30
1 1 ชาวฉุกเฉินสบายใจ..ไมถูกฟอง ? ไพศาล ลิ้มสถิตย ศูนยกฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การประชุมวิชาการเวชศาสตรฉุกเฉิน ครั้งที15 “ฉุกเฉินกาวไกล11 กรกฎาคม 2555 2 เนื้อหาการบรรยาย การใหความยินยอมของผูปวยฉุกเฉิน สาระสําคัญของ ... การแพทยฉุกเฉิน .. 2551 ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมในการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบุคลากร ทางการแพทยและสาธารณสุข

ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

  • Upload
    taem

  • View
    499

  • Download
    4

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

1

1

ชาวฉุกเฉินสบายใจ..ไมถูกฟอง ?

ไพศาล ลิ้มสถิตยศูนยกฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรการประชุมวิชาการเวชศาสตรฉุกเฉิน คร้ังที่ 15 “ฉุกเฉินกาวไกล”

11 กรกฎาคม 2555

2

เนื้อหาการบรรยาย

การใหความยินยอมของผูปวยฉุกเฉิน สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551ประเด็นกฎหมายและจรยิธรรมในการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉินขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบคุลากรทางการแพทยและสาธารณสุข

Page 2: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

2

3

มูลเหตุของปญหาความสัมพันธจาก การใหบริการสาธารณสุข (บริการสุขภาพ)

1. รูปแบบของการใหบริการรักษาผูปวยเปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต 2. ภาระงานของบุคลากรทางการแพทย และความคาดหวังของผูปวย

หรือผูรับบริการสาธารณสุข 3. ปญหาทักษะการสื่อสารของฝายผูใหการรักษา(แพทย, พยาบาล)4. การขาดความเขาใจกฎหมายของผูปฏิบัติงาน และกฎหมายที่

ลาสมัย ขาดกลไกระงับขอพิพาทที่เหมาะสม5. การสรางกระแสใหเกิดความกลัว ความหวาดระแวงวา

จะถูกรองเรียน ถูกฟองรองตามกฎหมาย

4

ปฏิญญาวาดวย “สิทธิผูปวย” ของแพทยสมาคมโลก (World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient)

แปลโดย ศ.นพ.วิฑูรย อึ้งประพันธ และนายไพศาล ลิม้สถิตย 3. สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง

ก. ผูปวยมีสิทธิที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองโดยอิสระ โดยที่แพทยจะตองแจงใหผูปวยทราบถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจนั้น

4. ผูปวยท่ีไมรูสึกตัวก. กรณีผูปวยไมรูสึกตัวหรือไมสามารถแสดงเจตจํานงของตนเองได แพทยจะตองไดรับความยินยอมจากผูแทนที่มีอํานาจตามกฎหมายที่ไดรับการอธิบายขอมูลแลว ข. กรณีที่ไมอาจมีผูแทนที่มีอํานาจตามกฎหมาย เมื่อมีความจําเปนรีบดวนที่จะตองใหการรักษาทางการแพทย ใหสันนิษฐานวาผูปวยใหความยินยอมแลว เวนแตเปนที่ชัดเจนและปราศจากขอสงสัยวาจะขัดตอการแสดงเจตนาหรือความคิดเห็นแตเดิมของผูปวย ซึ่งประสงคจะไมใหความยินยอมในสภาพการณเชนนั้น ค. อยางไรก็ตาม แพทยควรจะพยายามชวยชีวิตของผูปวยที่ไมรูสึกตัวในทุกกรณีที่ผูปวยพยายามจะฆาตัวตาย

Page 3: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

3

5

ประกาศสทิธิผูปวย (16 เมษายน 2541)

เพื่อใหความสัมพันธระหวางผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพกับผูปวย ต้ังอยูบนพื้นฐานของความเขาใจอันดีและเปนที่ไววางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงไดรวมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผูปวยไว ดังตอไปนี้

1. ผูปวยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะไดรับบริการดานสุขภาพ ตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนญู

2. ผูปวยมีสิทธิท่ีจะไดรับบริการจากผูประกอบวิชาชพีดานสุขภาพโดยไมมีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกตางดานฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บปวย

6

ประกาศสทิธิผูปวย (16 เมษายน 2541)

3. ผูปวยท่ีขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิท่ีจะไดรับทราบขอมูลอยางเพียงพอและเขาใจชัดเจนจากผูประกอบวชิาชพีดานสุขภาพ เพื่อใหผูปวยสามารถเลือกตัดสินใจในการยินยอมหรือไมยินยอมใหผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพปฏิบัตติอตน เวนแตเปนการชวยเหลือรีบดวนหรือจําเปน

4. ผูปวยท่ีอยูในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิท่ีจะไดรับการชวยเหลือรีบดวนจากผูประกอบวชิาชพีดานสขุภาพโดยทันทีตามความจําเปนแกกรณี โดยไมคาํนึงวาผูปวยจะรองขอความชวยเหลือหรือไม

Page 4: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

4

7

การใหความยินยอมของผูปวยตามกฎหมายคือ พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ 2550

8

มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550

มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรดานสาธารณสุขตองแจงขอมูลดานสุขภาพที่เกี่ยวของกับการใหบริการใหผูรับบริการทราบอยางเพียงพอที่ผูรับบริการจะใชประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไมรับบริการใด และในกรณีที่ผูรับบริการปฏิเสธไมรับบริการใด จะใหบริการนั้นมิได

ในกรณีที่เกดิความเสียหายหรืออันตรายแกผูรับบริการเพราะเหตุที่ผูรับบริการปกปดขอเท็จจริงที่ตนรูและควรบอกใหแจง หรือแจงขอความอันเปนเท็จ ผูใหบริการไมตองรับผิดชอบในความเสียหายหรืออันตรายนั้น เวนแตเปนกรณีที่ผูใหบริการประมาทเลินเลออยางรายแรง

Page 5: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

5

9

มาตรา 8 พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2550 (ตอ)

ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบงัคับกับกรณดีงัตอไปนี้

(1) ผูรับบริการอยูในภาวะทีเ่สี่ยงอันตรายถึงชีวิตและมีความจําเปนตองใหความชวยเหลือเปนการรีบดวน

(2) ผูรับบริการไมอยูในฐานะที่จะรับทราบขอมูลได และไมอาจแจงใหบุคคลซึ่งเปนทายาทโดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ผูปกครอง ผูปกครองดูแล ผูพิทักษ หรือผูอนุบาลของผูรับบริการ แลวแตกรณี รับทราบขอมูลแทนในขณะนั้นได

10

นิยามสําคญัใน พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551

“การแพทยฉุกเฉิน” หมายความวา การปฏิบัติการฉุกเฉิน การศึกษา การฝกอบรม การคนควาและการวิจัยเกี่ยวกบัการประเมิน การจัดการ การบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน และการปองกันการเจ็บปวยที่เกดิขึ้นฉุกเฉิน

“ผูปวยฉุกเฉิน” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหัน ซ่ึงเปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการประเมิน การจัดการและการบําบัดรักษาอยางทันทวงทีเพื่อปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจบ็หรืออาการปวยนั้น

Page 6: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

6

11

ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉิน เรื่อง หลักเกณฑการประเมินเพื่อคัดแยกผูปวยฉุกเฉินและมาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน พ.ศ. 2554

“(1) ผูปวยฉุกเฉินวิกฤต ไดแก บุคคลซึ่งไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามตอชีวิต ซ่ึงหากไมไดรับปฏิบัติการแพทยทนัทีเพื่อแกไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแลว ผูปวยจะมีโอกาสเสียชีวิตไดสูง หรือทําใหการบาดเจบ็หรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้นไดอยางฉับไว

(2) ผูปวยฉุกเฉินเรงดวน ไดแก บุคคลที่ไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการปวยซ่ึงมีภาวะเฉียบพลันมากหรือเจ็บปวดรุนแรงอันจําเปนตองไดรับปฏิบัติการแพทยอยางรีบดวน มิฉะนั้นจะทําใหการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้นหรือเกิดภาวะแทรกซอนขึ้น ซ่ึงสงผลใหเสียชีวิตหรือพิการในระยะตอมาได

12

ประเด็นกฎหมายและจริยธรรมในการบําบัดรักษา ผูปวยฉุกเฉิน

กฎหมายแพง กฎหมายอาญา พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539กฎหมายควบคมุการประกอบวิชาชพีทางสาธารณสุข

Page 7: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

7

13

การฟองรอง รองเรียน

กฎหมายแพง – คาเสียหายกฎหมายอาญา – ความผิดและโทษกฎหมายวิชาชีพ – พ.ร.บ. วิชาชีพวินัย – วินัยขาราชการ

14

การเรียกคาเสียหายกรณีละเมิดมาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอ่ืนโดยผดิ

กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตกด็ี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดกด็ี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

มาตรา 438 คาสินไหมทดแทนจะพึงใชโดยสถานใดเพยีงใดนั้น ใหศาลวินิจฉัยตามควรแกพฤตกิารณและความรายแรงแหงละเมิด

อนึ่งคาสินไหมทดแทนนั้น ไดแกการคืนทรัพยสินอันผูเสียหายตองเสียไปเพราะละเมิดหรือใชราคาทรพัยสินนัน้ รวมท้ังคาเสียหายอันจะพึงบังคับใหใชเพือ่ความเสียหายอยางใด ๆ อันไดกอขึ้นนั้นดวย

Page 8: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

8

15

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่พ.ศ. 2539

“เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหเปนหนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินีด้วย

16

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่

มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาทีไ่มได

ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง

Page 9: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

9

17

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่มาตรา 8 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหม

ทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิด ชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาที่ไดกระทําการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง

สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจํานวนของความเสียหายก็ได

18

หลักความรับผิดทางอาญา

การกระทาํโดยเจตนา

การกระทาํโดยประมาท

Page 10: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

10

19

ความหมายของการกระทําโดยประมาท ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสี่

กระทําโดยประมาท ไดแกกระทําความผิดมใิชโดยเจตนา แตกระทําโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเชนนั้นจักตองมีตามวิสัยและพฤติการณ และผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวานั้นได แตหาไดใชใหเพียงพอไม

20

การคนหาความจรงิวาประมาทหรือไมไมถือวาประมาท

ผลเกิดจากพยาธิสภาพของโรค หรือเหตุแทรกซอนท่ีเปนผลจากการวินิจฉัยตามปกติหรือรักษาโรคตามมาตรฐาน กรณี Reye’s

syndrome

ก้ํากึ่ง เกิดการอุดในเสนเลือดโลหิตระหวางการคลอด (Aminotic fluid embolism) การตดิเชื้อ ทําใหตาย ตายระหวางวางยาสลบ ผาสมองแลวตาย ฯลฯ

คอนขางชัดเจน ฉีดยาผดิ, Kcl ใหเลือดผดิ ลืมเคร่ืองมือไวในทองผูปวย เด็กตกเตียง

Page 11: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

11

21

สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551มาตรา ๒๘ เพื่อคุมครองความปลอดภัยของผูปวยฉุกเฉนิ ใหหนวยปฏิบัติการ

สถานพยาบาล และผูปฏิบัติการ ดําเนินการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามหลักการดังตอไปนี้(๑) ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉนิและจัดใหผูปวยฉุกเฉินไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉิน

ตามลําดับความเรงดวนทางการแพทยฉุกเฉิน(๒) ผูปวยฉุกเฉินตองไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหนวย

ปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลนั้นกอนการสงตอ เวนแตมแีพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉินจะเปนประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวยของผูปวยฉุกเฉินนัน้

(๓) การปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉนิตองเปนไปตามความจํา เปนและขอบงชี้ทางการแพทยฉุกเฉนิ โดยมิใหนําสิทธิการประกัน การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล หรือความสามารถในการรับผิดชอบคาใชจายของผูปวยฉุกเฉินหรือเงื่อนไขใด ๆ มาเปนเหตุปฏิเสธผูปวยฉุกเฉินใหไมไดรับการปฏิบัติการฉุกเฉินอยางทันทวงที

หนวยปฏิบัติการหรือสถานพยาบาลตองควบคุมและดูแลผูปฏิบัติการใหดําเนินการปฏิบัติการฉุกเฉินเปนไปตามหลักการตามวรรคหนึ่ง

22

สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชนในการปฏิบัติการฉุกเฉินใหเปนไปตามหลักการตามมาตรา ๒๘

กพฉ. มีอํานาจประกาศกําหนดในเรื่อง ดังตอไปนี้(๑) ประเภท ระดับ อํานาจหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือขอจํากัดของผูปฏิบัติการ

หนวยปฏิบัติการ และสถานพยาบาล(๒) หลักเกณฑและเงื่อนไขเกี่ยวกบัการปฏิบัติหนาที่ของผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ

และสถานพยาบาล(๓) มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน(๔) หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประสานงานและการรายงานของหนวยปฏิบัติการและ

สถานพยาบาลในการปฏิบัติการฉุกเฉนิ รวมทั้งความพรอมเกี่ยวกับบคุลากร พาหนะ สถานที ่และอุปกรณในการปฏิบัติการฉุกเฉินและการรับผูปวยฉุกเฉนิ

. . .

Page 12: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

12

23

ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉินเรื่อง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔

ขอ ๕ เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายตอผูปวยฉุกเฉิน ซึ่งหากปลอยไวเชนนั้นจะเปนอันตรายตอชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินไดใหสถานพยาบาลมีอํานาจหนาที่ดําเนินการตามมาตรา ๒๘ และมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมทั้งมาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๖ แหงพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ และกฎที่ออกตามกฎหมายดังกลาวโดยอนุโลมตลอดจนกระทําการใด ๆ อันจะมีผลเปนการควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลรายจากอันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นไดอยางทันทวงทีตามสมควรแกกรณี

24

ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉินเร่ือง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔ (ตอ)

ในกรณีที่แพทยใหการรับรองวาการสงตอผูปวยฉุกเฉินจะเปนประโยชนตอการปองกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการเจ็บปวยของผูปวยฉุกเฉินนั้น หรือเกินขีดความสามารถตามนัยแหงมาตรา ๒๘ (๒) แหงพระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานพยาบาลอาจแจงตอหนวยปฏิบัติการที่ปฏิบัติการอํานวยการเพื่อดําเนินการใหสถานพยาบาลอื่นใดที่มีขีดความสามารถเพียงพอรับปฏิบัติการฉุกเฉินแกผูปวยฉุกเฉินรายนั้นตอไดทนัทวงที ทั้งนี้ในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการตามขางตนได ใหแจงตอ สพฉ.

Page 13: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

13

25

ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉินเร่ือง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔

ผูใดเจ็บปวยฉุกเฉินหรือพบผูปวยฉุกเฉินซึ่งอาจเปนอันตรายตอชีวิตหรือการรุนแรงขึ้นของการบาดเจ็บหรืออาการปวยของผูปวยฉุกเฉินนัน้ อันเนื่องจากสถานพยาบาลไมไดปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิแจง สพฉ. หรือผูไดรับมอบหมาย เพื่อดําเนินการใหมีการปฏิบัติการฉุกเฉินตอผูปวยฉุกเฉินนั้นตามสมควรแกกรณี

ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม ให สพฉ. จัดใหมชีองทางสําหรับการแจงดังกลาวไดโดยสะดวกและทันทวงที แลวประชาสัมพันธใหประชาชนทราบ

26

ประกาศคณะกรรมการการแพทยฉุกเฉินเร่ือง ขอกําหนดวาดวยสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๔

ขอ ๗ สถานพยาบาล รวมท้ังผูปฏิบัติการในสถานพยาบาล ที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑเงื่อนไข และมาตรฐานที่ กพฉ. กาํหนด มีสิทธิไดรับการสนับสนุนการปฏิบัติงาน การอุดหนุนการดําเนินการเกีย่วกบัการแพทยฉุกเฉิน หรือคาชดเชยในการปฏิบัติการฉุกเฉินจากกองทุน ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ กพฉ. กําหนด . . .

Page 14: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

14

27

สาระสําคัญของ พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา ๓๑ ปรากฏวา ผูปฏิบัติการ หนวย

ปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลใดไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ เงื่อนไข และมาตรฐานที่กําหนดและการกระทําดังกลาวเปนความผิดตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือระเบียบทีเ่กี่ยวของ ให กพฉ.ดําเนินการอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้

(๑) ตักเตือนเปนหนังสือใหผูปฏิบัติการ หนวยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลนั้นปฏิบัติใหถูกตอง

(๒) แจงเร่ืองไปยงัผูมีอํานาจตามกฎหมายที่มีอํานาจควบคุมการดําเนินการของหนวยปฏิบัติการ เพื่อพจิารณาดําเนินการตามอํานาจหนาที่

(๓) แจงเร่ืองไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการทางวินัยแกผูดําเนินการสถานพยาบาลของรัฐหรือหนวยงานของรัฐ

(๔) แจงเร่ืองไปยังผูมีอํานาจตามกฎหมายเพื่อพิจารณาดําเนินการดานจริยธรรมกับผูปฏิบัติการซึ่งเปนผูประกอบวิชาชีพดานการแพทยและการสาธารณสุข

28

กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุข

(พระราชบัญญัติการแพทย พ.ศ.2466)พ.ร.บ. การประกอบโรคศิลปะ (พ.ศ. 2479, 2542)พ.ร.บ. วิชาชีพเวชกรรม (พ.ศ.2511, 2525)พ.ร.บ. วิชาชีพพยาบาล (พ.ศ.2528, 2540)พ.ร.บ. วิชาชีพเภสัชกรรม (พ.ศ.2537)พ.ร.บ. วิชาชีพทันตกรรม (พ.ศ.2537)พ.ร.บ. วิชาชีพเทคนิคการแพทย (พ.ศ.2547)พ.ร.บ. วิชาชีพกายภาพบําบัด (พ.ศ.2547)

Page 15: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

15

29

พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ พ.ศ. 2528

“การประกอบวิชาชีพการพยาบาล” หมายความวา การปฏิบัติหนาที่การพยาบาลตอบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทาํตอไปนี้(๑) การสอน การแนะนํา การใหคําปรึกษาและการแกปญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย(๒) การกระทําตอรางกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดลอม เพื่อการแกปญหาความเจ็บปวย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟนฟูสภาพ(๓) การกระทําตามวิธีที่กําหนดไวในการรักษาโรคเบื้องตน และการใหภูมิคุมกันโรค(๔) ชวยเหลือแพทยกระทําการรักษาโรค

30

“ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข วาดวยบุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถ่ินอื่นหรือสภากาชาดไทย มอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรมในความควบคุมของเจาหนาที่ซ่ึงเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2539” และ ฉบับที่ 2 (2540)

Page 16: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

16

31

กฎหมายอืน่ ๆ

พ.ร.บ.สุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ.....

32

พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550

มาตรา 12 บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพือ่ยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บปวยได

การดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

เมื่อผูประกอบวิชาชีพดานสาธารณสุขไดปฏิบัติตามเจตนาของบุคคลตามวรรคหนึ่งแลวมิใหถือวาการกระทํานั้นเปนความผิดและใหพนจากความรับผิดทั้งปวง

Page 17: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

17

33

วัตถุประสงคของ living will/ advance directives

เอกสารแสดงเจตจํานงลวงหนาเปนเอกสารที่จัดทําเปน ลายลักษณอกัษรพรอมลายมือชื่อ หรอืเปนคํากลาวตอหนาบคุคลท่ีเปนพยานซึ่งไดบันทึกตามความตองการของเขาเกี่ยวกับการรักษาทางการแพทย ท่ีเขาประสงคหรือไมประสงคจะรับการรักษา เมื่อบุคคลผูนัน้ไมรูสึกตัวหรอืไมสามารถแสดงเจตจํานงของตนเองไดในขณะนั้นSource: The World Medical Association Statement on Advance Directives

34

แนวคิดเรือ่งหนังสอืแสดงเจตนาฯ (Living Will)เปนสิทธิผูปวย ไดรับการรับรองตามปฏิญญาลิสบอนวาดวยสิทธิผูปวย (The World Medical Association Declaration on the Rights of the Patient) (1981, 2005) 10. สิทธิในศักดิ์ศรีของผูปวย

ค. ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับการรักษาพยาบาลในวาระสุดทายอยางมีมนุษยธรรม และมีสิทธิที่จะไดรับความชวยเหลือทุกอยาง เพื่อจะชวยใหผูปวยเสียชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีโดยสงบเทาที่จะทําได

Page 18: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

18

35

ความเขาใจเกี่ยวกับภาวะใกลตายศาสตราจารยแพทยหญิงสมุาลี นิมมานนิตย

เมื่อใกลตาย ความออนเพลียเปนสิ่งที่ควรยอมรับ ไมจําเปนตองใหการรักษาใดๆ สําหรับความออนเพลียที่เกิดขึ้น เพราะจะเกิดผลเสียมากกวาผลดี ควรใหผูปวยในระยะนี้ไดพักผอนใหเต็มที่ คนใกลตายจะเบื่ออาหาร และกินอาหารนอยลง จากการศึกษาพบวาความเบื่ออาหารที่เกิดขึ้นเปนผลดีมากกวาผลเสีย เพราะทําใหมีสารคีโตนในรางกายเพิ่มขึ้น สารคีโตนจะทําใหผูปวยรูสึกสบายขึ้น และบรรเทาอาการเจ็บปวดได

36

“กฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการตามหนังสือแสดงเจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพ่ือยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิต หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บปวย พ.ศ. 2553” (เลม 127 ตอนที่ 65ก ลงวันท่ี 22 ตุลาคม 2553 (มีผลใชบังคับวันท่ี 20 พฤษภาคม 2554)

Page 19: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

19

37

เนื้อหาของกฎกระทรวงคํานิยาม

“หนังสอืแสดงเจตนา” หมายความวา หนังสือซึ่งบุคคลแสดงเจตนาไวลวงหนาวาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่เปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตตนหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บปวย

38

คํานิยาม“บริการสาธารณสุขท่ีเปนไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระ

สุดทายของชีวิตหรือเพือ่ยุติการทรมานจากการเจ็บปวย” หมายความวา วิธีการที่ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมนํามาใชกับผูทําหนังสือแสดงเจตนาเพื่อประสงคจะยืดการตายในวาระสุดทายของชีวิตออกไป โดยไมทําใหผูทําหนังสือแสดงเจตนาพนจากความตายหรือยุติการทรมานจากการเจ็บปวย ทั้งนี้ ผูทําหนังสือแสดงเจตนายังคงไดรับการดูแลรักษาแบบประคับประคอง

Page 20: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

20

39

คํานิยาม“วาระสุดทายของชีวิต” หมายความวาภาวะของผูทําหนังสือแสดง

เจตนาอันเกดิจากการบาดเจบ็หรือโรคที่ไมอาจรักษาใหหายไดและจากการพยากรณโรคตามมาตรฐานทางการแพทยเห็นวา ภาวะนั้นนําไปสูการตายอยางหลีกเลี่ยงไมไดในระยะเวลาอันใกลจะถึง และใหรวมถึงภาวะของผูทําหนังสือแสดงเจตนาที่ไดรับการวินิจฉัยตามมาตรฐานทางการแพทยวา มีการสูญเสียหนาที่อยางถาวรของเปลือกสมองใหญที่ทําใหขาดความสามารถในการรับรูและติดตอส่ือสารอยางถาวร โดยปราศจากพฤติกรรมการตอบสนองใดๆ ที่แสดงถึงการรับรูได จะมีเพียงปฏิกริิยาสนองตอบอัตโนมัติเทานั้น (PVS)

40

Page 21: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

21

41

4242

ประเทศอังกฤษ General Medical Council (GMC)

Withholding and withdrawing life-prolongingtreatments: Good practice in decision-making

This guidance develops the advice in GoodMedical Practice (2006). It sets out the standards ofpractice expected of doctors when they considerwhether to withhold or withdraw life-prolongingtreatments.

Page 22: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

22

4343

ประเทศอังกฤษBritish Medical Association (BMA)

End-of-life decisions: BMA viewsAdvance decisions and proxy decision-makingin medical treatment and research (2007)Withholding and withdrawing life-prolongingmedical treatment: guidance for decisionmaking (3rd edition 2007)

End of life - withdrawing and withholdingartificial nutrition and hydration (2007)

44

ขอเสนอระยะยาว เพื่อแกไขปญหาการฟองรองบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข

Page 23: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

23

45

คดีแพง (121 คดี)

31

19

14116

40

ศาลช้ันตน

ศาลอุทธรณ

ศาลฎีกา

ถึงที่สุด

จําหนาย

ถอนฟอง

ที่มา : กลุมกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

สรุปจํานวนคดีฟองแพทย ตั้งแต ป พ.ศ. 2539 – 2553)(เฉพาะโจทยยืน่ฟองกระทรวงสาธารณสุขและสํานักงานปลัดฯ)

* รวมคดีแพงท่ียังอยูในช้ันศาล 64 คดี

* ทุนทรัพยท่ีฟองประมาณ 739.9 ลานบาทเศษ

* กระทรวงสาธารณสุขชําระตามคําพิพากษาแลวประมาณ 15.7 ลานบาท

คดีอาญา (14 คดี)

3

51

2

1

2

พนักงานสอบสวน

พนักงานอัยการ

ศาลช้ันตน

ศาลอุทธรณ

ถอนฟอง

ถึงที่สุด

46

พ.ร.บ.หลักประกันสขุภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545

มาตรา 41 ใหคณะกรรมการกันเงินจํานวนไมเกินรอยละหนึ่งของเงินที่จะจายใหหนวยบริการไวเปนเงินชวยเหลือเบื้องตนใหกับผูรับบริการ ในกรณีที่ผูรับบริการไดรับความเสียหายที่เกดิขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหนวยบริการ โดยหาผูกระทําผิดมิไดหรือหาผูกระทําผิดไดแตยังไมไดรับความเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด

Page 24: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

24

47

พ.ร.บ.หลักประกันสขุภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545

ขอบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติวาดวย หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข ในการจายเงินชวยเหลือเบื้องตน กรณีผูรับบริการไดรับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2549

ขอบังคับคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติวาดวย หลักเกณฑการจายเงินชวยเหลือเพื่อการชดเชย กรณีผูใหบริการไดรับความเสียหายจากการใหบริการสาธารณสุข พ.ศ. 2550 (ฉ.2, 2551)

48

ปงบประมาณ จํานวนคํารอง (ราย)

ผลการพิจารณา จํานวนเงินชวยเหลือ ตาม ม.41 (บาท)

ไมเขาเกณฑ (ราย)

เขาเกณฑ (ราย)

2547 99 26 73 4,865,0002548 221 43 178 12,815,0002549 443 72 371 36,653,5002550 511 78 433 52,177,5352551 658 108 550 64,858,1482552 810 150 660 73,223,000

สรุปสถิติการจายเงินชวยเหลือเบื้องตน ตามมาตรา 41 แหง พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545

ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

Page 25: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

25

49

จํานวน(ราย)

สรุปสรุปจํานวนเรื่องที่ขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจํานวนเรื่องที่ขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตนและเรื่องอุทธรณและเรื่องอุทธรณ

9912

221

32

443

60

511

58

658

74

810

67

0

100

200

300

400

500

600

700

800

900

2547 2548 2549 2550 2551 2552

เร่ืองขอรับเงินท้ังหมด

อุทธรณ

ที่มา : สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

50สํานักกฎหมาย สปสช. กลุมงานพิทักษสิทธิ 50

จํานวนผูปวยท่ีไดรับความเสียหายและไดรับการชวยเหลือตาม ม.41 (ป46-52)

สาขา ผูไดรับความเสียหาย เสียชีวิต พิการ บาดเจ็บ

กุมารเวชกรรม 262 184 20 58

อายุรกรรม 395 289 36 70

ศัลยกรรม 410 216 69 125

สูตินรีเวชกรรม 1,032(46%) 528(51%) 180(18%) 324(31%)

อ่ืนๆ 166 46 51 69รวม(ยื่นขอ2,742ราย) 2,265(84%) 1263 356 646

Page 26: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

26

51

สรุปผลการจายเงินชวยชดเชยความเสียหายผูใหบริการ ม.18(4)

ป ประเภทเสียชีวติ

ประเภทพิการ

ประเภทบาดเจ็บ

รวม(คน)

จายชวยเงิน(ลานบาท)

2547 1 0 10 11 0.20

2548 5 0 41 46 0.93

2549 0 0 48 48 0.32

2550 2 4 191 197 3.54

2551 2 2 469 473 9.40

2552 3 1 660 664 6.88

รวม 13 7 1,419 1,439 21.29

52

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข

พ.ศ. ....

“รางพระราชบัญญัติคุมครองผูรับบรกิารและผูใหบรกิารที่ไดรับความเสียหายจาก

การบริการสาธารณสุข พ.ศ. .... ”

Page 27: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

27

53

เหตุผลของการเสนอราง พ.ร.บ.คุมครองผูเสียหาย ฯ การใหการชวยเหลือเบื้องตนกบัผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขมีความจํากัด เฉพาะ

ผูใชบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติเทานั้น ไมรวมถึงระบบสวัสดิการขาราชการและระบบประกันสังคม หรือแมแตการใชบริการของโรงพยาบาลเอกชน ทําใหผูไดรับความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุขไมมีทางเลือก ในการดําเนินการที่จะไดรับการชดเชยความเสียหาย

การฟองรองตามกระบวนการยุติธรรม มีปญหาหลายประการ และสงผลตอความสัมพันธของผูประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุขกับผูปวย

การมีกฎหมายคุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข ทีค่รอบคลุมทุกคนโดยมีเปาหมายเพื่อชดเชยความเสียหายที่เกดิขึ้น ลดคดคีวามในการฟองรองและความขัดแยงระหวางแพทยกับคนไข

ดังนั้น เมื่อเกิดปญหาความเสียหายดังกลาวจึงควรใหมีการชดเชยผูเสียหายในเวลาอันรวดเร็ว โดยไมตองพิสูจนความรับผิด และสนับสนนุการพัฒนาระบบความปลอดภัยและการปองกันความเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข รวมทั้งการจัดตั้งกองทุนชดเชยความเสียหายอันเนื่องมาจากการรับบริการ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

54

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....มาตรา ๕ บุคคลผูเสียหายมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตน

และเงินชดเชยจากกองทุนตามพระราชบัญญัตนิี้ โดยไมตองพิสูจนความรับผิด

Page 28: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

28

55

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....

มาตรา ๖ บทบัญญัติในมาตรา ๕ มิใหใชบังคับในกรณดีังตอไปนี้(๑) ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติธรรมดาของโรคนั้น แมมีการ

ใหบริการตามมาตรฐานวิชาชีพ(๒) ความเสียหายซึ่งหลีกเลี่ยงมิไดจากการใหบริการสาธารณสุขตาม

มาตรฐานวิชาชีพ (๓) ความเสียหายที่เมื่อส้ินสุดกระบวนการรักษาแลวไมมีผลกระทบ

ตอการดํารงชีวิตตามปกติ ทั้งนี้คณะกรรมการอาจประกาศกําหนดรายละเอียดเพิ่มเติมภายใต

หลักเกณฑดังกลาวขางตนได

56

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....

มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสรางเสริมความสัมพันธที่ดใีนระบบบริการสาธารณสุข” ประกอบดวย

(๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนประธานกรรมการ(๒) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการคลัง

ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย อธิบดกีรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค และ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ

(๓) ผูแทนสถานพยาบาล จํานวนสามคน(๔) ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานดานคุมครองสิทธิผูบริโภค

ดานบริการสุขภาพ จํานวนสามคน

Page 29: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

29

57

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....

มาตรา ๒๐ “กองทุนสรางเสริมความสัมพันธที่ดีในระบบบริการสาธารณสุข”

มาตรา ๒๑ การจายเงินสมทบของสถานพยาบาลเอกชน

58

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....มาตรา ๒๕ ผูเสียหายอาจยื่นคําขอรับเงินคาเสียหายตามพระราชบัญญัตินี้

ตอสํานักงานหรือหนวยงานหรือองคกรที่สํานักงานกําหนด ภายในสามปนับแตวันที่ไดรูถึงความเสียหายและรูตัวผูใหบริการสาธารณสุขซึ่งกอใหเกิดความเสียหาย แตท้ังนี้ตองไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความเสียหาย

ในกรณีท่ีผูเสียหายถึงแกชีวิต เปนผูไรความสามารถ หรือไมสามารถยื่นคําขอดวยตนเองได ทายาท หรือผูอนุบาล หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งไดรับการมอบหมายเปนหนังสือจากผูเสียหาย แลวแตกรณี อาจยื่นคําขอตามวรรคหนึ่งได

การยนืคําขอตามมาตรานี้จะกระทําดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ท้ังนี้ ตามวิธีการ รูปแบบ และรายละเอียดที่คณะกรรมการกําหนดในระเบียบ

Page 30: ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์

30

59

รางพ.ร.บ.คุมครองผูเสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....

มาตรา ๓๓ การทําสัญญาประนีประนอมยอมความ

มาตรา ๓๘ กระบวนการไกลเกลี่ย

มาตรา ๔๒ การพัฒนาระบบความปลอดภัยและปองกันความเสียหายของสถานพยาบาล

มาตรา ๔๕ การเปดโอกาสใหศาลพิจารณาโทษจําเลยในคดีอาญา โดยศาลอาจไมลงโทษเลยก็ได

60

ขอเสนอระยะยาว เพ่ือแกไขปญหาการฟองรองบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข

1. มีกลไกการพัฒนาระบบบริการและการบริหารความเสี่ยง

2. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การฝกอบรม ที่เนนการใหบริการสุขภาพดวยหวัใจความเปนมนุษย

3. เสนอใหมีกฎหมายเยียวยาผูเสียหายเบื้องตน โดยไมตองฟองศาล

4. ปฏิรูปกลไกควบคุมผูประกอบวิชาชีพ (แพทยสภา) เพื่อใหมีความอิสระ มีความนาเชื่อถือ ปราศจากการครอบงําของกลุมผลประโยชน และไมแสดงตัวเปนคูขัดแยงกับกลุมผูปวยหรือประชาชน