27
e-Library กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาใหเกิดปญญาญาณ พระราชสุทธิญาณมงคล ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๐ P1208 ขอเจริญพรญาติพี่นองพุทธบริษัททั้งหลาย ทั้งฝาย บรรพชิตและคฤหัสถ วันนี้เปนวันธรรมสวนะ วันพระแรม ค่ํา เดือน เดี๋ยวก็จะสิ้นเดือนไปตามลําดับ วันเวลาไวมากรวดเร็ว อยางที่สุด วันธรรมสวนะเราก็ไมวางเวนในการสรางความดี การสรางความดีที่ดีที่สุด ก็คือการพัฒนาใหเกิดปญญาญาณ พัฒนาตัวเอง สะสมบุญใหแกตัวเองเกิดความสุขความสนุก ในการทํางานใหแกตัวเองใหมากที่สุดเทาที่จะมากได การ ทําบุญที่เราสงเคราะหคนอื่นนั้นก็ดีอยู แตกอนที่จะไปสงเคราะห คนอื่นเขา ชวยเหลือคนอื่นเขา ตองชวยเหลือตัวเองใหไดกอน การชวยเหลือตัวเองนั้น เปนการเอาบุญมาใสไวที่จิตใจของตัวเอง ใหเกิดความเจริญรุงเรืองวัฒนาสถาพรกอน แลวคอยจะ สงเคราะหคนอื่นเขา เรียกวาการพัฒนาใหเกิดปญญา เพราะ ปญญามีอยูในตัวเราครบ แตเราไมใชปญญาในตัวเอามาเปน ประโยชนตอตัวเองและสังคมแตประการใด ปญญาในตัวก็ ไดแกการเจริญกรรมฐาน เจริญสติปญญา เจริญสมาธิ ภาวนา เปนตน อันนี้เปนการพัฒนาชีวิตใหเกิดมีความสําคัญ ขึ้น ใชหลักที่พระพุทธเจาสอนมา ประการ คือ ศีล สมาธิ

ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑

ภาคธรรมปฏิบัติ

การพัฒนาใหเกิดปญญาญาณ

พระราชสุทธิญาณมงคล ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๐

P1208

ขอเจริญพรญาติพ่ีนองพุทธบริษัททั้งหลาย ทั้งฝายบรรพชิตและคฤหัสถ วันน้ีเปนวันธรรมสวนะ วันพระแรม ๘ ค่าํ เดือน ๖ เดี๋ยวก็จะส้ินเดือนไปตามลําดับ วันเวลาไวมากรวดเร็วอยางทีสุ่ด วันธรรมสวนะเราก็ไมวางเวนในการสรางความดี การสรางความดีทีด่ทีี่สุด ก็คือการพัฒนาใหเกิดปญญาญาณ พัฒนาตัวเอง สะสมบญุใหแกตัวเองเกิดความสุขความสนุกในการทํางานใหแกตัวเองใหมากที่สุดเทาที่จะมากได การทําบุญที่เราสงเคราะหคนอ่ืนน้ันก็ดีอยู แตกอนที่จะไปสงเคราะหคนอ่ืนเขา ชวยเหลอืคนอ่ืนเขา ตองชวยเหลือตัวเองใหไดกอน การชวยเหลือตัวเองนั้น เปนการเอาบุญมาใสไวที่จติใจของตัวเอง ใหเกิดความเจริญรุงเรืองวัฒนาสถาพรกอน แลวคอยจะสงเคราะหคนอ่ืนเขา เรียกวาการพัฒนาใหเกิดปญญา เพราะปญญามีอยูในตัวเราครบ แตเราไมใชปญญาในตัวเอามาเปนประโยชนตอตวัเองและสังคมแตประการใด ปญญาในตัวก็ไดแกการเจริญกรรมฐาน เจริญสติปญญา เจริญสมาธิภาวนา เปนตน อันน้ีเปนการพัฒนาชีวิตใหเกิดมีความสําคัญข้ึน ใชหลักทีพ่ระพุทธเจาสอนมา ๓ ประการ คือ ศีล สมาธิ

Page 2: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒

ปญญา เรียกวาไตรสิกขา ๓ ตองการใหมีสติ ตองการใหมีความรูจริงในสัมปชัญญะ ใหมคีวามรูความคดิ ใหเกิดมีสติปญญา ใหเกิดทักษะในชวีิตของเขา ใหเกิดความตั้งใจที่จะใชชีวิตเปนประโยชนตอการงานและหนาที่ เปนประโยชนตอการปฏิบัตติน และเปนการที่จะตองฝกปฏิบัติใหเกิดผลโดยประสบการณแกปญหาชีวติของทาน เรียกวาแกนนําทําใหความสําเร็จได การงานก็จะสําเร็จไดอยูตรงน้ัน การเจริญสติปฏฐาน ๔ น้ีเปนทางสายเอกของพระพุทธเจา ก็คอืบําเพ็ญ ศีล สมาธิ ปญญา น่ันเอง สตปิฏฐาน ๔ สําคญัในแนวทางของชีวิต ทําใหชวีิตรุงเรืองวัฒนาสถาพรใหเกิดปญญาแกไขปญหาได กายานุปสสนาสติปฏฐาน จะยืน เดิน น่ัง นอน จะเหลียวซาย แลขวา จะคูเหยียด เหยยีดขา เอาสติยดัเขาไป ทั้งลมหายใจเขาออก เจริญพุทธานุสสติ ธรรมานุสสติ สังฆานุสสติ เจริญภาวนาใหเกิดปญญา ก็สติยัดเขาไปทีล่มหายใจเขาออกที่เรากําหนดวา พองหนอ ยบุหนอ เปนตน ตรงน้ีเปนบทบาทสําคัญชีวิตของทานมาก ที่จะทําใหเกิดปญญาในชีวิตน่ันเอง ชีวติเกดิปญญา ดลบันดาลใหแกไขปญหาชีวิตไดสมปรารถนาทุกประการอยางน้ัน จงึมกีารเดินจงกรม เชน ยืนหนอ ๕ คร้ัง ผูปฏิบัติธรรมจงทําใหจงได ยืนหนอ ๕ คร้ัง ก็คือตจปญจกกรรมฐาน มูลกรรมฐานที่พระภิกษุจะบวชอุปชฌายจะใหกรรมฐานตรงนั้น ก็คือ ยืนหนอ ๕ คร้ัง เบ้ืองต่ําตั้งแตปลายผมลงไป เบื้องบนตั้งแตปลายเทาข้ึนมา ใหมีสตกิลับไปกลับมา เปนการทบทวนชีวติใหจิตมนัวาง ใหจิตมนัวาง ใหจิต

Page 3: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๓

เกิดแสงสวางไปในตัวดวย ตรงน้ีเปนหลักสําคัญแกผูปฏิบัติธรรม ยืนหนอ ๕ คร้ัง บางทานทําไมได ก็จะแกไขปญหาชีวติอะไรไดเลา เบ้ืองต่ําก็ปลายผมลงไป เบื้องบนก็ปลายเทาข้ึน ยืน...หนอ ลงไปแลว ก็จากเทายนืโดยหลับตามโนภาพจากปลายเทาถงึหนอที่ศีรษะไดจังหวะพอด ี ตรงนี้เปนบทบาทสําคัญสําหรับกรรมฐานของมูลกรรมฐาน ตจปญจกกรรมฐาน เรียกวากรรมฐาน ๕ ถาใครทําไดจะรูวาระจิตของตน รูอารมณของคนอื่น รูวาระจิตที่สัมผัสเกิดจติรูนิสัยคนได เปนบทบาทสําคัญที่จะตองกําหนดจดจําไปปฏิบัติใหจงได น้ีเรียกวากายานุปสสนาสติปฏฐาน หลับตาแลวก็ลืมตาดูทีป่ลายเทา สวนมากผูปฏบัิติไปมองที่ผืนดิน มองสูง มองต่ํา ตองมองดูที่ปลายเทาของตนเสมอไป ลืมตา ขวา...ยาง...หนอ...ใหไดจงัหวะ ชาที่สุดเทาทีจ่ะชาได อยาเดินใหยาวอยาเดินใหส้ัน เดนิเฉพาะของใครของมัน ปานกลางของคนที่เดินไปเดินมา อยากาวยาว อยากาวส้ัน แลวก็ตามองดูที ่ ขวา...ยาง...หนอ... ซาย...ยาง...หนอ... ไปตามลําดับ ยางไปถึงสุดทางแลวก็หยุด ชิดเทาหยุด กําหนดกลับหนอ ๆ ๆ กลับไดแลวก็ยนืหนออีก ๕ คร้ัง ตองทําตดิตอกันไป ยืนหนอ ๕ คร้ัง หลับตาดมูโนภาพ ตั้งสติไวใหมั่น ในเมื่อทําไดแลวเราก็ลืมตาดปูลายเทา ขวา...ยาง...หนอ... ซาย...ยาง...หนอ... ไปตามลําดับอยางน้ัน มันจะเปนสมาธิในเมื่อจิตเขาสูสมาธิ ทําใหคุนเคยทําใหคลองแคลวขึ้นมาในการปฏิบัต ิ ดวยการเดินจงกรมกอนเสมอ เดนิไดแลวก็ยอตวัน่ังหนอ ๆ ๆ ลงไป ขวาทบัซาย น่ังสมาธิขัดสมาธิเพชรก็ได ๒ ชั้นก็ได ชัน้เดียวก็ได หรืออาจ

Page 4: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๔

น่ังไมได น่ังบนเกาอีกก็ได ไดทุกวิธีทางที่จะทําไดดวยการปฏิบัติ เปนขึน้หน่ึง ข้ันสอง ข้ันสาม หน่ึงไมไดเอาข้ันสอง สองไมไดเอาข้ันสาม มัชฌิมาปฎิปทาปานกลางที่จะทาํไดก็ทาํตามน้ัน น่ังแลวก็หายใจยาว ๆ จะเดินจงกรมหรือจะน่ังก็ตาม มีอะไรก็ตองกําหนด สวนมากนักปฏบัิติไมกําหนดปลอยใหเลยไปเสียใหหมด เราก็ไมมีสติ ขาดสตมิาก ตองกําหนดทกุอิริยาบถ กําหนดใหละเอียดดวย เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน ขณะเดินจงกรมมีเวทนาก็หยุด อยาเดินตอ กําหนดเวทนาใหหาย เวทนาจะปวดตรงไหนเราก็ปกจิตไปตรงน้ัน กําหนดวา ปวดหนอ ๆ เปนตน กําหนดใหละเอียด เดี๋ยวเกดิข้ึน ตั้งอยู ดับไป เดี๋ยวเวทนาก็แยกรูปแยกนามออกไป แลวเราก็จะไดรูจริงตรงนั้น ทําใหเกิดปญญารูชัดในเวทนานัน้ จะเปนสุขหรือเปนทุกข ดีใจหรอืเสียใจ มันก็แจงแกเราเอง เราก็จะไดทราบดวยปจจัตตัง รูตัวข้ึนมาชดัเจนอยางน้ีเปนตน น่ีแหละทําใหเกิดปญญาตรงน้ัน ไมใชเร่ืองเสียหายแตประการใด แลวเราน่ังก็เชนเดยีวกันมีเวทนาก็ตองกําหนด คิดอะไรไมออกก็กําหนดที่ล้ินปหายใจยาวๆ อยากจะรูวาล้ินปอยูตรงไหน เราก็เอาเชือกวดัตั้งแตจมูกถึงสะดือเราแลวก็พับคร่ึง มันจะตรงลิน้ปของเราพอดี หายใจลึกๆ ยาวๆ กําหนดเสียใจ กําหนดโกรธ กําหนดดีใจ ตองที่ล้ินปน่ัน เวลาเห็นหนอ ก็ตองออกจากหนาผากสงกระแสจิตออกไปอยางน้ัน มันจะไดผลดีข้ึน ไมใชหลับตาวาเห็นหนอ หรือลืมตาวาเหน็หนอเฉยๆ ถาเราสงกระแสจิตถูกแลวมันจะไดผล จําความไดแมน

Page 5: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๕

มันจะไดปญญาตรงการดู ตามีทรัพย หูมทีรัพย เสียงหนอ หูไดยินเสียงเขาดาเขาวาอะไรก็ตั้งสติไว สตปิญญาก็เกิดทางหูคือจิตมันเกิด แลวเดี๋ยวมันก็ดับไปไมมอีะไรที่จะเหลืออยูเลย เราไปเก็บมาเอง ในเมื่อเราเก็บมาแลวจะเกดิประโยชนอันใดเลา ปญญาจะขาดตรงไหน กําไรขาดทนุตรงไหนมันก็จะออกมาอยางน้ันเปนตน อันน้ีมีความหมายอยางน้ัน ในเมือ่เปนเชนน้ีการกําหนดอายตนะธาตุอินทรียก็อยูตรงนั้น กําหนด พองหนอ ยุบหนอ ก็กําหนดลมหายใจเขาออกใหมันไดจงัหวะ หายใจใหยาวเขาไวอยาหายใจสั้น หายใจสั้นมันจะกําหนดไมได พองก็เปนยบุ ยุบก็เปนพอง ขวาเปนซาย ซายเปนขวา เลยไมไดจังหวะ ไมเปนสมาธิ ในเมื่อไมเปนสมาธิแลวจิตมันก็ไมวาง ฟุงซานนานาประการ จติมันก็ออกไปคดิอะไร ไมเปนสมาธิ จิตใจไมเปนกุศล ปญญาก็ไมเกิดข้ึน ปญญาไมเกิดข้ึนแลวส่ิงน้ันก็ไรสาระ เรียกวาฟุงซานออกไปนอกประเด็นน้ันได น่ีตองกําหนดอยางน้ัน ในเมื่อเรากําหนดไดแลวมนัก็คลองแคลววองไว จะไดเปนสมาธิไดงาย แตทานผูปฏบัิติธรรมไมไดกําหนดตรงนั้น บางทีไมสบายใจ เสียใจ ก็ปลอยมันเลยไปซะ ตองกําหนดที่ล้ินปไมสบายใจหนอ หรือเสียใจ โกรธ กําหนดเดี๋ยวมันก็จะหายไปอยาปลอยใหอารมณคาง ถาอารมณคางไวเชาก็ทํางานไมสําเร็จ อารมณไมดีจะทําอะไรก็ไมรับผิดชอบแตประการใด ก็ออกมาทํานองน้ีเปนตน เวทนาก็มี ๓ สุข ทุกข เสียใจ ดีใจ ไมสุขไมทุกข ไมเสียใจ ไมดีใจ ก็เปนเวทนา ตองตั้งสติกําหนดรูหนอๆ ๆ มนัจะไดรูทั่วถึงเหตุการณของชีวิตน้ัน กําหนดที่ล้ินปใหได

Page 6: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๖

คิดอะไรไมออกก็กําหนดที่ล้ินป คิดหนอๆ เดี๋ยวก็คิดออกมาได ตรงนี้เปนหลักปฏิบัต ิ เราจะไดรูเร่ืองวาเกิดอะไรขึ้นมา แตสวนมากผูปฏบัิติธรรมทําไมได ปลอยเลยไปเสยีหมด แลวก็ไมไดกําหนดตรงนั้นดวย แลวปญญาก็ไมเกิด ปญญาไมเกิดแลวการพัฒนาก็ไรผล จิตใจไมเปนบุญไมเปนกุศล ศีล สมาธิ ปญญา ก็ไมเกิดข้ึน เพราะฉะน้ันการพัฒนาตวัปญญาก็คือการพัฒนาจติดวยการเจริญพระกรรมฐาน จิตตานุปสสนาสติปฏฐานน้ัน จิตเปนธรรมชาติตองคดิอานอารมณ รับรูอารมณไวไดเปนเวลานานเหมือนเทปบันทึกเสียง มันเกิดทางอายตนะธาตุอินทรีย ตาเห็นรูปเกิดจิต หไูดยินเสียงเกิดจิต จมูกไดกลิ่นเกดิจิต ลิ้นรับรสเกิดจิต กายสัมผัสรอนหนาวเกิดจิต ตองกําหนด ตั้งสติไวทุกอิริยาบถนั้น มันจะเปนสมาธิ มันจะเปนปญญาในตัวเอง เรียกวา “ปญญาติดมากับตัว ความรูอยูในตํารา ใครสนใจศึกษาในตัวเอง” มีความหมายมาก ทานทําแลวทานจะรูกฎแหงกรรมของทานเอง ทานจะรูวาทานทาํเวรทํากรรมอะไรไว สติมันจะบอกไดทุกเวลา ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน ธรรมเปนกุศล ธรรมเปนอกุศล เราจะรูไดเปนขอที่ ๔ ที่เราทําน้ันมันผิดถูกประการใด อยากจะรูเราก็หายใจยาวๆ กําหนดรูหนอ เปนกุศลหรืออกุศล สติมันจะบอกเรา วาที่ทําไปแลวใชไมไดเปนอกุศลกรรม กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม ๓ มนัก็จะใกลเขามาทําใหเรารูเหตุการณของกฎแหงกรรม จากธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน

Page 7: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๗

ขอที่ ๔ ถึงรวมกันเปนทางสายเอกได แลวเราทําผดิถูกประการใดเรากไ็มทราบ เราจะรูจากการกําหนดจติโดยมสีติปญญาของเราเอง ปญญาติดมากับตัวอยางน้ีเปนตน ก็ขอฝากผูปฏบัิติไวดวยไมสบายก็ตองกําหนด แตแลวมาปฏิบัติกันหลายครั้งก็ไมเขาใจ ไมรูจะกาํหนดตรงไหน ปวดศีรษะก็ไมรูจะกําหนดตรงไหน เครียดเกินไปก็ไมรูจะกําหนดตรงไหน การกําหนดนี้เปนการคลายเครียดไปในตวัดวย ทําใหจิตสงบ ทําใหจิตน่ิง ทาํใหจิตวาง ทําใหจติไมฟุงซาน น่ันแหละถึงจะทําใหเกิดปญญาได จิตมันไมน่ิง จิตไมวาง มันก็ฟุงซานก็เครียด ทําใหความดนัสูง ความดนัตํ่า ทําใหเกิดโรคหัวใจ ทําใหเปนโรคอัมพฤกษ อัมพาต เปนกันมากมาย เครียดไปทาํใหเกิดเปนโรคกระเพาะ โรคลําไส โรคมะเร็งได จะเดินจงกรม ๑ ชั่วโมง ก็ตองน่ัง ๑ ชัว่โมง ใหมันไดจงัหวะ ถาเดินยังไมถงึเวลาที่กําหนดก็อยาออกจากการน่ัง ไมอยางน้ันจะเสียสัจจะ จะทําอะไรก็ไมไดผล ไมไดผลแนนอน เพราะฉะน้ันการเจริญกรรมฐานทําใหเกิดปญญาท่ีจะความคดิ สติปญญาใหความสําเร็จเกิดแกชวีิตได วันน้ีก็จะชี้แจงเรื่องการพัฒนาใหเกิดปญญาญาณจะไดแกปญหาตามสมควรแกอัตตภาพของตน ดวยการเจริญวิปสสนากรรมฐานเทาน้ัน ถาไมเจริญกรรมฐานไมมีสติปญญาแน เราจะมปีญญา ทางเรียนรูตามวิชาการก็ไมสามารถจะแกปญหาชีวิตที่มนัเกิดข้ึนได ไมสามารถจะแกปญหาทุกข ที่มันมทีุกขเกิดข้ึนมาได เพราะฉะน้ันก็ขอใหตั้งใจฟง เร่ืองการเจริญกรรมฐานใหเกิดปญญาแกไขปญหา ไดรูกฎแหงกรรมจากการกระทําของ

Page 8: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๘

ตนบาง มีหลักอยางไรบาง ก็ขอไดติดตามฟงตอไป ณ โอกาสบัดน้ี ขอเจริญพร เจริญสุข โดยทัว่กัน ณ โอกาสบัดน้ี ตอน้ีไปก็จะไดชี้แจงขอหลักเกณฑของการเจริญกรรมฐาน อยางที่กําหนดไวเบื้องตน ทําใหเราเกิดปญญาได รอบรูกองการณสังขาร เปนหัวใจสําคัญของระดับความสําเร็จของชีวิต คนมีปญญานอยจะประสบความสําเร็จนอย คนเจริญกรรมฐานนอยก็สําเร็จนอยเพราะทํานอย คนมีปญญามาก จะเจริญสมาธิไดมากก็มีปญญามากจะประสบความสําเร็จมาก เชนเดยีวกัน ปญญาที่แทจริงน้ันมิใชแตความรูที่รํ่าเรียนมา หรือความเขาใจทีค่ิดไปเอง แตปญญาคือความรูที่เที่ยงตรง แจมชัด และปญญาที่ไดรอบดานในความเปนจริง และรูการบริหารความเปนจริงน้ันใหเกิดประโยชนสูงสุด ไดดวยการเจริญสมาธิภาวนาน้ี ดังนั้น ปญญาจึงมิอาจวัดไดดวยปริญญาบัตร แตสามารถวัดไดดวยความสําเร็จสุขแหงชีวิต หมายความวา ผูมีปญญานั้นไมจําเปนตองจบการศึกษาตามระบบสูง และผูที่จบการศึกษาตามระบบสูงไมไดหมายความวามีปญญาเปนเลิศเสมอไป แตผูประสบความสําเร็จโดยสมควร และมีความสุขอันย่ิงใหญน้ัน คือผูมีปญญายอดเยี่ยมแทจริง ดวยการเจริญกรรมฐานที่มีปญญานั่นเอง เรียกวาปญญาในตวั จากนิยามแหงปญญา ยอมเห็นไดชัดวา ความรูกับปญญา เปนคนละส่ิงกัน ปญญานํามาเพ่ือความรู แตความรูอาจไมกอใหเกิดปญญาเสมอไป บอยคร้ังที่ความรูเปนเพียงขยะ

Page 9: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๙

ขอมูลที่รกความทรงจาํ เชน รูวาเมือ่คืน นาย ก. กับ นาง ข. ทะเลาะวิวาทกัน หรือ รูวาเด็กนอยกําลังถายอุจจาระ หรือ นางสาวงมงายอยากแตงงาน ความรูเหลาน้ีเปนเพยีงขอมลู ไมกอใหเกิดปญญาใด ๆ รูก็สักแตวารู ไมไดทําใหผูรูดีข้ึน หรือผูถูกรูดข้ึีน และไมไดทําใหใครประสบความสําเร็จสุขแตอยางใด การเจริญกรรมฐานทําใหมีสติปญญาและรูกฎแหงกรรม รูการแกไขปญหาไดทุกขณะ แตความรูใดทีก่อใหเกิดความเขาใจในสัจจะ และการบริหารสัจจะใหเกิดประโยชนสูงสุดได ความรูน้ันเปนขอมูลที่มีประโยชน เชน รูวาส่ิงใดก็ตามทีม่ีองคประกอบมาประกอบกันเกิดข้ึน ยอมถกูบีบเคนดวยอํานาจของกันและกัน การบบีเคนทําใหเกิดความแปรปรวน และไมมีเอกลักษณที่แทจริง ความรูเหลาน้ีทําใหเขาใจกฎเกณฑของการกําเนิดภาวะในความมี และคุณคาในความเปน เมื่อเขาใจธรรมชาติเหลาน้ีแลว จงึสามารถบริหารความมคีวามเปนใหเปนประโยชนสูงสุดได น่ีคือ ผลของปญญา กระน้ัน เน่ืองจากความรูและปญญา เปนคนละส่ิงที่เน่ืองตอกัน และเสริมสรางซ่ึงกันและกัน ดงัน้ันเราลองมาพิจารณาการสรางปญญากันตอไป การสรางปญญา ภาวะของปญญาน้ัน คือ รูเทีย่งตรง รูแจมชดั รูรอบ และรูประโยชนสูงสุด เราลองมาดูกันวา เราจะสรางภาวะปญญาไดอยางไร

Page 10: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๐

ความรูเที่ยงตรง การจะมีความรูเทีย่งตรงไดน้ัน ตองทําจิตใหน่ิง เพราะจติที่ไมน่ิง จะกอใหเกิดความรูที่ไมเทีย่งตรง ตัวอยางเชน เมื่อเราขับรถยนตอยูบนถนนดวยความเร็ว ๖๐ กม./ชม. เหน็รถแลนสวนทางมาดวยความเร็ว ๕๐ กม./ชม. เราจะรับรูวารถคนัน้ันแลนเร็วมาก และอีกไมนานเราพยายามแซงรถคันหน่ึงซ่ึงแลนดวยความเร็ว ๕๐ กม./ชม. เราจะรับรูวารถคันน้ีแลนชามาก ความรูในความเร็วของรถทั้งสองคันซ่ึงเทากันน้ันไมเทากัน เพราะการรับรูในขณะที่เคล่ือนที่ทําใหความรูบิดเบือน ในทํานองเดียวกันหากจิตเคล่ือนที่ ฟุงซาน ไมน่ิง จิตไมสงบเคล่ือนที่ดวยอารมณชอบ ชัง อยาก ไมอยาก การรับรูใด ๆ ในภาวะจติไมน่ิงเชนน้ียอมเกิดความรูทีบิ่ดเบือนเชนกัน เชน ยามชอบแมเขาชั่วกเ็ห็นวาเขาดี ยามชังแมเขาดก็ีเห็นวาเขาชัว่ ความรูที่เทีย่งตรงนั้นมีลักษณะดังน้ี รูความจริงโดยความเปนจริง รูความเท็จโดยความเปนเท็จ รูความดีโดยความเปนความด ี รูความชั่วโดยความเปนความช่ัว รูความมีประโยชนโดยความเปนความมีประโยชน รูความมีโทษโดยความเปนความมโีทษ รูความเปนไปไดโดยคงไวตามเดิมความเปนไปได รูความเหมาะสมโดยความเปนความเหมาะสม รูความไมเหมาะสมโดยความเปนความไมเหมาะสม

Page 11: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๑

การจะทําจิตใหน่ิงทําไดยากตองฝกบอยๆ กําหนดไปเร่ือยๆ เพ่ือความรูที่เทีย่งตรงนั้น ตองละวางคูทวิลักษณะในธรรมชาติคือ เกิด-ดับ ด-ีชั่ว ชอบ-ชัง ถูก-ผิด เมือ่ละบวกและลบได ใจจึงสงบมั่นคงในความเปนกลางแทจริง และเหน็ภาวะบวกและภาวะลบอยางเที่ยงตรงตามความเปนจริง เมื่อจิตน่ิงในอุเบกขา และรูส่ิงตาง ๆ อยางเทีย่งตรงนั้น เปนคุณสมบัติประการแรกของปญญา ผูที่มจีิตน่ิงจากสมาธิภาวนาและรูโลกอยางเที่ยงตรงนี้ แมอยูในทามกลางความเคล่ือนไหวก็ไมวุนวาย แมอยูทามกลางความหลากหลายอันมากมายก็ไมถกูหลอกหลอนแนนอน เพราะจติเขาจะนิ่งตลอดเวลา ความรูของเขาจงึเที่ยงตรงเสมอ น่ีคือ คนที่มปีญญา จากการเจริญวปิสสนากรรมฐานเทาน้ัน ความรูแจมชดั ลักษณะประการที่สองของปญญา คือ มีความรูแจมชดั การจะมีความรูแจมชัดไดน้ัน ตองทําจติใหสวางในตนเอง ดงัพระพุทธวัจจนะที่วา ดูกรภกิษุทั้งหลาย จิตน้ันปภัสสร แตเศราหมองเพราะกิเลสจรเขามา คําวา จิตปภัสสร น้ัน คือจติมีแสงสวางในตนเอง แตหมองมวัและมดืมนไปเพราะกเิลสครอบงําอยู ไดแก ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความพยาบาท ความตระหนี่ การถือตัว การดูหมิ่นคนอื่น ความริษยา การยกตนขมทาน ความไรมารยาท การโออวด ความกระดาง การแขงดี ความมัวเมา และความประมาท เหลาน้ีคือกิเลสที่ทําใหจิตเศราหมองและมดืมน

Page 12: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๒

ยามจติมืดมนนัน้ จะตกอยูในภาวะ คิดไมออกบอกไมถูก ยามจติหมองมวัน้ัน บางทีก็เหมือนรูๆ อยูแตนึกไมได เมื่ออยูในภาวะจติเหลาน้ี จะคดิอะไร ทําอะไร มันตือ้ตันไปหมด มองชีวติก็ไมรูวาชีวิตคืออะไร เกิดมาทําไมหนอ จะไปไหน แมชีวิตตองการอะไรแนก็ไมรู ยามทําการงาน ก็ไมรูจะจดัการงานอยางไรจึงจะด ี หรือมีความสัมพันธกับใคร ก็ไมรูจะบริหารความสัมพันธอยางไรจงึจะไดเก้ือกูล และยั่งยืน คนที่จิตมดื แมลืมตาอยูก็จิตบอด ดําเนินชีวิตไปตามกระแส กําหนดตัวเองไมได คนทีกํ่าหนดตัวเองไมได คนทีต่ั้งสติไมไดเหมือนคนประสาทเจริญกรรมฐานไมไดแนนอน ควบคุมทิศทางไมได พอมืดมากเขาไมรูแมกระทั้งตนเองคือใคร ก็ไมรูวาตวัเองคอืใคร แลวจะรูไดอยางไรวา ขณะนี้จิตเรามืดหรือสวางเพยีงใด วิธีการตรวจสอบงาย ๆ คือ ลองหลับตาดู หลับตาใหสนิท กําหนดพองหนอง ยุบหนอ หรือหลับตาใหสนิทเอาจิตปกไวที่ล้ินปหายใจยาวๆ ก็ได สําหรับทดสอบตัวเอง ถาหลับตาแลว มดืตือ้ไปเลย แสดงวาจติถูกหอหุมดวยกิเลส จนเขรอะ เลอะเทอะ สูญเสียแสงสวางในตวัเอง จนกลายเปนคนโงอยู ถาหลับตาแลวเห็นแสงสวางแปลบไปมา น่ันแสดงวาจติสวางเปนขณะวาบ ๆ รูอะไรก็รูประเดี๋ยวประดาว รูไมจริงและไมลึกซ้ึง ถาหลับตาแลว เห็นสีตางๆ ตองวิเคราะหวาเปนแสงสีอะไร บางคนนั่งเห็นนิมิตเหน็แสงสีสวางมากแตก็ไมรูอะไรเลย

Page 13: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๓

ถาเปนสีเขียว แสดงวาจิตกําลังมุงมั่นอยูในส่ิงใดส่ิงหน่ึง หรือภาวะใดภาวะหนึ่ง ถาเปนจิตสีสม แสดงวาจิตกําลังเสพปติ หรือความยินดี หรือความรัก ถาเปนสีฟา แสดงวาจติกาํลังครุนคิด ถาเปนสีขุนเหมือนนํ้าซาวขาว แสดงวาจิตกําลังเศราโศก ถาเปนสีมวง แสดงวาจิตกําลังละเอียดออน สุนทรี ถาเปนสีเหลอืง แสดงวาจติกาํลังรูส่ิงใดส่ิงหน่ึง และโปรงอยูดวย ความรูสึกน้ัน เปนตน ถาหลับตาแลว เห็นแสงไรสี สวางสนิท นวลไปทั่ว น้ันคือ แสงจิตตามธรรมชาติทีป่ราศจากอารมณ พรอมที่จะรูส่ิงตาง ๆ ไดอยางชดัเจนและลึกซ้ึง รูสึกแมในรายละเอียด ซ่ึงส่ิงที่จติในภาวะน้ีสามารถรูไดคอื ๑. ความรูในตน ๒. ความรูในมนุษย ๓. ความรูในองคกร ๔. ความรูในงาน ๕. ความรูในสังคม ๖. ความรูในระบบเหตผุล ๗. ความรูในความเปนไปได ๘. ความรูในความเหมาะสม เมื่อจิตสวางน้ันจะรูส่ิงเหลาน้ีโดยชดัลึก คือทั้งแจมชัดและละเอียดละออ เชน เมื่อเห็นผลก็รูเหตุ เมือ่เห็นเหตก็ุรูผล เมื่อ

Page 14: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๔

เห็นคนก็รูภาวะจิตใจของเขา เมื่อมองเขาไปในตัวเราเองก็เขาใจแจมแจงทั้งภาวะ ฐานะ พลัง ขอดอย ขอเดน และวิถกีารพัฒนาสูเปาหมายสูงสุดโดยเหมาะสม เมื่อจะทาํงานก็รูชัดในกลไกของงานโดยละเอียด เมื่อตั้งองคกรก็รูธรรมชาตขิององคกร และการบริหารองคกรใหบรรลุวัตถปุระสงค เมื่อยูในสังคมก็รูการสรางสัมพันธและการวางตวัโดยเหมาะสม จะคดิ จะพูด จะทําอะไรก็รูวาส่ิงใดเปนไปได ส่ิงใดเปนไปไมได ส่ิงใดควรสิ่งใดไมควร จิตที่สวางน้ันจะแจมจาตลอด แมในค่ําคืนจิตก็ยงัสองไสวอยู และรูส่ิงตาง ๆ ทีค่วรรูเสมออยางชัดเจน ความรูรอบ คุณสมบัติประการที่สามของปญญา คือ รูรอบ การจะเกิดปญญารูรอบน้ันตองทําจิตใหสวาง จนอยูเหนือกาละและอวกาศ เมือ่ยูเหนือกาละและอวกาศจึงรูรอบตลอดกาละและสถานที่ คอื รูอดีต ปจจุบัน และอนาคตได รูทัง้ในมิต ิ ธาต ุ มิติทิพย และมิติธรรมได เมื่อจิตสวางแลวจึงรอบรูภาพรวม คอื ๑. รูธรรมชาต ิ ทั้งปรากฏการณ กฎเกณฑ และกลไก ๒. รูโลก ทั้งทีม่า กระแสและแนวโนม ๓. รูระบบ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ วฒันธรรม และเทคโนโลยีและอ่ืน ๆ ๔. รูวงจรชีวติ ทั้งการกําเนิด การดํารงอยู และการตาย ๕. รูมิตติาง ๆ คือรูสัมพันธภาพแหงธาตุ และพลังตาง ๆ ในทกุระดับ

Page 15: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๕

แลวเราจะทําใหจิตวางไดอยางไรเลา โดยปกตแิลวจิตเกิดข้ึนเพราะการปรุงแตงประกอบ เมื่อความมีสองส่ิงมาประกอบกันตั้งแตระดับละเอียดถึงระดบัหยาบ จติจะกําเนิดข้ึนและรับรูการปรุงประกอบกันขึ้นเปนส่ิงใหมน้ัน ตัวอยางเชน ใหทานลองเอาน้ิวหัวแมมอืกับน้ิวชี้จีบเขาสัมผัสกัน จะมีปฏิกิริยาในระหวางจิตเกดิและรับรู เปนความรูสึก เมื่อแยกน้ิวออกจากกัน จิตน้ีดับ และไมรับรูการสัมผัส แตกระแสความรูสึกถูกบันทึกในความทรงจํา และประกอบกันเปนชดุประสบการณ และมวลความรูแลว จะหลอหลอมเปนบุคลิกภาพทางใจของบุคคลน้ัน แลวลองคิดดูเถิด ในรางกายเรานี้ อนุภาคก่ีอนุภาคมารวมกันเปนอะตอมทั้งหลาย อะตอมก่ีอะตอมมารวมกันเปนโมเลกุลทั้งหลาย โมเลกุลก่ีโมเลกลุมารวมกันเปนธาตุทัง้หลาย ธาตุก่ีธาตุมารวมกันเปนสารประกอบทั้งหลาย สารประกอบกี่ตัวมารวมกันเปนเซลลทั้งหลาย เซลลก่ีเซลลมารวมกันเปนเน้ือเยื่อทั้งหลาย เน้ือเยื่อก่ีชุดมารวมกันเปนอวัยวะทั้งหลาย อวัยวะกี่อวัยวะมารวมกันเปนรางกายเรา น้ันเปนเพียงแคโครงสราง เมือ่มีรางกายขึ้นแลว สารเคมีก่ีชนิดที่มาบํารุงเลี้ยง พลังก่ีชนิดที่มาขับเคล่ือนรางกายใหเปนไป น้ันเปนเพียงแครางกาย แลวจิตใจเลาสัมผัสก่ีสัมผัสที่กอใหเกิดความรูสึกทั้งหลาย ความรูสึกและความรูเทาใดทีบั่นทึกอยูในความทรงจํา ความทรงจําและความปรารถนา ความไมปรารถนาเทาใดท่ีสรางความนึกคดิ ความนึกคิดเทาใดท่ีรวมกันเปนตัวตนอันจิตเกาะอยู

Page 16: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๖

จะเห็นไดวา ชีวติเปนผลรวมของรางกายและจิตใจ รางกายก็เต็มไปดวยความซับซอน จิตใจยิ่งสลับซับซอนยิ่งกวา การที่จติยดึถือในส่ิงใดส่ิงหน่ึงเหลาน้ี หรือหลายส่ิงหรือทุกส่ิงน้ันแหละทาํใหจิตไมวาง ดังน้ันการทําจติวางคอื การปลอยวางความมี และการรับรูในความมทีั้งหมด ทรงจติอยูในความไรอันไมมีขอบเขตจํากัด เมื่อน้ันจิตก็จะวาง บุคคลทีจ่ิตวาง และรูรอบไดทุกขณะแลว แมเผชิญภาวะซับซอนก็ไมสับสน ความรูประโยชนสูงสุด คณุสมบัติสูงสุดของปญญาคือ รูประโยชนสูงสุด เพราะถาไมรูประโยชนสูงสุด ชีวิตกจ็ะไมถึงที่สุดแหงวิวฒันาการ หลงวนเวียนอยูกับประโยชนเล็กนอย โทษมาก ไมพบความยิ่งใหญแทจริง เปนทุกขมากกวาเปนสุข หรือเปนสุขเปนทุกขสลับกันไปจนจติใจเศราหมอง เชน หากปญญาไมถึงที่สุด ไมรูวาประโยชนสูงสุดของการเกิดคืออะไร ก็จะหลงการเกิดและไมไดประโยชนยิ่งใหญจากการเกิด หากไมรูวาประโยชนสูงสุดของการตายคอือะไรก็จะหลงตายและไมไดประโยชนยิ่งใหญจากความตาย หากไมรูวาประโยชนสูงสุดของความร่ํารวยคืออะไร ก็จะหลงความรํ่ารวยและไมไดประโยชนยิ่งใหญจากความรํ่ารวยนั้น หากไมรูวาประโยชนสูงสุดของการมีอํานาจคืออะไร ก็จะหลงอํานาจและไมไดประโยชนยิ่งใหญจากอํานาจน้ัน หากไมรูวาประโยชนสูงสุดของความมชีื่อเสียงคืออะไร ก็หลงชื่อเสียงและไมไดประโยชนยิ่งใหญ

Page 17: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๗

จากการมีชื่อเสียงน้ัน หากไมรูวาประโยชนสูงสุดของความสุขคอือะไรก็จะหลงความสุข และไมไดประโยชนยิ่งใหญจากความสุขที่มี หรือ หากไมรูวาประโยชนสูงสุดของความทุกขคืออะไรก็จะหลงเปนทุกขและไมไดประโยชนยิ่งใหญจากการเปนทกุขน้ัน คนทีไ่มรูจักประโยชนในธรรมชาติมักดําเนินชีวิตอยางขาดทุน เชน ยามเปนทุกข ก็มัวแตรํ่ารวย โวยวาย สรางความเสียหายเพ่ิมเติมใหมากขึ้นไปอีก บางกับฆาตัวตายไปเลย เพราะไมรูจักใชประโยชนจากความทกุข เปนตน อยาลืมวาทุกอยางมทีัง้คุณประโยชน มีโทษ และความเปนกลาง อยูในตัวมันเอง หรือแมรูประโยชนสูงสุดของแตละส่ิง แตไมรูวาประโยชนสูงสุดของชีวิตคืออะไร องคประกอบที่กลาวมาทั้งหมดน้ันมคีาตอการสรางชีวติใหถึงที่สุดไดแคไหน ควรจดัสัดสวนความสําเร็จในแตละองคประกอบอยางไรจึงจะไดประโยชนแกชีวติสูงสุด เสมือนการกอสรางอาคาร วิศวกรตองคํานวณแรงและการรับนํ้าหนักของวัสดุองคประกอบทุกชนิดใหเหมาะสม หากมากเกินไปก็ส้ินเปลืองและสูญเสียโอกาสในการสรางประโยชนอ่ืน ๆ หากนอยเกินไปก็เส่ียงตอหายนะ ดังน้ันการจัดสัดสวนองคประกอบในชีวิตที่เหมาะสม จะทําใหสามารถสรางชีวิตแหงความสําเร็จได หากไมรูภาพรวมแหงชีวิตเชนน้ี ก็มักจะไปหลงอยูในมุมใดมุมหน่ึงของชีวติ และชวีิตก็ไมถึงที่สุดสักที เพราะไมมีปญญาแทงตลอดในชีวิตน้ันเอง

Page 18: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๘

การจะรูประโยชนสูงสุดไดน้ัน ตองทําจติใหแทงตลอด เชน กายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจติ ธรรมในธรรม การที่จิตจะแทงตลอดไดน้ันตองทําจิตใหเปนอิสระจากทกุส่ิง การที่จิตจะเปนอิสระ จากทุกส่ิงแทจริงและมีประสิทธิภาพทางปญญาสูงสุด จะตองรวมคณุสมบัติของจติทั้งสามประการขางตน คือ จิตน่ิง จิตสวาง และจิตวางเขาดวยกันขณะจิตเดียว คร้ันแลวพิจารณาวา แมความน่ิง แสงสวางและความวางก็ไมเปนตน ไมใชภาวะแทจริงของใคร คลายการยึดถือในภาวะอันปราณีตน้ันเสีย จิตก็จะเปนอิสระแทจริงแทงตลอดสรรพสิ่งทั้งความวาง ความม ี ในความสวาง ในความมืด ในความนิ่ง และในความเคล่ือนไหว ส่ิงที่สําคัญอยางยิ่ง จิตอิสระน้ีจะตองมีคุณสมบัติ น่ิง สวาง วาง ที่สมบูรณกอน หาไมแลวจะไมอาจแทงตลอดได และการไมยึดถอืความนิ่ง ความสวาง และความวาง มิไดหมายถงึการหวนกลับไปสูความไหว ความมดื และความหมกมุนในความมีอีก แตเปนการกาวจากความน่ิง ความสวาง และความวาง เขาสูพุทธภาวะ คือ ความเปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน อยางไรขอบเขตจํากัด ดังน้ัน ตอนจะเปนดังน้ี ละความวุนเขาสูความน่ิง แตความน่ิงน้ันมีหลายระดับ น่ิงบางระดบัยังมดืตื้อ บางระดับก็โลงแตแคบเปนอุเบกขัง ไมใชอุเบกขา ดังน้ันตองทําจิตน่ิงน้ันใหสวางตอไป แตความสวางน้ันก็มีหลายระดับ สวางอยางมีความจาํกัดจนกระทั้งถึงไรความจํากัด สวางเปนจดุจนกระทั้งถึงสวางไปทั่ว สวางอยางจากระจายจนกระทั้งถึงสวางสนิท

Page 19: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๑๙

สม่ําเสมอ เราตองพัฒนาจิตสวางใหสวางสนิทสม่ําเสมอไปทั่วทุกอยางไรความจาํกัด ซ่ึงการจะทําใหเกิดภาวะเชนน้ีไดอยางรวดเร็ว คือการเขาสูจิตวาง แตการอยูในความวางก็ยังมีหลายระดับ ความปราณีต คือจิตวางและยึดมั่นความวางอยู จิตแบบน้ีจะไมอยากออกจากความวางไปไหน ยามมีความเคล่ือนไหวแมเล็กนอยก็จะเหนื่อยมากเพราะการยดึถือน้ัน หรือจิตวางแลวกําหนดรูความวางอยู จิตแบบนี้คลายการยดึมั่นลงไปบางแตตองคอยระวังตวัอยูตลอดเวลา เพ่ือรักษาภาวะวางไว มฉิะน้ันจะหลุดไปสูความมี หรือที่สุดคอืจิตที่เคยชินกบัความวางแลว และไดเรียนรูวา แมความวางก็ไมเปนตนไมเทีย่งมคีวามมีเปนภาวะตรงขาม แลวปลอยวางการยึดถือในความวางน้ัน จติกาวเขาสูภาวะพทุธะที่เบิกบานอยางไรขอบเขต ตื่นตัวสมบรูณแบบ และรูแจงแทงตลอดทุกส่ิงได ตั้งแตตนจนจบจึงมองเห็นประโยชนสูงสุดแหงชีวติ การดําเนินชีวิตจึงเปนไปเพื่อประโยชนสูงสุดอยางแทจริง

ปญญาในการใชปญญา เมื่อสรางปญญาใหเกิดข้ึน จงชื่อวาเปนผูมปีญญา คือ รูตรง รูชดั รูรอบ และรูประโยชนสูงสุดแลว ในขั้นตอไปคือ การมีปญญาในการใชปญญาน้ันอีกชั้นหน่ึง คนเปนจํานวนมากรูดีวาส่ิงใดถูก ส่ิงใดผิด อยางไรควร อยางไรไมควร แตก็ไมสามารถรักษาตนใหอยูกับส่ิงที่ด ี หรือควบคุมตนใหทาํเฉพาะสิ่งที่ควรได เมื่อไมสามารถเพราะขาดปญญาในการใชปญญาก็จะหาเหตุผลเขาขาง

Page 20: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๐

ตนเอง ซ่ึงทําใหปญญาทีมี่อยูเดมิถูกบดิเบอืนหลอกตัวเอง และคอย ๆ กลายเปนคนโงมากขึ้นทุกทีโดยไมรูตัว ดงันั้นเมื่อมีปญญารูวาอะไรควร อะไรไมควรแลว ควรนําปญญาน้ันมาใชใหเกดิประโยชนแกชีวิตทันทีดวยกลไกของปญญาในการใชปญญา ปญญาในการใชปญญาน้ันมีสองประการคือ ๑. ปญญาในการนําความรูแทมาปรับชีวิต ๒. ปญญาในการผสมผสานชีวิตใหเขากับสัจจะสูงสุดที่ปญญาไดรูแลว ปญญาในการนําความรูแทมาปรับชีวติ สามารถทําได โดยการแผญาณอันคือ ความรูแทน้ันสูจิตใตสํานึก จิตสํานึก ความนึกคิด คําพูด อิริยาบถ การกระทํา พฤตกิรรม และวิถีชีวิตใหความรูแทกํากับชีวิตโดยเบ็ดเสร็จเดด็ขาด มิเชนน้ัน จิตใจอาจอิดออดเพราะเคยชินเกาหรือไหวหวัน่เพราะสิ่งเราอันยั่วเยาภายนอกได ปญญาในขั้นน้ีคือปญญาในการพัฒนาตนโดยปรับตั้งแตรากฐานของชีวติออกมา เพราะเมื่อเราจดัการกับรากฐานไดดี ลําตน ก่ิงกาน ใบ ดอก ผล ก็จะดีตามไปดวย ดังน้ันเมื่อเราปลูกฝงปญญาไวที่รากแหงชีวติ ทุกระดับของพฤติแหงชีวติก็จะดตีามไปดวย และเพื่อใหเกิดผลสําเร็จ แผญาณน้ันไปในทุกระดับพฤติแหงชีวติก็จะยิ่งไดผลเร็วและสมบูรณยิ่งขึ้น ปญญาในการผสานชีวิตใหเขากับสัจจะสูงสุด เพ่ือพบสัจจะอนัเปนประโยชนสูงสุดที่ชีวิตจะเขาถึงไดแลว ควรตัง้สภาวะน้ันเปนเปาหมายแหงชีวิต แลวทุมเททุกส่ิงแมชีวิต

Page 21: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๑

เพ่ือสัจจะอันเปนประโยชนสูงสุดนั้น ชีวิตทั้งชีวิตผสานรวมเปนหน่ึงเดียวกับสัจจะสูงสุด และไดรับประโยชนสูงสุดในชีวิตได ปญญาในขั้นน้ีเปนปญญาในการสละสิ่งที่มีประโยชนนอยกวาสูส่ิงที่มีประโยชนสูงกวาจนถึงที่สุด ไดแก สมาธิขั้นกลาง ตัวอยางเชน เบ้ืองตนตามธรรมชาติน้ัน มนุษยทั้งหลายตองการลาภ อันไดแกสรรพวัตถุส่ิงของที่จะอํานวยตอการดํารงอยูและความพึงพอใจในการดํารงอยู เชน ตองการอาหาร ที่อยูอาศัย เคร่ืองนุงหม และยาบาํบัดโรค อันคอืส่ิงจําเปนพ้ืนฐาน เมื่อความตองการพื้นฐานถูกปรุงแตง ตอใหวิจติมากขึ้น ความตองการลาภ อาจแปรปรวนเปนความตองการในอาหารอันอรอย ที่อยูอันหรูหรา เคร่ืองนุงหมด ี ๆ ยาบําบัดโรคด ี ๆ และดนตรีเพราะ ๆ หากความตองการที่ถูกปรุงแตงมาแลว ถูกตบแตงตอใหพิสดารมากขึ้น ความตองการลาภอาจแปรปรวนเปนตองการอาหารชั้นเลิศ ที่อยูอาศัยชั้นเลิศ เคร่ืองนุงหมชั้นเลิศ ยาบําบัดโรคชั้นเลิศ ดนตรีทีซ่าบซ้ึงเราใจ กล่ินที่เยายวนใจ สัมผัสละมุนละไมชวนใหเคลิบเคล้ิมหลงใหล ในชั้นลาภน้ีเปนการปรนเปรอความตองการดานกามคณุแกมนุษยทัว่ไป ตามแตความประหลาดมหัศจรรยของกามารมณที่แตละคนปรุงแตงไวเปนรสนิยม เมื่อเสพกามพอแลว เห็นวายงัไมสาแกใจ เพ่ือใหรสชาติเพียงชัว่วูบ รูสึกแคตอนสัมผัส คร้ันไมสัมผัสก็หมดความรูสึก

Page 22: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๒

จึงตองการความสุขทีถ่าวร และยิ่งใหญกวาเดมิ มนุษยจงึแสวงหาภาวะที่ตนจะอยูไดอยางเปนสุขมากขึ้น และพบวาเกียรตยิศใหความสุขไดลึกซ้ึงกวากาม ยิง่ใหญกวากาม เพราะเกียรตยิศเกิดจากการยอมรับของชนจํานวนหน่ึง จึงเกดิได แกการที่จะไดเกียรติยศบคุคลตองสละลาภ เพ่ือประโยชนแกคนอ่ืน จึงจะไดรับการยอมรับและปรากฏเกยีรติยศขึ้นได ทานหรือการสละทรัพยเพ่ือเกื้อกูลผูอ่ืนจึงบังเกิดข้ึน เพ่ือแลกกับยศ แตในเร่ืองแปลกเมื่อสละลาภเพื่อยศแลว คร้ันครองยศอยู ลาภก็หล่ังไหลมาเทมาเปนไปโดยธรรมชาติ น่ีเปนการยกระดับความปรารถนาขั้นแรกของมนุษยใหสูงขึ้นอีกลําดับหน่ึง เมื่อครองยศอยูพอประมาณ แลวจะเห็นวายศก็แคน้ันเอง มันมากบัภาระและความเสี่ยง พรอมกับการจับตาดูของผูคนวา เราจะใชยศทําอะไร อยางไร เมื่อไรดีหรือไมเปนประโยชนตอพวกเขาหรือเปลา เมื่อใชยศกระทําการไมเปนไปตามความตองการของเขา เขาก็จะเรียกรองนา ๆ ประการ เมื่อแบกยศนาน ๆ จะเห็นวา ยศน้ันแมจะใหความภาคภูมิแตก็นํามาซ่ึงภาระความจาํกับความวุนวาย ซํ้ายังเปนที่เรียกรองหมายปองของคนทั้งหลาย มนุษยผูมีปญญาจึงแสวงหาความสุขที่ปราณีต ที่เบาสบายกวายศและพบวา สรรเสริญนั้น เปนที่ยอมรับของมหาชนดวยความจริงใจกวา การที่ผูคนสรรเสริญนั้น ทั้งเบาสบาย ไรภาระผกูพัน ไมเหมอืนยศที่ทําใหหนักอึง้ จึงบังเกิดการสละยศ สละตําแหนง และเจริญคณุธรรมอันมีศีล

Page 23: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๓

เปนเบือ้งตน เพ่ือใหชนชื่นชมยินดีวาเปนคนสะอาดไมตองการลาภยศใด ๆ เมื่อดจีริง สะอาดจริง ผูคนก็จะนับถือดวยความจริงใจ กลาวสรรเสริญทั่วไป ทั้งตอหนาและลบัหลัง ยังความแชมชื่นบนัเทิงใจแกผูไดรับการสรรเสริญนั้น แตก็เปนเร่ืองแปลกย่ิงสละยศแลว ลาภยศก็จะย่ิงหลั่งไหลมาเขามาตามธรรมชาติ น่ีเปนผลพัฒนาอกีชั้นหน่ึงของความตองการของมนุษย คร้ันไดรับสรรเสริญไปมาก ๆ นาน ๆ ในที่สุดจะพบวา รสของสรรเสริญน้ันจะชืดและเอียน เพราะคนทั้งหลายมาสรรเสริญคุณสมบัติที่มีอยูในตนบาง ไมมีอยูในตนบาง แมทีม่ีอยูในตนจริง เมื่อตนปฏิบัติเปนปกติ ก็รูสึกเปนธรรมดาไปแลวไมเห็นแปลกวิเศษ ควรแกการสรรเสริญ ในระยะนีจ้ะเอียนสรรเสริญและพบวาเร่ืองอะไร จะตองความสุขไปแขวนไวกับถอยคําของผูอ่ืน ซ่ึงจริงบาง เท็จบาง โดยจงใจบาง ไมจงใจบาง มนุษยจงึแสวงรสอันปราณีตกวาเดิม ก็จะพบวาในสภาวะแหงความสงบที่มีจติตั้งมั่นอยูในใจอันสะอาด ทรงประสิทธิภาพน้ัน มคีวามสุข มั่นคงถาวรยิ่งกวา จงึบังเกิดการประพฤตวิัตรหยุมหยิมเสีย และหนัมาฝกจิต เจริญสมาธิ มีการแผเมตตาเปนตน เมื่อแผเมตตาไดที ่ จะพบวา ความสุขที่มอบความปรารถนาดีใหแกผูอ่ืนดวยใจอันสะอาดน้ี ยิง่ใหญและตั้งมัน่กวาความสุขที่ตองอิงการสรรเสริญจากคนอื่นเปนไหน ๆ จึงทรงอยูในสมาธิระดับตาง ๆ มีเมตตาเปนอาทิ ตามสามารถ แตมหัศจรรยน้ัน ยิ่งสละสรรเสริญ

Page 24: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๔

เพียงใด ลาภ ยศ สรรเสริญ ก็จะหลั่งไหลเทมาตามธรรมชาติแหงดุลยภาพ น่ีคือตัวอยางของการสละสิ่งที่มีคุณนอยกวา เพ่ือกลมกลืนกับส่ิงที่มีคุณมากกวาโดยลําดบั จนถงึที่สุดแหงววิัฒนาการเมื่อใจเราสละส่ิงใดไดแสดงวาอํานาจใจเราอยูเหนือส่ิงน้ัน เราจึงไดส่ิงน้ันมาโดยงายดายไมวาจะปรารถนาหรือไมก็ตาม

การพัฒนาปญญา จากที่อธิบายมาแลว จะเห็นไดวาปญญาเปนส่ิงที่สามารถพัฒนาไดและตองเพียรพัฒนาโดยลําดบั จึงจะไดปญญาท่ียิ่งใหญ ส่ิงที่ควรรูเก่ียวกับการพัฒนาปญญา คือ ระดับของปญญา และการยกระดับปญญา ระดับของปญญา ปญญามีสามระดับ คือ ๑. ปญญาจากการอาน ดู ฟง ๒. ปญญาจากการคิด ๓. ปญญาจากการเหน็ในสมาธิจิต ปญญาจากการอาน ดู ฟง คือความรูที่รับรูความเปนจริงของธรรมชาติ และหรือบทบันทึกหรือคําบอกเลา การเรียนรูธรรมชาติของผูอ่ืน เชน การรับรูโลกแหงความเปนจริง การเรียนในสถาบันการศึกษา และการศึกษาจากตํารา วดีีโอ และอุปกรณอ่ืน ๆ ความรูระดบัน้ีเปนเสมือนขอมูลดิบสําหรับสรางปญญาในระดับตอไป ปญญาจากการคิด เมื่อจิตทาํงานควบกับใจแหงความทรงจําจะสามารถคดิจินตนาไดมากมายบนพื้นฐานขอมูลเดิมตามแรง

Page 25: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๕

ขับของความอยากและความไมอยาก เมือ่นําความรูจากระดับการดู อาน ฟงมาคดิวิเคราะห แยกแยะ เปรียบเทยีบ สังเคราะห และสรุปแลว จะเกิดความรูสัมพัทธเชิงระบบใหม ๆ เกิดข้ึน เสมือนการนําอิฐ หิน ดิน ทราย อันเปนวัตถดุิบมาสรางความสัมพันธเชิงระบบจนเกดิเปนอาคารบานเรือน ถนน เขื่อน ไปตามจินตนาการที่ออกแบบไว ตามวัตถุประสงคแหงปรารถนาน้ันเอง ความรูในระดับน้ีเรียกวา ปญญาจากการคิด จะกอใหเกิดความรูและสรางสรรใหม ๆ มากมาย แตความคดิของมนุษยก็มีความจํากัดโดยตัวมนัเอง ความรูระดับน้ีจึงมีความจํากัดตามศักยภาพการคิดของมนุษยดวย เชน เมื่อเราเห็นรถชนคนตายความคดิทีค่ิดไดก็คือ คนขับ ขับรถประมาท หรือคนเดินเทาประมาท หรือระเบียบจราจรไมดี อาจจะไมมีสัญญาณที่ชัดเจน หรืออาจจะคดิไปถึงความยอหยอนวนัิยในสังคม ความไมปลูกฝงกันในสถาบันการศึกษา ความไมเอาใจใสของรัฐบาล การขาดแคลนงบประมาณ การหลีกเล่ียงภาษขีองประชาชน การคอรัปชัน่ของนักการเมอืง เปนอาทิ แตการคิดจะไมสามารถลวงลึกไปถึงเหตุแหงการตายอันเปนกลไกกรรมสากล ที่เชื่อมโยงสรรพสัตวใหมปีฏิสัมพันธกัน หากความรูจากการคดิสามารถเห็นสายใยกรรมอันเปนเหตุอยูเบ้ืองหลังปรากฏการณทั้งหลายได จะไมมีผูใด ดีใจหรือเสียใจ เพราะการเกิดหรือการตายเลยแมแตนอย แตเพราะความคิดเขาถึงความรูระดบัน้ีไมได จึงยังดีใจ และเสียใจตอเหตุการณทั้งหลายกันอยู แตการรูดวยสมาธิจิต สามารถรูสัจจะแมในระดับละเอียด ปราณีตซอนเรนทั้งหลายได

Page 26: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๖

ดังพุทธวัจจนะที่วา ดกูร ภิกษุทั้งหลาย จติที่เปนสมาธิยอมเห็นทุกส่ิงตามเปนจริง การเหน็ในสมาธิจิตน้ัน จะเห็นสัจจะแท ๆ ที่เปนหรือเคยเปน หรือจะเปน และเต็มไปดวยความเขาใจ โดยไมมีนิยามหรือภาษาเปนความเขาใจลวน ๆ ในความรูชัด คร้ันออกมาสูระดับความคดิก็พออนุมาน สัจจะเหลาน้ันออกมาถายทอดตามภาษาสมมติไดบาง ความรูในสมาธิจิตน้ี เปนปญญาที่ย่ิงใหญที่สุดของมนุษยที่รูไดทกุส่ิง โดยไมจาํกัดกาลหรือสถานที่ การยกระดับปญญา ปญญาทุกชนิดมีความสัมพันธโดยตรงกับสภาวะจติ เพราะจติคือธาตุรู ถารูดีก็เกิดปญญา ถารูไมดีหรือรูไมเปนก็วุนวาย และอาจโงมากข้ึน ดงัน้ันการยกระดบัปญญา จึงสามารถกระทาํไดโดยการปรับสภาวะจิตเปนสําคัญ เมื่อปรับสภาวะจิตดีแลว ตองเลือกประเด็นหลักในการรับรูและเรียนรู ไมใชรับรูไปหมดทุกเร่ือง การรับหมดโดยไมเลือกน้ันในที่สุดจะเละ จึงเรียกกันวารับเละ เมื่อเลือกรับรูโดยสมควรแลว ตอไปจะจัดระบบการรูใหมีประสิทธิภาพ ตั้งแตการรับรู การบันทึกความจาํ การระลึกรู การวิเคราะห การเปรียบเทยีบ การสังเคราะห และการสรุป เมื่อสรุปกฎเกณฑไดจากปรากฏการณใด ตอไปใหพิสูจนขอสรุปน้ันกับ ปรากฏการณตางๆ จนเหตุสัจจะที่ปราณีตขึ้น ชัดเจนขึ้น แมนยําข้ึน

Page 27: ภาคธรรมปฏิบัติ การพัฒนาให เกิด ...ภาคธรรมปฏ บ ต การพ ฒนาให เก ดป ญญาญาณ

e-Library

กฎแหงกรรมเลม ๑๒ - การพัฒนาทําใหเกิดปญญาญาณ ๒๗

ในที่สุดคือการฝกรูโดยไมตองคิด รูไดดวยญาณแหงสมาธิจิต น้ันคือที่สุดของปญญาของมนุษย ผูประสบความสําเร็จยิง่ใหญลวนเปนผูเพียรพัฒนาปญญาอยางตอเน่ือง เพราะเมื่อปญญาไดรับการพัฒนาความสําเร็จก็ถูกยกระดบัดวยเชนกัน การเจริญวิปสสนากรรมฐานเปนการแกไขปญหา และแกกรรม ไดตามสมควร ตามที่ไดชี้แจงมาก็พอสมควรแกเวลา สุดทายน้ี ก็ขอความสุขความเจริญจงมีแกทานทัง้หลาย ขอทุกทานจงเจริญไปดวย อายุ วัณณะ สุขะ พละ ปฏิภาณธนสารสมบัต ิ คิดส่ิงหน่ึงประการใดก็ขอใหสมความมุงมาดปรารถนาทุกประการ เทอญ.