24
แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา 30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท6 แผนการจัดการเรียนรู้ที4 เรื่ออาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) เวลา 4 ชั่วโมง ********************************************* 1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรูว1.2 ม.4 -6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู1. สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต ในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนาเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์ ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. สาระสาคัญ อาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ประกอบด้วยเซลล์ ชนิดยูคาริโอติกเซลล์โดยอาจประกอบด้วยเซลล์เดียว หรือ หลายเซลล์ที่มิได้รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ สามารถทา หน้าที่ของสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนในเซลล์เดียว 1. ไฟลัมโปรโตซัว (PHYLUMPROTOZOA) อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา 2.ไฟลัมคลอโรไฟตา (PHYLUM CHLOROPHYTA) สาหร่ายสีเขียวเช่น สไปโรไจนา (Spirogyra sp.) และ คลอเรลลา(Chlorella sp.)ซึ่งเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง เป็นโปรติสต์กลุ่มใหญ่ที่สุด 3.ไฟลัมคริโซไฟตา (PHYLUM CHRYSOPHYTA) สาหร่ายสีน้าตาล แกมเหลือง ได้แก่ ไดอะตอม 4.ไฟลัมฟีโอไฟตา ( PHYLUM PHAEOPHYTA) สาหร่ายสีน้าตาล เช่น เคลป์( KELP) มีขนาดใหญ่ สาหร่ายที่สาคัญ ได้แกLaminaria sp. และ สาหร่ายทุ่น (Sargassum sp.) 5.ไฟลัมโรโดไฟตา ( PHYLUM RHODOPHYTA) สาหร่ายสีแดง เช่น จีฉ่าย ( Prophyra sp.) และ Gracilaria sp.

แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง รหัสวิชา ว30245 รายวิชาชีววิทยา 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายทางชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง อาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM)

เวลา 4 ชั่วโมง *********************************************

1. มาตรฐาน / ผลการเรียนรู้

ว1.2 ม.4-6/3 สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

ว8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน

ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล ส ารวจตรวจสอบ อภิปราย และสรุป ลักษณะที่เหมือนและแตกต่างกันของสิ่งมีชีวิต

ในอาณาจักรต่างๆ 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และน าเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับการใช้ประโยชน์

ของมนุษย์ ที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

2. สาระส าคัญ อาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ประกอบด้วยเซลล์ชนิดยูคาริโอติกเซลล์โดยอาจประกอบด้วยเซลล์เดียว หรือ หลายเซลล์ที่มิได้รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ สามารถท าหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนในเซลล์เดียว

1. ไฟลัมโปรโตซัว (PHYLUMPROTOZOA) อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา 2.ไฟลัมคลอโรไฟตา (PHYLUM CHLOROPHYTA) สาหร่ายสีเขียวเช่น สไปโรไจนา (Spirogyra

sp.) และ คลอเรลลา(Chlorella sp.)ซึ่งเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง เป็นโปรติสต์กลุ่มใหญ่ที่สุด 3.ไฟลัมคริโซไฟตา (PHYLUM CHRYSOPHYTA) สาหร่ายสีน้ าตาล แกมเหลือง ได้แก่ ไดอะตอม

4.ไฟลัมฟีโอไฟตา (PHYLUM PHAEOPHYTA) สาหร่ายสีน้ าตาล เช่น เคลป์(KELP) มีขนาดใหญ่ สาหร่ายที่ส าคัญ ได้แก่ Laminaria sp. และ สาหร่ายทุ่น (Sargassum sp.) 5.ไฟลัมโรโดไฟตา (PHYLUM RHODOPHYTA) สาหร่ายสีแดง เช่น จีฉ่าย (Prophyra sp.) และ Gracilaria sp.

Page 2: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

6. ไฟลัมมิกไซไมโคไฟตา (PHYLUM MYXOMYCOPHYTA) ราเมือก(SLIME MOLDเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะร่วมกันระหว่างพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่จะด ารงชีพเป็นผู้ย่อยสลาย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นและอธิบาย อภิปรายเกี่ยวกับอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) (K) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) (P)

3. ตระหนักถึงความส าคัญของอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) กับการด ารงชีวิตของมนุษย์ (A)

4. น าความรู้เรื่องอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM)ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน (A) 4. สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 3. ประโยชน์ของอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 5. สมรรถนะส าคัญ 1. ความสามรถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. อยู่อย่างพอเพียง 3. มุ่งม่ันในการท างาน 4. มีวินัย 7. ชิ้นงาน / ภาระงาน ชิ้นงาน : สมุดบันทึก จัดนิทรรศการ ภาระงาน : ใบงานที่ 1 อาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) รายงานอาณาจักรโพ

รติสตา (PROTISTA KINGDOM)

Page 3: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมน าสู่การเรียน 1. ขั้นสร้างความสนใจ

1.1 ให้นักเรียนสังเกตภาพสายวิวัฒนาการของโพรติสต์ (PROTIS) 1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA

KINGDOM) ร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นกับมนุษย์และการน าไปใช้ประโยชน์ 1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งค าถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอาณาจักรโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ 2. ขั้นส ารวจและค้นหา

2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความ

หลากหลายของโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิตและความ

หลากหลายของโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป

3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นและผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด

3.3 ครูตั้งค าถามว่า - สิ่งมีชีวิตที่พบส่วนใหญ่มีขนาดเป็นอย่างไร สามารถดูด้วยตาเปล่าได้หรือไม่ - สิ่งมีชีวิตที่พบมีลักษณะอย่างไร - สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ที่พบเคลื่อนที่ได้หรือไม่ ถ้าเคลื่อนที่ได้มีโครงสร้างใดช่วยในการเคลื่อนที่ - โพรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) มีลักษณะอย่างไร และลักษณะดังกล่าวเหมาะส าหรับ

การด ารงชีวิต อย่างไร 3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นและทดลองลักษณะ รูปร่าง การด ารงชีวิต และความหลากหลายของโพรติสตา (PROTISTA KINGDOM) กิจกรรมรวบยอด 4. ขั้นขยายความรู้ 4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอแนวคิดในการป้องกันปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬ

Page 4: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

4.2 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับอาณาจักร โปรติสตา (PROTISTA KINGDOM)

4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรโปรติสตา (PROTISTA KINGDOM) ไปใช้ประโยชน์

4.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักรโปรติสตา (PROTISTA KINGDOM) 5. ขั้นประเมินผล

5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะท าอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพ่ือนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพ่ิมเติม)

5.2 ให้นักเรียนท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน 5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก

เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพ่ิมเติม 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้

สื่อ 1. ใบงาน 2. ใบความรู้ เรื่อง อาณาจักรโปรทิสตา (PROTISTA KINGDOM) 3. แผนภาพสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

4. แผนภาพวิวัฒนาการของโปรทิสตา (PROTISTA KINGDOM) 5. Power Point เรื่อง อาณาจักรโปรทิสตา (PROTISTA KINGDOM)

วัสดุอุปกรณ์ 1. กล้องจุลทรรศน์ 2. บีกเกอร์ 3. หลอดหยด

แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. ฐานข้อมูล Internet http://www. members.thai.net/krusurnkru.main.htm 3. หนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเติม ชีววิทยา เล่ม 5 4. ชุมชน

Page 5: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

10. วิธีการวัดและประเมินผล 1.) ด้านความรู้

จุดประสงค์ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

1. K - ใบงานที่ 1 - แบบประเมินการท างานกลุ่ม

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

2. P - แบบประเมินการน าเสนองาน

ผ่าน / ไม่ผ่าน ผ่านเกณฑ์การประเมิน 80%

3. A - แบบประเมินคุณลักษณะ

- แบบประเมินสมรรถนะ

ผ่านระดับดีข้ึนไป

11. การน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 11.1 ผู้สอนน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จัดการเรียนรู้ 3 ห่วง ประเด็น

พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน

เนื้อหาสาระ ก าหนดเนื้อหา ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุมาตรฐานตัวชี้วัด เพ่ือให้นักเรียนเกิด K : P : A สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

- จัดเตรียมเนื้อหาให้เหมาะสมกับเวลาและศักยภาพของนักเรียน - มีการเตรียมการสอนล่วงหน้า

กิจกรรมการเรียนรู้ จัดกิจกรรมโดยการสืบค้นข้อมูลและน าเสนอที่เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน สอดคล้องกับเวลา งบประมาณในการท างาน

สอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียนและชิ้นงานมีคุณภาพ พัฒนานักเรียนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด

วิธีการสอนและกิจกรรมที่หลากหลาย สามารถปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์

Page 6: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

3 ห่วง ประเด็น

พอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน

สื่อ / วัสดุอุปกรณ์ - ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน

นักเรียนได้ใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกดิองค์ความรู้

- จัดสื่ออุปกรณ์ สื่อส ารองในการจัดการเรียนรู้ - มีวิธีการคิด ประดิษฐ์สื่ออย่างหลากหลาย

เวลา เวลาที่ก าหนดเหมาะสมกับภาระงาน / ชิ้นงานที่มอบหมาย

รูปแบบกิจกรรมส่งผลให้นักเรียนสามารถท าภาระงาน / ชิ้นงานได้ตามเวลาที่ก าหนด

ใช้เวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและเกิดความคุ้มค่า

การวัดและประเมินผล

ก าหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับภาระงาน ตัวชี้วัดและศักยภาพของนักเรียน

การวัดและประเมินผลสอดคล้อกับมาตรฐานและตัวชี้วัด สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

วางแผนติดตาม ประเมินผลการท างานของนักเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างต่อเนื่อง

ความรู้ 1. ครูมีความรูในหลักสูตรและเนื้อหาสาระ 2. ครูมีความรู้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 3. ครูมีความรู้ในการใช้สื่อเทคโนโลยี

คุณธรรม 1. มีความรับผิดชอบ 2. มีความขยันหมั่นเพียรและอดทน 3. มีความพอเพียง

Page 7: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

11.2 ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ

หลักพอประมาณ หลักมีเหตุผล หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี 1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสมตามศักยภาพ 2. ใช้เวลาในการสืบค้นข้อมูลเหมาะสม 3. ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า 4. ใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและประหยัด

1. วิเคราะห์อาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) 2. รู้จักเลือกแหล่งเรียนรู้ได้เหมาะสม 3. เลือกวิธีการน าเสนอข้อมูลได้เหมาะสม (เอามาจากจุดประสงค์) - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สมรรถนะ

1. ปฏิบัติหน้าที่ได้เหมาะสม ตามศักยภาพ 2. รู้จักการวางแผนการท างานอย่างเป็นระบบ 3. สักเรียนรู้จักการวางแผนในการใช้สื่อเทคโนโลยี

ความรู้

1. ความหมายของอาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) 2. จ าแนกและสร้างเกณฑ์ของอาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) 3. น าความรู้เรื่องอาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM)ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 4. มีความรู้ด้านเทคโนโลยีในการสืบค้น / น าเสนอข้อมูล

คุณธรรม

1. รู้บทบาทและหน้าที่ของตนเอง 2. มีวินัยในการท างาน 3. ความรับผิดชอบ 4. มีความมุ่งม่ันในการท างาน 5. มีความซื่อสัตย์ 6. มีจิตสาธารณะ 7. มีเจตคติในการน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด าเนินชีวิต

Page 8: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

11.3 ประเมินผลลัพธ์ (K : P : A) ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ อยู่อย่างพอเพียง สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ

วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้

(K) - ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน าเสนอได้อย่างคุ้มค่า

- มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี - นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) ที่มีต่อสิงแวดล้อม

-

ทักษะ (P)

- มีกระบวนการในการสืบค้น น าเสนอข้อมูล - เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม

- มีทักษะในการท างาน / สืบค้น - มีความสามารถในการน าความรู้ไปร่วมกันแก้ปัญหา

- ใช้ประโยชน์จากอาณาจักรโปรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) ในสิ่งแวดล้อมอย่างระมัดระวังและคุ้มค่า

ด ารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

ค่านิยม (A)

- ตระหนักถึงผลที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยี - ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

- มีความรับผิดชอบต่อการท างานของกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน - มีความเสียสละ อดทน - เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน

การใช้แหล่งเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

Page 9: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

แบบบันทึกผลหลังสอน

ผลการจัดการเรียนรู้

ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการ การมีส่วนร่วม ปัญหา / อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

ปัญหา / อุปสรรค ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

Page 10: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

ประมวลผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ด้านความรู้

นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ...........

ด้านคุณลักษณะอันพังประสงค์ นักเรียนที่อยู่ในระดับด ี จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับพอใช้ จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... นักเรียนที่อยู่ในระดับปรับปรุง จ านวน ........... คน จากทั้งหมด ........... คน คิดเป็นร้อยละ ........... ลงชื่อ…………….……………….…………………..ผู้สอน (นางสาวพจนีย์ เคยสนิท) …………/……………./………… ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

............................................................................................................... ...............................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นางสาวกรวรรณ งามสม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Page 11: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

ความคิดเห็นของรองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

.......................................................................................... ....................................................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายนันธชัย แย้มโสพิศ) รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อ านวยการ

ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน

ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ

4 3 2 1

จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การวัดผลประเมินผล ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5)

(4 = มากที่สุด, 3 = มาก, 2 = พอใช้, 1= ควรปรับปรุง)

.......................................................................................... ....................................................................................

............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ…………….……………….…………………..

(นายวินัย กรานมูล) ผู้อ านวยการโรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา

Page 12: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

ใบความรู้ เรื่อง อาณาจักรโปรติสตา (Kingdom Protista)

อาณาจักรโปรติสตา ((Kingdom Protista ลักษณะส าคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสต 1. ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ท าหน้าที่ ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue) หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถท าหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่าง อิสระ 2. ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซ่ึงต่างจากพืชและสัตวท่ี์มีระยะตัวอ่อนก่อนท่ีจะเจรญิเติบโตเป็นตัวเต็มวัย 3. การด ารงชีพ มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร (Decomposer) 4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ 5. การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้ 6. การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้ง ชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราด า เป็นต้น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเช่นที่พบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 1. Division Diplomonadida เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria , endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน (Anaerobic environment) ลักษณะ - มีนิวเคลียส 2 อันขนาดเท่ากัน - มี Flagella หลายเส้น ตัวอย่างเช่น Giardia intestinalis : เป็นปรสิตในล าไส้เล็กของคน

Page 13: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

2. Division Parabasala เป็นกลุ่มของโพรทิสต์ที่เป็นเซลล์ยูคารีโอตที่ยังไม่มี organelle คือ ไม่มี mitochondria , endoplasmic reticulum , golgi complex และ centriole เป็นต้น มักอยู่ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน (Anaerobic environment) ลักษณะ - มี Flagella หลายเส้น - มีเยื้อหุ้มลักษณะเป็นรอยหยักคล้ายคลื่น ตัวอย่างเช่น Trichomonas vaginalis : เป็นปรสิตในช่องคลอด Trichonympha : อาศัยอยู่ในล าไส้ปลวกด ารงชีพแบบภาวะพ่ึงพากัน

3. Division Kinetoplastida เป็นโพรทิสต์กลุ่มที่เคลื่อนที่โดยใช้ Flagella ซ่ึงประกอบด้วย Microtubule เรียงกันแบบ 9+2 มีทั้งที่เป็นผู้ผลิตผู้บริโภคและปรสิต ลักษณะ - มี Mirochondria อันเดียวขนาดใหญ่ ภายในมี DNA เรียกว่า Kinetoplast

Page 14: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

- มีทั้งพวกที่ด ารงชีวิตอิสระ และเป็นปรสิต. ตัวอย่างเช่น Trypanosoma sp. - เกิดโรคเหงาหลับ (sleeping sickness) ในแอฟริกามี African tsetse fly เป็นพาหะ - โรค Chagas's disease ในอเมริกาใต้ มี Kissing bug เป็นพาหะ

4. Division Euglenophyta ลักษณะ - มี Chlorplast สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ จึงด ารงชีพเป็นผู้ผลิตเมื่อมีแสง - เก็บอาหารที่สร้างได้ใน Paramylon granules - เมื่อไม่มีแสงก็ด ารงชีพเป็นผู้บริโภค - มีอายสปอต (eye spot) ในการตอบสนองต่อแสง

5. Division Dinoflagellata ลักษณะ - เป็น Phytoplakton ทั้งในน้ าจืดและน้ าทะเล - ส่วนใหญ่อยู่เป็นเซลล์เดียว มีบ้างที่อาศัยอยู่รวมกันเป็น colony - ลักษณะส าคัญคือ มีแผ่น Cellulose อยู่ภายใน ประกอบกันคล้ายเกราะ มีลวดลายสวยงามและมี Flagellum 2 เส้น - บางชนิดมีการสะสมสารพิษ ท าให้ทะเลมีสีแดง เกิดปรากฏการณ์ข้ีปลาวาฬ (red tide) ซึ่งเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ าเป็นจ านวนมาก - บางชนิดอาศัยร่วมกับปะการัง โดยน า CO2 จากปะการังมาสังเคราะห์ด้วยแสง

Page 15: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

6. Division Apicomplexa ลักษณะ - กลุ่มนี้ทุกชนิดเป็นปรสิตในสัตว์ มีโครงสร้างส าหรับแทงผ่ายเซลล์โฮสต์ - ไม่มีโครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ - ตัวอย่างในกลุ่มนี้ ได้แก่ พลาสโมเดียม (Plasmodium) ท าให้เกิดโรคมาลาเรียในคนและสัตว์อ่ืน - malaria เป็นโรคเขตร้อน มียุงก้นปล้องเป็นพาหะเชื้อ Plasmodium ที่ก่อโรคในคนมี 4 ชนิด ได้แก่ - Plasmodium falciparum - Plasmodium vivax - Plasmodium malariae - Plasmodium ovale ในประเทศไทยเชื้อที่พบส่วนใหญ่เป็นชนิด P.falciparum และ P.vivax

Page 16: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

7. Division Ciliophora ลักษณะ - มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่โดยใช้ Cilia - อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีน้ าหรือความชื้นสูง - ตัวอย่างเช่น Stentor , Paramecium , Vorticella - มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเรียกว่า Conjugation

Page 17: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

8.Division Oomycota ลักษณะ - เรียกว่า Egg fungus : water mold, white rust, downy mildews - แตกต่างจาก Stramenopila กลุ่มอ่ืนๆ ตรงที่ไม่มีรงควัตถุท่ีใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง - มีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ ที่ประกอบด้วยหลายนิวเคลียส - ไม่ได้จัดเป็นรา - ส่วนใหญ่ด ารงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายในน้ า - มีบ้างท่ีเป็นปรสิตในพืช เช่น white rust (ราขาวในมันฝรั่ง)

9.Division Bacillariophyta ลักษณะ - เป็นสาหร่ายที่มีสารสีชนิดเดียวกับท่ีพบในสาหร่ายสีน้ าตาล - เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มีผนังเซลล์ประกอบด้วย Silica - ส่วนมากมักสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ - พบมากในแหล่งน้ าจืดและน้ าเค็ม เป็นแหล่งอาหารที่ส าคัญของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ - ซากไดอะตอมที่ตายทับถมกันนาน ๆ เป็น diatomaceous earth เป็นแหล่งรวมของแร่ธาตุและน้ ามัน ซึ่งน ามาใช้ประโยชน์ในการท าไส้กรองและยาขัดต่าง ๆ

Page 18: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

10. Division Phaeophyta ลักษณะ - เป็นสาหร่ายที่มีขนาดใหญ่ และมีโครงสร้างซับซ้อน - สาหร่ายสีน้ าตาล เรียกว่า Seaweed - เกือบทั้งหมดอาศัยอยู่ในทะเล มักอยู่ในกระแสน้ าเย็น - มีความส าคัญต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ าโดยเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยและใช้ในการหลบภัย - มีสารสีน้ าตาลเรียกว่า ฟิวโคแซนทิน - เรียกโครงสร้างรวม ๆ ของสาหร่ายชนิดนี้ว่า Thallus - มีโครงสร้างคล้ายราก เรียกว่า Holdfast - โครงสร้างคล้ายล าต้น เรียกว่า Stipe - โครงสร้างคล้ายใบ เรียกว่า Blade หรือ Lamina ตัวอย่างเช่น สาหร่ายเคลป์ ( Kelp) ซึ่งอาจมีความยาวถึง 60 เมตร สาหร่ายทุ่น ( sagassum sp.) ลามินาเรีย ( Laminaria sp.) พาไดนา ( Padina sp.) ฟิวกัส ( Fucus sp. )

Page 19: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

11. Division Rhodophyta สาหร่ายสีแดง (red algae) มีสารสีไฟโคอีรีทิน (phycoerythrin) แคโรทีนและคลอโรฟิลล์ ต่างจากสาหร่ายกลุ่มอ่ืน บางชนิดไม่มีสารสี เป็นปรสิตกับสาหร่ายสีแดงชนิดอื่นๆ สามารถดูดกลืนแสงสีน้ าเงินและเขียวในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี ส่วนใหญ่จะมีหลายเซลล์ สามารถมีขนาดใหญ่เรียกว่า Seaweed ได้ในลักษณะเดียวกันกับสาหร่ายสีน้ าตาล และที่ส าคัญคือ ไม่มีระยะที่มีแฟลกเจลลา ตัวอย่างเช่น จีฉ่าย หรือ พอร์ไฟรา (Porphyra sp.) น ามาท าเป็นอาหาร สาหร่ายผมนางหรือ กราซิลาเรีย (Gracilaria sp.) ใช้ผลิตวุ้น

12. Division Chlorophyta สาหร่ายสีเขียว (green algae) มีลักษณะคล้ายพืชทั้งในแง่โครงสร้าง ผนังเซลล์และส่วนประกอบของสารสี คือ คลอโรฟิลล์ เอ บีและแคโรทีน ส่วนใหญ่ พบในแหล่งน้ าจืด บางชนิดอยู่ร่วมกับราเป็น lichens เกือบทุกชนิดมีระยะอาศัยเพศ โดยเซลล์สืบพันธุ์ใช้ Flagella 2 เส้นในการเคลื่อนที่ สามารถปรับตัวในที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น หิมะ (watermelon snow) และเชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว ลักษณะ - เซลล์เดียว Chlamydomonas Chlorella (เป็นสาหร่ายสีเขียวเซลล์เดียวที่มีโปรตีนสูง นิยมผลิตเป็นอาหารเสริม) - อยู่รวมกันหลายเซลล์เป็น Colony Volvox - เซลล์รวมกันมีขนาดใหญ่ (Supercell) Caulerpa

Page 20: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

- โครงสร้างเป็น Cell weed Ulva - ไม่มี Flagellum ในการเคลื่อนที่ Spirogyra หรือ เทาน้ า ( ใช้ Ameboid gamete)

13. Division Gymnamoeba ลักษณะ - เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายมาก เช่น Amoeba - ส่วนมากเป็นผู้บริโภค - บางชนิดเป็นผู้ย่อยสลาย (Detritus)

14. Division Entamoeba ลักษณะ - Entamoeba histolytica เป็นปรสิต ก่อให้เกิดโรคบิดมีตัว ผลแทรกซ้อนกันให้เกิดฝีในตับ - Entamoeba gingivalis อาศัยแบบพึ่งพากับคนในช่องปาก เก็บเศษอาหารต่างๆ เป็นเหตุให้มีกลิ่นปาก

15. Division Myxogastrida

Page 21: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

มี 2 ระยะ คือ - ระยะ Plasmodium หากินโดยใช้ Pseudopodium ซ่ึงมีขนาดใหญ่ได้มากเป็นเซนติเมตร เป็นหลายๆเซลล์รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่มากมีหลายนิวเคลียส กินอาหารโดยใช้กระบวนการ Phagocytosis มักมีสารสีซึ่งมักเป็นสีส้มหรือสีเหลือง - ระยะ Fruiting body ระยะที่มีการสืบพันธุ์โดยการแบ่งไมโอซสเพื่อสร้างสปอร์ และมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ 16. Division Dictyostelida - ลักษณะแตกต่างจาก plasmodial slime molds คือ ระยะ จะเป็นเซลล์เดียวไม่ได้รวมกันเป็นเซลล์ขนาดใหญ่ - ในวงชีพมีความแตกต่างกัน

Page 22: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

ใบงานที่ 1

ชื่อ...................................................................................……………. เลขที่.................. ชั้น............... ชื่อหน่วยการเรียนรู้ .............................................................. ชื่อเรื่อง ...........................................................

1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูก าหนดร่วมกัน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. ผลการทดลองลักษณะของโพรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. แต่ละกลุ่มได้ผลการทดลองเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. สิ่งมีชีวิตที่พบส่วนใหญ่มีขนาดเป็นอย่างไร สามารถดูด้วยตาเปล่าได้หรือไม่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. สิ่งมีชีวิตที่พบมีลักษณะอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ที่พบเคลื่อนที่ได้หรือไม่ ถ้าเคลื่อนที่ได้มีโครงสร้างใดช่วยในการเคลื่อนที่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. สรุปผลการทดลองลักษณะของโพรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 23: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง

8. โพรติสต์ (PROTISTA KINGDOM) มีลักษณะอย่างไร และลักษณะดังกล่าวเหมาะส าหรับการด ารงชีวิตอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 9.แนวคิดในการป้องกันปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10. จากภาพ เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่พบในสระน้ าเรียกว่า Chlamydomonas สิ่งมีชีวิตนี้น่าจะ จัดอยู่ในอาณาจักรใด เพราะเหตุใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11. แนวคิดในการน าความเข้าใจเกี่ยวกับอาณาจักรโปรติสตา (PROTISTA KINGDOM) ไปใช้ประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 12. สรุปเกี่ยวกับการศึกษาอาณาจักรโปรติสตา (PROTISTA KINGDOM) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 24: แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ...km.saard.ac.th/files/150331099400528_15110918180429.pdf · 2015-11-09 · แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง