรู้สึก ความคิดเห็นออกมาเป็นตัวอักษร ค. การอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่ให้ความรู้ความคิดและน าไปปฏิบัติตามได้ ง. การสื่อความหมายผ่านตัวอักษรเพื่อแสดงความรู้ ความคิดและประสบการณ์
๔. ข้อใดคือ ความส าคัญของการเขียนสื่อสาร
ก. เป็นเครื่องแสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนในสังคม
ข. เป็นเครื่องมือที่แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย
ค. เป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ส าคัญอันเป็นมรดกทางสติปัญญาของมนุษย์
ง. เป็นบันทึกเหตุการณ์ประจ าวัน สามารถสืบค้นเพื่อการเรียนรู้ของคนรุ่นหลังได้
๒๑
ข้อ ๕-๖ ค ำถำมที่ ๑ เกี่ยวกับตัวเราเอง ถามว่า ปู่ย่าตายายเรา พ่อแม่เรา หรือหลักสูตรที่โรงเรียนเรา
เคยสอนเราเกี่ยวกับการรับมือภัยธรรมชาติ อาทิ อุทกภัย วาตภัย หรือไม่ ค ำตอบ คือ ไม่มี ไม่เคย ไม่ค่อยสอน วิชาสังคมศึกษาสอนเราว่า “เมืองไทยของเรานี้
แสนดีหนักหนา โชคดีกว่าภัยธรรมชาติแบบประเทศอ่ืน ไม่มีแผ่นดินไหวแบบหมู่เกาะญี่ปุ่น ไม่มี น้ าท่วมใหญ่แบบแม่น้ าหวางเหอ ไม่มีเฮอริเคน แบบอ่าวเม็กซิโก”
๕. ผู้เขียนข้อความนี้ ต้องการน าเสนอเรื่องราวใด ก. หลักสูตร ข. ภัยธรรมชาติ ค. การเตรียมรับภัยธรรมชาติ ง. การป้องกันภัยธรรมชาติที่เกิดข้ึน
๖. ใครเป็นผู้ที่น าแนวคิดนี้ไปใช้ประโยชน์มากที่สุด ก. ครู ข. ผู้จัดท าหลักสูตรการศึกษา ค. รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ง. นักวิชาการจากทุกหน่วยงาน
ข้อ ๗ – ๘ วันนั้นฉันและพ่ีลิงใส่ชุดประจ าชาติของภูฏาน ผู้หญิงจะเรียกว่า คีร่า ผู้ชายเรียกว่า โค เราซื้อ
ตั้งแต่วันแรกที่มาถึงที่ร้านมีให้เลือกจนลายตาไปหมด คนขายกับคนมาซื้อต่างมาช่วยฉันแต่งตัวกันใหญ่ เลย ในใจคิดว่าแล้ ววันแต่งจริง ๆ ใครจะใส่ ให้ มองดูทีมงานแล้วอาการไม่ต่ างกัน สุดท้ายนางเอกที่มาช่วยเราคือ เหล่าแม่บ้านที่โรงแรมนั่นเองดูพวกเขาพึงพอใจที่เห็นเราใส่ชุด ประจ าชาติของเขา ชมทุกคนที่ใส่ว่าดูดี ดูหล่อ ดูสวย พอฉันใส่ไปเดินถนนคนที่นั่นหลาย ๆ คน คงคิดว่าฉันเป็นคนภูฏาน หลังจากที่พวกเราไปท าแสตมป์ที่ Media center ซึ่งเขาจะให้เราเอารูป ไปใส่ในแสตมป์ที่ระลึกของงานอภิเษกได้ด้วย เราก็เดินไปตามถนนที่ทั้งสองพระองค์จะเสด็จมา เด็กมารอเฝ้ารับเสด็จเป็นแถวยาวรวมไปถึงชาวบ้านในละแวกนั้นด้วย คล้ายกับบ้านเราเวลารอเฝ้าฯ ในหลวงของเราไปอยู่สถานที่ที่เขาจัดให้สื่อจากทั่วโลกมายืนอยู่ด้วยกัน โดยแบ่งออกเป็นสองฝั่ง ของถนน ใครอยากได้มุมไหนก็ยืนตามอัธยาศัยเพียงแต่ให้อยู่ในเขตที่บอกเท่านั้น ภารกิจของเรา ยังไม่หมดเรามีของขวัญเป็นหุ่นกระบอกใส่ชุดไทยสวยงามวิจิตรบรรจงอยู่ในตู้กระจกซึ่งทางทีมงานให้
๒๒
๗. ข้อความดังกล่าวจัดเป็นงานเขียนประเภทใด ก. ต ารา
ข. สารคด ี ค. บันเทิงคดี ง. ชีวประวัต ิ
๘. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น ก. เขาจะให้เราเอารูปไปใส่ในแสตมป์ที่ระลึกของงานอภิเษกได้ด้วย ข. เราไปอยู่ที่สถานที่ที่เขาจัดให้สื่อจากท่ัวโลกมายืนอยู่ด้วยกัน ค. ใครอยากได้มุมไหนก็ยืนตามอัธยาศัยเพียงแต่ให้อยู่ในเขตที่บอกเท่านั้น ง. เรามีของขวัญเป็นหุ่นกระบอกใส่ชุดไทยสวยงามวิจิตรบรรจงอยู่ในตู้กระจก
๙. ข้อใดอธิบายทักษะในการเขียนสื่อสารได้ถูกต้อง ก. การใช้ค าซ้ าซ้อนเพื่อก่อให้เกิดความรู้สึกสนใจแก่ผู้อ่าน
ข. การรู้จักค าและเลือกใช้ค าให้ถูกต้อง เหมาะสมและตรงความหมาย ค. การใช้ค า ข้อความให้เกิดความก ากวมเพ่ือสร้างความสงสัยให้แก่ผู้อ่าน
ง. การใช้ค าสมัยใหม่เพื่อให้เกิดภาพพจน์ เสียง และและความรู้สึก
๑๐.เพราะเหตุใด ผู้เขียนควรให้ความส าคัญกับเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ ในการเขียน ก. เพื่อสร้างความสนใจในเรื่องที่เขียนแก่ผู้อ่าน
ข. เพ่ือให้ผู้อ่านได้พักสายตาในการอ่านเรื่องน าเสนอ ค. เพ่ือให้ผู้อ่านอ่านได้สะดวก และเป็นการป้องกันความเข้าใจผิดได้
ง. เพ่ือช่วยให้ผู้อ่านได้พิจารณาความเหมาะสมถูกต้องของเรื่องที่เขียน
๒๓
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๓). หนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทยหลักภำษำ
และกำรใช้ภำษำเพื่อกำรสื่อสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี ๖.
กรุงเทพฯ : ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
______ . (๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
ส านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
กิตติชัย พินโนและคณะ. (๒๕๕๔). ภำษำกับกำรสื่อสำร. พิมพ์ครั้งที่ ๒.
กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชมัยพร เหมะรัชตะ. (๒๕๕๕). กำรค้นคว้ำและกำรเขียนรำยงำน. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑.
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธนู ทดแทนคุณ และกานต์รวี แพทย์พิทักษ์. (๒๕๕๒). ภำษำไทยเพื่อกำรสื่อสำร.
พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ.๒๕๔๒.
กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
สุวิทย์ มูลค าและสุนันทา สุนทรประเสริฐ.(๒๕๕๐). กำรพัฒนำผลงำนทำงวิชำกำร
สู่กำรเลื่อนวิทยฐำนะ. กรุงเทพฯ : อีเคบุ๊คส์.
โสภณ สาทรสัมฤทธิ์ผล. (๒๕๕๑). ภำษำไทยเพื่อกำรสื่อสำร. พิมพ์ครั้งที่ ๕.
กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ลเอ็ดดูเคชั่น.
บรรณำนุกรม
๒๔
ภำคผนวก
๒๕
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดที่ ๑ ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกำรเขียนสื่อสำร
ข้อที่ ค ำตอบ
1 ง
2 ค
3 ก
4 ก
5 ข
6 ค
7 ค
8 ข
9 ข
10 ง
๒๖
ตอนที่ ๑ ค ำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกให้ท าเครื่องหมายถูก (✓) ให้ท าเครื่องหมายกากบาท (X) หน้าข้อที่ผิด
X ๑. การเขียนสื่อสารเป็นทักษะที่มีความส าคัญน้อยมาก X ๒. ผู้เขียนไม่จ าเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องการเขียนสื่อสาร ✓ ๓. เครื่องมือส าคัญอย่างหนึ่งในการสื่อสารคือการเขียน ✓ ๔. การเขียนสื่อสาร คือทักษะในการใช้ภาษาออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร ✓ ๕. การจินตนาการเป็นสิ่งหนึ่งที่ใช้ประกอบในการเขียนสื่อสาร ✓ ๖. การเขียนช่วยส่งเสริมให้สังคมมนุษย์มีการพัฒนา ✓ ๗. วรรณคดีเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดวัฒนธรรม ✓ ๘. มนุษย์ใช้การเขียนเป็นเครื่องมือช่วยสนองความต้องการ ✓ ๙. การเขียนเป็นการสื่อสารที่คงทนถาวร สามารถตรวจสอบได้ ✓ ๑๐. เรารู้ประวัติศาสตร์ของชาติได้จากการบันทึก
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๑
๒๗
ตอนที่ ๒
๑. การเขียนสื่อสาร หมายถึงอะไร
ตอบ การแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกและประสบการณ์ของผู้เขียนออกเป็น
ลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจ
๒. การเขียนอะไรก็ตาม ผู้เขียนมักจะอาศัยอะไรบ้างประกอบในงานเขียนของตน
ตอบ ความรู้ ความคิด ความรู้สึก ประสบการณ์ และจินตนาการ
๓. ระบุความส าคัญของการเขียนสื่อสาร
ตอบ ๑. การเขียนเป็นเครื่องมือสื่อสารของมนุษย์ที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
และสติปัญญาต่อกันและกัน
๒. การเขียนเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดวัฒนธรรม เป็นมรดกด้านภูมิปัญญาของมนุษย์
๓. การเขียนช่วยเผยแพร่ความรู้ ความคิด และข่าวสารได้อย่างกว้างไกล
และรวดเร็ว
๔. การเขียนเป็นการบันทึกทางสังคมที่มีคุณค่า อ านวยประโยชน์
อย่างมหาศาลแก่ชนรุ่นหลังทั้งปัจจุบันและอนาคต
๕. การเขียนสร้างความรักความสามัคคีในมนุษยชาติ เมื่องานนั้นมีความหมายเพื่อสร้าง
ความเข้าใจ ความรักและเป็นงานที่สร้างสรรค์สันติสุขแก่สังคมโลก
๖. การเขียนสามารถยึดเป็นอาชีพที่ส าคัญอย่างหนึ่งในปัจจุบัน
๗. การเขียนสามารถท าให้บุคคลประสบความส าเร็จในชีวิตในหน้าที่การงาน
๒๘
ตอนที่ ๑
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วน าข้อความมาเขียนต่อให้เป็นเรื่องราว
ตามความคิดเห็น(ความยาว ๑๐ บรรทัด)
กาลครั้งหนึ่งมีเศรษฐีคนหนึ่งเป็นคนใจบุญ และบริจาคทานอยู่เสมอข่าวทราบถึงขอทานคน
หนึ่งมีความประสงค์จะขอเงินเศรษฐี ๔๐ บาท เพ่ือน าไปซื้ออาหารขณะเดินผ่านบ้านเศรษฐี
พบเศรษฐีก าลังกราบไหว้พระอยู่ เมื่อไหว้พระเสร็จ เศรษฐีจึงขอพรจากพระด้วยเสียงอันดังว่า
ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในโลกจงช่วยดลบันดาลให้ข้าพเจ้าและครอบครัวจงร่ ารวย มีที่ดิน ๑๐๐ ไร่ บ้าน ๑๐ หลัง เงิน ๑๐๐ ล้าน รถ ๑๐ คันด้วยเถิดพระเจ้าข้า ขอทานได้ยินเศรษฐีขอพรดังนั้นจึงคิดในใจว่า “ท่านเศรษฐีร่ ารวยเพราะเขาไหว้พระแล้วขอพรนี่เอง” เมื่อคิดได้ดังนั้นขอทานคนนี้จึงรีบเดินทางกลับที่พักเพ่ือไปไหว้พระ ขอพรให้ตนเองร่ ารวยเหมือนเศรษฐีบ้าง ระหว่างเดินทางไปก็คิดไปว่า ถ้าเราร่ ารวยเหมือนเศรษฐีเราจะท าอะไรบ้าง คิดไปพลางเดินไปพลางโดยมิทันระวังตัว ทันใดนั้นมีรถมอเตอร์ไซค์คันหนึ่งวิ่งมาด้วยความเร็วสูง คนขับไม่ทันระวังจึงชนขอทานคนนั้น อย่างแรงท าให้เขาล้มหัวฟาดกับพ้ืนถนน คนขับรถมอเตอร์ไซค์ก็กระเด็นตกจากรถสลบไปนาน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นท าให้เกิดเสียงดัง ผู้คนที่เห็นเหตุการณ์ก็รีบวิ่งมาช่วยเหลือ และน าคนเจ็บทั้งสองส่งโรงพยาบาลทันที โชคดีท่ีไม่มีใครบาดเจ็บจนถึงแก่ชีวิต เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนท าให้ขอทานได้คิดว่า การท าอะไรโดยไร้สตินั้นไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย ตั้งแต่นี้เป็นต้นไปเราต้องเป็นคนมีสติ ขยันท างานดีกว่ามาขอทานคนอ่ืน
(อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๒
๒๙
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้มาพอสังเขป (ข้อละ ๕ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน)
๑. จุดมุ่งหมายของการเขียนสื่อสารมีกี่ประการ อะไรบ้าง (๕ คะแนน) ๑.กำรเขียนเพื่อเล่ำเรื่อง คือการเขียนเพ่ือถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เขียน
ประสบมาด้วยตนเอง เช่น การเขียนเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของตนเองที่เรียกว่า อัตชีวประวัติ การเขียนเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวชีวิตของบุคคลอ่ืนที่เรียกว่า ชีวประวัติ การเขียนข่าว และการเขียนสารคดีต่าง ๆ เป็นต้น
๒.กำรเขียนเพื่ออธิบำย คือการเขียนเพื่อบอกวิธีท าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น การเขียนอธิบายวิธีประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องมือต่างๆวิธีใช้ยาหรือการเขียนเพ่ือชี้แจง ไขความ ตอบปัญหาความรู้ หรือความคิดท่ีเข้าใจยาก เช่น การเขียนอธิบายศัพท์ ข้อธรรมะต่าง ๆ เป็นต้น
๓.กำรเขียนเพื่อแสดงควำมคิดเห็น คือการเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็นของผู้เขียนในเรื่องต่าง ๆ เช่น ในเรื่องการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เป็นต้น ๔.กำรเขียนเพื่อโฆษณำ คือการเขียนเพ่ือโน้มน้าว จูงใจ หรือเชิญชวนให้ผู้อ่านสนใจสิ่งที่เขียนแนะน า เช่น การเขียนค าโฆษณา ค าขวัญ เป็นต้น ๕.กำรเขียนเพื่อสร้ำงจินตนำกำร คือการเขียนเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการ ให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกและเห็นภาพตามผู้เขียน เช่น การเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร กวีนิพนธ์ เป็นต้น
๒. ให้นักเรียนบอกองค์ประกอบของการเขียนสื่อสารมาโดยละเอียด (๕ คะแนน)
องค์ประกอบของกำรเขียนสื่อสำร ประกอบด้วย ๑. เนื้อหำ คือ เนื้อเรื่องหรือเรื่องราวที่ผู้เขียนต้องการจะให้ผู้อ่านได้รับทราบ อาจจะเป็น
เรื่องของบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ หรืออาจจะเป็นข้อคิดเห็น จินตนาการ อารมณ์ ความรู้สึก ฯลฯ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างประกอบกันก็ได้
๒. ภำษำ คือ ถ้อยค า ส านวน โวหารต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งรูปแบบตามหลักภาษา และตามความ
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๓
๓๐
นิยมของผู้ใช้ภาษา ในการเขียนเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ผู้เขียนควรค านึงถึงการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับเพศ วัย อายุ ระดับการศึกษา ความสนใจของผู้อ่าน รวมทั้งค านึงถึงกาลเทศะและรูปแบบในการน าเสนอด้วย
ค ำชี้แจง ให้นักเรียนเปลี่ยนภาษาในประโยคต่อไปนี้ให้เป็นภาษาทางการ
(ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๕ คะแนน)
๑. คุณตาและคุณยายของนุศราตายหมดแล้ว คุณตาและคุณยายของนุศราถึงแก่กรรมหมดแล้ว ๒. ในช่วงปิดเทอมวัดต่าง ๆ จะมีการบวชสามเณรภาคฤดูร้อน ในช่วงปิดภาคการศึกษาวัดต่าง ๆ จะมีการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ๓. เมื่อผู้ชายไทยอายุ ๒๑ ปีเต็มจะต้องไปจับใบด าใบแดงเพ่ือเข้าเป็นทหารเกณฑ์ เมื่อผู้ชายไทยอายุ ๒๑ ปีบริบูรณ์ จะต้องไปรับการคัดเลือกทหารเพื่อเข้าเป็นทหาร กองประจ าการ ๔. ขอเชิญร่วมฟังสวดศพคุณมะลิวัลย์ที่วัดท่าคอย ขอเชิญร่วมฟังสวดพระอภิธรรมคุณมะลิวัลย์ ณ วัดท่าคอย ๕. ในหลวงรับสั่งให้นายกเร่งแก้ปัญหาน้ าท่วมภาคใต้โดยด่วน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับสั่งให้นายกรัฐมนตรีเร่งแก้ปัญหาอุทกภัย ภาคใต้อย่างเร่งด่วน
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ ๔
๓๑
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดที่ ๑ ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกำรเขียนสื่อสำร
ข้อที่ ค าตอบ
1 ก
2 ก
3 ง
4 ค
5 ค
6 ข
7 ค
8 ข
9 ข
10 ค