106
ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี วิทูรย บุตรสาระ ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2552

ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเช้ือ

เอชไอว/ีเอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

วิทูรย บุตรสาระ

ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ. 2552

Page 2: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·
Page 3: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บทคัดยอ

ช่ือภาคนิพนธ : ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

ช่ือผูเขียน : นายวิทูรย บุตรสาระ ช่ือปริญญา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) ปการศึกษา : 2551

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ 1) เ พ่ือศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

ตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 2) เพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองขอ งผูต ิดเ ชื้อ เอ ชไอวี / เอ ดส ในอํา เ ภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี 3) เพ่ือศึกษาปจจัยที่สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ผูติดเชื้อฯ ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ท่ีมารับบริการทางการแพทย โรงพยาบาลบางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีในระหวางเดือนเมษายน 2552 ทําการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ จํานวน 150 คน ใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติท่ีใชวิเคราะห ไดแก การแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียลและการวิเคราะหถดถอยพหุ

ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางเปนเพศชายและเพศหญิงมีจํานวนใกลเคียงกัน มีอายุในชวง 31-40 ป มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา อาชีพรับจาง มีรายไดระหวาง 3,001-6,000 บาท สถานภาพสมรสแลว รับทราบวาตนเองติดเชื้อมาไมเกิน 5 ป และเจ็บปวยเล็กนอย (1-2 ครั้ง)

กลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับโรคเอดส และมีการดูแลสุขภาพตนเองในระดับสูง กลุมตัวอยาง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ในระดับดีท้ังในภาพรวมและรายดาน

ไดแก ดานรางกาย ดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ใน

อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ไดแก อายุ การศึกษา และรายได สวนปจจัยท่ีมีไมมีความสัมพันธกับ

Page 4: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

(4)

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ไดแก เพศ สถานภาพ อาชีพ การรับทราบสภาวะการติดเชื้อฯ ความถี่ของการเจ็บปวย ความรูเกี่ยวกับโรคเอดสและความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

ปจจัยท่ีสามารถอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในภาพรวมและดานรางกายไดแก อายุ โดยสามารถรวมอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองได รอยละ 9.9 และ 6.1 ตามลําดับ

ปจจัยท่ีสามารถอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจไดแก อายุ ระดับการศึกษาและรายได โดยสามารถรวมอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองได รอยละ 18.7

ปจจัยท่ีสามารถอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคม ไดแก ระดับการศึกษา โดยสามารถรวมอธิบายความแปรปรวนในพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองได รอยละ 6.2

ขอเสนอแนะจากการศึกษา 1. หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดกิจกรรมสรางความมั่นใจในการใชชีวิตในสังคมใหแก

ผูติดเชื้อฯ เชน การสงเสริมการรวมกลุมผูติดเชื้อฯ ใหสมาชิกไดมีโอกาสพบปะ แลกเปลี่ยนความรูประสบการณ การเจ็บปวยและการรักษาตนเอง รวมถึงการจัดกิจกรรมสันทนาการที่ใหความผอนคลายและความเพลิดเพลินพรอมทั้งไดออกกําลังกาย จัดกิจกรรมการเยี ่ยมบานระหวางสมาชิกเพ่ือชวยกันปรับปรุงซอมแซมสภาพแวดลอมท่ีอยูอาศัยรวมท้ังชวยในการสรางความสัมพันธอันดีของกลุมสมาชิก เปนตน 2. หนวยงานที่เกี่ยวของ ควรจัดกิจกรรมสรางความรูความเขาใจในเรื่อง การดูแลสุขภาพตนเองใหแกผูติดเชื้อฯ โดยเนนกลุมท่ีมีอายุนอย และกลุมท่ีมีการศึกษานอย เพื่อใหเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอยางเหมาะสมยิ่งขึ้น 3. หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดกิจกรรมฝกอาชีพ เพื่อเปนอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในการสรางรายไดใหกับผูติดเชื้อฯ มากขึ้น เชน ชางเสริมสวย ชางตัดผม ชางเย็บผา เปนตน 4. หนวยงานที่เกี่ยวของควรพิจารณาเสริมสรางความตระหนักใหผูติดเชื้อฯ ตองแจงใหคูนอนทราบ เพื่อหาทางปองกันการติดเชื ้อเอชไอวีหรือการตรวจหาเชื้อฯ หลังจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงรวมกัน

Page 5: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

ABSTRACT

Title of Research Paper: Factors Affecting Self Health Care Behavior among HIV/AIDS Infected Persons in Bang Lamung District, Chonburi Province Author : MR. Witoon Bootsara Degree : Master of Arts (Social Development) Year : 2008 This study has three objectives: 1) to explore self health care behavior among HIV/AIDS infected persons in Bang Lamung district, Chonburi province; 2) to examine factors relating to self health care behavior among these HIV/AIDS infected persons; 3) to examine factors with predictive ability on such self health care behavior. The subjects in this study are HIV/AIDS infected persons in Bang Lamung district, Chonburi province, who seek medical services at Bang Lamung Hospital in April 2009. Accidental sampling was employed to obtain 150 samples and questionnaire was used to collect data. Statistical analyses include frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Correlation Coefficient, Point Biserial Correlation Coefficient, and Regression Analysis.

Results showed that the samples comprise similar proportions of males and females, aged between 31-40 years, completed primary education, are hired workers, earn between 3,001-6,000 baht, and were married. They had been awared of their HIV/AIDS infection for no more than 5 years, and experienced mild illnesses (a few times). The samples had high level of AIDS knowledge and self health care.

They are at good level of self health care behavior either overall or each aspect which include physical, psychological, and social environmental aspects.

Factors relating to their self health care behavior of these HIV/AIDS infected persons are age, education, and income, whereas factors not ralating to such behavior are gender,

Page 6: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

(6)

occupational status, infection awareness, frequency of illness, AIDS knowledge and self health care knowledge.

Factors with ability to explain self health care behavior in overall and in physical aspect is age by which can explain 9.9 per cent and 6.1 per cent respectively of the variance in self health care behavior.

Factors that can account for the variance in such behavior in psycological aspect are age, education level, and income that co-explain 18.7 per cent of the variance.

Factors explaining the variance in such behavior in social aspect is education level that account for 6.2 per cent of the variance.

Recommendations 1. Concerned organizations should arrange activities to assure social life of these

infected persons, for instances, fostering their group establishment for meeting, sharing knowledge and experience about illness and self care; arranging recreational activities for relaxation, entertainment, including exercises; managing home visits among members for restoring their living arrangement and environment, and help building good relationship among them, etc. 2. Concerned organizations should arrange activities to provide knowledge and understanding on self health care focussing on the younger and less educated infected persons for better self health care behavior. 3. Concerned organizations should provide job training activities for them as a main or additional job to increase earning such as beautician, hairdresser, dressmaker, etc. 4. Concerned organizations should enhance awareness among infected persons and that they let their partner know to seek protection of HIV/AIDS or receive examination after their risky behavior.

Page 7: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

กิตติกรรมประกาศ

ภาคนิพนธเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูต ิดเชื ้อ

เอชไอวี/เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดีเพราะผูศึกษาไดรับโอกาส การสงเสริมสนับสนุน ใหแสวงหาความรูในสิ่งท่ีผูศึกษามีความสนใจจากทานอาจารย จิระพร บูรณสิน ประธานกรรมการภาคนิพนธ พรอมท้ังไดสละเวลาอันมีคาในการใหความรู คําปรึกษาแนะนํา การตรวจทานแกไขทุกขั้นตอนอยางละเอียด รวมท้ังรองศาสตราจารย ดร.สากล จริยวิทยานนทและรองศาสตราจารย ดร.สุรสิทธิ์ วชิรขจร กรรมการภาคนิพนธท่ีไดใหคําแนะนําในการปรับปรุงใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ผูศึกษาขอกราบขอบพระคุณอาจารยท้ัง 3 ทานดวยความเคารพอยางย่ิง ขอขอบพระคุณ อาจารยคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมทุกทานท่ีไดใหความรูทั้งทางดานวิชาการและคุณธรรมจริยธรรม ท่ีมีประโยชนอยางย่ิงในการนํามาประยุกตใชกับการศึกษาในครั้งนี้

ขอขอบคุณ กลุมตัวอยางทุกทานท่ีไดใหความรวมมือตอบแบบสอบถามและใหความชวยเหลือเปนอยางดี รวมท้ังพี่รักชริน มีม่ัน หัวหนาสํานักงาน มูลนิธิเพิรล เอส บัค (ประเทศไทย) สาขาชลบุรี พ่ีประไพพร พองระอา พ่ีเนตรนธี สุขขี และพี่สุนันต น้ําสงค เจาหนาที่โรงพยาบาลบางละมุง ท่ีไดใหความชวยเหลือเปนอยางดีในการเก็บรวบรวมขอมูล ขอขอบคุณ พ่ี เพ่ือน นอง รวมคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมทุกคนท่ีเปนกําลังใจและใหคําแนะนําที่ดีเสมอมา ทายท่ีสุดนี้ ผูศึกษาขอขอบพระคุณพอกับแม ท่ีมอบความรัก ใหการสงเสริมสนับสนุน และกําลังใจท่ีดีตลอดมา วิทูรย บุตรสาระ พฤษภาคม 2552

Page 8: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (3) ABSTRACT (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (10) สารบัญภาพ (12) บทท่ี 1 บทนํา 1 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 4 1.3 ขอบเขตในการศึกษา 4 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 4 บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม 6 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม 6 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ 10 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ 12 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 14 2.5 หลักการทั่วไปของการรักษาสุขภาพ 16 2.6 แนวคิดเกี่ยวกับโรคเอดส และผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส 18 2.7 ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 29 บทท่ี 3 กรอบแนวคิดและระเบียบวิธีการวิจัย 36 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 36 3.2 นิยามปฏิบัติการ 38 3.3 สมมติฐานทางการศึกษา 39 3.4 ประชากรและกลุมตัวอยาง 42

Page 9: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

(9)

3.5 เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 42 3.6 การทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ 46 3.7 การรวบรวมขอมูล 46 3.8 การประมวลผลขอมูล 47 3.9 การวิเคราะหขอมูล 47 บทท่ี 4 ผลการศึกษา 49 4.1 ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง 49 4.2 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 52 4.3 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 53 4.4 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง 55 4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน 59 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 67 5.1 สรุปผลการศึกษา 67 5.2 อภิปรายผล 71 5.3 ขอเสนอแนะ 76 บรรณานุกรม 78 ภาคผนวก 83 ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 84 ภาคผนวก ข ผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดตัวแปรท่ีใชในการศึกษา 90 ประวัติผูเขียน 94

Page 10: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา

3.1 แสดงการจําแนกขอคําถามเชิงบวกและเชิงลบของขอคําถามความรูเกี่ยวกับโรคเอดส

43

3.2

แสดงการจําแนกขอคําถามเชิงบวกและเชิงลบของขอคําถามความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง

43

3.3

แสดงการจําแนกขอคําถามเชิงบวกและเชิงลบของขอคําถามวัดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานตาง ๆ

43

3.4 แสดงเกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 44 3.5 แสดงเกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 45 3.6 แสดงเกณฑการใหคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง 45 3.7 แสดงเกณฑการแปลผลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง 45 3.8 แสดงคาความเชื่อม่ันของมาตรวัดตัวแปรที่ใชในการศึกษา 46 4.1 แสดงจํานวนและรอยละ ของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง 50 4.2 แสดงจํานวนและรอยละ ของระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 52 4.3 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 53 4.4 แสดงจํานวนและรอยละ ของระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 53 4.5 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

ตนเอง 54

4.6 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองจําแนกเปนรายดาน

55

4.7 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกาย

56

4.8 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานจิตใจ

57

Page 11: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

(11)

4.9 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอม

58

4.10 แสดงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพกับปจจัยทุกดาน

62

4.11 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัยทุกดาน

64

4.12 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัยดานรางกาย

64

4.13 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัยดานจิตใจ

65

4.14 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัยดานสังคมสิ่งแวดลอม

66

ภาคผนวก ข ตารางท่ี หนา

1 แสดงผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 90 2 แสดงผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 91 3 แสดงผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง 92

Page 12: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา

2.1 แสดงองคประกอบของสุขภาพตามธรรมนูญองคการอนามัยโลก 10

3.1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา 37

Page 13: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บทที่ 1

บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

นับตั้งแตโรคเอดส (Acquired Immuno Deficiency Syndrome) ไดถูกคนพบครั้งแรกในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2524 ท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา ในผูปวยท่ีเปนชายรักรวมเพศนั้น โรคนี้ก็ไดมีการแพรระบาดไปท่ัวทุกทวีปของโลกอยางตอเนื่องตลอดระยะเวลาเกือบ 30 ป ในประเทศท่ีมีอัตราการเพ่ิมขึ้นของจํานวนผูปวย จะไดรับผลกระทบท้ังทางดาน เศรษฐกิจ และสังคม ที่สําคัญประชากรท่ีปวยดวยโรคเอดสจะมีปญหาทางดานสุขภาพรางกายและสภาพจิตใจ

ประเทศไทยพบผูปวยรายแรกเปนชายอายุ 28 ป เดินทางไปศึกษาตอที่อเมริกาและมีพฤติกรรมรักรวมเพศ ตั้งแตปลายป พ.ศ. 2530 เปนตนมา เอดสมีการแพรระบาดอยางกวางขวางโดยเริ่มจาก “กลุมเสี่ยง” ตาง ๆ ไดแก กลุมชายรักชาย ผูติดยาเสพติดชนิดฉีดและหญิงบริการ ตอมาพบการติดเชื้อสูงในทหารเกณฑ โดยเฉพาะบริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย การแพรระบาดเปนไปอยางรวดเร็วมาก ประเทศไทยเปนประเทศแรกในเอเชียท่ีมีการแพรระบาดอยางรวดเร็วจนนาตกใจ

เหตุปจจัยท่ีทําใหเอดสแพรระบาดในประเทศไทยอยางกวางขวางและรวดเร็วกวาประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย คือ

1. ประเทศไทยเปนแหลงคา และเสนทางลําเลียงยาเสพติดชนิดฉีด และมีผูเสพยยาเสพติด นับแสนรายที่มีพฤติกรรมใชเข็มฉีดและกระบอกฉีดยารวมกัน

2. ประเทศไทยมีสถานบริการทางเพศคอนขางมากและเสรี และระยะแรกหญิงบริการ สวนใหญมีทัศนคติ “กลัวอดมากกวากลัวเอดส” ประกอบกับนโยบายสงเสริมการทองเท่ียวทั้งระดับชาติและระดับทองถิ่น ท่ีอาศัยบริการทางเพศเปนตัวดึงดูดลูกคาท่ีสําคัญ

3. ประเทศไทยไมไดเตรียมตัวรับปญหาอยางถูกตอง และรวดเร็วเพียงพอต้ังแตระยะแรก ท่ีพบโรคเอดสนี้ในสหรัฐอเมริกา

Page 14: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

2

จนกระทั่ง ป พ.ศ. 2539 ประเทศไทยสามารถควบคุมการแพรระบาดของเอดสไดดี จนติดหนึ่งในสองประเทศท่ีไดรับการยกยองจากผูอํานวยการโครงการเอดสแหงสหประชาชาติ ในการประชุมท่ีกรุงเวนคูเวอร ประเทศแคนาดา ในปเดียวกัน (รุจนจาลักษณรายา คณานุรักษ, 2546: 1-2) การรายงานสถานการณเอดสท่ัวโลกลาสุด โดย UNAIDS/WHO พบวาอัตราการติดเชื้อในบางประเทศจะลดลงก็ตาม แตคาดวาอัตราการติดเชื้อเอชไอวีและเอดสในภาพรวมยังคงเพ่ิมขึ้นในทุก ๆ พ้ืนท่ีท่ัวโลก ในป พ.ศ. 2550 มีจํานวนผูติดเชื้อและผูปวยเอดสท่ัวโลกประมาณ 33.2 ลานคน (30.6-36.1 ลานคน) เปนผูใหญประมาณ 30.8 ลานคน (28.2-33.6 ลานคน) มีผูหญิงท่ีติดเชื้อ ประมาณ 15.4 ลานคน (13.9-16.6 ลานคน) เปนเด็กที่อายุต่ํากวา 15 ป ประมาณ 2.5 ลานคน (2.2-2.6 ลานคน) และเปนผูท่ีเสียชีวิตจากโรคเอดสประมาณ 2.1 ลานคน (1.9-2.4 ลานคน) ซึ่งคาดวาจะมีผูติดเชื้อรายใหมเพ่ิมขึ้น ประมาณ 2.5 ลานคน (1.8-8.4 ลานคน) ท่ัวโลก โดยคาดวาจะมีเด็กวัยรุนท่ีอายุ 15-24 ป มีการติดเชื้อเพ่ิมขึ้นกวา รอยละ 40 การติดเชื้อสวนใหญพบมากใน SUB-SAHARAN AFRICA ประมาณ 24.7 ลานคน รองลงมาอยูในแถบ SOUTH & SOUTH EAST ASIA ประมาณ 7.8 ลานคน สวนใหญประเทศที่มีการติดเชื้อสูง รอยละ 95 จะอยูในประเทศท่ีมีรายไดต่ํา หรือฐานะยากจน และอยูในกลุมประเทศท่ีมีรายไดปานกลาง สวนใหญการแพรระบาดของเชื้อไวรัสเอชไอวีท่ัวโลก มีอัตราการติดเชื้อเฉลี่ยรายใหมตอวันมากกวาวันละ 6,800 คนตอวัน

จากรายงานสถานการณผูปวยเอดสและผู ติดเชื้อ ท่ีมีอาการในประเ ทศไทยลาสุด(31ธันวาคม 2551) สํานักระบาดวิทยา รายงานวามีจํานวนผูปวยเอดส ท้ังสิ้น จํานวน 342,416 ราย เสียชีวิตแลว จํานวน 92,744 ราย ผูปวยเอดสสวนใหญมีปจจัยเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธสูงถึง รอยละ 84 (83.90) เปนชายท่ีอยูในวัยเจริญพันธุและวัยแรงงาน ซึ่งรอยละ 56.77 เปนเพศชายรักตางเพศ และรอยละ 27.14 เปนหญิงรักตางเพศ รองลงมาเปนผูใชยาเสพติดชนิดฉีดรอยละ 4.62 กลุมท่ีติดเชื้อจากมารดา พบรอยละ 3.84 กลุมรับเลือดรอยละ 0.03 กลุมท่ีไมทราบปจจัยเสี่ยง และอื่น ๆ รอยละ 7.61 ตามลําดับ ผูปวยเอดสสวนใหญมีรายไดตํ่าและประกอบอาชีพการใชแรงงาน/รับจางท่ัวไป ลูกจางโรงงาน ขับรถรับจาง กรรมกร รอยละ 47.01 รองลงมาเปนผูประกอบอาชีพเกษตรกรรม รอยละ 20.19 ผูท่ีวางงาน รอยละ 6.00 คาขาย รอยละ 4.47 แมบาน รอยละ 4.21 เด็กตํ่ากวาวัยเรียน 3.15 ขาราชการ (ขาราชการพลเรือน ทหาร ตํารวจ และขาราชการไมทราบสังกัด) รอยละ 3.05 ผูตองขัง รอยละ 1.57 และอื่น ๆ รวมท้ังผูที่ไมระบุอาชีพ รอยละ 10.35

จังหวัดชลบุรี เปนจังหวัดท่ีอยูทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีผูติดเชื้อทั้งสิ้น 10,489 ราย เปนผูท่ีติดเชื้อที่ไมมีอาการจํานวน 2,776 ราย และผูปวยเอดส จํานวน 7,713 ราย เสียชีวิตแลว จํานวน 957 ราย ยังมีชีวิตอยู จํานวน 9,532 ราย อําเภอบางละมุง เปนอําเภอท่ีมีสถานท่ี

Page 15: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

3

ทองเท่ียวจํานวนมากในยานริมหาดพัทยา มีจํานวนผูติดเชื้อ 853 ราย (กลุมงานควบคุมโรค สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี, 2551)

จากรายงานผูปวยโรคเอดสสวนใหญมีภาวะแทรกซอนของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส(Opportunistic Infection) ท่ีพบมากที่สุดใน 5 อันดับแรก คือ Mycobacterium Tuberculosis, Pulmonary or extrapulmonary 100,462 ราย (รอยละ 29.34) รองลงมา คือ โรคปอดบวมจากเชื้อ Pneumocystis carinii 69,005 ราย (รอยละ 20.15) Cryptococcosis 48,674 ราย (รอยละ 14.21) และ Candidiasis ของหลอ ดอาหาร หลอดลม (Trachea, bronchi) หรือ ปอด 17,075 ราย (รอยละ 4.99) และ Pneumonia recurrent (Bacteria) มากกวา 1 คร้ังใน 1 ป 11,565 ราย (รอยละ 3.38) ตามลําดับ (สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2550)

สําหรับแนวโนมในอนาคตพบวา เยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยงตอการติดเชื้อเอดสมากขึ้น เชน การมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควรโดยไมปองกัน อัตราการติดเชื้อจะเกิดในวัยรุนหญิง แมบาน และกลุมชายรักชาย ตามลําดับ จากจํานวนตัวเลขผูปวยท่ีสูงถึง 342,416 ราย โครงการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ไดจัดงบประมาณกวา 2,700 ลานบาท จัดซื้อยาตานไวรัสใหผูติดเชื้อและผูปวยเอดส (ไทยรัฐ 2550, 13 มกราคม: 12)

หากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสมีความรู ความเขาใจ ในเร่ืองโรคเอดส และมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีเหมาะสม ท้ังทางดานรางกาย เชน การดูแลรักษาความสะอาดของรางกาย การอาบน้ํา การลางมือ การสวมถุงยางอนามัยทุกคร้ังกอนมีเพศสัมพันธ การออกกําลังกาย ทางดานจิตใจ เชน การผอนคลายความตึงเครียด การยอมรับคุณคาของตนเอง การมีจุดหมายในชีวิต การเปดเผยตัวเองตอสังคม เหลานี้แลว จะสามารถกอใหเกิดประโยชนคือ

1. สงผลท่ีดีตอสภาวะสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสเอง เพราะหากรูวิธีการดูแลสุขภาพของตนแลวก็จะทําใหรางกายแข็งแรง มีภูมิตานทานตอโรครายได

2. ประเทศชาติจะสามรถลดคาใชจายในเร่ืองของ คายาตานไวรัส คารักษาพยาบาลผูปวย เอดสท่ีตองรักษาตัวในโรงพยาบาล คาจางเจาหนาท่ี ลงไดเปนจํานวนมาก

3. หากประชากรมีรางกายท่ีสมบูรณแข็งแรง สามารถประกอบกิจการงานเพ่ือหาเลี้ยงชีพ ตนไดแลว ก็จะสงผลดีตอการพัฒนาประเทศไทยตอไป

จึงเปนเรื่องท่ีนาสนใจศึกษาอยางยิ่งวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสในสังคมของเรา จะมีความรูความเขาใจ และพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง เพ่ือใหมีสุขภาพรางกายที่ดีไดอยางไร ซึ่งจะสงผลถึงการมีคุณภาพชีวิตท่ีดีตามมาทั้งในระดับบุคคลและสังคมโดยรวม

Page 16: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

4

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 1. เ พ่ือศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอช ไอวี/ เอ ดส ใน

อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 2. เพ่ือศึกษาปจจัยท่ีมคีวามสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 3. เพื่อศึกษาปจจัยที่สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื ้อ

เอชไอวี/เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

1.3 ขอบเขตในการศึกษา

ในการศึกษาเรื่องปจจัยท่ี มีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองข อ ง ผู ต ิด เ ชื ้อ เอชไ อวี/ เ อดสในอํา เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตของการศึกษา ไวดังนี้

1. ขอบเขตดานเนื้อหาสาระ

ทําการศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ประกอบดวย ดานรางกาย ดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

2. ขอบเขตดานประชากร ขอบเขตดานประชากรไดแก ผู ติดเชื้อเอชไอวี/เอดสที่มารับบริการทางการแพทย

โรงพยาบาลบางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 3. ขอบเขตดานเวลา ชวงระยะเวลาท่ีศึกษา คือ เดือนมกราคม พ.ศ. 2552 – เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552

1.4 ประโยชนทีค่าดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบถึงพฤติกร ร มการดูแล สุขภาพตนเองของผูต ิดเชื้อ เอช ไอ วี/ เอดส

ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 2. ทําใหทราบถึงปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแ ล สุข ภาพตนเ อ งขอ ง

ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เ พ่ือนําผลไปเปนแนวทางในการ

Page 17: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

5

ดูแลตนเองของผูต ิดเชื ้อ เอชไอวี/ เอดส ผู ปฏิบัติงานที่เกี ่ยวของกับการดูแลสุขภาพขอ ง ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ตลอดจนเปนประโยชนตอการกําหนดนโยบายท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส

3. ทําใหทราบถึงปจจัยที ่สามารถทํานายพฤติกรรมการดูแ ลสุขภาพตนเองขอ ง ผูต ิดเชื้อเอ ช ไอ วี/ เอ ดส ในอํา เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีเ พื ่อ นําผลไปใชทําโคร งการสงเสริมสุขภาพของผูติดเชื้อฯ โดยเนนปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสุขภาพ

Page 18: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บทที ่2

การทบทวนวรรณกรรม

การศึกษาเร่ือง ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/

เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ผูศึกษาไดศึกษาและคนควาเอกสารและรายงานการวิจัยตาง ๆ ทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมตาง ๆท่ีเกี่ยวของเพ่ือนํามาเปนแนวทางในการศึกษาคนควา ดังเสนอเนื้อหาตามลําดับดังนี ้

1. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม 2 . แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ 3. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ 4. แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 5. หลักการท่ัวไปของการรักษาสุขภาพ 6. แนวคิดเกี่ยวกับโรคเอดส และผูติดเชือ้เอชไอวี/เอดส 7. ปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม

2.1.1 ความหมายพฤติกรรม พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง การกระทําของอินทรีย (Organism) หรือสิ่งมีชีวิต การ

กระทําท่ีวานี้รวมท้ังการกระทําที่เกิดขึ้นท้ังท่ีผูกระทํารูสึกตัวและไมรูสึกตัวในขณะกระทํา รวมทั้งการกระทําท่ีสังเกตไดและการกระทําท่ีสังเกตไมไดดวยเหมือนกัน ซึ่งเกิดขึ้นท้ังภายนอก (Overt Behavior) และภายใน (Covert Behavior) ของบุคคล พฤติกรรมสุขภาพจะรวมถึงการปฏิบัติท่ีสังเกตได และการเปลี่ยนแปลงท่ีสังเกตไมไดแตวัดไดวามีพฤติกรรมเกิดขึ้น (จีรศักด์ิ เจริญพันธ และเฉลิมพล ตันสกุล, 2549: 8)

Page 19: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

7

ศักด์ิไทย สุรกิจบวร (2545: 20) ไดใหความหมายของคําวาพฤติกรรม หมายถึง การกระทําของมนุษยหรือสัตว รวมท้ังการกระทําท่ีเกิดขึ้นท้ังผูกระทํารูสึกตัวและไมรูสึกตัวในขณะกระทํา รวมท้ังการกระทําท่ีสังเกตไดหรือสังเกตไมไดดวยเหมือนกัน

พันธทิพย รามสูตร (2540: 141) กลาววา พฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยา หรือกิจกรรมของสิ่งมีชีวิต ซึ่งสังเกตไดหรือสังเกตไมไดก็ตาม ถาสิ่งมีชีวิตนั้นเปนคน พฤติกรรมของคนก็หมายถึง ปฏิกิริยาภายนอก (Overt Behavior) ซึ่งในการศึกษาสวนใหญมักสนใจศึกษาจากพฤติกรรมภายนอกเชนเดียวกับพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพ หรือพฤติกรรมอนามัย (Health Behavior) หมายถึง พฤติกรรมใด ๆ ท่ีผูมีภาวะสุขภาพหรือไมมีอาการแสดงออกของความเจ็บปวยปรากฏ (Normal Health State or Non Symptomatic State) กระทําหรือปฏิบัติ โดยมีจุดมุงหมายท่ีจะสงเสริม คุมครองปกปองสุขภาพของตน หรือปองกันการเกิดโรคอันตราย หรือภาวะทุกขภาพท่ีอาจเกิดได เชนการออกกําลังกาย การรับประทานอาหาร และสารอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ ถูกหลักอนามัย ถูกหลักโภชนาการและปลอดภัย การสวมหมวกกันน็อคเวลาขับขี่จักรยานยนต การคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต หรือโดยสารรถยนต การตรวจสุขภาพฟน การตรวจรางกายประจําป การตรวจเตานมดวยตนเอง การไปตรวจมะเร็งปากมดลูก เปนตน

สุพรรณ ตุรงคติณชาติ (2539: 8) ไดใหคําจํากัดความของพฤติกรรมวา หมายถึง กิจกรรมการกระทําท่ีมนุษยแสดงปรากฏออกมาท้ังท่ีสังเกตไดและสังเกตไมได

ราชบัณฑิตยสถาน (2536: 583-584) ใหคําจํากัดความไววา พฤติกรรม หมายถึง การกระทําหรืออาการที่แสดงออกทางกลามเนื้อ ความคิด และความรูสึกเพ่ือตอบสนองสิ่งเรา

สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต (2536: 2) ไดใหคําจํากัดความของ พฤติกรรม หมายถึง สิ่งท่ีบุคคลกระทํา แสดงออก ตอบสนองหรือตอบโตสิ่งใดสิ่งหนึ่งในสถานการณใดสถานการณหนึ่งท่ีสามารถสังเกตเห็นได ไดยินได นับได อีกท้ังวัดไดตรงกันดวยเครื่องมือท่ีเปนวัตถุวิสัย

ปรีชา วิหคโต และคณะ (2534: 5) กลาววา พฤติกรรม หมายถึง การกระทําทุกอยางของมนุษย ไมวาการกระทํานั้น ผูกระทําจะทําโดยรูตัวหรือไมก็ตาม และไมวาคนอื่นจะสังเกตการณกระทํานั้นไดหรือไมก็ตาม รวมท้ังไมวาการกระทํานั้นจะพึงประสงคหรือไมก็ตาม ดังนั้น การเดิน การยืน การคิด การตัดสินใจ การปฏิบัติหนาท่ี การละท้ิงหนาท่ี ลวนเปนพฤติกรรมท้ังสิน

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2534: 14) กลาววา พฤติกรรม หมายถึง การกระทําโดยรูสึกตัวและไมรูสึกตัว ท้ังสังเกตไดดวยตัวเองหรือผูอื่น รวมท้ังการกระทําที่ไมอาจสังเกตเห็นได หรือใชเคร่ืองมือสังเกตได

Page 20: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

8

จากคําจํากัดความดังกลาวผูศึกษาขอสรุปความหมายของพฤติกรรม คือ สิ่งท่ีบุคคลกระทําการใดโดยรูตัวหรือไมรูตัวท่ีแสดงใหปรากฏออกมาท้ังท่ีสังเกตไดและสังเกตไมได

2.1.2 ประเภทของพฤติกรรม สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต (2526: 82-84) กลาววา พฤติกรรม แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมดานพุทธพิสัย 2. พฤติกรรมดานเจตพิสัย 3. พฤติกรรมดานทักษะพิสัย ดังรายละเอียดตอไปนี ้

1. พฤติกรรมดานพุทธพิสัย (Cognitive Domain) พฤติกรรมดานนี้เปนที่เขาใจกันโดยท่ัวไปวาเปนดานความรู หมายถึง การมีประสบการณเกี่ยวกับขอเท็จจริงหรือหลักการตาง ๆ ท่ีเกิดจากการศึกษาหรือการตรวจสอบ ความรูนี้จัดเปนความสามารถดานสติปญญา จําแนกได ดังนี้

1.1 ความรู (Knowledge) หมายถึง ความสามารถท่ีจะจดจํา ระลึกถึงเรื่องราวท่ีไดรับไป

1.2 ความเขาใจ (Compression) หมายถึง ทักษะและความสามารถทางสติปญญาระดับแรก รูวาผูอื่นสื่อสารมาอยางไร และสามารถนําเอาขอมูลหรือปจจัยที่ไดรับมาใชประโยชน

1.3 การนําไปประยุกต (Application) เปนความสามารถนําความรู ความเขาใจจากกฎเกณฑและวิธีดําเนินการตาง ๆ ของเรื่องนั้น ไปใชในสถานการณใหมไมเหมือนเดิมได

1.4 การวิเคราะห (Analysis) เปนความสามารถในการแยกแยะเร่ืองราวท่ีสมบูรณใด ๆ ใหกระจายเปนสวนยอย และมองเห็นหลักการผสมผสานระหวางสวนท่ีประกอบกันขึ้นเปนปญหาหรือสถานการณอยางใดอยางหนึ่ง

1.5 การสังเคราะห (Synthesis) เปนความสามารถและทักษะที่จะนําองคประกอบหรือสวนตาง ๆ มารวมกัน เพ่ือเปนภาพลักษณ เปนกระบวนการท่ีเกี่ยวของกับการพิจารณาสวนยอยแตละสวนแลวจัดรวมกันเปนหมวดหมู เพ่ือใหเกิดความกระจางในสิ่งเหลานั้น

1.6 การประเมินคา (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการพิจารณาและตัดสิน ไมวาจะดวยมาตรฐานท่ีผูอื่นกําหนดไว หรือกําหนดขึ้นดวยตนเองก็ตาม

2. พฤติกรรมดานเจตพิสัย (Affective Domain) หมายถึง ความสนใจ ความรูสึก ทาทีความชอบในการใหคุณคา หรือปรับปรุงคานิยมท่ียึดถืออยู เปนพฤติกรรมท่ียากแกการอธิบายเพราะเปนสิ่งท่ีเกิดขึ้นภายในจิตใจของตน แบงขั้นตอน ดังนี้

Page 21: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

9

2.1 การรับหรือใหความสนใจ (Receiving or Attending) เปนขั้นท่ีบุคคลถูกกระตุนใหทราบวามีเหตการณ และบุคคลนั้นมีความยินดียอมรับและเลือกรับ

2.2 การตอบสนอง (Responding) เปนขั้นท่ีบุคคลถูกจูงใจใหรูสึกผูกมัดตอสิ่งเราทําใหบุคคลพยายามทําใหเกิดการตอบสนอง พฤติกรรมขั้นนี้ประกอบดวยความยินยอม ความพอใจ และพอใจท่ีจะตอบสนอง

2.3 การใหคานิยม (Valuing) เปนขั้นท่ีแสดงปฏิกิริยาวาบุคคลนั้นยอมรับวาเปนสิ่งท่ีมีคุณคาสําหรับตนเอง และนําไปพัฒนาใหเปนของตนเองอยางแทจริง พฤติกรรมขั้นนี้ สวนมากใชคําวาคานิยมและการจัดระบบคานิยม

2.5 การแสดงลักษณะตามคานิยมท่ียึดถือ พฤติกรรมขั้นนี้ถือวา บุคคลมีคานิยมหลายชนิดและจัดคานิยมจากมากท่ีสุดไปนอยท่ีสุด และพฤติกรรมเหลานี้จะคอยเปนตัวควบคุมพฤติกรรมมนุษย พฤติกรรมขั้นนี้ประกอบดวยการวางแนวทางของการปฏิบัติ และแสดงลักษณะที่จะปฏิบัติตามที่เขากําหนด

3. พฤติกรรมดานทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เปนพฤติกรรมท่ีใชความสามารถในการแสดงของรางกาย ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติที่อาจแสดงออกในสถานการณหนึ่ง ๆ หรือคาดวาจะปฏิบัติในโอกาสตอไป พฤติกรรมดานนี้เปนพฤติกรรมขั้นสุดทายตองอาศัยพฤติกรรมดานพุทธพิสัย หรือความรูความคิด และพฤติกรรมดานเจตคติเปนสวนประกอบ ประเมินผลไดงาย แตกระบวนการกอใหเกิดพฤติกรรมดานการปฏิบัติของบุคคลเปนเปาหมายขั้นตอไปท่ีชวยใหบุคคลมีสุขภาพดี

2.1.3 องคประกอบของพฤติกรรม Cronbach (1961 อางถึงใน ณัฐกานต ปวะบุตร, 2550: 6) กลาววา พฤติกรรมมนุษยมี

7 องคประกอบดังนี้ 1. เปาหมาย หรือความมุงหมาย (Goal) คือ วัตถุประสงค หรือความตองการ ซึ่งกอใหเกิดพฤติกรรม เชน ความตองการมีหนามีตาในสังคม 2. ความพรอม (Readiness) หมายถึง ระดับวุฒิภาวะและความสามารถท่ีจําเปนในการทํากิจกรรม เพ่ือสนองความตองการ 3. สถานการณ (Situation) หมายถึงลูทาง หรือโอกาส หรือเหตุการณท่ีเปดโอกาสใหเลือกทํากิจกรรม เพ่ือสนองความตองการ 4. การแปลความหมาย (Interpretation) เปนการพิจารณาลูทาง หรือสถานการณ เพ่ือเลือกหาวิธีท่ีคิดวาจะสนองความตองการใหเปนท่ีพอใจมากท่ีสุด

Page 22: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

10

5. การตอบสนอง (Response) คือ การดําเนินการทํากิจกรรมตามท่ีตัดสินใจเลือกสรรแลว 6. ผลรับท่ีตามมา (Consequence) คือ ผลท่ีเกิดขึ้นจากการกระทํากิจกรรมนั้น ซึ่งอาจไดผลตรงกับที่คาดไว (Confirm) หรือตรงขามกับท่ีคาดไว (Contradict) ก็ได 7. ปฏิกิริยาตอความผิดหวัง (Reaction to Thwarting) เปนปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้น เมื่อสิ่งท่ีเกิดขึ้น ไมสามารถตอบสนองความตองการ จึงตองกลับไปแปลความหมายใหมเพื่อเลือกหาวิธีท่ีจะตอบสนองความตองการได 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ 2.2.1 ความหมายของสุขภาพ

องคการอนามัยโลก ไดใหคํานิยามคําวา “สุขภาพ” ในความหมายท่ีวา หมายถึง สุขภาวะ ท่ีสมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต และทางสังคม

ภาพท่ี 2.1 แสดงองคประกอบของสุขภาพตามธรรมนูญองคการอนามัยโลกพ.ศ. 2491 ท่ีมา: เติมศักด์ิ เศรษฐวัชราวนิช และคณะ, 2528: 84

พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ 2545 ใหความหมายของคําวา “สุขภาพ” คือ ภาวะท่ีมี

ความพรอมสมบูรณท้ังทางรางกาย คือ รางกายท่ีสมบูรณแข็งแรง คลองแคลว มีกําลัง ไมเปนโรค ไมพิการ ไมมีอุบัติเหตอันตราย มีสิ่งแวดลอมที่สงเสริมสุขภาพ

ทางจิตใจ คือ มีจิตใจที่มีความสุข รื่นเริง ไมติดขัด มีเมตตา มีสติ มีสมาธ ิทางสังคม คือ มีการอยูรวมกันดวยดี มีครอบครัวที่อบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมมีความ

ยุติธรรม และทางจิตวิญญาณ คือ ความสุขท่ีเกิดขึ้นเม่ือทําความดีหรือจิตใจไดสัมผัสสิ่งท่ีมีคุณคาอัน

สุขภาพทางสังคม (Complete Social Well-being)

สุขภาพจิต (Complete Mental Well-being)

สุขภาพกาย (Complete Physical Well-being) สุขภาพ

Page 23: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

11

สูงสง โดยท้ัง 4 ดานนี้ จะตองเกิดขึ้นจากการจัดการทางสุขภาพในระดับตาง ๆ ท้ังสุขภาพในระดับของปจเจกบุคคล (Individual Health) อนามัยชุมชน (Community Health) และสุขภาพของสาธารณะ (Public Health)

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ใหความหมายของสุขภาพวา หมายถึง ความสุขปราศจากโรค ความสบาย ประเวศ วะสี (2543: 3) ใหความหมายของสุขภาพ ดังนี ้ สุขภาวะท่ีสมบูรณทางกาย หมายถึง รางกายสมบูรณแข็งแรง คลองแคลว มีกําลัง ไมเปนโรค ไมพิการ มีเศรษฐกิจหรือปจจัยท่ีจําเปนพอเพียง ไมมีอันตราย มีสิ่งแวดลอมที่สงเสริมสุขภาพ คําวา กาย ในท่ีนี้หมายถึงทางกายภาพดวย สุขภาวะท่ีสมบูรณทางจิต หมายถึง จิตใจที่มีความสุข รื่นเริง คลองแคลว ไมติดขัด มีความเมตตา สัมผัสกับความงามของสรรพสิ่ง มีสติ มีสมาธิ มีปญญา รวมถึงการลดความเห็นแกตัวลงไปดวย เพราะตราบใดท่ียังมีความเห็นแกตัว ก็จะมีสุขภาวะท่ีสมบูรณทางจิตไมได สุขภาวะท่ีสมบูรณทางสังคม หมายถึง มีการอยูรวมกันดวยดี มีครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมมีความยุติธรรม มีความเสมอภาค มีภราดรภาพ มีสันติภาพ มีความเปนประชาสังคม มีระบบบริการท่ีดี และระบบบริการเปนกิจการทางสังคม สุขภาวะท่ีสมบูรณทางจิตวิญญาณ (Spiritual well-being) หมายถึง สุขภาวะท่ีเกิดขึ้นเมื่อทําความดี หรือจิตสัมผัสกับสิ่งท่ีมีคุณคาอันสูงสงหรือสิ่งสูงสุด เชน การเสียสละ การมีความเมตตา กรุณา การเขาถึงพระรัตนตรัย หรือการเขาถึงพระผูเปนเจา เปนตน ความสุขทางจิตวิญญาณเปนความสุขท่ีไมระคนอยูกับความเห็นแกตัว แตเปนสุขภาวะท่ีเกิดขึ้นเม่ือมนุษยหลุดพนจากความมีตัวตน (Self-Transcending) จึงมีอิสรภาพ มีความผอนคลายอยางยิ่ง เบาสบาย มีความปติแผซานท่ัวไป มีความสุขอันประณีตและลึกล้ํา หรือความสุขอันเปนทิพย สบายอยางยิ่ง มีผลดีตอสุขภาพทางกาย ทางจิต และทางสังคม สุขภาวะทางจิตวิญญาณเปนยอดที่สงผลกระทบอยางแรงตอสุขภาพอีก 3 มิติ ถาขาด สุขภาวะทางวิญญาณ มนุษยจะไมพบความสุขท่ีแทจริง และขาดความสมบูรณในตัวเอง เมื่อขาดความสมบูรณในตัวเอง ก็จะรูสึกขาดหรือพรองอยูเร่ือยไป ตองไปหาอะไรเติม เชน ยาเสพติด ความฟุมเฟอย หรือความรุนแรง การติดยาเสพติด การติดความฟุมเฟอยและความรุนแรง เกิดจาก โรคพรองเพราะมนุษยขาดความสมบูรณในตัวเอง เนื่องจากการพัฒนาในชวงท่ีผานมาติดอยูกับระดับต่ําเทานั้น คือระดับทางวัตถุ ตราบใดท่ียังไมยกระดับการพัฒนาไปถึงพัฒนาการทางจิตวิญญาณ แลวไซร จะไมสามารถแกปญหาการขาดสุขภาวะได

Page 24: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

12

Mury & Zenter (1975: 5 อางถึงใน ราณี ตาเดอินทร, 2549: 10) กลาวถึงแนวคิดของ Bloom เกี่ยวกับสุขภาพวา หมายถึง ความสามารถของบุคคลที่จะทําหนาที่ตาง ๆ อยางเต็มความสามารถ ดํารงไวซึ่งความสมดุลระหวางความตองการของตนเองกับความตองการของสังคมปราศจากความไมพึงพอใจ จากคําจํากัดความดังกลาวผูศึกษาขอสรุปความหมายของสุขภาพ คือ สุขภาวะท่ีสมบูรณแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ และมีความสุข ท้ังทางดานรางกาย ทางดานจิตใจ และทางดานสังคม

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ 2.3.1 ความหมายของพฤติกรรมสุขภาพ

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2537: 160) กลาววา พฤติกรรมสุขภาพ หรือพฤติกรรมอนามัย (Health Behavior) ตามทัศนะของสุขศึกษาท่ีเรียกวา “พฤติกรรมสุขภาพ” คือ แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมทั้งภายใน (Covert Behavior) และพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) ซึ่งพฤติกรรมภายใน ไดแก องคประกอบทางจิตวิทยา (Psychological Factors) ซึ่งมีความคิด ความเชื่อ การรับรู แรงจูงใจ คานิยม ทัศนะคติและความคาดหวัง สวนพฤติกรรมภายนอก ไดแก การปฏิบัติท่ีสามารถมองเห็นและสังเกตได เปนตน ในทางพฤติกรรมศาสตรเชื่อวาองคประกอบเหลานี้มีอิทธิพลตอพฤติกรรมดานสุขภาพของบุคคล ธนวรรธณ อิ่มสมบูรณ (2532: 11) ไดกลาวถึงพฤติกรรมสุขภาพวา หมายถึง การแสดงออกของบุคคลท่ีมีตอสุขภาพของตนเอง หรือบุคคลอื่น ๆ รวมถึงการกระทําหรือการงดเวนการกระทําในสิ่งท่ีเปนผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ ในรูปของความรู ความเขาใจ เจตคติและการกระทํา หรือการปฏิบัติท้ังหลายท่ีเปนผลดีและผลเสียตอสุขภาพ จริยาวัตร คมพยัคฆ และคณะ (2536: 246) ใหความหมายของพฤติกรรมสุขภาพวา เปนการปฏิบัติกิจกรรมดานสุขภาพท่ีเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ การออกกําลังกาย การพักผอน และการนันทนาการ รวมท้ังการดูแลเม่ือเจ็บปวยหรือเมื่อไดรับอุบัติเหต ุ พันธุทิพย รามสูตร (2540: 154-155) กลาววา พฤติกรรมสุขภาพ หรือพฤติกรรมอนามัย (Health Behavior) หมายถึง พฤติกรรมใด ๆ ซึ่งผูมีภาวะสุขภาพปกติหรือไมมีอาการแสดงความเจ็บปวยปรากฏกระทําหรือปฏิบัติโดยมีจุดมุงหมายท่ีจะสงเสริม คุมครอง ปกปองสุขภาพของตน หรือปองกันการเกิดโรค อันตราย หรือภาวะทุกขภาพท่ีอาจเกิดขึ้น เชน การออกกําลังกาย การรับประทานอาหาร และสารอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ ถูกหลักโภชนาการและปลอดภัย การสวมหมวก

Page 25: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

13

กันน็อกเวลาขับขี่จักรยานยนต การคาดเข็มขัดนิรภัยเวลาขับรถยนตหรือโดยสารรถยนต การตรวจสุขภาพฟน การตรวจรางกายประจําป การตรวจเตานมดวยตนเอง การไปตรวจมะเร็งปากมดลูก รวมไปถึงการที่หญิงตั้งครรภไปฝากครรภ เปนตน

2.3.2 ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพ 1. พฤติกรรมการปองกันโรค (Prevention Behavior) หมายถึง การปฏิบัติของบุคคลเพ่ือ

ปองกันไมใหเกิดโรคขึ้น ไดแก การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารท่ีทีประโยชน การไมสูบบุหรี่ การสวมหมวกนิรภัยและคาดเข็มขัดนิรภัย เม่ือขับขี่จักรยานยนตหรือรถยนต

2. พฤติกรรมเม่ือเจ็บปวย (Illness Behavior) หมายถึง การท่ีบุคคลปฏิบัติเม่ือมีอาการผิดปกติหรือเมื่อรูวาเจ็บปวย ไดแก การถามบุคคลอื่นหรือเพ่ือนฝูงเกี่ยวกับอาการของตน การเพิกเฉย การแสวงการรักษาพยาบาล การหลบหลีกจากสังคม เปนตน

3. พฤติกรรมเม่ือรูวาตนเปนโรค (Sick-role Behavior) หมายถึง การปฏิบัติท่ีบุคคลกระทําหลังจากทราบผลการวินิจฉัยโรคแลว เชน การับประทานอาหารตามแพทยสั่ง การควบคุมอาหาร การออกกําลังกาย การลดหรือเลิกกิจกรรมที่จะทําใหอาการของโรคเปนมากขึ้น 2.3.3 ลักษณะพฤติกรรมสุขภาพ ในการดําเนินงานสาธารณสุข พฤติกรรมสุขภาพของบุคคลสามารถจําแนกออกไดตามลักษณะเฉพาะ ตอไปนี้

1. พฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ไดแก การกระทํา หรือการปฏิบัติของบุคคลที่ทําใหภาวะสุขภาพของตนเองหรือของครอบครัวดีขึ้น

2. พฤติกรรมการปองกันโรค ไดแก การกระทํา หรือการปฏิบัติของบุคคลท่ีชวยปองกันตนเอง ครอบครัวหรือชุมชนมิใหเกิดการเจ็บปวย ไมวาจะเปนโรคติดตอหรือโรคไมติดตอ

3. พฤติกรรมสุขภาพการเจ็บปวย ไดแก การกระทํา หรือการปฏิบัติของบุคคล เมื่อตนเองหรือบุคคลอื่นในครอบครัวเกิดอาการเจ็บปวยขึ้นมา ในแงของการดูแลการเจ็บปวยหรือการแสวงหาการรักษาพยาบาลจากสถานบริการหรือแหลงการรักษาพยาบาลอื่นใด

4. พฤติกรรมการรักษาพยาบาล ไดแก การกระทํา หรือการปฏิบัติของบุคคลตามคําแนะนําของแพทย หรือตามขอกําหนดของการรักษาพยาบาล เมื่อตนเองเจ็บปวย หรือบุคคลท่ีตนเองตองดูแลรับผิดชอบเจ็บปวย

5. พฤติกรรมการมีสวนรวม ไดแก การกระทํา หรือการปฏิบัติเพ่ือใหมีผลตอการปองกันปญหา หรือแกไขปญหาสาธารณสุขในชุมชน และปญหาของสวนรวม

Page 26: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

14

6. พฤติกรรมการดูแลพึ่งพาตนเอง ไดแก การกระทํา หรือการปฏิบัติเพ่ือชวยเหลือตนเอง หรือครอบครัวในดานการรักษาพยาบาลเม่ือเจ็บปวย ในดานการปองกันโรค และในดานการสงเสริมสุขภาพตามระดับ หรือขีดความสามารถท่ีจะดูแลพ่ึงพาตนเองได

พฤติกรรมสุขภาพ ในลักษณะตาง ๆ ดังไดกลาวแลวนี้ เปนพฤติกรรมสุขภาพท่ีตองการและเปนเปาหมายของการดําเนินงานสาธารณสุขในดานตาง ๆ ตามกลุมปญหาสาธารณสุข หรือปญหาสุขภาพท่ีเปนอยูในปจจุบัน ซึ่งปญหาสาธารณสุขหรือปญหาสุขภาพนั้น มีความสัมพันธกันกับพฤติกรรมดานสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน (สมทรง รักษเผา และสรงคกฏณ ดวงคําสวัสด์ิ, 2540: 11)

โดยอาจกลาวไดวา การท่ีบุคคลมีสุขภาพและปราศจากโรค เกิดจากลักษณะทางชีวภาพรวมกับการมีพฤติกรรมสุขภาพตาง ๆ อยางเหมาะสม สวนการที่บุคคลจะมีพฤติกรรมสุขภาพตาง ๆ นั้น ขึ้นอยูกับลักษณะทางจิตใจ และสภาพแวดลอมของบุคคล รวมท้ังลักษณะทางชีวภาพของบุคคล เชน พันธุกรรม ความชรา และความเจ็บปวยในปจจุบัน สาเหตุดานสภาพแวดลอมมีอิทธิพลท่ีสําคัญตอพฤติกรรมของบุคคลท่ีเปนเด็กและวัยรุน สวนสาเหตุทางจิตใจสําคัญตอพฤติกรรมของบุคคลที่เปนวัยรุนตอนปลายและผูใหญ 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

ไดมีการใหความหมายและนิยามศัพทคําวา การดูแลสุขภาพตนเอง ไวหลากหลายทัศนะ ดังนี้ องคการอนามัยโลก (1988 อางถึงใน สุฬดี กิตติวรเวช, 2544: 9) ไดนิยามไววา การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การดําเนินกิจกรรมทางสุขภาพดวยตนเองของปจเจกบุคคล ครอบครัว กลุมเพ่ือนบาน กลุมผูรวมงานและชุมชน โดยรวมความถึงการตัดสินใจในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพครอบคลุมท้ังการรักษาสุขภาพ การปองกันโรค การวินิจฉัยโรค การรักษาโรค (รวมทั้งการใชยา) และการปฏิบัติตนหลังการบริการ สมทรง รักษเผา (2533 อางถึงใน สุฬดี กิตติวรเวช, 2544: 9) กลาววา การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การดําเนินกิจกรรมทางสุขภาพในเชิงบวกดวยตนเอง ของปจเจกบุคคล ครอบครัว และชุมชน รวมถึงการตัดสินใจเลือกปฏิบัติ ในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพ อันไดแก การสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การวินิจฉัยโรค การรักษาและการฟนฟูสภาพ ใหกลับสูสภาวะที่จะอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ภายหลังการเจ็บปวย และ / หรือ เมื่อมีความพิการเกิดขึ้นโดยมีจุดมุงหมายเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง

Page 27: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

15

สมจิต หนูเจริญกุล (2533: 10) ใหความหมายของการดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ท่ีมีขั้นตอนระบบระเบียบเพ่ือดํารงไวซึ่งชีวิต ภาวะสุขภาพ การรักษาสุขภาพ และการสงเสริมสุขภาพ ซึ่งการปฏิบัติกิจกรรมดังกลาวนั้นเกิดขึ้นดวยความคิด ความเชื่อ ความคาดหวัง แรงจูงใจ คานิยมของตนเองเปนสําคัญ เอื้อมพร ทองกระจาย (2533: 49) ไดสรุปความหมายของการดูแลสุขภาพตนเองไดวา 1. การดูแลสุขภาพตนเอง เปนกระบวนการท่ีประชากรสามารถทํากิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพไดดวยตนเอง โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Health Promotion) ผดุงรักษาสุขภาพ (Health Maintenance) ภายหลังการเจ็บปวย กระบวนการดูแลสุขภาพตอนนี้เองเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ตลอดชวงชีวิตของบุคคล ไมไดเกิดขึ้นเฉพาะครั้งคราว 2. การดูแลสุขภาพตนเอง เปนระบบบริการสุขภาพขั้นปฐมภูมิ เปนฐานลางสุดหรือนัยหนึ่งเปนองคประกอบพื้นฐานท่ีสําคัญย่ิงของระบบบริการสาธารณสุข ซึ่งบริการสาธารณสุขท่ีใหโดยรัฐหรือวิชาชีพทุกระดับนั้น จําเปนตองใหสอดคลองกับสถานการณ และศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองของประชากรอยางมีนัยสําคัญ 3. การดูแลสุขภาพตนเองในระดับจุลภาค ถือเปนกระบวนการกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพท่ีกระทําโดยประชากร และในระดับมหภาค การดูแลสุขภาพตนเองถือเปนระบบ ระบบหนึ่งท่ีมีความสําคัญอยางย่ิง และมีมากอนระบบบริการสาธารณสุขท้ังหมด ชนินทร เจริญกุล (2526 อางถึงใน สุวัจน เฑียรทอง, 2536: 4) ไดรวบรวมคํานิยามเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ท่ีใหไวโดยนักวิชาการตาง ๆ ดังนี้ Levin, Kartz และ Kotst กลาววา การดูแลตนเองเปนการที่ชาวบานท่ัวไปทําหนาท่ีในการดูแลตนเองท้ังในแงการสงเสริมสุขภาพ การสังเกตการณเกิดโรค การปองกัน (Disease detection) และการบําบัดรักษา Dean ไดบรรยายไววา การดูแลตนเอง เปนปรากฎการณทางสังคมที่ถูกหลอหลอมโดยภาวะเง่ือนไขทางสังคมที่ซับซอน และเปนกระบวนการที่มีอิทธิพลตอสถานการณทางสังคม ซึ่งจะเปนตัวกําหนดท่ีสําคัญตอความเปนอยูท่ีดีท้ังทางกายและจิตวิทยา ท้ังนี้ Dean ไดขยายความวา การดูแลตนเองจะเกี่ยวของกับชวงของกิจกรรมตาง ๆ ท่ีปจเจกบุคคลไดกระทําที่จะสงเสริมสุขภาพ ประเมินอาการเจ็บปวยและฟนฟูสุขภาพจริง กิจกรรมเหลานี้กระทําโดยชาวบานโดยทั่ว ๆ ไป ดวยตนเอง ซึ่งรวมถึงการตัดสินใจท่ีจะไมกระทําการใด ๆ และกําหนดนโยบายตนเองวาจะทําอะไรเพ่ือการสงเสริมสุขภาพ หรือการบําบัดการเจ็บปวย Huag ไดนิยามวา การดูแลสุขภาพตนเอง เปนการตัดสินใจท่ีจะตอบสนองตอการรับรูอาการ ซึ่งครอบคลุมถึงประสบการณท่ีเคยเกิดการเจ็บปวย การวินิจฉัยตนเอง และการตัดสินใจใน

Page 28: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

16

การท่ีจะมีปฏิกิริยาที่จะสนองตออาการเหลานั้น ซึ่งมักจะถือวาเปนวิธีการบําบัดรักษาท่ีดีท่ีสุด สําหรับภาวะที่รางกายจะสามารถจํากัดไดหรืออาจจะทําการบําบัดรักษาดวยตนเองในรูปแบบตาง ๆ โดยไมไดจําคําแนะนําของแพทย หรืออาจจะเริ่มมาจากความพยายามในการดูแลตนเองกอน แลวจึงตัดสินใจไปหาความชวยเหลือจากแพทยก็ได Hickey มองพฤติกรรมการดูแลตนเองในลักษณะของการตอบสนองอยางตอเนื่อง ตออาการเจ็บปวยของปจเจกบุคคลตลอดจนกลยุทธท่ีจะรับและกระทําในการบํารุงดูแลสุขภาพ จากคําจํากัดความของการดูแลสุขภาพตนเอง ท่ีนักวิชาการไดใหไวตามท่ีกลาวมาแลวนั้น คําจํากัดความสวนใหญจะมีความหมายท่ีคลายคลึงกัน คือจะกลาวถึง การดําเนินกิจกรรมดานสุขภาพดวยตนเอง ของปจเจกบุคคล ครอบครัว กลุมเพ่ือนบาน กลุมผูรวมงานและชุมชน โดยมีวัตถุประสงคเ พ่ือสงเสริมสุขภาพ (Health Promotion) การผดุงรักษาภาวะสุขภาพ (Health maintenance) ภายหลังการเจ็บปวยเปนระบบการบริการสุขภาพขั้นปฐมภูมิที่ดําเนินการปฏิบัติดวยตนเองหรือชวยเหลือผูอื่น ท้ังนี้ กระบวนการดูแลสุขภาพตนเอง จะรวมไปถึงกระบวนการตัดสินใจในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับการปองกันโรค การวินิจฉัยโรค การรักษาโรค (รวมท้ังการใหยา) ปฏิบัติตนภายหลังการรับบริการ และเปนกระบวนการท่ีเกิดขึ้นอยางตอเนื่องตลอดชวงชีวิตของบุคคล ไมไดเกิดขึ้นเฉพาะครั้งคราว โดยสรุป การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพที่กระทําเพ่ือการสงเสริม ดูแลรักษาสุขภาพ ท่ีเกิดจากปจเจกบุคคล คนรอบขาง และสังคม อยางตอเนื่องตลอดชวงชีวิตของบุคคล 2.5 หลักการทั่วไปของการรักษาสุขภาพ

มัลลิกา มัติโก (2530 อางถึงใน สําราญ เชื้อเมืองพาน, 2550: 41-42) บทบาทการดูแลสุขภาพของตนเองนั้นมีการปฏิบัติท่ีครอบคลุม 2 ลักษณะ คือ

1. การดูแลตนเองในสภาวะปกติ เปนพฤติกรรมการดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัวเพ่ือสนับสนุนการดํารงชีวิตใหเปนปกติในขณะท่ีมีสุขภาพแข็งแรง มี 2 ลักษณะ คือ

1.1 การดูแลสงเสริมสุขภาพ คือ พฤติกรรมท่ีจะรักษาสุขภาพใหแข็งแรงปราศจากความเจ็บปวย สามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติโดยหลีกเลี่ยงอันตรายตาง ๆ ท่ีสงผลตอสุขภาพ เชน การออกกําลังกาย การมีสุขวิทยาสวนบุคคลท่ีดี การควบคุมอาหาร การไมด่ืมสุรา ไมสูบบุหร่ี การกินวิตามินตาง ๆ ตรวจสุขภาพฟนทุก 6 เดือน เปนตน ซึ่งเปนพฤติกรรมท่ีตองกระทําสมํ่าเสมอ

Page 29: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

17

1.2 การปองกันโรค คือ พฤติกรรมที่กระทําโดยมุงท่ีจะปองกันไมใหเกิดความเจ็บปวยหรือโรคตาง ๆ เชน การไปรับภูมิคุมกันโรค โดยแบงระดับของการปองกันโรคไดเปน 3 ระดับ

1.2.1 การปองกันโรคเบ้ืองตน เชน การไปรับภูมิคุมกันโรค 1.2.2 การปองกันความรุนแรงของโรค เปนระดับการปองกันที่มุงจะขจัดโรค

ใหหมดไปกอนท่ีอาการของโรคจะรุนแรงขึ้น เชน การนัดหญิงอาชีพพิเศษมาตรวจเลือดทุก 3 เดือน ภายหลังตรวจพบเชื้อซิฟลิส เพ่ือเฝาระวังมิใหอาการรุนแรงมากขึ้น

1.2.3 การปองกันการแพรระบาดของโรค เปนระดับการปองกันท่ีมีเปาหมายเพ่ือตองการยับยั้งการแพรกระจายไปสูผูปวยคนอื่น ๆ

2. การดูแลสุขภาพตนเองเม่ือเจ็บปวย ความเจ็บปวยหมายถึง การรับรูของบุคคลท่ีมีตอตัวเขาเองวามีความผิดปกติไปจากเดิมซึ่งอาจจะตัดสินใจดวยตนเอง จากครอบครัวหรือเครือขายสังคมและจะเขาสูพฤติกรรมเจ็บปวยโดยแตละคนจะตอบสนองตอความเจ็บปวยท่ีเกิดขึ้นแตกตางกัน เชน การงดอาหารแสลง การใชสมุนไพร การซื้อยามากินเอง และการตัดสินใจไปพบแพทย เปนตน นักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาหลายทาน ไดกลาวถึงพฤติกรรมการดูแลตนเองเมื่อเจ็บปวย วาควรมีองคประกอบอยางนอย 4 ระดับดวยกัน

2.1 การดูแลสุขภาพตนเองของแตละบุคคล 2.2 การดูแลสุขภาพตนเองของครอบครัว 2.3 การดูแลสุขภาพโดยเครือขายของสังคม 2.4 การดูแลสุขภาพโดยกลุม หรือบุคคลในชุมชน

การดูแลสุขภาพตนเองของแตละบุคคล เมื่อเจ็บปวย หมายถึง พฤติกรรมของบุคคลท่ีเกิดขึ้นต้ังแตบุคคลตระหนักและประเมินผลเกี่ยวกับอาการผิดปกติ ตลอดจนตัดสินใจท่ีจะกระทําสิ่งใด ๆ ลงไปเพ่ือตอบสนองตออาการผิดปกติ รวมท้ังการตัดสินใจท่ีจะไมกระทําสิ่งใดเกี่ยวกับอาการนั้น ๆ การรักษาอาจเร่ิมจากรักษาอาการผิดปกติดวยตนเอง หรือแสวงหาคําแนะนําการรักษาจากผูอื่น ครอบครัวรวมท้ังเครือขายของสังคมตน พรอมท้ังตัดสินใจท่ีจะกระทําตามคําแนะนําที่ตนไดรับ โดยท่ีบุคคลจะรับรูและตระหนักถึงความรุนแรงของการเจ็บปวยนั้น จากพฤติกรรมการเจ็บปวย 4 แบบคือ

1. การตัดสินใจท่ีจะไมทําอะไรเลยเกี่ยวกับอาการผิดปกติ 2. การใชยารักษาตนเอง 3. การรักษาตนเองดวยวิธีการตาง ๆ ท่ีไมใชการใชยา เชน การนอนพัก การดื่มน้ําอุน เม่ือ

เริ่มรูตัววาเปนหวัด การงดสูบบุหรี่เม่ือมีอาการไอเรื้อรัง เปนตน

Page 30: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

18

4. การตัดสินใจท่ีจะไปพบบุคลากรสาธารณสุข เพ่ือรับการรักษาและขอคําแนะนํา แมวาบุคคลจะยอมรับในบทบาทผูปวย โดยใหแพทยเปนผูวินิจฉัย และทําการรักษาแตบุคคลจะเปนผูท่ีประเมินผลการรักษาของแพทยวาตนเองหายปวยแลวหรือไม และควรหยุดยาเม่ือใด ดังนั้นการดูแลสุขภาพของตนเองเมื่อเจ็บปวย จึงเกิดขึ้นตลอดกระบวนการของการเจ็บปวย ไปจนกระทั่งถึง บุคคลหายจากการเจ็บปวย

Fry (1973 อางถึงใน ชลลดา พิทูรย, 2548) ไดจําแนกบทบาทของการดูแลตนเองไว 4 ประการ คือ

1. การดํารงรักษาไวซึ่งสุขภาพท่ีแข็งแรง เชน การออกกําลังกาย การตรวจสุขภาพอยางสม่ําเสมอ

2. การปองกันโรค เชน การไดรับภูมิคุมกัน โรค การอมฟูออไรดเพื่อปองกันฟนผุ การฝากครรภ

3. การวินิจฉัยโรค การใหยาและรักษาเบ้ืองตน เชน ปวดศีรษะ ไอ เปนหวัด 4. การไปหาแพทย เพ่ือการรักษาและปฏิบัติตนตามคําแนะนําของแพทย

2.6 แนวคิดเกี่ยวกับโรคเอดส และผูติดเชื้อเอชไอว/ีเอดส

2.6.1 ความหมายของโรคเอดส กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) ไดใหคําจํากัดความเกี่ยวกับโรคเอดส (AIDS:

Acquired Immune Deficiency Syndrome) วาเปนกลุมอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ชื่อ Human Immunodeficiency Virus หรือ HIV ซึ่งสามารถแบงตัวในเซลลของคน เชน เม็ดเลือดขาว เซลลเนื้อสมอง เม่ือเชื้อเอดสเขาสูรางกายแลวจะไปทําลายเซลลเม็ดเลือดขาวซึ่งเปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหภมิูคุมกันโรคลดลง เปนผลใหเกิดโรคติดเชื้อฉวยโอกาส เชน วัณโรค ปอดบวม หรือมะเร็งบางชนิดไดงายกวาคนปกติ แตอาการท่ีเกิดขึ้นจะรุนแรงและเสียชีวิตอยางรวดเร็ว หากไมไดรับการรักษาท่ีถูกวิธี ในทางวิทยาศาสตรการแพทย “เอดส” (AIDS: Acquired Immune Deficiency Syndrome) คือ โรคท่ีเกิดขึ้นเนื่องจากภาวะภูมิคุมกันของรางกายบกพรองหลังจากติดเชื้อไวรัส ซึ่งไวรัสนี้เม่ือเขาสูรางกายจะเขาไปทําลายเม็ดเลือดขาว ซึ่งเปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหภูมิตานทานลดลง เปนผลใหติดเชื้อโรคชนิดฉวยโอกาส เชน ปอดบวม วัณโรค หรือมะเร็งบางชนิดไดงายกวาคนปกติ การรักษาเปนการรักษาตามอาการของโรคติดเชื้อนั้น ซึ่งเดิมก็มียาและวิธีการรักษาอยูแลว แตยังไมมีวิธีรักษาใหเชื้อไวรัสเอชไอวีหายไปได

Page 31: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

19

2.6.2 ชองทางการติดเช้ือ

กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) กลาววาเชื้อไวรัสเอดสมีมากท่ีสุดในเลือด น้ําเหลือง เนื้อเยื่อตาง ๆ รองลงมา คือ น้ําเชื้ออสุจิ น้ําในชองคลอด สวนของน้ําลาย เสมหะ หรือน้ํานม มีปริมาณไวรัสเอดสนอย สําหรับเหงื่อ อุจจาระ ปสสาวะ แทบจะไมพบ โดยมากกวารอยละ 80 ของผูปวยโรคเอดสไดรับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธท่ีไมปลอดภัย การรับเลือดหรือผลิตภัณฑจากเลือด การปลูกถายอวัยวะจากผูติดเชื้อโรคเอดส การใชเข็มฉีดยารวมกัน การเจาะหู การสัก โดยอุปกรณที่มีเชื้อโรคเอดส และไมผานการฆาเชื้อกอนใชงาน จากมารดาสูทารก ท้ังทารกอยูในครรภ ระหวางคลอด ภายหลังคลอด และไดรับน้ํานมจากมารดาท่ีติดเชื้อ ปจจุบันหญิงมีครรภมีอัตราการติดเชื้อโรคเอดสถึงรอยละ 1.5 การติดเชื้อจากแมสูลูกขณะต้ังครรภพบประมาณรอยละ 30 อยางไรก็ตามในปจจุบันยังไมมีรายงานเชื้อโรคเอดสแพรกระจายทางลมหายใจ หรือการสัมผัสปกติ หรือระหวางบุคคลกับแมลง ยุง อาหาร น้ํา การใชหองน้ํา หองนอน หรืออุปกรณการรับประทานอาหารหรือเสื้อผารวมกัน ปจจัยท่ีทําใหติดเชื้อโรคเอดส ประกอบดวย ปริมาณเชื้อไวรัสเอดส ถาไดรับเชื้อมากก็มีโอกาสติดโรคสูง ชองทางการรับเชื้อโรค จากการสัมผัสเชื้อโรคเอดสโดยตรง เชน ใชเข็มฉีดยารวมกัน หรือ มีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน สุขภาพของผูติดเชื้อ หากมีบาดแผลหรือเปนกามโรค จะทําใหติดเชื้อไดงาย จํานวนครั้ง หรือความถี่ของการสัมผัส ย่ิงสัมผัสโรคบอย โอกาสจะติดเชื้อ ก็มากเชนกัน

2.6.3 กลุมเส่ียงตอการติดเช้ือโรคเอดส กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) กลาววา กลุมเสี่ยง หมายถึง บุคคลท่ีมีโอกาสติดเชื้อมากกวาคนธรรมดาท่ัวไป เนื่องจากมีพฤติกรรมที่เสี่ยงตอการติดเชื้อ การมีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน ซึ่งอาจเปนพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับอาชีพหรือพฤติกรรมสวนตัวในชีวิตประจําวันก็ตาม บุคคลที่อยูในกลุมเสี่ยงมีดังนี้ ชายรักรวมเพศ หรือชายรักรวมท้ังสองเพศ หรือหญิงรักรวมเพศ หญิงท่ีเปนภรรยา เปนคูนอน คูขา หรือแฟนของชายรักรวมเพศ ผูติดยาเสพติดท่ีใชเข็มฉีดยารวมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งพวกท่ีฉีดเขาเสนเลือดดํา

Page 32: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

20

บุคคลที่ปวยเปนโรคเลือด หรือผูปวยท่ีจะตองรับการผาตัดท่ีจะตองไดรับการถายเลือดหรือจะตองไดรับผลิตภัณฑท่ีเปนสวนประกอบของเลือดเสมอ ๆ บุตร ภรรยา ครอบครัว และคูนอนของผูติดเชื้อโรคเอดสมานานแลว และไมมีการปองกันท่ีดีเพียงพอ บุตรท่ีคลอดจากมารดา ท่ีมีเชื้อโรคเอดสอยูในรางกาย จากมารดาท่ีเปนเอดส ผูปวยท่ีเปนกามโรคบอย ๆ ไดแก หนองในแท หรือหนองในเทียม หรือเปนโรคซิฟลิส จะมีโอกาสติดเชื้อโรคเอดสมาก เพราะแสดงวามีเพศสัมพันธโดยไมปองกัน หญิงหรือชายท่ีมีอาชีพพิเศษ ท่ีมีโอกาสตอนรับผูท่ีอยูในกลุมเสี่ยง หรือตอนรับชาวตางประเทศท่ีมาจากประเทศท่ีมีอุบัติการณของโรคเอดสสูง หนุมสาว นักเรียน นิสิต นักศึกษา ท่ีชอบหาประสบการณทางเพศแบบไมปองกันการติดเชื้อฯ นักโทษ เพราะสวนใหญเปนผูติดยาเสพติด

2.6.4 อาการแสดงของโรค กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) ไดแบงอาการแสดงของโรคเปนระยะดังนี้ 1. ระยะไมปรากฏอาการ (Asymptomatic Stage) ผูติดเชื้ออาจไมมีอาการผิดปกติ

แตอยางใด ระหวางนี้สุขภาพจะแข็งแรงเหมือนคนปกติ ผลการตรวจเลือดจะใหผลบวก หลังจากรับเชื้อแลวประมาณ 4 สัปดาหขึ้นไป ผูติดเชื้อโรคเอดสจะไมทราบวาตนติดเชื้อฯ นอกจากการตรวจเลือดเทานั้น ในขณะเดียวกันหากมีเพศสัมพันธโดยไมปองกันก็อาจแพรเชื้อใหผูอื่นได

2. ระยะเริ่มปรากฏอาการ (Symptomatic HIV Infection) ระยะนี้นอกจากเลือดใหผลบวก แลวยังมีอาการอยางใดอยางหนึ่ง เชน ติดเชื้อราในปาก บริเวณกระพุงแกม และเพดานปาก ตอมน้ําเหลืองโต ที่บริเวณคอ รักแร ขาหนีบ เปนงูสวัด หรือแผลเริมชนิดลุกลาม มีอาการเร้ือรังเกินกวา 1 เดือน โดยไมทราบสาเหตุ เชน ไข ทองเสีย น้ําหนักลด ผิวหนังอักเสบ เปนตน

3. ระยะโรคเอดสเต็มขั้น (Full blow AIDS) หรือระยะโรคเอดส ในระยะนี้ภูมิตานทานของผูปวยจะถูกทําลายลงมาก ทําใหเกิดการติดเชื้อท่ีเรียกวา โรคติดเชื้อฉวยโอกาส ซึ่งเปนโรคท่ีไมสามารถทําอันตรายตอคนปกติไดหลายชนิด และทําใหเกิดอาการตาง ๆ แลวแตจะมีการติดเชื้อ ชนิดใด ที่สวนใดของรางกาย เชน

Page 33: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

21

ถาเปนปอดบวมจะมีอาการ ไข ไอ หอบ ถาเปนเชื้อราในทางเดินอาหาร จะมีอาการเจ็บคอ กลืนลําบาก ถาเปนเยื่อหุมสมองอักเสบ จะมีอาการปวดศีรษะอยางรุนแรง คอแข็ง คลื่นใส อาเจียน บางรายอาจจะเปนมะเร็งหลอดเลือด มีอาการเปนจํ้าสีมวงแดง หรือมะเร็งตอมน้ําเหลือง เปนกอนโตตามตอมน้ําเหลืองตาง ๆ

2.6.5 การตรวจเลือด กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) กลาววา การตรวจเลือดหาการติดเชื้อโรคเอดส

นั้น มิใชการตรวจหาเชื้อไวรัสโรคเอดส แตเปนการตรวจหารองรอยที่รางกายสรางขึ้น เพ่ือตอสูกับโรคนั้น ซึ่งเรียกวา ภูมิตานทาน และตรวจพบไดในระยะเวลาต้ังแต 4 สัปดาห ถึง 3 เดือน หลังจากรับเชื้อโรคเอดสมาแลว หรืออาจนานกวานั้นก็ได ดังนั้นถาสงสัยวาติดเชื้อโรคเอดส ไมควรตรวจเลือดทันที เพราะเลือดอาจยังไมใหผลบวก ควรตรวจภายหลังจากท่ีสัมผัสเชื้อโรคเอดสแลว 4 สัปดาหขึ้นไป จะใหผลท่ีแนนอนกวา ขั้นตอนการตรวจเลือด

1. การตรวจขั้นตน นั้นเปนการตรวจหาภูมิตานทานโรคตอเชื้อนั้น ซึ่งราคาถูก สะดวก รวดเร็ว มีความไวสูง และใหผลท่ีนาเชื่อถือไดมากกวารอยละ 99.5 ถาหากเลือดใหผลบวกจะตองตรวจยืนยันกันอีกครั้ง

2. การตรวจยืนยัน เพ่ือตรวจสอบความถูกตองของการวินิจฉัยโรคจากการตรวจขั้นตน วามีการติดเชื้อโรคเอดส จริงหรือไม

ปจจุบันมีคลินิกใหบริการทางการแพทยและสังคมท่ีเกี่ยวกับโรคเอดสและกามโรค รวมท้ังการตรวจเลือด การหาเชื้อโรคเอดส โดยไมตองแจงชื่อและที่อยู เรียกวา คลินิกนิรนาม โดยการใหบริการทางการปรึกษาโรคเอดส และปญหาสุขภาพทั่วไป การใหมีการบริการปรึกษากอนการตรวจเลือด และหลังทราบผล การตรวจเลือดหาการติดเชื้อฯ และกามโรค การชวยเหลือดานสังคมสงเคราะห เปนตน

2.6.6 การปองกันตนเองไมใหติดเช้ือโรคเอดส กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) กลาววา มีวิธีการปองกันตนเองจากเชื้อโรค

เอดสดังนี้ 1. รักเดียวใจเดียว ไมสําสอนทางเพศ

Page 34: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

22

2. ใชถุงยางอนามัยทุกคร้ังท่ีมีเพศสัมพันธกับหญิงอื่น หรือนอกเหนือจากคูนอนท่ีเปนสามี ภรรยา ในการใชถุงยางอนามัยตองใชอยางถูกวิธี และถุงยางอนามัยตองมีคุณภาพดี ซึ่งในการเลือกใชควรปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ดูวัน เดือน ป ท่ีผลิต (ไมเกิน 4 ป) หรือดูวันหมดอายุท่ีบริเวณขอบซองและซองไมชํารุด ฉีกขาด 2.2 เลือกใชขนาดท่ีเหมาะสมกับอวัยวะของตน หากเล็กไปจะทําใหฉีกขาดงายและถาใหญไปจะทําใหหลุดงายเชนกัน

3. ไมดื่มเหลา หรือเสพยยาเสพติดทุกชนิด 4. ไมใชของมีคมรวมกัน 5. ขอรับบริการปรึกษาโรคเอดสกอนแตงงาน กอนตั้งครรภ

2.6.7 วิธีการบําบัดรักษาโรคเอดส กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) แบงการบําบัดรักษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยโรคเอดส ไดเปน 3 มิติใหญ ๆ ไดแก 1) มิติทางการแพทย 2) มิติทางจิตใจและ 3) มิติทางสังคม ดังนี้ 1. มิติดานการแพทย ในปจจุบนัไมมียาใด ๆ ที่สามารถใชในการรักษาโรคเอดสได จะมีเพียงยาท่ีใชเพ่ือยับยั้งไมใหเชื้อไวรัสโรคเอดสเพ่ิมจํานวนมากขึ้นในรางกาย เพ่ือใหผูปวยมีอายุยืนยาวตอไปอีกระยะหนึ่งเทานั้น ซึ่งสวนใหญจะปฏิบัติดังนี้คือ

1.1 การดูแลสุขภาพดวยวิธีการทางการแพทยแผนปจจุบัน ยาที่ใชคือAZT (Zidovudinc) ddl (Didanosine) และ ddC (Zalctabine) d4T, 3TC ฯลฯ ยาท้ังหมดนี้มีฤทธิ์ยับย้ังการเพ่ิมจํานวนไวรัสโรคเอดส แตไมสามารถกําจัดใหหมดไปจากรางกายได และมีผลขางเคียงหลายอยาง ไดแก โลหิตจาง คลื่นใส อาเจียน ดังนั้นการใชยาจึงตองอยูในความดูแลของแพทยอยางใกลชิด

สําหรับวัคซีนในการปองกันโรคเอดสนั้นยังอยูในระหวางการทดลองศึกษาวิจัยคาดวาจะตองใชเวลาไมตํ่ากวา 5-10 ป จึงจะทราบผลวาสําเร็จหรือไม

1.2 การดูแลสุขภาพทางเลือกอื่น ไดแก การสงเสริมดานโภชนาการใหมีสุขภาพแข็งแรง โดยการรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนครบ 5 หมู อาหารเสริม อาหารจากธรรมชาติ อาหารปลอดสารพิษ และการออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ

1.3 การฝกบริหารจิต ไดแก การปฏิบัติสมาธิ การทําจิตบําบัด เพ่ือใหผูมีปญหาเขาใจตัวเอง หาทางออกได และเผชิญกับปญหาอยางมีสติ

Page 35: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

23

1.4 การใชสมุนไพรและแพทยแผนไทย สมุนไพรท่ีนํามาใชรักษาผูปวย ผูติดเชื้อโรคเอดส ไดแก 1.4.1 สมุนไพรท่ีมีฤทธิ์ยับยั้งการแบงตัวของเชื้อโรคเอดส ไดแก มะระขี้นก ฟาทะลายโจร กระเทียม พูลขาว เปนตน 1.4.2 สมุนไพรท่ีชวยกระตุนภูมิคุมกัน ไดแก เห็ดหลินจือ ฟาทะลายโจร กระเทียม โสม เปนตน 1.4.3 สมุนไพรท่ีมีฤทธิ์ตอเชื้อฉวยโอกาส ไดแก ฟาทะลายโจร ฝรั่ง ขม้ิน ขา เปนตน

1.5 การแพทยแผนไทย เปนการรักษาแบบองครวม คือ การรักษาสมดุลของรางกายของธาตุท้ังสี่ท่ีประกอบดวยธาตุ ดิน น้ํา ลม ไฟ

1.6 ธรรมชาติบําบัด เปนการผสมผสานวิธีการรักษาหลายอยาง เชน การใชสมุนไพร อาหารเสริม การฝงเข็ม การนวด โยคะ เพ่ือฟนฟูความสามารถในการเยียวยาตนเอง

1.7 ชีวจิต เปนการบริโภคอาหารท่ีเรียบงาย ปลอดสารพิษ แตใหคุณคากับการรักษาความสงบทางดานจิตใจ

ปจจุบันใชวิธีรักษาตามอาการ และกําลังดําเนินการวิจัยคนควาหาวิธีการรักษาและปองกันโรคเอดสกันอยูทั่วโลก

2. มิติทางจิตใจ เนื่องจากขณะนี้ยังไมมียา หรือวัคซีนรักษาโรคเอดส เพ่ือหยุดยั้งการแพรกระจายของโรคและปองกันการระบาด ฉะนั้น วิธีท่ีเปนไปไดมากท่ีสุดท่ีจะลดปญหาความรุนแรงของผูติดเชื้อ เอชไอวี ก็คือ การรักษาทางดานจิตใจ ไดแก การใหการสนับสนุนทางดานกําลังใจ การรักษาทางดานจิตใจท่ีเกิดจากแรงกดดันหลาย ๆ ดาน ซึ่งวิธีการรักษาดังกลาวของสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ และภาคเอกชน รวมท้ังศูนยใหความชวยเหลือตาง ๆ นิยมปฏิบัติอยางแพรหลายคือ การใหคําปรึกษาผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยโรคเอดส และหนวยงานในสถานพยาบาลของรัฐ ท่ีใหบริการ คือ คลินิกนิรนาม สามารถขอรับบริการปรึกษาโดยไมตองแจง ชื่อ นามสกุล และที่อยูจริง ซึ่งจะใหการปรึกษาเปนรายบุคคล และมีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูรับการปรึกษาสามารถเขาใจตนเอง ยอมรับปญหาที่มีอยูและแกไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง

3. มิติทางสังคม โดยธรรมชาติของมนุษยจะมีลักษณะเปนสัตวสังคมกลุม ก็เปรียบเสมือนสังคมเล็ก ๆ ซึ่งสะทอนความเปนจริงของโลกภายนอกกลุม การท่ีจะเขาใจพฤติกรรมของบุคคลอยางแทจริงนั้น จําเปนจะตองเขาใจถึงสภาพแวดลอมทางสังคมของเขาดวย ปญหาท่ีเกิดขึ้นตอการปรับตัวของวิถี

Page 36: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

24

ชีวิตของมนุษยแตละบุคคลนั้น ก็เปนผลมาจากความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมสังคม และผลของความขัดแยงจากองคประกอบภายในของแตละบุคคล เชน คานิยม ทัศนคติ บุคลิกภาพ และความเปนเอกลักษณของตนเอง เชนเดียวกับปญหาโรคเอดส ซึ่งกลายเปนปญหาความรุนแรงท่ีสงผลใหประชาชนท่ีไดรับผลกระทบตองประสบปญหาท้ังดานรางกาย จิตใจ สังคม เศรษฐกิจ จนไมสามารถใชชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุขตามท่ีควรจะเปน สําหรับแนวทางในการแกไขเพื่อลดความรุนแรงของปญหานั้น ก็มีหลายวิธีท่ีจะเปนทางเลือกของผูตองการความชวยเหลือ หรือผูติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยโรคเอดสหรือผูรับการปรึกษาแบบกลุม หรือการสนับสนุนทางสังคม เปนตน อีกประเด็นหนึ่งท่ีสาธารณชนสนใจเกี่ยวกับโรคเอดสคือ วิธีการรักษาทางการแพทย ท้ังแผนปจจุบัน เชน การใชยาตานไวรัสเอดส การใชวัคซีนปองกันและรักษาโรคเอดส การรักษาโรคแทรกซอนฉวยโอกาส เปนตน การใชวิธีการรักษาแพทยแผนไทยหรือพ้ืนบาน เชน การใชสมุนไพรในรูปแบบของยาและอาหารเสริม เปนตน ทางเลือกในการดูแลสุขภาพแบบองครวม การรวมกลุมของผูติดเชื้อ บริการทางสังคมของรัฐ เชน เงินทุน ท่ีอยูอาศัย การสรางทัศนคติ เจตคติ ความรู และพฤติกรรมปองกันโรคเอดสตอตนเองและคนใกลชิด ซึ่งขอมูลตาง ๆ จะชวยใหบุคคลท่ีรับทราบ มีการประเมินเพ่ือท่ีจะยอมรับหรือปฏิเสธโรคเอดสและวิธีการดูแลรักษาแบบตาง ๆ

จากขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับความรูเร่ืองโรคเอดสจะเห็นไดวา เม่ือรับเชื้อเอชไอวีเขาไปในรางกายจนกวาจะพัฒนาไปสูอาการของโรคเอดส ซึ่งมีอยูหลายขั้น หลายระยะ ถาผูติดเชื้อ เอชไอวีรูตัวเพราะไดรับการตรวจเลือดและพยายามดูแลรักษาตนเองใหดีโดยไมไปมีพฤติกรรมเสี่ยงในการรับเชื้อเพ่ิม พรอมทั้งยอมรับสภาพความเปนจริง ในขณะเดียวกันตองสามารถทําใจยอมรับสภาพความเจ็บปวย พรอมกับตองมีการปรับตัวเพ่ือทําใหสภาพรางกายและจิตใจเกิดความเขมแข็งสามารถตอสูกับภาวะของโรคแทรกซอนตาง ๆ ท่ีจะสงผลกระทบตอสุขภาพท้ังรางกาย และจิตใจ แลวยังกระทบตอชีวิตความเปนอยูในสังคมดวย ทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีตองพยายามปรับตัวเพ่ือเผชิญกับปญหาวิกฤตนั้น

2.6.8 การดูแลผูติดเช้ือโรคเอดส และผูปวยโรคเอดส กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) กลาววา ผูติดเชื้อเอดส ไมควรวิตกกังวล

จนเกินไป ผูท่ีไมมีอาการสามารถดําเนินชีวิตไดตามปกติโดยไมจําเปนตองอยูโรงพยาบาล สําหรับผูปวยโรคเอดสเม่ือเขารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลไดมุงเนนใหบริการ ดูแลครอบคลุมความตองการของผูท่ีติดเชื้อและผูปวยเอดสท้ังรางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ จึงตองมีการประสานท่ีบานและท่ีชุมชน เม่ือจําหนายผูปวยออกจากโรงพยาบาล ครอบครัวจะเปนหนวยท่ีใกลชิดที่สุดของ

Page 37: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

25

สังคมในการดูแลผูติดเชื้อและผูปวยใหกําลังใจชวยเหลือที่ถูกตองตามสมควร ซึ่งตองอาศัยความรูท่ีถูกตองและเหมาะสม การจัดระบบบริการดูแลผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยโรคเอดส ควรจะตองเปนระบบท่ีมีลักษณะสําคัญ 2 ประการ คือ เปนบริการท่ีครอบคลุมสภาพปญหาตาง ๆ อยางครบถวน (Comprehensive Care) และเปนบริการท่ีมีความตอเนื่อง (Continuum Care) ดังนี้ 1. การบริการดูแลอยางครบถวน (Comprehensive Care) โดยบริการตาง ๆ ท่ีมีจะตองครอบคลุมสภาพปญหาตาง ๆ ท้ังหมดท่ีอาจเกิดขึ้นกับผู ติดเชื้อเอชไอวี และผูปวยเอดสและครอบครัว ดังนี้ 1.1 การดูแลทางการแพทยและการพยาบาล (Medical Care) เพ่ือตอบสนองตอปญหาความเจ็บปวยทางรางกายตามสถานภาพทางสุขภาพและโรคแทรกซอนท่ีเกิดขึ้น จึงควรจัดใหมีกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ การวินิจฉัยโรค การปฏิบัติหัตถการท้ังทางดานการแพทยและการพยาบาล การบําบัดโดยวิธีการดานโภชนาการ ดานกายภาพบําบัด การจัดยาและเวชภัณฑท่ีเหมาะสม การใชสมุนไพร และวิธีการรักษาแบบพ้ืนบานท่ีปลอดภัย การใหคําแนะนําในการรับประทานยารวมไปถึงการปฏิบัติตัวของผูปวย วิธีการดูแลชวยเหลือผูปวยสําหรับญาติท่ีบานและท่ีอื่น ๆ 1.2 การดูแลทางดานสังคมวิทยา (Psychological Care) ไดแก การบริการปรึกษาทางการแพทยและสังคม (Counseling) การใหกําลังใจ (Emotional Support) การสนับสนุนใหเกิดกลุมเพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกัน รวมท้ังการใหขอมูลขาวสารตาง ๆ ในกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยโรคเอดส และครอบครัว 1.3 การดูแลทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการคุมครองสิทธิ (Socio-economical Care and Human Right) ไดแก การชวยเหลือสงเคราะหผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยโรคเอดสและครอบครัวสามารถทําหนาที่ทางสังคมไดดังเดิม และดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติ รวมทั้งบริการเฉพาะในกรณีท่ีไดรับผลกระทบจากโรคเอดส เชน ทุนการศึกษาบุตร บริการหาครอบครัวท่ีรับเด็กเปนบุตรบุญธรรม (Child Adoption) หรือการหาครอบครัวอุปการะ (foster Home) เปนตน นอกจากนี้การชวยเหลือทางดานกฎหมายและจริยธรรม (Legal and Ethical service) เชน การคุมครองปกปองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีมิใหถูกละเมิด และการดําเนินการกรณีถูกละเมิดสิทธิ (Human Right Protection) การปรับปรุงระเบียบและกฎหมายเพ่ือเอื้อใหเกิดการอยูรวมกันและการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยโรคเอดส เชน การประกันชีวิตและการประกันสุขภาพ (Health and Life Insurance) การสนับสนุนทางดานกฎหมายหรือการใหขอมูลเกี่ยวกับสิทธิและกฎหมาย เชน เรื่องจัดการทรัพยสินและมรดกของผูเสียชีวิตจากโรคเอดสไปอยาง

Page 38: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

26

ยุติธรรม การชวยเหลือใหผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยโรคเอดสเขาถึงบริการตาง ๆ โดยไมถูกเลือกปฏิบัติ เปนตน 2. การบริการอยางตอเนื่อง (Continuum Care) เนื่องจากสภาพปญหาท่ีเกิดกับผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยโรคเอดสและครอบครัวมีความซับซอนและหลากหลายแปรเปลี่ยนไดตามเงื่อนไขตาง ๆ เชน ความเจ็บปวย ภาวการณไมมีงานทําและรายไดของสมาชิกครอบครัวลดลง และปฏิกิริยาการยอมรับจากชุมชน เปนตน ดังนั้นบุคลากรจึงตองปฏิบัติงานใหประสานกันโดยประเมินสภาพปญหาของผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยเอดสและครอบครัวอยางครอบคลุม จัดใหมีการสงตอผูใชบริการไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ การบริการดูแลอยางตอเนื่อง อาจพิจารณาเปน 2 มิติ ดังนี ้ 2.1 ความตอเนื่องของมิติสถานที่ (Place) ประกอบดวยประเด็นสําคัญ 2 ประเด็น คือ ความตอเนื่องระหวางหนวยงานตาง ๆ ไดแก การสงตอผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยโรคเอดส และครอบครัวเพ่ือรับบริการสําหรับปญหาท่ีภายในหนวยงานของผูสงไมมีหรือมีแตไมเพียงพอ เชนผูปวยโรคเอดสที่พักรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลและมีปญหาเร่ืองครอบครัวขาดรายได ไมสามารถสงบุตรเขารับการศึกษาได ผูปฏิบัติงานสังคมสงเคราะหในโรงพยาบาลควรสงตอครอบครัวของผูปวยไปขอใชบริการจากหนวยงานประชาสงเคราะหหรือหนวยงานดานการศึกษาสงเคราะห เปนตน ความตอเนื่องระหวางสถานบริการสุขภาพไปจนถึงท่ีบานและชุมชน โดยสนับสนุนใหเกิดการดูแลท่ีบานและในชุมชน เชน การวางแผนจําหนายผูปวย การเ ย่ียมบาน การจัดต้ังกลุมอาสาสมัครดูแลผูปวยในชุมชน ใหชวยเหลือและติดตามดูแลผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยโรคเอดสและครอบครัวท่ีบาน เปนตน 2.2 ความตอเนื่องดานเวลา (Time) หมายถึง ความตอเนื่องของบริการดูแลตาง ๆ ท่ียาวนานเพียงพอกับสภาพปญหาท่ีเกิดขึ้นกับผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยเอดสและครอบครัว โดยในระยะแรกของการติดเชื้อ ผูติดเชื้อเอชไอวีอาจมีปญหาเร่ืองจิตใจ อารมณ การรักษาความลับ ตอมาเมื่อปวยจะมีปญหาดานสุขภาพ ตกงาน ขาดรายได คาใชจายเพ่ิมมากขึ้น แมกระทั่งผูปวยโรคเอดสท่ีเสียชีวิตไปแลวครอบครัวอาจประสบปญหาอยู เชน ถูกรังเกียจจากสังคม ขาดรายได บุตรหลานในครอบครัวไมสามารถเขารับการศึกษาไดตามปกติ ปญหาเรื่องสิทธิในทรัพยสินของผูเสียชีวิต เปนตน

2.6.9 ภาวะจิตใจของผูติดเช้ือโรคเอดส กองโรคเอดส กระทรวงสาธารณสุข (2544) กลาววา ผูติดเชื้อโรคเอดสที่รูวาตนเองติดเชื้อ

โรคเอดสจะมีความรูสึกออนแอ เครียด คิดมาก นอนไมหลับ และมีอารมณเปลี่ยนแปลงงาย อาจจะ

Page 39: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

27

รูสึกวาถูกรังเกียจและตองอยูคนเดียวอยางโดดเด่ียวบางครั้งจะมีความตองการมากกวาคนปกติธรรมดา ดังนี้

1. ความตองการปจจัยพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต เชน อาหาร ท่ีอยูอาศัย เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค ทําใหผูติดเชื้อโรคเอดสยังมีความตองการท่ีจะทํางาน เพราะงานเปนสิ่งท่ีกอใหเกิดรายไดนํามาจุนเจือครอบครัวและตนเอง และทําใหรูสึกมีคุณคาในสายตาของตนเองและสังคม

2. ความตองการท่ีจะระบายความรูสึก ตองการท่ีจะพูดคุยเรื่องความรูสึกของตนเองกับใครสักคนท่ีไวใจได เพื่อบรรเทาความเครียด ความอัดอั้นในใจ

3. ตองการความรัก ความอบอุน ความเห็นอกเห็นใจ การยอมรับ ไมมีความรังเกียจ จึงตองการกําลังใจจากคนรอบขางในการยอมรับวาเขาเปนคนหนึ่งในครอบครัวและสังคม

4. ความตองการสถานพยาบาลรวมท้ังบุคลากรทางการแพทยท่ีมีความรู ความเขาใจเปนท่ีปรึกษาแนะนํา เปนท่ีพ่ึงทางใจและยังเปนความหวังใหรูสึกสบายใจวา ถาตนเองเจ็บปวยยังมีสถานพยาบาลท่ีพรอมจะใหการรักษาพยาบาลอยางท่ีสุด

5. ความตองการดูแลท่ีบาน เมื่อเกิดอาการเจ็บปวยในบางคร้ังผูติดเชื้อโรคเอดสไมจําเปนท่ีจะตองอยูในโรงพยาบาล ถาสมาชิกในครอบครัวมีการเตรียมตัวท่ีดีก็สามารถดูแลผูปวยที่บานได

6. ความตองการการดูแลระยะสุดทายของโรคเอดส ผูติดเชื้อโรคเอดสยังคงมีความหวังหลายอยาง เชน หวังวาจะมีชีวิตท่ียืนยาว มีการคนพบยา หรือวัคซีนท่ีจะนํามารักษาโรคเอดสได หรือแพทยจะสามารถรักษาใหหายจากโรคเอดสได รวมท้ังหวังวาจะไดรับการยอมรับจากครอบครัว ชุมชน และสังคม เปนท่ีรักของคนท่ีตนรัก หากถาตองตายก็ขอใหตายอยางมีความสุข

แนวทางในการปฏิบัติพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสตามแบบแผนพฤติกรรมการดําเนินชีวิตและนิสัยสุขภาพ 10 ดานของ Pender (1987: 138-143 อางถึงในสําราญ เชื้อเมืองพาน, 2550: 42-45)

1. ความสามารถในการดูแลตนเองท่ัวไป 1.1 พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เพ่ือใหไดรับอากาศบริสุทธเพียงพอ ไมอยูในท่ีแออัดอับชื้น หลีกเลี่ยงจากผูปวยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ เพ่ือลดโอกาสเสี่ยงตอการรับเชื้อเพ่ิม 1.2 พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เพ่ือใหรางกายไดรับน้ําเพียงพอและเหมาะสมกับความรองการของรางกาย โดยผูติดเชื้อเอดสควรไดรับน้ําอยางนอยวันละ 2,500-3,000 ซีซี 1.3 พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เพ่ือใหมีการขับถายและระบายของเสียออกจากรางกายผูติดเชื้อเอดส ควรทําความสะอาดรางกายทุกวัน ควรใชสบูเหลว ทาโลชั่นบํารุงผิวแหงแตก ตลอดจนฝกการขับถายใหเปนเวลา สังเกตลักษณะสี จํานวนการขับถายอุจจาระ ดูแลความสะอาดของผิวหนังบริเวณท่ีขับถายใหสะอาด สังเกตสีและลักษณะของผิวหนัง

Page 40: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

28

1.4 พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เพ่ือปองกันภาวะแทรกซอน ผูติดเชื้อเอดสควรมาพบแพทยตามนัด เพราะแพทยจะไดติดตามการดําเนินของโรค และไดเขาแผนการรักษาพยาบาลและสามารถปฏิบัติตามแผนการรักษาไดถูกตอง ควรรับประทานยาหรือรับการบําบัดรักษาอื่น ๆ ตามท่ีแพทยกําหนดอยางสมํ่าเสมอ ไมควรซื้อยารับประทานเอง เพราะยาบางชนิดอาจไปกดหรือทําลายภูมิตานทานของตนเอง และควรรูจักสังเกตอาการของโรคท่ีกลับมาเปนซ้ํา และรีบพบแพทยทันทีท่ีมีอาการผิดปกติ เพ่ือโรคจะไดไมรุนแรงขึ้น ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามคําแนะนําของแพทย พยาบาลและทีมสุขภาพเพ่ือปองกันไมใหรับเชื้ออื่นเพ่ิมและปองกันการแพรกระจายเชื้อไปสูครอบครัวและคนอื่น 1.5 พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เพ่ือปองกันการเกิดอุบัติเหตุ หรือการไดรับบาดเจ็บตางๆ ในการดํารงชีวิต

2. การปฏิบัติตนดานโภชนาการ ควรรับประทานอาหารคร้ังละนอย ๆ แตบอยครั้ง หลีกเลี่ยงอาหารมัน อาหารรสจัด อาหารทําใหเกิดกรดแกส ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง แคลอร่ีสูง วิตามินและเกลือแร รับประทานอาหารท่ีชอบและควรมีการประเมินภาวะโภชนาของตนวาอยูในเกณฑปกติหรือไม หมั่นชางน้ําหนัก

3. การออกกําลังกายและกิจกรรมพักผอน ควรออกกําลังกายวันละ 20 นาที และไมควรเกิน 1 ชั่วโมง มีการกระตุนใหหายใจและไหลเวียนเลือดมีประสิทธิภาพ มีการนับชีพจรขณะมีการออกกําลังกาย หรือทันทีท่ีหยุดออกกําลังกาย การออกกําลังกายชวยใหการทํางานของระบบภูมิคุมกัน ซึ่งเปนผลกระทบของภาวะเครียดและความวิตกกังวล สวนการพักผอน จะทําใหรางกายไดผอนคลายความตึงเครียด ซึ่งทําไดหลายวิธี เชนการทํางานอดิเรก ดูโทรทัศน เปนตน

4. รูปแบบการนอนหลับ ชวงกลางคืนจะหลับไดดีและมีคุณภาพ ควรหลับใหสนิท อยางนอยคืนละ 6-8 ชั่วโมง

5. การขจัดความเครียด ความเครียดมีผลตอการกดภูมิคุมกัน ฉะนั้นจึงจําเปนท่ีจะตองหาวิธีผอนคลาย เชน การหาเหตุผลและแกปญหาอยางมีเหตุผล การมองโลกในแงดี การสรางอารมณขัน การระบายความรูสึกใหผูใกลชิดฟง การทําสมาธิ สวดมนตหรือวิธีอื่น ๆ เพ่ือลดความเครียด และความวิตกกังวล 6. การตระหนักและการยอมรับในความมีคุณคาแหงตน การปวยเปนโรคท่ีรักษาไมหายเปนโรคท่ีสังคมรังเกียจ และสมรรถภาพรางกายเปลี่ยนไป ทําใหผูติดเชื้อเอชไอวีตองสูญเสียบทบาทในครอบครัวและในหนาที่การงาน รวมท้ังรูปแบบการดําเนินชีวิตเดิมเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการพยายามสรางเสริมความรูสึกมีคุณคาในตนเองใหมากท่ีสุด โดยการปรับตัวใหมใหเขากับงานท่ีอาจเปลี่ยนแปลงไป ปรับสัมพันธภาพบทบาทในสังคมและครอบครัวใหม พยายามชวยเหลือ

Page 41: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

29

ตนเองในการทํากิจวัตรประจําวันใหมากท่ีสุด เชน การแตงตัว การเคลื่อนไหว และควรมีโอกาสไดตัดสินใจดวยตนเองในเรื่องตาง ๆ เชน การดูแลตนเอง เพราะเปนวิธีหนึ่งท่ีชวยใหเพิ่มความเชื่อม่ันในความสามารถของตน 7. การมีจุดมุงหมายในชีวิต การดูแลสุขภาพตนเองและอยูกับปจจุบันใหมากท่ีสุด โดยไมเปรียบเทียบตนเองกับเหตุการณในอดีตที่ดีกวาปจจุบัน หรือเปรียบเทียบตนเองกับผูอื่นท่ีดีกวาตน ไมสรางความหวังท่ีเปนไปไมไดสําหรับอนาคต แตสนใจความกาวหนาในการปรับตัวของตนท่ีใชความสามารถที่ดีท่ีสุดแลวในชีวิตประจําวัน และมีความสุขในสวนท่ีตนสําเร็จตามเปาหมายท่ีต้ังใจไวจะทําใหเพ่ิมความนบัถือตนเอง และเห็นตนเองมีคุณคา 8. การมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ผูติดเชื้อเอชไอวีมักจะมีความรูสึกวาแตกตางหรือต่ําตอยกวาบุคคลอื่น ทําใหผูติดเชื้ออยากอยูคนเดียว ไมตองการมีกิจการทางสังคม ดังนั้นผูติดเชื้อเอชไอวีควรเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมของสังคมและปฏิสัมพันธกับคนในครอบครัวอยางเหมาะสม เพราะจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสุขภาพชีวิต รูสึกมีคุณคาและความภาคภูมิใจ 9. การควบคุมภาวะสิ่งแวดลอมเนื่องจากการติดเชื้อทางระบบทางเดินหายใจเปนภาวะแทรกซอนท่ีพบบอยที่สุดในผูติดเชื้อเอชไอวีโดยเฉพาะโรคปอดอักเสบจากเชื้อ Pneumocystis Carinii ดังนั้นควรจะมีการควบคุมสภาพแวดลอม โดยเฉพาะฝุนควันอากาศเปนพิษ สัตวท่ีเปนพาหะของโรค เชน ยุงหนู ควรใหมีการถายเทสะดวก และปลอดภัยจากอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดขึ้นไดในท่ีอยูอาศัย เชน ไฟไหม หกลม ตกบันได เพ่ือหลีกเลี่ยงการมีรองรอยบาดเจ็บท่ีผิวหนัง ซึ่งเปนผลใหติดเชื้ออื่น ๆ เพิ่มมากขึ้น 10. การใชระบบบริการสุขภาพ ผูติดเชื้อจะมีสุขภาพดีได จะตองยอมรับและใหความชวยเหลือในการปฏิบัติตามแผนการรักษาเปนอยางดี และแสวงหาความชวยเหลือทางการแพทยท่ีถูกตอง โดยมารับการตรวจรักษาและปฏิบัติตนตามคําแนะนํา หรือแผนการรักษาอยางถูกตองสม่ําเสมอ 2.7 ปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

2.7.1 ปจจัยสวนบุคคลท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพในดานตาง ๆ นั้นจะมีความแตกตางกันในแตละบุคคลขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ซึ่งปจจัยสวนบุคคลนั้นก็เปนปจจัยท่ีสงผลตอการทํากิจกรรมตาง ๆ ในการศึกษาครั้งนี้ ปจจัยสวนบุคคลท่ีจะเกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพมีดังนี้

Page 42: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

30

1. เพศ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ จากการศ ึกษาของ ณัฐกานต ปวะบุตร (2550) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของบุคลากรสาธารณสุข ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลพาน อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย พบวาเพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยสอดคลองกับ ชลลดา พิทูรย (2548) ไดศึกษาเร่ืองปจจัยท่ีมีผลตอการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี พบวา เพศมีความสัมพันธก ับพฤติกรรม การดูแลสุขภาพ อ ยางมีน ัยสําคัญทางส ถิติ ท่ีระดับ .05 และสอดคลองกับการศึกษาของ มาริสา เพฑูริยาเวทย (2544: 80-81) ซึ่งศึกษาเร่ืองพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในอําเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส พบวาเพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยเพศหญิงมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาเพศชายและสอดคลองกับการศึกษาของ ปรีชา ชาญณรงค (2545: 61) ซึ่งศึกษาเรื่องพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดานการออกกําลังกายของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย: กรณีศึกษาโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา กรุงเทพมหานคร พบวา นักเรียนท่ีเพศตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังนี้นักเรียนชายมีพฤติกรรมในการออกกําลังกายมากกวานักเรียนหญิง และสอดคลองกับการศึกษาของ นันตศักด์ิ เศษสุวรรณ (2547: 79) ศึกษาเร่ืองปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสรางสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข อําเภอจตุพัตกรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด พบวาอาสาสมัครสาธารณสุขเพศหญิงมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาเพศชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนการศึกษาของ ธนะรัตน คลายเปรม (2550: 43) ศึกษาเรื่องการสรางเสริมสุขภาพของขาราชการกองทัพอากาศ พบวาเพศหญิงมีพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพดีกวาเพศชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 การศึกษาของ สุภัทรา พสุมาตร (2543: 65) ศึกษาเร่ืองปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลอํานาจเจริญ พบวาบุคลากรในโรงพยาบาลอํานาจเจริญเพศหญิงมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาเพศชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ การศึกษาของ วีระพันธุ อนันตพงศ (2545: 92) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดานออกกําลังกายของนักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา พบวานักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา เพศชาย มีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดานออกกําลังกายดีกวาเพศหญิงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

2. อายุ จากการศึกษาของ ทัศนีย บุญทวีสง (2549: 92) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคท่ีพบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษาเขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวากลุมตัวอยางท่ีมีอายุมากกวามีพฤติกรรมสุขภาพดีกวากลุมตัวอยางท่ีมีอายุนอยกวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สอดคลองกับการศึกษาของ กมลภัทร มณฑานุช (2549: 21) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพ้ืนท่ีเขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร

Page 43: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

31

พบวาอายุของครูมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการสรางสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยครูท่ีอายุมากมีพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพดีกวา สอดคลองกับการศึกษาของ สมศักด์ิ พ่ึงเศรษฐดี (2548: 106) ศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในสถาบันบําราศนราดูร พบวา กลุมตัวอยางที่มีอายุแตกตางกันมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยกลุมตัวอยางท่ีมีอายุ 31 ปขึ้นไปมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดีกวากลุมที่ไมเกิน 30 ป สอดคลองกับการศึกษาของ สุรัสวดี ไมตรีกุล (2547: 109) ซึ่งศึกษาเ ร่ืองปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลยะลา พบวา บุคลากรในโรงพยาบาลที่มีอายุตางกันมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยกลุมตัวอยางที่มีอายุ 31 ปขึ้นไปมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดีกวากลุมท่ีมีอายุไมเกิน 30 ป และการศึกษาของเกษมธิดา สพสมัย (2536: 57-58) พบวาอายุของเจาหนาท่ีสาธารณสุขท่ีรับผิดชอบศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน มีความสัมพันธกับการปฏิบัติงานตามบทบาทในการสนับสนุนการดําเนินงานดานขอมูลขาวสาร การสงเสริมและสนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐานและการนิเทศ สอดคลองกับการศึกษาของ วันเพ็ญ ใจทน(2549) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา อายุมีความสัมพันธก ับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยพนักงานที่มีอายุมากจะดูแลสุขภาพตัวเองดีกวาพนักงานท่ีมีอายุนอย และการศึกษาของ ชลลดา พิทูรย (2548: 59) ไดศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีผลตอการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี พบวา พยาบาลท่ีมีอายุตางกัน 4 กลุม ไดแก อายุไมเกิน 28ป 29-35 ป 36-45 ป และ 46 ปขึ้นไป มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

3. ระดับการศึกษา จากการศึกษาของ ทัศนีย บุญทวีสง (2549: 92) ศึกษาเร่ือง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคที่พบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษาเขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวาผูที่มีระดับการศึกษาสูงมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูท่ีมีการศึกษาตํ่าอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยสอดคลองกับการศึกษาของ น้ําทิพย เอี่ยมรักษา (2547: 61-62) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือรักษาโรคเบาหวานของผูปวยนอก ศึกษาเฉพาะกรณีวชิร พยาบาล พบวา ผูปวยที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูปวยท่ีมีการศึกษาตํ่า อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สอดคลองกับการศึกษาของ กมลภัทร มณฑานุช (2549: 43) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพ้ืนท่ีเขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร พบวาจํานวนปที่ศึกษาของครูมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และการศึกษาของ ชลลดา พิทูรย (2548: 60) ไดศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีผลตอการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี พบวาพยาบาล

Page 44: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

32

ท่ีมีระดับการศึกษาตางกันมีพฤติกรรมการดูแลตนเองแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สอดคลองกับการศึกษาของ ธนะรัตน คลายเปรม (2550: 46) ศึกษาเรื่องการสรางเสริมสุขภาพของขาราชการกองทัพอากาศ พบวา ขาราชการกองทัพอากาศท่ีมีระดับการศึกษาตั้งแตปริญญาตรีขึ้นไปมีพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพดีกวาขาราชการกองทัพอากาศท่ีมีระดับการศึกษาตํ่ากวาปริญญาตรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

4. อาชีพ จากการศึกษาของ สมศรี บุญจันทร (2548) เรื่อง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงตั้งครรภมุสลิม: ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบวา อาชีพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

5. รายได จากการศึกษาของ สุกานดา บุญญานนท (2546) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงตั้งครรภ พบวา รายไดมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ อยูในระดับดี และการศึกษาของ วันเพ็ญ ใจทน (2546: 79) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา รายไดมีความสัมพันธก ับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยพนักงานท่ีมีรายไดมากจะดูแลสุขภาพตัวเองดีกวาพนักงานที่มีรายไดนอย สวนการศึกษาของ ธนะรัตน คลายเปรม (2550: 46) ศึกษาเรื่องการสรางเสริมสุขภาพของขาราชการกองทัพอากาศ พบวา กลุมขาราชการกองทัพอากาศรายไดแตกตางกันมีพฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สอดคลองกับการศึกษาของ ชลลดา พิทูรย (2548: 63) ไดศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีผลตอการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี พบวา พยาบาลท่ีมีรายไดตางกันมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สวนการศึกษาของ กมลภัทร มณฑานุช (2549: 44) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพ้ืนท่ีเขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร พบวารายไดของครอบครัวครูมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สอดคลองกับการศึกษาของ สุรัสวดี ไมตรีกุล (2547: 112) ซึ่งศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลยะลา พบวาบุคลากรในโรงพยาบาลท่ีมีรายไดตางกันมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคลองกับการศึกษาของ สมศักด์ิ พ่ึงเศรษฐดี (2548: 108-109) ซึ่งศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในสถาบันบําราศนราดูร พบวา บุคลากรท่ีมีรายไดตางกันมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยกลุมท่ีมีรายได 20001 บาทขึ้นไปมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพมากกวา และสอดคลองกับการศึกษาของ น้ําทิพย เอี่ยมรักษา (2547: 63) ซึ่งศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือรักษาโรคเบาหวานของผูปวยนอก ศึกษาเฉพาะกรณีวชิรพยาบาล พบวา ผูปวยท่ีมีรายไดของครอบครัว

Page 45: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

33

สูงจะมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูปวยท่ีมีรายไดของครอบครัวต่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

6. สถานภาพสมรส จากการศึกษาของ วันเพ็ญ ใจทน (2546: 79-80) เร่ืองพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา พนักงานท่ีมีสถานภาพสมรสตางกันมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .05 โดยกลุมตัวอยางที่สมรสแลวมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีกวากลุมตัวอยางที่ยังเปนโสด โดยสอดคลองกับการศึกษาของ กมลภัทร มณฑานุช (2549: 42) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพื้นที่เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร พบวา ครูที่สมรสแลว มีพฤติกรรมสรางเสริมสุขภาพดีกวาครูโสด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 7. การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ จากการศึกษาของ จันทนา พงษสมบูรณ (2539) ไดศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีผลกระทบตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูติดเชื้อเอดส ที่มารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลชลบุรี จํานวน 160 คน โดยการสัมภาษณพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพและการสอบถามการรับรูตอสุขภาพ ผลการศึกษาพบวา ปจจัยท่ีมีผลกระทบตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูติดเชื้อเอดสคือ การรับรูตอภาวะสุขภาพ โดยสอดคลองกับการศึกษาของ สําราญ เชื้อเมืองพาน (2550) ไดศึกษาเรื่องคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อเอดสและผูปวยเอดส: กรณีศึกษา กลุมรวมน้ําใจริมน้ําลาว อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย ท่ีเปนสมาชิกกลุมไมนอยกวา 3 เดือน พบวา ระยะเวลาการรับรูวาติดเชื้อเอดส คือปจจัยที่มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 กับคุณภาพชีวิตผูติดเชื้อเอดสและผูปวยเอดส สวนการศึกษาของ กิตินันท สิทธิชัย (2540) ไดศึกษาการรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนจากคูสมรส และพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของมารดาท่ีติดเชื้อเอชไอวี พบวา การรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของมารดาท่ีติดเชื้อเอชไอวีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 สวนการศึกษาของ มณฑิรา เขียวยิ่ง และจินตนา ต้ังวรพงศชัย (2542) ศึกษาการรับรูเร่ืองโรคเอดสและบทบาทสามีและภรรยา ในการดูแลคูสมรสท่ีติดเชื้อเอดส พบวา การรับรูเรื่องโรคเอดสของสามีมีความสัมพันธทางบวกกับบทบาทของสามใีนการดูแลคูสมรสท่ีติดเชื้อเอดส และภรรยาท่ีมีการรับรูเร่ืองโรคเอดสมีความสัมพันธทางบวกกับบทบาทของภรรยาในการดูแลคูสมรสท่ีติดเชื้อเอดส สวนการศึกษาของ ผองสาย จูงใจไพศาล และคณะ (2542) ไดศึกษาคุณภาพชีวิตของมารดาท่ีติดเชื้อเอดส: กรณีศึกษาเชิงปรากฎการณวิทยา ผลการศึกษาทําใหเกิดความรูอยางแทจริงวาคุณภาพชีวิตของมารดาที่ติดเชื้อ เอดสมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับระยะเวลาของการเกิดโรค 8. ความถี่ของการเจ็บปวย จากการศึกษาของ สมคิด โพธิชนะพันธ และคณะ(2544) ไดศึกษารูปแบบการพัฒนาการดูแลตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส ท่ีโรงพยาบาลศิริราช

Page 46: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

34

พบวา ความรูและประสบการณเกี่ยวกับความเจ็บปวยและโรคเอดส ชวยใหผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดสมีความสามารถในการดูแลตนเอง คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตดีขึ้น และการศึกษาของ ศดานันท ปยะกุล (2542 อางถึงใน สําราญ เชื้อเมืองพาน, 2550: 65) ศึกษาคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อและผูปวยเอดสในโรงพยาบาลสันปาตองและโรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม พบวา ปจจัยทางดานการเจ็บปวย ไดแกกลุมอาการเจ็บปวยผิดปกติทางรางกายในชวง 1 เดือนท่ีผานมา เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อและผูปวยเอดส สวนการศึกษาของ สําราญ เชื้อเมืองพาน (2550) ไดศึกษาเร่ืองคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อเอดสและผูปวยเอดส: กรณีศึกษา กลุมรวมน้ําใจริมน้ําลาว อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย ท่ีเปนสมาชิกกลุมไมนอยกวา 3 เดือน พบวา ลักษณะการเจ็บปวยเปนปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อเอดสและผูปวยเอดสอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

2.7.2 ปจจัยดานความรูท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ จากการศึกษาของ พบวา น้ําทิพย เอี่ยมรักษา (2547: 61-62)

ศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือรักษาโรคเบาหวานของผูปวยนอก ศึกษาเฉพาะกรณี วชิรพยาบาล พบวา ผูปวยท่ีมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพสูงจะมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูปวยท่ีมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตํ่า อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนการศึกษาของสุรสัวดี ไมตรีกุล (2547) ศึกษาเ ร่ืองปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลยะลา พบวา ความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เปนปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลยะลา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนการศึกษาของ นันตศักด์ิ เศษสุวรรณ (2547: 79) ศึกษาเรื่องปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสรางสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข อําเภอจตุพัตกรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด พบวาการไดรับขอมูลขาวสารมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสรางสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 การศึกษาของสมศรี บุญจันทร (2548) เ ร่ือง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงต้ังครรภมุสลิม: ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบวา ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สวนการศึกษาของ ธนะรัตน คลายเปรม (2550) ศึกษาเร่ืองการสรางเสริมสุขภาพของขาราชการกองทัพอากาศ พบวา การเห็นความสําคัญในการสรางเสริมสุขภาพและการรับขาวสารดานสุขภาพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สวนการศึกษาของสมคิด โพธิชนะพันธ และคณะ(2544) ไดศึกษารูปแบบการพัฒนาการดูแลตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส ท่ีโรงพยาบาลศิริราช พบวา

Page 47: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

35

ความรูและประสบการณเกี่ยวกับความเจ็บปวยและโรคเอดส ชวยใหผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดสมีความสามารถในการดูแลตนเอง คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตดีขึ้น การศึกษาของ ดวงกมล พรหมลักขโณ (2549) ศึกษาเรื่องปจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมฉลาดดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ พบวานักเรียนท่ีมีความรูในการรักษาสุขภาพมากและมีทัศนคติท่ีดีตอสุขภาพเปนผูท่ีมีพฤติกรรมและมีความสุขในชีวิตมากกวานักเรียนประเภทตรงขาม สวนการศึกษาของ เกตุศิ รินทร ฉิมพลี (2546) ไดศึกษาเ ร่ืองการศึกษาปจจัยพ้ืนฐาน การรับรูภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง อําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี พบวาผูท่ีรับรูภาวะสุขภาพอยูในระดับสูงจะมีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพสูงท่ีสุด สวนการศึกษาของ นิรดา กลิ่นสุคนธชาติ (2550) ไดศึกษาเร่ืองพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี พบวา การดูแลสุขภาพตนเองเปนปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การศึกษาของ กมลภัทร มณฑานุช (2549) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพื้นท่ีเขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร พบวา การรับรูความสามารถแหงตนในการดูแลสุขภาพ เปนปจจัยท่ีมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพ้ืนที่เขตลาดพราว การศึกษาของ สมศักด์ิ พ่ึงเศรษฐดี (2548) ศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในสถาบันบําราศนราดูร พบวา ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ เปนปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในสถาบันบําราศนราดูร

Page 48: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บทที่ 3

กรอบแนวคิดและระเบียบวิธีการวิจัย

การศึกษาเรื่อง “ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวีในจังหวัดชลบุรี” โดยศึกษาคนควาจากเอกสาร และใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบวิธีการวิจัยดังนี้

1. กรอบแนวคิดในการศึกษา 2. นิยามปฏิบัติการ 3. สมมติฐานทางการศึกษา 4. ประชากรและกลุมตัวอยาง 5. เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 6. การทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ 7. การรวบรวมขอมูล 8. การประมวลผลขอมูล 9. การวิเคราะหขอมูล

3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

จากการทบทวนแนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ สามารถสังเคราะหเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาได ดังนี้

3.1.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบดวย

3.1.1.1 ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได สถานภาพสมรส การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ ความถี่ของการเจ็บปวย 3.1.1.2 ปจจัยดานความรู ไดแก ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

Page 49: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

37

3.1.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ไดแก พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู

ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพท่ี 3.1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

ปจจัยสวนบุคคล - เพศ - อาย ุ- ระดับการศึกษา - อาชีพ - รายได - สถานภาพสมรส - การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ - ความถี่ของการเจ็บปวย ปจจัยดานความรู - ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส - ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ตนเอง

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเช้ือเอชไอวี/เอดส - ดานรางกาย - ดานจิตใจ - ดานสังคมสิ่งแวดลอม

Page 50: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

38

3.2 นิยามปฏิบัติการ

โรคเอดส (AIDS: Acquired Immune Deficiency Syndrome) หมายถึง เปนกลุมอาการของโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ชื่อ Human Immunodeficiency Virus หรือ HIV ซึ่งสามารถแบงตัวในเซลลของคน เชน เม็ดเลือดขาว เซลลเนื้อสมอง เม่ือเชื้อเอดสเขาสูรางกายแลวจะไปทําลายเซลลเม็ดเลือดขาวซึ่งเปนแหลงสรางภูมิตุมกันโรค ทําใหภูมิคุมกันโรคลดลง เปนผลใหเกิดดรคติดเชื้อฉวยโอกาส เชน วัณโรค ปอดบวม หรือมะเร็งบางชนิดไดงายกวาคนปกติ แตอาการท่ีเกิดขึ้นจะรุนแรงและเสียชีวิตอยางรวดเร็ว หากไมไดรับการรักษา ท่ีถูกวิธี

ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส หมายถึง ผูท่ีไดรับเชื้อเอชไอวี (HIV: Human Immunodeficiency Virus) เขาสูรางกาย เปนสาเหตุใหเกิดโรคเอดส ซึ่งเมื่อเขาสูรางกายแลวจะไปทําลายเม็ดเลือดขาวทําใหภูมิตานทานลดลง เกิดการติดโรคชนิดฉวยโอกาส เชน ปอดบวม วัณโรค อาการจะรุนแรงและเสียชีวิตอยางรวดเร็ว

การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับสุขภาพท่ีกระทําเพ่ือการสงเสริม ดูแลรักษาสุขภาพ ที่เกิดจากปจเจกบุคคล คนรอบขาง และสังคม อยางตอเนื่องตลอดชวงชีวิตของบุคคล

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส หมายถึง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพดานรางกาย ดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกาย หมายถึง การรับประทานอาหารท่ีเปนประโยชนกับรางกายครบ 3 ม้ือ หลีกเลี่ยงอาหารท่ีเปนโทษแกรางกาย ดื่มน้ําสะอาดวันละ 6-8 แกว รักษาความสะอาดสวนตาง ๆของรางกาย พักผอนใหเพียงพอ นอนวันละ 6-8 ชั่วโมง สํารวจติดตามอาการเจ็บปวยและปองกันอันตรายท่ีจะเกิดกับรางกายของตนเอง และออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจ หมายถึง การหาเวลาพักผอนหยอนใจ กําจัดอาการกังวล และความเครียดตาง ๆท่ีจะเขามารบกวนตน แสวงหากําลังใจใหตนเอง มีทัศนคติที่ดีตอการมีชีวิตท่ีแข็งแรง ไมแพรเชื้อโรคไปสูผูอื่น ปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ดีและรายได ติดตามและประเมินสุขภาพของตนเองและการรักษาท่ีไดรับ

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอม หมายถึง การอาศัยอยูในสิ่งแวดลอมท่ีมีความสะอาด อากาศถายเทไดสะดวก หลีกเลี่ยงท่ีจะอยูใกลชิดกับผูท่ีเปนหวัด ไอ จาม รักษาความสัมพันธอันดีในหมูญาติมิตร เพ่ือนฝูง ยอมรับความชวยเหลือจากบุคคลอื่นไดเม่ือมีความจําเปนและเขาสังคมชวยเหลือกิจการงานสังคมไดเปนปกติ แสวงหาความรูที่อยูรอบตัวที่จะเปนประโยชนตอการดูแลสุขภาพของตนเอง

Page 51: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

39

อายุ หมายถึง หมายถึง จํานวนเต็มปบริบูรณของผูติดเชื้อเอชไอวีต้ังแตเกิดจนถึงวันท่ีทําการศึกษา

ระดับการศึกษา หมายถึง ระดับการศึกษาสูงสุดของผูติดเชื้อเอชไอวี อาชีพ หมายถึง งานซึ่งทําประจําซึ่งอาจกอใหเกิดรายไดหรือไมก็ตาม เชน เกษตรกรรม

คาขาย รับจาง รับราชการ แมบาน และอื่น ๆ รายได หมายถึง รายไดจากการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี สถานภาพสมรส หมายถึง สถานภาพสมรสของผูติดเชื้อเอชไอวี แบงเปน โสด แตงงาน/คู

เปนหมาย/หยารางหรือแยกกันอยู การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ หมายถึง จํานวนปท่ีรับรูวาตนเองไดรับเชื้อเอชไอวี/เอดส

จากการตรวจเลือดเพ่ือหาการติดเชื้อ ความถี่ของการเจ็บปวย หมายถึง จํานวนครั้งของการเจ็บปวยในรอบ 1 เดือนท่ีผานมา

3.3 สมมติฐานทางการศึกษา

สมมติฐานท่ี 1 เพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส

สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของชลลดา พิทูรย (2548) ไดศึกษาเร่ืองปจจัยท่ีมผีลตอการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี พบวา เพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

สมมติฐานท่ี 2 อายุมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของวันเพ็ญ ใจทน (2549) ไดศึกษาเร่ือง

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา อายุ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยพนักงานท่ีมีอายุมากจะดูแลสุขภาพตัวเองดีกวาพนักงานที่มีอายุนอย

สมมติฐานท่ี 3 ระดับการศึกษามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส

Page 52: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

40

สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ ทัศนีย บุญทวีสง (2549: 92) ศึกษาเร่ือง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคท่ีพบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษาเขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวาผูท่ีมีระดับการศึกษาสูงมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูที่มีการศึกษาตํ่าอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

สมมติฐานท่ี 4 อาชีพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ สมศรี บุญจันทร (2548) เรื่อง พฤติกรรม

การดูแลสุขภาพตนเองของหญิงตั้งครรภมุสลิม: ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส พบวา อาชีพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

สมมติฐานท่ี 5 รายไดมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของสุกานดา บุญญานนท (2546) ไดศึกษา

เรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงต้ังครรภ พบวา รายไดมีความสัมพันธก ับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยูในระดับดี

สมมติฐานท่ี 6 สถานภาพสมรสมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส สมมต ิฐานดังกลาวสอดคลองกับการศ ึกษาของ วันเพ็ญ ใจทน (2546:79-80) เร่ือง

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา พนักงานที่มีสถานภาพสมรสตางกันมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05

สมมติฐานท่ี 7 การรับทราบสภาวะการติดเชื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแล

สุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ สําราญ เชื้อเมืองพาน (2550) ไดศึกษา

เรื่องคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อเอดสและผูปวยเอดส: กรณีศึกษา กลุมรวมน้ําใจริมน้ําลาว อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย ท่ีเปนสมาชิกกลุมไมนอยกวา 3 เดือน พบวา ระยะเวลาการรับรูวาติดเชื้อเอดส

Page 53: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

41

คือปจจัยท่ีมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 กับคุณภาพชีวิตผูติดเชื้อเอดส และผูปวยเอดส

สมมติฐานท่ี 8 ความถี่ของการเจ็บปวยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ สมคิด โพธิชนะพันธ และคณะ (2544)

ไดศึกษารูปแบบการพัฒนาการดูแลตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส ท่ีโรงพยาบาลศิริราช พบวา ความรูและประสบการณเกี่ยวกับความเจ็บปวยและโรคเอดส ชวยใหผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดสมีความสามารถในการดูแลตนเอง คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตดีขึ้น

สมมติฐานท่ี 9 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดสมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

ตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ มณีวรรณ ปนแดง (2550) ศึกษาเรื่อง

องคประกอบที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการรับประทานยาตานไวรัสเอดส กรณีศึกษาผูปวยโรคเอดสโรงพยาบาลแมฟาหลวง อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย พบวา ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมการรับประทานยาตานไวรัสเอดส

สมมติฐานท่ี 10 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ

ดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส สมมติฐานดังกลาวสอดคลองกับการศึกษาของ น้ําทิพย เอี่ยมรักษา (2547: 61-62) ศึกษา

เรื่อง พฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือรักษาโรคเบาหวานของผูปวยนอก ศึกษาเฉพาะกรณี วชิรพยาบาล พบวา ผูปวยท่ีมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพสูงจะมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูปวยท่ีมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตํ่า อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

สมมติฐานท่ี 11 ปจจัยสวนบุคคลและปจจัยดานความรู สามารถรวมกันพยากรณพฤติกรรม

การดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส

Page 54: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

42

3.4 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.4.1 ประชากร

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศ ึกษาไดใชวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยวิธีการรวบรวมขอมูลจากผูต ิดเชื ้อ เอชไอวี/เอดส ท่ีมารับบริการทางการแพทย โรงพยาบาล บางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล

ประชากรท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ผูติดเชื้อฯ ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ท่ีมารับบริการทางการแพทย โรงพยาบาลบางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีในระหวางเดือน มกราคม-เมษายน พ.ศ. 2552 จํานวน 853 คน

3.4.2 ขนาดกลุมตัวอยาง โดยท่ัวไปแลวประชากรท่ีมีขนาดเล็กหรือจํานวนนอย จะกําหนดรอยละของกลุมตัวอยางใหมี

ขนาดใหญ หากประชากรไมเกิน 1,000 คนนั้นสามารถกําหนดกลุมตัวอยางรอยละ 15-30 (สิน พันธุพินิจ 2549 : 132) ดังนั้นผูศึกษาไดกําหนดกลุมตัวอยางที่เหมาะสมจํานวน 150 คน

3.4.3 การสุมตัวอยาง ในการศึกษาคร้ังนี้ ใชวิธีการสุมตวัอยางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เก็บรวบรวมขอมูล

จากประชากรท่ีมารับบริการทางการแพทย โรงพยาบาลบางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีในระหวางเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 โดยการแจกแบบสอบถามจนครบจํานวน 150 ชุด 3.5 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้ คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งประกอบดวย โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

3.5.1 โครงสรางเนื้อหาแบบสอบถาม ตอนท่ี 1 คุณลักษณะสวนบุคคลของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ไดแก เพศ อายุ อาชีพ รายได

ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ ความถี่ของการเจ็บปวย จํานวน 9 ขอ โดยเปนแบบสอบถามเลือกตอบ 6 ขอ แบบเติมขอความ 3 ขอ

Page 55: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

43

ตอนท่ี 2 วัดความรูเกี่ยวกับโรคเอดส จํานวน 10 ขอ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 3.1 แสดงการจําแนกขอคําถามเชิงบวกและเชิงลบของขอคําถามความรูเกี่ยวกับโรคเอดส

เนื้อหา ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ จํานวนขอ ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 1, 2, 4, 6, 7, 10 3, 5, 8, 9 10

รวมจํานวนขอ 6 4 10 ตอนท่ี 3 วัดความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง จํานวน 14 ขอ โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ตารางที่ 3.2 แสดงการจําแนกขอคําถามเชิงบวกและเชิงลบของขอคําถามความรูเกี่ยวกับการดูแล

สุขภาพตนเอง เนื้อหา ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ จํานวนขอ

ความรูดานโภชนาการ 1, 3, 4 2, 5 5 ความรูดานรางกาย 6, 7, 8, 10 9 5 ความรูดานจิตใจและสังคม 11, 12, 13, 14 - 4

รวมจํานวนขอ 11 3 14 ตอนท่ี 4 วัดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส เปนแบบสอบถามท่ีผูศึกษาดัดแปลงมาจากพิกุล นันทชัยพันธ (2544: 62) มีลักษณะเปนมาตรประเมินรวมคา (Summated Rating Scale) 4 ระดับจํานวน 30 ขอ แบงเปน 3 ดาน (ตารางท่ี 3.3) ตารางที่ 3.3 แสดงการจําแนกขอคําถามเชิงบวกและเชิงลบของขอคําถามวัดพฤติกรรมการดูแล

สุขภาพตนเองดานตาง ๆ เนื้อหา ขอคําถามเชิงบวก ขอคําถามเชิงลบ จํานวนขอ

ดานรางกาย 1-10 - 10 ดานจิตใจ 11-20 - 10 ดานสังคมสิ่งแวดลอม 21-30 - 10

รวมจํานวนขอ 30 0 30

Page 56: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

44

3.5.2 เกณฑการใหคะแนนและการแปลผล ตอนท่ี 2 วัดความรูเกี่ยวกับโรคเอดส โดยสรางคําถามใหมีลักษณะ 3 ตัวเลือก คือ ใช ไมใช ไมทราบ รวมขอคําถามทั้งสิ้น 10 ขอ การใหคะแนน ตอบถูก ให 1 คะแนน ตอบผิด หรือ ไมทราบ ให 0 คะแนน เกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดสในครั้งนี้ ผูศึกษากําหนดไว 3 ระดับซึ่งมีวิธีการดังนี้ (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ําสุด) = (1 - 0) = 0.33 จํานวนระดับ 3 ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดสไวในตารางท่ี 3.4 ตารางที่ 3.4 แสดงเกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส

ระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส คาเฉล่ีย (คะแนน) ระดับตํ่า 0.00 - 0.33 ระดับปานกลาง 0.34 - 0.67 ระดับสูง 0.68 - 1.00

ตอนท่ี 3 วัดความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง โดยสรางคําถามใหมีลักษณะ 3 ตัวเลือก คือ ใช ไมใช ไมทราบ รวมขอคําถามท้ังสิ้น 14 ขอ การใหคะแนน ตอบถูก ให 1 คะแนน ตอบผิดหรือ ไมทราบ ให 0 คะแนน เกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ในครั้งนี้ ผูศึกษากําหนดไว 3 ระดับซึ่งมีวิธีการดังนี้ (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ําสุด) = (1 - 0) = 0.33 จํานวนระดับ 3 ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ไวในตารางที่ 3.5

Page 57: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

45

ตารางที่ 3.5 แสดงเกณฑการแปลผลระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ระดับความรูเก่ียวกับ

การดูแลสุขภาพตนเอง คาเฉลี่ย

(คะแนน) ระดับตํ่า 0.00 - 0.33 ระดับปานกลาง 0.34 - 0.67 ระดับสูง 0.68 - 1.00

ตอนท่ี 4 วัดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส มีลักษณะเปนมาตรวัดประเมินรวมคา (Summated Rating Scale) โดยสรางคําถามท่ีมีคําตอบใหเลือก 4 คําตอบ คือ ปฏิบัติเปนประจํา ปฏิบัติบอยคร้ัง ปฏิบัตินาน ๆ คร้ัง และ ไมไดปฏิบัติ รวมขอคําถามท้ังสิ้น 30 ขอ และมีเกณฑการใหคะแนน ปรากฏดังตารางท่ี 3.6 ตารางที่ 3.6 แสดงเกณฑการใหคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง คะแนน ปฏิบัติเปนประจํา 3 ปฏิบัติบอยครั้ง 2 ปฏิบัตินาน ๆ ครั้ง 1 ไมไดปฏิบัติ 0

เกณฑการแปลผลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในครั้งนี้ ผูศึกษากําหนดไว 3 ระดับซึ่งมีวิธีการดังนี้ (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ําสุด) = (3 - 0) = 1 จํานวนระดับ 3 ผูศึกษาไดกําหนดเกณฑการแปลผลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไวในตารางท่ี 3.7 ตารางที่ 3.7 แสดงเกณฑการแปลผลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง คาเฉล่ีย (คะแนน) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมด ี 0.00 - 1.00 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองปานกลาง 1.10 - 2.00 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองด ี 2.10 - 3.00

Page 58: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

46

3.6 การทดสอบคุณภาพของเครื่องมือ

3.6.1 การทดสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถาม โดยนําแบบสอบถามไปใหอาจารยท่ีปรึกษาเปนผูพิจารณาเนื้อหาคําถามของแบบสอบถาม จากนั้นจึงนํามาปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมท้ังดานการใชภาษา ความถูกตอง และครอบคลุมเนื้อหาท่ีตองการวัด รวมท้ังการพิจารณาความคงท่ีภายใน (Internal Consistency) ของมาตรวัด (ตารางท่ี 1-3 ภาคผนวก ข)

3.6.2 การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) มาตรวัด โดยการนําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try Out) กับกลุมตัวอยางท่ีมีลักษณะคลายคลึงกับกลุมตัวอยางท่ีตองการศึกษา คือผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ในอําเภอเมือง จังหวัดชลบุรีท่ีไมใชกลุมตัวอยาง แลวนํามาหาคาสัมประสิทธิ์ Alpha ของ Cronbach และทําการปรับปรุงขอคําถาม กอนนําไปเก็บขอมูลจริง สําหรับคาสัมประสิทธิ์ Alpha ของ Cronbach ในการศึกษาครั้งนี้ ปรากฏดังตารางท่ี 3.8 และตารางท่ี 1-3 ภาคผนวก ข ตารางที่ 3.8 แสดงคาความเชื่อมั่นของมาตรวัดตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

ตัวแปร คาสัมประสิทธ alpha ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 0.680 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 0.444 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง 0.856

3.6.3 การหาคาดัชนีความยาก (Difficultly index) ของมาตรวัดความรูเกี่ยวกับโรคเอดสและความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ดังตารางที่ 1-2 ภาคผนวก ข 3.7 การรวบรวมขอมูล การรวบรวมขอมูล ผูศึกษาไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในชวงเดือนกุมภาพันธ-พฤษภาคม พ.ศ. 2552 จากแหลงขอมูล 2 แหลง คือ

ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ไดแก การเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม โดยการแจกแบบสอบถามแกกลุมตัวอยาง ในชวงเดือน เมษายน พ.ศ. 2552 ตรวจสอบความสมบูรณและความถูกตองของแบบสอบถามท่ีไดรวบรวมขอมูลแลว

Page 59: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

47

ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ไดแก ขอมูลท่ีคนควาจากตํารา บทความ และเอกสารงานวิจัยตาง ๆเพ่ือประมวลเอกสารสําหรับการศึกษาในครั้งนี ้ 3.8 การประมวลผลขอมูล

ในการประมวลผลขอมูล ผูศึกษาไดดําเนินการดังนี้ 1. นําแบบสอบถามท่ีเก็บรวบรวมมาไดคัดเลือกฉบับท่ีสมบูรณ 2. บรรณาธิกรและลงรหัสขอมูลจากแบบสอบถามทุกขอ 3. วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS (Statistical Package for the Social Sciences)

3.9 การวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูลผูศึกษาใชสถิติดังนี้ 3.9.1 การวิเคราะหขอมูลเบ้ืองตนใชสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก ความถี่

(Frequency) และ รอยละ (Percentage) เพื่ออธิบายขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยางท่ีศึกษา รวมทั้งหาคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่ืออธิบายระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส ระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

3.9.2 การวิเคราะหความสัมพันธเบ้ืองตนใชสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient ในกรณีท่ีตัวแปรอิสระอยูในระดับ interval/ratio และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียล (Point Biserial Correlation Coefficient) สําหรับกรณีท่ีตัวแปรอิสระเปน nominal/ordinal ซึ่งไดทําเปนตัวแปรหุน (Dummy variable) ในการวิเคราะหความสัมพันธเบื้องตนระหวางตัวแปรตางๆท่ีใช โดยมีเกณฑวัดระดับความสัมพันธ ดังนี้ (Gene, 1983: 156) -1.00 หมายถึง มีความสัมพันธเต็มท่ีและไปในทิศทางตรงขาม -0.76 ถึง -0.99 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับสูงมากและไปในทิศทางตรงขาม -0.56 ถึง -0.75 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับสูงและไปในทิศทางตรงขาม -0.26 ถึง -0.55 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับปานกลางและไปในทิศทางตรงขาม -0.01 ถึง -0.25 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับตํ่าและไปในทิศทางตรงขาม 0.00 หมายถึง ไมมีความสัมพันธ

Page 60: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

48

0.01 ถึง 0.25 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับตํ่าและไปในทิศทางเดียวกัน 0.26 ถึง 0.55 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับปานกลางและไปในทิศทางเดียวกัน 0.56 ถึง 0.75 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับสูงและไปในทิศทางเดียวกัน 0.76 ถึง 0.99 หมายถึง มีความสัมพันธในระดับสูงมากและไปในทิศทางเดียวกัน 1.00 หมายถึง มีความสัมพันธเต็มท่ีและไปในทิศทางเดียวกัน 3.9.3 การวิเคราะหการถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis) เพื่อ วิเคราะหความสามารถในการทํานายความผันแปรของตัวแปรตามดวยตัวแปรอิสระ และใชวิธีการคัดเลือกตัวแปรอิสระเขาสูสมการดวยวิธี Stepwise

Page 61: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บทที่ 4

ผลการศึกษา

การศึกษาเรื่อง “ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสใน

อํา เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี” จากกลุมตัวอ ยางท่ีทําการศึกษาจํานวน 150 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บขอมูล จากการวิเคราะหขอมูล หาคาทางสถิติ ผูศึกษาไดแบงผลการศึกษาออกเปน 5 สวน ดังตอไปนี ้

1. ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง 2. ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส 3. ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง 4. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง 5. ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.1 ขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง

ปจจัยดานขอมูลท่ัวไปสวนบุคคล เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได สถานภาพสมรสการรับทราบสภาวะการติดเชื้อ และความถี่ของการเจ็บปวย (ตารางท่ี 4.1) พบวา

เพศ จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางเกินกวาครึ่งเปนเพศหญิง (รอยละ 56.0) ท่ีเหลือเปนเพศชาย (รอยละ 44.0)

อายุ จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางเกือบคร่ึงอยูในชวงอายุ 31-40 ป (รอยละ 46.7) รองลงมาคือชวงอายุ 41-50 ป (รอยละ 30.0) ชวงอายุ 51 ปขึ้นไป (รอยละ 12.0) สวนชวงอายุไมเกิน 30 ปมีนอยท่ีสุด (รอยละ 11.3)

ระดับการศึกษา จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางประมาณครึ่งหนึ่งมีระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา (รอยละ 51.3) รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนตน (รอยละ 26.7) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (รอยละ 12.0) ไมไดเรียน (รอยละ 5.3) ระดับ ปวส.หรืออนุปริญญา (รอยละ 3.3) สวนระดับปริญญาตรีหรือสูงกวานอยท่ีสุดคือ (รอยละ1.3)

Page 62: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

50

อาชีพ จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางเกือบสองในสามมีอาชีพรับจาง (รอยละ 64.0) รองลงมาคือวางงาน (รอยละ 16.7) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (รอยละ 15.3) เกษตรกรรม (รอยละ 3.3) สวนรับราชการ/รัฐวิสาหกิจนอยท่ีสุด (รอยละ 0.7)

รายได จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางประมาณสองในหามีรายได 3,001-6,000 บาท (รอยละ 43.3) รองลงมาคือไมเกิน 3,000 บาท (รอยละ 20.0) ไมมีรายได (รอยละ 16.0) รายได 6,001-9,000 บาท (รอยละ 11.3) สวนมากกวา 9,000 บาทนอยท่ีสุด (รอยละ 9.3)

สถานภาพสมรส จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางประมาณสองในหามีสถานภาพสมรสแลว (รอยละ 41.3) รองลงมาคือ มาย/หยาราง/แยกกันอยู (รอยละ 32.7) สวนสถานภาพโสดนอยที่สุด (รอยละ 26.0)

การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางประมาณสองในหาทราบวาตนเองติดเชื้อมาไมเกิน 5 ป (รอยละ 43.4) รองลงมาคือ 5-10 ป (รอยละ 33.1) 11-15 ป (รอยละ 22.8) สวน 15-20 ปนอยที่สุด (รอยละ 0.7)

ความถี่ของการเจ็บปวย จากการศึกษาพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี กลุมตัวอยางประมาณครึ่งหนึ่ง เจ็บปวยเล็กนอย (รอยละ 49.3) รองลงมาคือไมเจ็บปวยเลย (รอยละ 33.3) เจ็บปวยบอยครั้ง (รอยละ 14.7) และสวนนอยมีการเจ็บปวยมาก (รอยละ 2.7)

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและรอยละ ของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน

(150 คน) รอยละ (100.0)

เพศ หญิง 84 56.0 ชาย 66 44.0 อายุ ไมเกิน 30 ป 17 11.3 31-40 ป 70 46.7 41-50 ป 45 30.0 51 ปขึ้นไป 18 12.0

Page 63: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

51

ตารางที่ 4.1 (ตอ) ขอมูลสวนบุคคล จํานวน

(150 คน) รอยละ (100.0)

ระดับการศึกษา ไมไดเรียน 8 5.3 ประถมศึกษา 77 51.3 มัธยมศึกษาตอนตน 40 26.7 มัธยมศึกษาตอนปลาย 18 12.0 อาชีพ เกษตรกรรม 5 3.3 คาขาย/ธุรกิจสวนตัว 23 15.3 รับจาง 96 64.0 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 1 0.7 วางงาน 25 16.7 รายได ไมมีรายได 24 16.0 ไมเกิน 3,000 บาท 30 20.0 3,001-6,000 บาท 65 43.3 6,001-9,000 บาท 17 11.3 มากกวา 9,000 บาท 14 9.3 สถานภาพสมรส โสด 39 26.0 สมรส 62 41.3 หมาย/หยาราง/แยกกันอยู 49 32.7 การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ ไมเกิน 5 ป 59 43.4 5-10 ป 45 33.1 11-15 ป 31 2.8 16-20 ป 1 0.7

Page 64: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

52

ตารางที่ 4.1 (ตอ) ขอมูลสวนบุคคล จํานวน

(150 คน) รอยละ (100.0)

ความถี่ของการเจ็บปวย ไมเจ็บปวยเลย 50 33.3 เจ็บปวยเล็กนอย (1-2 คร้ัง) 74 49.3 เจ็บปวยบอยคร้ัง (3-4 คร้ัง) 22 14.7 เจ็บปวยบอยคร้ังมาก (มากกวา 5 ครั้ง) 4 2.7 4.2 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส จากผลการศึกษาความรูเกี่ยวกับโรคเอดส พบวา กลุมตัวอยางเกือบท้ังหมดมีความรูความเขาใจอยูในระดับสูง จํานวน 141 คน คิดเปนรอยละ 94 ท่ีเหลือมีความรูความเขาใจอยูในระดับปานกลาง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 6 (ตารางท่ี 4.2) ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนและรอยละ ของระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส

ระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส จํานวน รอยละ ปานกลาง 9 6.0 สูง 141 94.0 รวม 150 100.0

โดยภาพรวม พบวา กลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับโรคเอดสสูง เม่ือแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา เรื่องท่ีกลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 0.97 คะแนน) คือ การจะรูวาติดเชื้อเอชไอวีหรือไมนั้น จะทราบไดจากการตรวจเลือดเทานั้น และหากดูแลสุขภาพเปนอยางดี แมจะเปนโรคเอดสก็จะมีชีวิตอยูไดยาวนาน รองลงมา (คาเฉลี่ย = 0.95 คะแนน) คือ โรคเอดสติดตอกันไดโดยมีเพศสัมพันธท่ีไมปองกัน และการสวมถุงยางอนามัยสามารถชวยปองกันเอดสได สําหรับเรื่องท่ีกลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจนอยที่สุด (คาเฉลี่ย = 0.71 คะแนน) คือ ถารูวาติดเชื้อเอชไอวีไมควรบอกใหคูนอนทราบ (ตารางท่ี 4.3)

Page 65: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

53

ตารางที่ 4.3 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความรูเกี่ยวกับโรคเอดส ความรูเก่ียวกับโรคเอดส Mean S.D. ระดับ 1 โรคเอดสเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี 0.93 0.25 สูง 2 โรคเอดสติดตอกันไดโดยมีเพศสัมพันธท่ีไมปองกัน 0.95 0.23 สูง

3* โรคเอดสติดตอไดจากการรับประทานอาหารรวมกัน 0.93 0.25 สูง 4 การสวมถุงยางอนามัยสามารถชวยปองกันเอดสได 0.95 0.23 สูง

5* ถารูวาติดเชื้อเอชไอวีไมควรบอกใหคูนอนทราบ 0.71 0.45 สูง 6 การพิจารณาดวยตาเปลา เราไมสามารถบอกไดวาผูใด

ติดเชื้อเอชไอวี 0.85 0.36 สูง

7 การจะรูวาติดเชื้อเอชไอวีหรือไมนั้น จะทราบไดจากการตรวจเลือดเทานั้น

0.97 0.16 สูง

8* หากผูติดเชื้อเอชไอวีไมปวย ก็ไมจําเปนตองไปพบแพทย 0.84 0.37 สูง 9* สามีภรรยาท่ีติดเชื้อเอชไอวีทั้งคู ไมจําเปนตองสวมถุงยาง

อนามัยเม่ือมีเพศสัมพันธกัน 0.88 0.33 สูง

10 หากดูแลสุขภาพเปนอยางดี แมจะเปนโรคเอดสก็จะมีชีวิตอยูไดยาวนาน

0.97 0.18 สูง

รวม (n = 150) 0.90 0.13 สูง หมายเหตุ * ขอคําถามเชิงลบ 4.3 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

จากผลการศึกษาความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง พบวา กลุมตัวอยางเกือบทั้งหมดมีความรูความเขาใจอยูในระดับสูง จํานวน 146 คน คิดเปนรอยละ 97.3 ท่ีเหลือมีความรูความเขาใจอยูในระดับปานกลาง จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 2.7 (ตารางท่ี 4.4) ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนและรอยละ ของระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง

ระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง จํานวน รอยละ ปานกลาง 4 2.7 สูง 146 97.3 รวม 150 100.0

Page 66: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

54

โดยภาพรวม พบวา กลุมตัวอยางมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองอยูในระดับสูง (คาเฉลี่ย = 0.88 คะแนน) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา เร่ืองที่กลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 0.97 คะแนน) คือ วิธีการรักษาความสะอาดผิวหนังท่ีดีที่สุดคือการชําระลางดวยน้ําและสบู การดูแลรักษาฟนท่ีถูกตองหลังรับประทานอาหารควรบวนปากดวยน้ําสะอาดหรือแปรงฟน วิธกีารเสริมสรางรางกายและจิตใจไดดีคือการออกกําลังกายสมํ่าเสมอ การมีสิ่งยึดเหนี่ยวสูงสุดในจิตใจ ทําใหจิตใจม่ันคงและมีความเชื่อม่ันตนเองมากขึ้น สําหรับเรื่องท่ีกลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจนอยท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 0.41 คะแนน) คือ โปรตีนจากพืชไมสามารถทดแทนโปรตีนจากสัตวได (ตารางท่ี 4.5) ตารางท่ี 4.5 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

ตนเอง ความรูเก่ียวกับการดูแลสุขภาพตนเอง Mean S.D. ระดับ 1 รางกายตองการวิตามินจากผักและผลไมสดทุกวัน 0.95 0.21 สูง

2* โปรตีนจากพืชไมสามารถทดแทนโปรตีนจากสัตวได 0.41 0.49 ปานกลาง 3 น้ําชวยขับถายของเสียออกจากรางกายได 0.95 0.23 สูง 4 การรับประทานอาหารอ ยางเรงรีบทําใหเกิดโรค

กระเพาะฯได 0.76 0.43 สูง

5* การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนประเภทเดียวซ้ํา ๆ กันนาน ๆ เปนผลดีตอสุขภาพ

0.63 0.49 ปานกลาง

6 วิธีการรักษาความสะอาดผิวหนังที่ดีท่ีสุดคือการชําระลางดวยน้ําและสบู

0.97 0.18 สูง

7 การลางมือปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรคได 0.93 0.26 สูง 8 การดูแลรักษาฟนท่ีถูกตองหลังรับประทานอาหารควร

บวนปากดวยน้ําสะอาดหรือแปรงฟน 0.97 16 สูง

9* ถารูสึกวารางกายแข็งแรงดี ไมจําเปนตองไปตรวจสุขภาพประจําป

0.91 0.29 สูง

10 การกวาดบาน ถูบานเ ปนการอ อกกํ าลั งกายท่ีไดประโยชน

0.93 0.26 สูง

11 วิธีการเสริมสรางรางกายและจิตใจไดดีคือ 0.97 0.16 สูง 12 ภาวะความเครียดกอใหเกิดการเจ็บปวยทางกายได 0.93 0.26 สูง

Page 67: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

55

ตารางที่ 4.5 (ตอ) ความรูเก่ียวกับการดูแลสุขภาพตนเอง Mean S.D. ระดับ

13 การมีสิ่งยึดเหนี่ยวสูงสุดในจิตใจ ทําใหจิตใจม่ันคงและ 0.97 0.18 สูง 14 การอานหนังสือท่ีชอบเปนการขจัดความเครียดได 0.95 0.21 สูง

รวม (n = 150) 0.88 0.08 สูง หมายเหตุ * ขอคําถามเชิงลบ 4.4 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง จากผลการศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองเปนประจํา (คาเฉลี่ย = 2.63 คะแนน) เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา กลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอ งดีในทุกดาน ท้ังดานรางกาย (คาเฉลี่ย = 2.66 คะแนน) ดานจิตใจ (คาเฉลี่ย = 2.70 คะแนน) และดานสังคมสิ่งแวดลอม (คาเฉลี่ย = 2.52 คะแนน) (ตารางท่ี 4.6) ตารางที่ 4.6 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

จําแนกเปนรายดาน ดาน Mean S.D. ระดับ

รางกาย 2.66 0.34 ดี จิตใจ 2.70 0.33 ดี สังคมสิ่งแวดลอม 2.52 0.30 ดี

รวม (n = 150) 2.63 0.30 ด ี

4.4.1 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกาย พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกาย พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกายในระดับดี (คาเฉลี่ย = 2.66 คะแนน) เม่ือแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกายในระดับดี คือ แสวงหาและจัดเตรียมอาหารท่ีตนชอบและมีประโยชน (คาเฉลี่ย = 2.67 คะแนน) ด่ืมน้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว (คาเฉลี่ย = 2.71 คะแนน) ฝกหัดการขับถายใหติดเปนนิสัย (คาเฉลี่ย = 2.61 คะแนน)

Page 68: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

56

รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนอยางเพียงพอครบ 3 ม้ือ (คาเฉลี่ย = 2.61 คะแนน) นอนหลับใหเปนเวลาอยางเพียงพอ 6-8 ชั่วโมง (คาเฉลี่ย = 2.67 คะแนน) รักษาความสะอาดของรางกาย ปาก และฟน (คาเฉลี่ย = 2.85 คะแนน) ระมัดระวังและปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายตอชีวิตสุขภาพ และสวัสดิภาพของตนเอง (คาเฉลี่ย = 2.87 คะแนน) เฝาสํารวจอาการเจ็บปวยหรือความผิดปกติของสุขภาพรางกาย (คาเฉลี่ย = 2.88 คะแนน) หลีกเลี่ยงการรับประทานที่ใหโทษแกรางกาย เชนอาหารหมักดอง หรือเนื้อสัตวท่ีไมสุก (คาเฉลี่ย = 2.33 คะแนน) หากิจกรรมทํา หรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 2.27 คะแนน) (ตารางท่ี 4.7) ตารางที่ 4.7 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ในดานรางกาย ดานรางกาย Mean S.D. ระดับ 1 แสวงหาและจัดเตรียมอาหารท่ีตนชอบและมีประโยชน 2.67 0.59 ดี 2 หลีกเลี่ยงการรับประทานท่ีใหโทษแกรางกาย เชน อาหารหมัก

ดอง หรือเนื้อสัตวที่ไมสุก 2.33 0.95 ดี

3 ดื่มน้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว 2.71 0.63 ดี 4 ฝกหัดการขับถายใหติดเปนนิสัย 2.61 0.72 ดี 5 รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนอยางเพียงพอครบ 3 ม้ือ 2.61 0.70 ดี 6 นอนหลับใหเปนเวลาอยางเพียงพอ 6-8 ชั่วโมง 2.67 0.61 ดี 7 รักษาความสะอาดของรางกาย ปาก และฟน 2.85 0.45 ดี 8 ระมัดระวังและปอ งกันอุ บัติ เ หตุหรือ อันตรายตอ ชี วิต

สุขภาพ และสวัสดิภาพของตนเอง 2.87 0.39 ดี

9 เฝาสํารวจอาการเจ็บปวยหรือความผิดปกติของสุขภาพรางกาย 2.88 0.33 ดี 10 หากิจกรรมทํา หรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม 2.27 0.88 ดี

รวม (n = 150) 2.66 0.34 ด ี 4.4.2 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานจิตใจ

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานจิตใจ พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจในระดับดี (คาเฉลี่ย = 2.70 คะแนน) เม่ือแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจในระดับดี คือ ระมัดระวังและปองกันการไดรับเชื้อเอชไอวีเพ่ิม (ใชถุงยางอนามัยทุกคร้ังท่ีมีเพศสัมพันธ ไมใชเข็มฉีดยารวมกับผูอื่น)

Page 69: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

57

(คาเฉลี่ย = 2.85 คะแนน) ระมัดระวังการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี เชน ระวังการปนเปอนของเลือดหรือน้ําเหลืองจากบาดแผล ไมมีเพศสัมพันธโดยไมใชถุงยางอนามัย (คาเฉลี่ย = 2.85 คะแนน) พยายามสราง และแสวงหากําลังใจใหตนเอง (คาเฉลี่ย = 2.75 คะแนน) ปรับตัวใหเขากับสภาพการติดเชื้อและการเจ็บปวย(คาเฉลี่ย = 2.78 คะแนน) งดหรือละเวนการด่ืมที่มีแอลกอฮอล เชน เบียร สุรา(คาเฉลี่ย = 2.59 คะแนน) ฝกฝนตนเองใหแกปญหาทางอารมณและจิตใจไดอยางเหมาะสม เชน การคลายเครียด คลายกังวลทําจิตใจใหสบาย หรือการออกกําลังกาย (คาเฉลี่ย = 2.55 คะแนน) ติดตามและประเมินผลการดูแลหรือรักษาท่ีไดรับ (คาเฉลี่ย = 2.67 คะแนน) ทําการดูแล หรือจัดการแกไข หรือบรรเทาอาการเจ็บปวย (คาเฉลี่ย = 2.59 คะแนน) พยายามดําเนินชีวิตตามปกติเหมือนกับกอนมีการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส (คาเฉลี่ย = 2.85 คะแนน) แบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจ (คาเฉลี่ย = 2.40 คะแนน) (ตารางท่ี 4.8) ตารางที่ 4.8 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ในดานจิตใจ ดานจิตใจ Mean S.D. ระดับ 11 แบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจ 2.40 0.83 ดี 12 ระมัดระวังและปองกันการไดรับเชื้อเอชไอวีเพ่ิม 2.69 0.83 ดี 13 ระมัดระวังการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี เชน ระวังการ

ปนเปอนของเลือดหรือน้ําเหลืองจากบาดแผล ไมมีเพศสัมพันธโดยไมใชถุงยางอนามัย

2.85 0.56 ดี

14 พยายามสราง และแสวงหากําลังใจใหตนเอง 2.75 0.52 ดี 15 ปรับตัวใหเขากับสภาพการติดเชื้อและการเจ็บปวย 2.78 0.48 ดี 16 งดหรือละเวนการด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล เชน เบียร สุรา 2.59 0.79 ดี 17 ฝกฝนตนเองใหแกปญหาทางอารมณและจิตใจไดอยาง

เหมาะสม เชน การคลายเครียด คลายกังวลทําจิตใจใหสบาย หรือการออกกําลังกาย

2.55 0.76 ดี

18 ติดตามและประเมินผลการดูแลหรือรักษาท่ีไดรับ 2.67 0.71 ดี 19 ทําการดูแล หรือจัดการแกไข หรือบรรเทาอาการเจ็บปวย 2.59 0.69 ดี 20 พยายามดําเนินชีวิตตามปกติเหมือนกับกอนมีการติดเชื้อเอช

ไอวี/เอดส 2.85 0.43 ดี

รวม (n = 150) 2.70 0.33 ด ี

Page 70: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

58

4.4.3 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอม พบวา โดยภาพรวมกลุมตัวอยางมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอมในระดับดี (คาเฉลี่ย = 2.52 คะแนน) เ ม่ือแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอมในระดับดี คือ อยูในท่ีท่ีอากาศถายเทดี (คาเฉลี่ย = 2.73 คะแนน) จัดสิ่งแวดลอมและท่ีอยูอาศัยใหสะอาด (คาเฉลี่ย = 2.77 คะแนน) ติดตอขอรับการชวยเหลือจากบุคคลท่ีเชื่อถือไดเมื่อมีความจําเปน (คาเฉลี่ย = 2.78 คะแนน) แสวงหาการดูแลรักษาอาการเจ็บปวยที่เหมาะสม (คาเฉลี่ย = 2.65 คะแนน) คิดทบทวนไตรตรองเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูของตนเอง (คาเฉลี่ย = 2.53คะแนน) แสวงหาความรูและขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีเพ่ือประโยชนในการดูแลตนเอง (คาเฉลี่ย = 2.54 คะแนน) หลีกเลี่ยงจากการอยูใกลชิดกับผูที่มีอาการไอหรือเปนหวัด(คาเฉลี่ย = 2 .24คะแนน) รักษาและคงไวซึ่ งความสัมพันธอันดีกับญาติ พ่ีนอง เ พ่ือนฝูง (คาเฉลี่ย = 2.12 คะแนน) ปรับตัวและทําใจใหพรอมท่ีจะพ่ึงพาบุคคลอื่น (คาเฉลี่ย = 2.25 คะแนน) เขาสังคม และทําหนาท่ีชวยกิจการในสังคมตามปกติ (คาเฉลี่ย = 2.39 คะแนน) (ตารางท่ี 4.9) ตารางที่ 4.9 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ในดานสังคมสิ่งแวดลอม ดานสังคมสิ่งแวดลอม Mean S.D. ระดับ 21 อยูในที่ท่ีอากาศถายเทดี 2.73 0.52 ดี 22 หลีกเลี่ยงจากการอยูใกลชิดกับผูท่ีมีอาการไอหรือเปนหวัด 2.24 0.97 ดี 23 จัดสิ่งแวดลอมและท่ีอยูอาศัยใหสะอาด 2.77 0.55 ดี 24 ติดตอขอรับการชวยเหลือจากบุคคลท่ีเชื่อถือไดเมื่อมี

ความจําเปน 2.78 0.50 ดี

25 แสวงหาการดูแลรักษาอาการเจ็บปวยท่ีเหมาะสม 2.65 0.69 ดี 26 รักษาและคงไวซึ่งความสัมพันธอันดีกับญาติ พ่ีนอง เพ่ือนฝูง 2.12 0.96 ดี 27 คิดทบทวนไตรตรองเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูของตนเอง 2.53 0.82 ดี 28 ปรับตัวและทําใจใหพรอมท่ีจะพ่ึงพาบุคคลอื่น 2.25 0.92 ดี 29 แสวงหาความรูและขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการติดเชื้อเอช

ไอวีเพ่ือประโยชนในการดูแลตนเอง 2.54 0.73 ดี

30 เขาสังคม และทําหนาที่ชวยกิจการในสังคมตามปกติ 2.39 0.90 ดี รวม (n = 150) 2.52 0.30 ด ี

Page 71: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

59

4.5 ผลการทดสอบสมมติฐาน

การวิเคราะหปจจัยที่คาดวาจะมีความสัมพันธตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได สถานภาพสมรส การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ ความถี่ของการเจ็บปวย ปจจัยดานความรู ประกอบดวย ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ไดผลการทดสอบสมมติฐานดังตอไปนี้

สมมติฐานท่ี 1 เพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางเพศกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (เพศชาย รหัส 0,

เพศหญิง รหัส 1) โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียล (rpb) พบวา มีความสัมพันธระหวางเพศ กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (rpb = 0.118, sig. = 0.149) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 1 (ตารางที่ 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส เพศชาย ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสเพศหญิง

สมมติฐานท่ี 2 อายุมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางอายุกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน พบวา มีความสัมพันธระหวางอาย ุกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (r = 0.272, sig. = 0.001) ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานท่ี 2 (ตารางท่ี 4.10) หมายความวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีอายุมาก มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวาผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีอายุนอย เมื่อพิจารณารายดาน พบผลที่สอดคลองกับภาพรวมในดานรางกาย ดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม โดยมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 .01 และ .05 ตามลําดับ สรุปไดวา ผูท่ีมีอายุมากมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ท้ังทางดานรางกาย ดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม ดีกวาผูท่ีมีอายุนอย (ตารางท่ี 4.10)

สมมติฐานท่ี 3 ระดับการศึกษามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส

Page 72: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

60

ตัวแปรหุนท่ีสามารถนํามาทดสอบสมมติฐานไดมีจํานวน 2 ตัวแปร ไดแก ผูติดเชื้อฯ ท่ีมีการศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาตอนตน

จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการศึกษากับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (ระดับการศึกษาชั้นมัธยมตน รหัส 0, ระดับการศึกษาอื่น ๆ รหัส 1) โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียล (rpb) พบวา มีความสัมพันธระหวางระดับการศึกษาชั้นมัธยมตน กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (rpb = 0.231, sig. = 0.004) ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐานท่ี 3 (ตารางท่ี 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีการศึกษาในระดับมัธยมตน มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสที่มีระดับการศึกษาอื่น ๆ เ ม่ือพิจารณารายดาน พบผลท่ีสอดคลองกับภาพรวมในดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม โดยมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังสองดาน สรุปไดวา ผูท่ีมีการศึกษาในระดับมัธยมตน มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ทางดานจิตใจ และดานสังคมสิ่งแวดลอม ดีนอยกวาผูท่ีมีการศึกษาในระดับอื่น (ตารางท่ี 4.10)

สําหรับการวิเคราะหความสัมพันธระหวางระดับการศึกษาชั้นประถมศึกษากับระดับการศึกษาอื่น ๆ ไมพบความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท้ังในภาพรวมและรายดาน

สมมติฐานท่ี 4 อาชีพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางอาชีพกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (อาชีพรับจาง รหัส 0, อาชีพอื่น ๆ รหัส 1) โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียล (rpb) พบวา มีความสัมพันธระหวางอาชีพรับจาง กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (rpb = 0.017, sig. = 0.836) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 4 (ตารางที่ 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีอาชีพรับจาง ไมไดมีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีอาชีพอื่น

สมมติฐานท่ี 5 รายไดมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส

จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางรายไดกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน พบวา มีความสัมพันธระหวางรายได กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.176, sig. = 0.045) ดังนั้นจึงยอมรับสมมติฐาน

Page 73: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

61

ท่ี 5 (ตารางท่ี 4.10) หมายความวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีรายไดสูง มีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดีกวาผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสที่มีรายไดตํ่า

สมมติฐานท่ี 6 สถานภาพสมรสมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู

ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (โสด รหัส 0, สมรส รหัส 1) โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียล (rpb) พบวา มีความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรส กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (rpb = 0.001, sig. = 0.994) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 6 (ตารางที่ 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีสถานภาพโสด ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีสถานภาพสมรส

สมมติฐานท่ี 7 การรับทราบสภาวะการติดเชื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแล

สุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางการรับทราบสภาวะการติดเชื้อกับพฤติกรรมการ

ดูแลสุขภาพ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน พบวา มีความสัมพันธระหวางการรับทราบสภาวะการติดเชื้อ กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = 0.017, sig. = 0.837) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 7 (ตารางท่ี 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดสท่ีมีการรับทราบสภาวะการติดเชื้อมานานแลว ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีการรับทราบสภาวะการติดเชื้อไมนาน

สมมติฐานท่ี 8 ความถี่ของการเจ็บปวยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความถี่ของการเจ็บปวยกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน พบวา มีความสัมพันธระหวางความถี่ของการเจ็บปวย กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = 0.074, sig. = 0.367) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานที่ 8 (ตารางที่ 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีไมมีการเจ็บปวย ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีการเจ็บปวย

Page 74: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

62

สมมติฐานท่ี 9 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดสมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความรูเกี่ยวกับโรคเอดสกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน พบวา มีความสัมพันธระหวางความรูเกี่ยวกับโ ร ค เ อ ด ส กับ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ดูแ ล สุ ข ภ า พอ ย าง ไ ม มี นั ย สํ าคั ญ ทา ง ส ถิ ติ ท่ี ร ะ ดับ . 0 5 (r = 0.137, sig. = 0.095) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 9 (ตารางท่ี 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดสท่ีมีความรูเกี่ยวกับโรคเอดสสูงไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีความรูเกี่ยวกับโรคเอดสตํ่า

สมมติฐานท่ี 10 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ

ดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน พบวา มีความสัมพันธระหวางความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (r = 0.005, sig. = 0.949) ดังนั้นจึงปฏิเสธสมมติฐานท่ี 10 (ตารางท่ี 4.10) แสดงใหเห็นวา ผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองสูงไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตางจากผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดสท่ีมีความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองตํ่า ตารางที่ 4.10 แสดงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัย

ทุกดาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ปจจัย พฤติกรรม

การดูแล สุขภาพรวม

ดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสังคมส่ิงแวดลอม

ปจจัยสวนบุคคล เพศ -0.118 -0.034 -0.108 -0.154 อายุ 0.272** 0.210* 0.279** 0.213* ระดับการศึกษา (ประถม) -0.032 -0.045 0.008 -0.042 ระดับการศึกษา (มัธยมตน) -0.231** -0.147 -0.246** -0.199* อาชีพ (รับจาง) -0.017 0.049 -0.045 -0.044

Page 75: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

63

ตารางที่ 4.10 (ตอ) คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ปจจัย พฤติกรรมการดูแล

สุขภาพรวม ดานรางกาย ดานจิตใจ ดานสังคม

ส่ิงแวดลอม

รายได 0.176 0.131 0.153 0.162 สถานภาพสมรส -0.001 0.050 0.036 -0.080 การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ 0.017 0.000 0.025 0.018 ความถี่ของการเจ็บปวย 0.074 0.023 0.072 0.092 ปจจัยดานความรู ความรูเกี่ยวกับโรคเอดส -0.137 -0.070 -0.125 -0.151 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ตนเอง

-0.005 -0.023 -0.032 -0.035

หมายเหตุ: ** มีนัยสําคัญที่ระดับ .01 * มีนัยสําคัญท่ีระดับ .05

สมมติฐานท่ี 11 ปจจัยสวนบุคคล ปจจัยดานความรู สามารถรวมกันพยากรณพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส

เมื่อพิจารณาผลการวิเคราะหการถดทอยพหุแบบ Stepwise เพื่อคัดเลือกตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร ของปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุ และระดับการศึกษาชั้นมัธยมตน ซึ่งไดผลการวิเคราะหดังนี้

1. ผลการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง คือ อายุ โดย

สามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ไดรอยละ 9.9 (R2 = 0.099) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และพบวาสัมประสิทธิ์การทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง มีคา beta = 0.314 หมายความวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีมีอายุมาก มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวมดี (ตารางท่ี 4.11)

Page 76: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

64

ตารางที่ 4.11 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัยทุกดาน ปจจัย b beta t

ปจจัยสวนบุคคล อายุ 0.011 0.314 3.729

Constant 2.155 R 0.314 R2 0.099 F 13.904

2. ผลการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกาย ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกาย

คือ อายุ โดยสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกายของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ไดรอยละ 6.1 (R2 = 0.061) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และพบวาสัมประสิทธิ์การทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองมีคา beta = 0.248 หมายความวา ผูติดเชื้อฯท่ีมีอายุมากมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกายโดยรวมดี (ตารางท่ี 4.12) ตารางที่ 4.12 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับ

ปจจัย ดานรางกาย ปจจัย b beta t

ปจจัยสวนบุคคล อายุ 0.402 0.248 2.594*

Constant 1.175 R 0.248 R2 0.061 F 6.731

3. ผลการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจ

ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจ คือ อายุ ระดับการศึกษา รายได โดยสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดาน

Page 77: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

65

จิตใจของผูติดเชื้อฯ ไดรอยละ 18.7 (R2 = 0.187) โดยเพศสามารถอธิบายความผันแปรไดสูงสุด (R2 = 0.100) รองลงมา ไดแก ระดับการศึกษา และรายได (R2 เพ่ิม = 0.134 และ 0.163 ตามลําดับ) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (ตารางท่ี 4.13) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบตัวแปรที่มีความสําคัญกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจ พบวา ตัวแปรท่ีมีสมัประสิทธิ์การทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจของผูติดเชื้อฯ เรียงจากมากไปนอยไดดังนี้ อายุ ระดับการศึกษา รายได (beta = 0.240, -0.235, 0.192 ตามลําดับ) หมายความวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีมีอายุและรายไดมาก มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจโดยรวมดี ในขณะท่ีผูติดเชื้อฯ ท่ีมีระดับการศึกษาชั้นมัธยมตน มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจโดยรวมดีนอยลง ตารางที่ 4.13 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับ

ปจจัย ดานจิตใจ ปจจัย b beta t R2 เพิ่ม

ปจจัยสวนบุคคล อายุ 0.378 0.240 2.564* 0.100 ระดับการศึกษา -0.157 -0.235 2.512* 0.050 รายได 0.088 0.192 2.135* 0.037

Constant 0.593 R 0.433 R2 0.187 F 7.751

4. ผลการทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอม ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคม

สิ่งแวดลอม คือ ระดับการศึกษา โดยสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอมของผูติดเชื้อฯ ไดรอยละ 6.2 (R2 = 0.062) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (ตารางท่ี 4.14) และพบวาสัมประสิทธิ์การทํานายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอม มีคา beta = -0.250 หมายความวา ผูติดเชื้อฯท่ีมีระดับการศึกษาชั้นมัธยมตน มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอมโดยรวมดีนอยลง (ตารางท่ี 4.14)

Page 78: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

66

ตารางที่ 4.14 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุระหวางพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองกับปจจัย ดานสังคมสิ่งแวดลอม ปจจัย b beta t

ปจจัยสวนบุคคล ระดับการศึกษา -0.217 -0.250 -2.616**

Constant 2.565 R 0.250 R2 0.062 F 6.845

Page 79: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

จากการศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื ้อ เอชไอวี/ เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี” ในครั ้งนี ้มีวัตถ ุประสงค 1) เ พื ่อ ศ ึกษ าพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 2) เพ่ือศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื ้อ เ อ ช ไอ วี/ เ อ ดส ใน อํา เ ภอ บางละมุง จังหวัดช ลบุรี 3) เพื ่อศึกษาปจจัยที่สามารถทํานายพฤต ิกรรมการด ูแลส ุขภาพตนเ อ งขอ งผู ต ิดเ ชื ้อ เ อ ช ไ อ วี/ เ อ ด ส ใ น อํา เ ภ อ บ า ง ล ะ มุง จังหวัดชลบุรี ประชากรท่ีใชในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ผูติดเชื้อฯ ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ท่ีมารับบริการทางการแพทย โรงพยาบาลบางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีในระหวางเดือนเมษายน 2552 ทําการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จํานวน 150 คน ใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติที่ใชวิเคราะห ไดแก การแจกแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพอยทไบซีเรียลและการวิเคราะหถดถอยพหุ 5.1 สรุปผลการศึกษา

5.1.1 ปจจัยสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางเปนเพศชายและเพศหญิงมีจํานวนใกลเคียงกัน (รอยละ 44 และ 56 ตามลําดับ)

มีอายุในชวง 31-40 ป (รอยละ 46.7) มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา (รอยละ 51.3) อาชีพรับจาง (รอยละ 64.0) มีรายไดระหวาง 3,001-6,000 บาท (รอยละ 43.3) สถานภาพสมรสแลว (รอยละ 41.3) รับทราบวาตนเองติดเชื้อมาไมเกิน 5 ป (รอยละ 43.4) เจ็บปวยเล็กนอย (1-2 คร้ัง) (รอยละ 49.3)

Page 80: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

68

5.1.2 ปจจัยดานความรูเกี่ยวกับโรคเอดส ความรูเกี่ยวกับโรคเอดสของผูติดเชื้อฯ ในภาพรวมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส

สูง (คาเฉลี่ย = 0.90 คะแนน) โดยความรูเกี่ยวกับโรคเอดสมีคาเฉลี่ยสูงทุกประเด็น ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยสูงท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 0.97 คะแนน) คือ การจะรูวาติดเชื้อเอชไอวีหรือไมนั้น จะทราบไดจากการตรวจเลือดเทานั้น และหากดูแลสุขภาพเปนอยางดี แมจะเปนโรคเอดสก็จะมีชีวิตอยูไดยาวนาน ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 0.71 คะแนน) คือ ถารูวาติดเชื้อเอชไอวีไมควรบอกใหคูนอนทราบ

5.1.3 ปจจัยดานความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ในภาพรวมมีความรูเกี่ยวกับการดูแล

สุขภาพตนเองสูง (คาเฉลี่ย = 0.88 คะแนน) ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 0.97 คะแนน) มีความรูอยูในระดับสูง คือ วิธีการรักษาความสะอาดผิวหนังท่ีดีที่สุดคือการชําระลางดวยน้ําและสบู การดูแลรักษาฟนที่ถูกตองหลังรับประทานอาหารควรบวนปากดวยน้ําสะอาดหรือแปรงฟน วิธีการเสริมสรางรางกายและจิตใจไดดีคือการออกกําลังกายสมํ่าเสมอ การมีสิ่งยึดเหนี่ยวสูงสุดในจิตใจ ทําใหจิตใจมั่นคงและมีความเชื่อม่ันตนเองมากขึ้น ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยนอยที่สุด (คาเฉลี่ย = 0.41 คะแนน) มีความรูอยูในระดับปานกลาง คือ โปรตีนจากพืชไมสามารถทดแทนโปรตีนจากสัตวได

5.1.4 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ในภาพรวมมีพฤติกรรมการ

ดูแลสุขภาพตนเองดี (คาเฉลี่ย = 2.63 คะแนน) โดยดานท่ีมีเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานจิตใจ (คาเฉลี่ย = 2.70 คะแนน) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกาย (คาเฉลี่ย = 2.66 คะแนน) และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอม (คาเฉลี่ย = 2.52 คะแนน) ตามลําดับ

5.1.4.1 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานจิตใจ พฤติกร รมการดูแลสุขภาพตนเ อง ในดาน จิตใจพบวาในภาพรวมอยู ในระดับดี

(คาเฉลี่ย = 2.70 คะแนน) ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 2.85 คะแนน) มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานจิตใจอยูในระดับดี คือ ระมัดระวังและปองกันการไดรับเชื้อเอชไอวีเพ่ิม (ใชถุงยางอนามัยทุกครั้งท่ีมีเพศสัมพันธ ไมใชเข็มฉีดยารวมกับผูอื่น) และระมัดระวังการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี เชน ระวังการปนเปอนของเลือดหรือน้ําเหลืองจากบาดแผล

Page 81: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

69

ไมมีเพศสัมพันธโดยไมใชถุงยางอนามัย ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 2.40 คะแนน) คือ แบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจ

5.1.4.2 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกาย

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกายพบวาในภาพรวมอยูในระดับดี (คาเฉลี่ย = 2.66 คะแนน) ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 2.88 คะแนน) มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานรางกายในระดับดี คือ เฝาสํารวจอาการเจ็บปวยหรือความผิดปกติของสุขภาพรางกาย ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยนอย คือ หลีกเลี่ยงการรับประทานท่ีใหโทษแกรางกาย เชนอาหารหมักดอง หรือเนื้อสัตวท่ีไมสุก (คาเฉลี่ย = 2.33 คะแนน) และหากิจกรรมทํา หรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 2.27 คะแนน)

5.1.4.3 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอมพบวาในภาพรวมอยูในระดับดี

(คาเฉลี่ย = 2.52 คะแนน) ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยมากท่ีสุด (คาเฉลี่ย = 2.78 คะแนน) มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในดานสังคมสิ่งแวดลอมในระดับดี คือ ติดตอขอรับการชวยเหลือจากบุคคลท่ีเชื่อถือไดเม่ือมีความจําเปน ประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยนอยที่สุด (คาเฉลี่ย = 2.12 คะแนน) คือ รักษาและคงไวซึ่งความสัมพันธอันดีกับญาติ พ่ีนอง เพ่ือนฝูง

5.1.5 สรุปผลทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานท่ี 1 เพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 1 สมมติฐานท่ี 2 อายุมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ยอมรับสมมติฐานท่ี 2 สมมติฐานท่ี 3 ระดับการศึกษามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ยอมรับสมมติฐานท่ี 3 สมมติฐานท่ี 4 อาชีพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 4

Page 82: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

70

สมมติฐานท่ี 5 รายไดมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส

ผลการศึกษา ยอมรับสมมติฐานท่ี 5 สมมติฐานท่ี 6 สถานภาพสมรสมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 6 สมมติฐานท่ี 7 การรับทราบสภาวะการติดเชื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแล

สุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 7 สมมติฐานท่ี 8 ความถี่ของการเจ็บปวยมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 8 สมมติฐานท่ี 9 ความรูเกี่ยวกับโรคเอดสมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

ตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 9 สมมติฐานท่ี 10 ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการ

ดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ปฏิเสธสมมติฐานท่ี 10 สมมติฐานท่ี 11 ปจจัยสวนบุคคล ปจจัยดานความรู สามารถรวมกันพยากรณพฤติกรรมการ

ดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ผลการศึกษา ยอมรับสมมติฐานบางสวน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ปจจัยท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองได คือ ปจจัยสวนบุคคล ท่ีประกอบดวย ตัวแปรอิสระ อายุ ระดับการศึกษา และรายได เทานั้น ปจจัยดานความรูไมสามารถรวมอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองได

ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม คือ อายุ ซึ่งสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ไดรอยละ 9.9

ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานรางกาย คือ อายุ ซึ่งสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ไดรอยละ 6.1

Page 83: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

71

ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานจิตใจ คือ อายุ ระดับการศึกษา รายได ซึ่งสามารถรวมกันอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ไดรอยละ 18.7

ตัวแปรอิสระท่ีสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดานสังคมสิ่งแวดลอม คือ ระดับการศึกษา ซึ่งสามารถอธิบายความผันแปรพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ไดรอยละ 6.2 5.2 อภิปรายผล

จากการศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื ้อ เอชไอวี/ เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี” พบวามีประเด็นที ่น าสนใจและไดนํามาอภิปรายดังนี้

พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื ้อเอชไอวี/ เอดส ในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีในภาพรวมนั้นอยูในระดับท่ีดี โดยดานท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ดานจิตใจ รองลงมาคือ ดานรางกาย และดานที่มีค าเฉลี ่ยนอยที ่สุดคือ ดานสังคมสิ ่งแวดลอม อภิปรายไดวา การพ ัฒ นาทางด านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที ่ก าวหน าขอ งโ ลกในยุค โลกาภิว ัตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการกาวหนาทางการคมนาคมขนสง ส งผลใหโรครายตาง ๆ สามารถแพรกระจายไปไดท่ัวทุกมุมโลก การแพรกระจายของเชื้อเอชไอวีที่กอใหเกิดโรคเอดสก็เปนผลกระทบจากความกาวหนาทางการคมนาคมขนสงเชนกัน นับจากเชื้อเอชไอวีไดเขามาและระบาดในประเทศจนยากแกการยับยั้งในชวงแรกนั้น นโยบายและการรณรงคของภาครัฐและผูทํางานท่ีเกี่ยวของไดทําใหประชาชนเกิดความรูสึกวาโรคเอดสเปนโรคท่ีนากลัว นารังเกียจ ผูท่ีได ร ับเ ชื ้อจะม ีช ีว ิตอ ยู อ ย างทรมาน และตายในที ่ส ุด และเนื ่อ งจากการพ ัฒ นาทางด านวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอีกเชนกัน ที่ทําใหมีวิทยาการใหม ๆ เขามาเพื่อ ยับยั ้ง บรรเทา อาการเจ็บปวยดวยโรคเอดส ยกตัวอยางเชน ยาตานไวรัสท่ีไดรับการพัฒนาจนกอใหเกิดผลที่มีความกาวหนาในการรักษา นอกจากนั ้นแลว วัคซีน ก ็ยังเปนอีกหนึ่งวิทยาการที่ไดร ับการพัฒนาอยางตอเนื่อง ในดานของการปองกันการแพรระบาดก็ไดอาศัยเทคโนโลยีในการผลิตถุงยางอนามัย การรณรงคใหใชถุงยางอนามัย รวมถึงการเขาถึงถุงยางอนามัยไดงายเมื่อจะมีเพศสัมพันธ จึงทําใหอัตราการแพรระบาดลดลงอยางเปนที่นาพอใจเมื่อเทียบกับในยุคแรก ๆ ท่ีเริ่มรูจักโรคนี้

Page 84: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

72

ในขณะที่ผูไดรับเชื้อเอชไอวี ก็ไดรับการรักษาทางการแพทยที่ดีขึ้น ดวยยาตานไวรัส สงผลใหสุขภาพดานรางกายสมบูรณแข็งแรงดีขึ ้น การเปลี่ยนทัศนคติในการมองโรคเอดสผูปวยและผูติดเชื้อเอดสไดเปลี่ยนไปจากการเปนโรคท่ีนารังเกียจ นากลัว มาเปนโรคท่ีสามารถบรรเทาได ด ังคํากลาวที่ใช รณรงคสรางความเขาใจในปจจุบันวา “เอดส รู เร ็ว รักษาได” รวมทั้งการอยูรวมกันไดในสังคมระหวางผูติดเชื้อ /ผูปวย และผูที่ไมไดติดเชื้อฯ สงผลใหเกิดการยอมตอโรคและผูปวยไดมากขึ้นในสังคม นอกจากนั้นแลวหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ก็ไดต่ืนตัวในการสรางความรู ความเขาใจใหกับผูปวย/ผูติดเชื้อฯ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง โดยผานวิธีการตาง ๆ เช น การฝกอบรม การจัดตั้งกลุ มหรือชมรมผู ติดเชื ้อฯ เพื่อแลกเปลี ่ยนขอมูลขาวสารระหวางสมาชิกในกลุม การใหความรูผานสื่อที่ทันสมัย มีหนวยงานที่บริการเกี่ยวของกับปญหาทางสุขภาพรางกาย และจิตใจมากขึ้น จึงสงผลใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ในภาพรวมของการศึกษาครั้งนี้มีอยูในระดับท่ีดี ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ จริยาวัตร คมพยัคฆ และคณะ (2537) ศึกษาการรับรูความตองการและการปฏิบัติดานสุขภาพของผู ติดเชื ้อเอชไอวีและครอบครัว โดยศึกษาผู ติดเชื ้อ เอชไอวีซึ ่งมารับการตรวจรักษาท่ีโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลนครพิงค โรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม พบวา ผูติดเชื้อฯ มีการปฏิบัติตนเพ่ือการดูแลตนเองและปองกันการแพรกระจายโรคอยูในระดับดี เชนกัน พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ดานจิตใจและดานรางกาย มีประเด็นท่ีนาสนใจคือ แบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจและ หากิจกรรมทําหรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม ตามลําดับ อภิปรายไดวาในอดีตจนถึงปจจุบันการพัฒนาประเทศใชแนวทางทุนนิยม ท่ีเปดเสรีท้ังทางดานตลาดและการคา โดยมุงเนนการผลิต การบริโภคและการใชจายใหมากท่ีสุด สงผลใหประชาชนในชาติตองคํานึงถึงสภาวะทางเศรษฐกิจของตนเองเปนสําคัญ รายไดจึงเปนสิ่งจําเปนท่ีสําคัญในการสงเสริมคุณภาพชีวิต การใชจายเพ่ือตอบสนองความตองการทางดานวัตถุ ดานการบริโภค ดานการทองเท่ียว การศึกษา และดานท่ีสําคัญอยางสุขภาพ ความจําเปนเหลานี้ ทําใหคนตองทํางานอยางหนัก สรางรายไดใหแกตนเองและครอบครัว จนขาดการแบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจ และออกกําลังกายท่ีเหมาะสม ผูติดเชื้อฯ ท่ีสุขภาพรางกายแข็งแรง ตองทํางานหารายได และตกอยูในกระแสของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมอันเชี่ยวกรากนี้อยางหลีกเลี่ยงไมไดเชนกัน จึงสงผลให ประเด็นการแบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจและ หากิจกรรมทําหรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม ของกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ ไดคะแนคาเฉลี่ยนอยที่สุด พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ดานสังคมและสิ่งแวดลอม มีประเด็นท่ีนาสนคือ รักษาและคงไวซึ่งความสัมพันธอันดีกับญาติ พ่ีนอง เพื่อนฝูง ประเด็นนี้มีคาเฉลี่ยของคะแนนนอยท่ีสุด อภิปรายไดวาในอดีตวิธีการที่จะชวยปองกันการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี คือ

Page 85: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

73

การสรางความเขาใจใหคนรับรูวา โรคเอดสเปนแลวตาย รักษาไมหาย เปนโรคท่ีนารังเกียจ สงผลใหคนในสังคมกลัวและรังเกียจผูปวยผูติดเชื้อฯ ในขณะท่ีผูปวยผูติดเชื้อฯ เองก็กลัววาหากคนใกลชิด คนในครอบครัว หรือเพ่ือนฝูง ทราบวาตนเปนผูติดเชื้อฯ จะรังเกียจ ไมอยากใกลชิดหรืออยูรวมดวย ท้ัง 2 สาเหตุนี้ จึงสงผลใหคะแนนคาเฉลี่ยในขอนี้ต่ําท่ีสุด ถึงแมวาปจจุบัน ทัศนคติในเรื่องความกลัวตอโรคและการรังเกียจผูปวยจะเปนไปในทิศทางท่ีดี ไดรับการยอมรับในสังคมมากขึ้นแลวก็ตาม แตก็ยังตองอาศัยเวลาในการเปลี่ยนความคิดและทัศนคติของสังคมในเรื่องนี้ จากผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ตัวแปร อายุ ระดับการศึกษา และรายได มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ สวนตัวแปร เพศ อาชีพ สถานภาพสมรส การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ ความถี่ของการเจ็บปวย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ ผูศึกษาไดนํามาอภิปรายผลดังนี้ เพศ พบวา ผูติดเชื้อฯเพศชาย ไมไดมีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตางจากผูติดเชื้อฯเพศหญิง อภิปรายไดวา ปจจุบันนโยบายดานการสาธารณสุขไดปรับจากการต้ังรับรักษาท่ีโรงพยาบาลมาเปนการดูแลสุขภาพของประชาชนในเชิงรุกมากขึ้น ในทุกเพศทุกวัย ทําใหประชาชนท้ังเพศชายและเพศหญิง ไดรับโอกาสเขาถึงความรูและบริการเพ่ือการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้นและเทาเทียม จึงทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ เพศหญิงและเพศชายไมแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของจากการศึกษาของ ทัศนีย บุญทวีสง (2549: 90) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคท่ีพบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษาเขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวา กลุมตัวอยางที่เพศตางกันมีพฤติกรรมสุขภาพแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และการศึกษาของวันเพ็ญ ใจทน (2549: 66) ซึ่งศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวาพนกังานเพศตางกันมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพไมแตกตางกัน

อายุ พบวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีอายุมากมีแนวโนมจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดีกวาผูติดเชื้อฯ ท่ีมีอายุนอย อภิปรายไดวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีอายุมากขึ้นมีความจําเปนตองดูแลสุขภาพมากขึ้นเนื่องจากสาเหตุ 2 ประการคือ เปนธรรมชาติท่ีรางกายจะตองเสื่อมโทรมตามอายุการใชงาน ยิ่งอายุมากขึ้นรางกายตองเสื่อมโทรมมากขึ้น อีกประการคือ เงื่อนไขของสภาวะของโรคที่วาจํานวนปท่ีติดเชื้อเอชไอวีเพ่ิมมากขึ้นจะทําใหความเสี่ยงตอการเกิดเชื้อโรคฉวยโอกาสมากขึ้นตามไปดวย ทําใหผูติดเชื้อฯ ท่ีอายุมากขึ้นตองดูแลสุขภาพตนเองเปนพิเศษมากขึ้น ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของวันเพ็ญ ใจทน (2549) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา อายุมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ โดยพนักงานที่มีอายุมากจะดูแลสุขภาพตัวเองดีกวาพนักงานที่มีอายุนอย และสอดคลองกับการศึกษาของ

Page 86: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

74

เกษมธิดา สพสมัย (2536: 57-58) พบวาอายุของเจาหนาท่ีสาธารณสุขที่รับผิดชอบศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน มีความสัมพันธกับการปฏิบัติงานตามบทบาทในการสนับสนุนการดําเนินงานดานขอมูลขาวสาร การสงเสริมและสนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐานและการนิเทศ

ระดับการศึกษา พบวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีมีระดับการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนตน มีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดีนอยกวาผูท่ีจบการศึกษาในระดับอื่น อภิปรายไดวาผูที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาและไมไดเ รียนหนังสือมีแนวโนมท่ีจะเชื่อฟงและปฏิบัติตามคําแนะนําจากเจาหนาท่ีของรัฐมากกวา สวนผูท่ีมีการศึกษาระดับสูงกวามัธยมศึกษาตอนตน มักมีโอกาสไดรับความรูจากสื่อตาง ๆ มากกวา จึงมีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดีกวาผูท่ีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ทัศนีย บุญทวีสง (2549: 92) ศึกษาเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคท่ีพบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษาเขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวาผูท่ีมีระดับการศึกษาสูงมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูท่ีมีการศึกษาต่ําอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยสอดคลองกับการศึกษาของ น้ําทิพย เอี่ยมรักษา (2547: 61-62) ศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือรักษาโรคเบาหวานของผูปวยนอก ศึกษาเฉพาะกรณีวชิรพยาบาล พบวา ผูปวยที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีพฤติกรรมสุขภาพดีกวาผูปวยท่ีมีการศึกษาต่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 อาชีพ พบวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีมีอาชีพท่ีตางกัน ไมไดมีแนวโนมที่จะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตางกัน อภิปรายไดวา การรณรงคใหความรูในการดูแลสุขภาพแกผูติดเชื้อฯ มีความท่ัวถึง และหลากหลายรูปแบบวิธีการมากขึ้น ไมวาจะเปนทางสื่อที่ทันสมัย การฝกอบรมอยางมีสวนรวม การสงเสริมการรวมกลุมผูติดเชื้อฯ ทําใหเกิดการเขาถึงความรู ขอมูล ขาวสารงาย ตอทุกกลุมอาชีพจึงไมมีความแตกตางระหวางผูติดเชื้อฯที่ประกอบอาชีพแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ นิรดา กล่ินสุคนธชาติ (2550) เรื่อง พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี พบวา อาชีพของผูปกครองนักเรียนไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และการศึกษาของ สุกานดา บุญญานนท (2546) เรื่อง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของหญิงต้ังครรภ พบวา อาชีพไมไดมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ

รายได พบวา ผูติดเชื้อฯท่ีมีรายไดสูงมีแนวโนมจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดีกวาผูติดเชื้อฯท่ีมีรายไดต่ํา อภิปรายไดวา กลุมตัวอยางท่ีรายไดสูงกวา จะมีความพรอมมากกวาท่ีจะแสวงหาสิ่งท่ีมีประโยชนใหแกตนเอง เชน การไดรับบริการทางการแพทยท่ีดี การตรวจรางกายประจําป การรับประทานอาหารท่ีดีมีประโยชนตอรางกาย การใชจายเพ่ือทองเท่ียวพักผอนหยอนใจ และใชจายเพื่อปรับปรุงสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยใหอยูในสภาพท่ีดี สวนผูท่ีรายไดตํ่า จะใชจาย

Page 87: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

75

หมดไปกับการยังชีพและจุนเจือครอบครัว ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ สุกานดา บุญญานนท (2546) ไดศึกษาเ ร่ืองพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงตั้งครรภ พบวา รายได มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ อยูในระดับดี โดยสอดคลองกับการศึกษาของ วันเพ็ญ ใจทน (2546: 79) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ พบวา รายไดมีความสัมพันธก ับพฤติกรรมการดูแ ลสุขภาพ โ ดยพนักงานท่ีมีรายไดมากจะดูแลสุขภาพตัวเองดีกวาพนักงานท่ีมีรายไดนอย สถานภาพสมรส พบวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีมีสถานภาพโสด ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตางจากผูติดเชื้อฯ ท่ีมีสถานภาพสมรส อภิปรายไดวา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองนั้นเปนพฤติกรรมเฉพาะบุคคล ถึงแมวาจะไดรับปจจัยตาง ๆ เชน การมีสามีหรือภรรยา ท่ีจะชวยสงเสริมใหเกิดการดูแลสุขภาพ หากบุคคลนั้นไมไดตระหนักหรือใหความสําคัญท่ีจะดูแลสุขภาพก็ไมไดเกิดประโยชนแตอยางใด ดังนั้น กลุมตัวอยางท่ีมีสถานภาพสมรสจึงมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไมตางจากผูที่มีสถานภาพสมรสแลว ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของทัศนีย บุญทวีสง (2549: 92) โดยศึกษาเร่ือง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคท่ีพบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษาเขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวา พฤติกรรมสุขภาพของผูท่ีมีสถานภาพสมรสตางกันมีพฤติกรรมสุขภาพแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคลองกับการศึกษาของสุนันทา พานทอง (2547: 51) ซึ่งศึกษาเร่ืองพฤติกรรมสุขภาพของขาราชการอําเภอควนโดน จังหวัดสตูล พบวา ขาราชการที่มีสถานภาพสมรสตางกันมีพฤติกรรมสุขภาพแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การรับทราบสภาวะการติดเชื้อ พบวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีรับทราบสภาวะการติดเชื้อของตนนานแลว ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตางจากผูติดเชื้อฯ ท่ีเพ่ิงรับทราบสภาวะการติดเชื้อของตน อภิปรายไดวา ในปจจุบันระบบการใหบริการตรวจรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน การใหคําปรึกษาหลังจากตรวจเลือดจะทําใหผูติดเชื้อฯ รายใหม มีความรูความเขาใจตอสภาพการติดเชื้อ ไดรับทราบถึงความกาวหนาในการรักษา ทําใหมีความหวัง มีกําลังใจในการดําเนินชีวิตตอไป และรูจักวิธีการดูแลตนเองไดดีไมตางจากผูท่ีรับทราบสภาวะการติดเชื้อของตนนานแลว จึงทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อฯ รายใหมและผูที่ทราบสภาวะการติดเชื้อของตนนานแลว ไมแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ชลลดา พิทูรย (2548: 60) ไดศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีผลตอการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานี พบวา การรับทราบขอมูลขาวสาร ไมทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อุบลราชธานีแตกตางกัน และการศึกษาของ นิรดา กลิ่นสุคนธชาติ (2550) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อําเภอ

Page 88: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

76

ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี พบวา การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ความถี่ของการเจ็บปวย พบวา ผูติดเชื้อฯ ท่ีเจ็บปวยบอยคร้ัง ไมไดมีแนวโนมท่ีจะมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองตางจากผูติดเชื้อฯ ท่ีไมเจ็บปวยเลย อภิปรายไดวา การรักษาสุขภาพใหสมบูรณ แข็งแรงอยูเสมอนั้น เปนสิ่งสําคัญท่ีผูติดเชื้อฯ จะตองกระทําเพ่ือการมีชีวิตท่ียาวนาน ถึงแมวาผูติดเชื้อฯ จะยังคงมีสุขภาพท่ีแข็งแรงอยูก็ตาม ดังนั้นในท้ังในสภาวะท่ีแข็งแรงหรือสภาวะเจ็บปวย ผูติดเชื้อฯ จึงจะตองมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองใหเหมาะสมอยางสม่ําเสมอ จึงไมมีความแตกตางของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองระหวางผูติดเชื้อฯ ท่ีเจ็บปวยบอยคร้ัง และผูติดเชื้อฯ ท่ีไมเจ็บปวยเลย 5.3 ขอเสนอแนะ

5.3.1 ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ จากการศึกษา ป จจัยที ่ม ีผ ลต อ พฤต ิกร รมการด ูแ ลส ุขภาพ ตนเ อ งขอ งผู ต ิด เ ชื ้อ

เอชไอวี/เอดสในอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ผูศึกษาไดมีขอเสนอแนะดังตอไปนี้ 5.3.1.1 หนวยงานท่ีเกี่ยวของควรจัดกิจกรรมสรางความม่ันใจในการใชชีวิต

ในสังคมใหแกผูติดเชื้อฯ เชน การสงเสริมการรวมกลุมผูติดเชื้อฯ ใหสมาชิกไดมีโอกาสพบปะ แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ การเจ็บปวยและการรักษาตนเอง รวมถึงการจัดกิจกรรมสันทนาการที่ใหความผอนคลายและความเพลิดเพลินพรอมทั้งไดออกกําลังกาย จัดกิจกรรมการเยี่ยมบานระหวางสมาชิกเพื่อชวยกันปรับปรุงซอมแซมสภาพแวดลอมที่อยูอาศัยรวมทั้งชวยในการสรางความสัมพันธอันดีของกลุมสมาชิก เปนตน

5.3.1.2 หนวยงานท่ีเกี่ยวของควรจัดกิจกรรมสรางความรูความเขาใจในเรื่อง การดูแลสุขภาพตนเองใหแกผู ติดเชื ้อ ฯ โดยเนนกลุมที่มีอายุนอย และกลุ มที่มีการศ ึกษานอย เพ่ือใหเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอยางเหมาะสมยิ่งขึ้น

5.3.1.3 หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดกิจกรรมฝกอาชีพ เพื่อเปนอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมในการสรางรายไดใหกับผูติดเชื้อฯ มากขึ้น เชน ชางเสริมสวย ชางตัดผม ชางเย็บผา เปนตน

5.3.1.4 หนวยงานที่เกี่ยวของควรพิจารณาเสริมสรางความตระหนักใหผูติดเชื้อฯ ตองแจงใหคูนอนทราบ เพ่ือหาทางปองกันการติดเชื้อเอชไอวีหรือการตรวจหาเชื้อฯ หลังจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงรวมกัน

Page 89: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

77

5.3.2 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาคร้ังตอไป 5.3.2.1 ควรศึกษา ความตองการของผูติดเชื้อฯ ตอการสงเสริมจากหนวยงานท่ี

เกี่ยวของ เพ่ือใหเกิดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองท่ีเหมาะสมและตรงตามความตองการ 5.3.2.2 ควรศึกษา การพัฒนารูปแบบการสงเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูติด

เชื้อฯ เชน การจัดต้ังกลุมผูติดเชื้อฯ กิจกรรมท่ีสรางศักยภาพใหแกผูติดเชื้อฯ

Page 90: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

บรรณานุกรม

กมลภัทร มณฑานุช. 2549. พฤติกรรมการสรางเสริมสุขภาพของครูในโรงเรียนพื้นที่เขตลาดพราว

กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร.

กองโรคเอดส กรมควบคุมโรคติดตอ กระทรวงสาธารณสุข. 2544. เอดส: การดูแลทางการแพทย และสังคม การคุมครองสิทธิ. เอกสารประกอบการสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส คร้ังท่ี 8 (11-13 กรกฎาคม 2544)

กิตินันท สิทธิชัย. 2540. การศึกษาการรับรูภาวะสุขภาพ การสนับสนุนจากคูสมรส และพฤติกรรม สงเสริมสุขภาพของมารดาท่ีติดเช้ือเอชไอว.ี วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลแมและเด็ก. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

เกตุศิรินทร ฉิมพล.ี 2546. การศึกษาปจจัยพื้นฐาน การรับรูภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสงเสริม สุขภาพของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง อําเภอเข่ืองใน จังหวัดอุบลราชธาน.ี ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เกษมธิดา สพสมัย. 2536. การปฏิบัติตามบทบาท ในการสนับสนุนการดําเนินงานของ เจาหนาท่ีสาธารณสุขท่ีรับผิดชอบงานศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) ระดับตําบลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

จริยาวัตร คมพยัคฆ และคณะ. 2536. พฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียนและเด็กวัยรุนในเขต บางกอกนอย.วารสารพยาบาล. 4: กรกฎาคม-กันยายน. จริยาวัตร คมพยัคฆ และคณะ. 2537. การศึกษาการรับรูความตองการและการปฏิบัติ

ดานสุขภาพของผูติดเช้ือเอชไอวีและครอบครัว. สํานักนโยบายและแผนอุดมศึกษา สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

จันทนา พงษสมบูรณ. 2539. ปจจัยที่มีผลกระทบตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของผูติดเช้ือ เอชไอวี. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. จีรศักด์ิ เจริญพันธ และ เฉลิมพล ตันสกุล, 2549. พฤติกรรมสุขภาพ. พิมพครั้งท่ี 5. มหาสารคาม:

คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Page 91: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

79

ชลลดา พิทูรย. 2548. ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลสรรพ สิทธิประสงค อุบลราชธานี. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑติพัฒนบริหารศาสตร.

ณัฐกานต ปวะบุตร. 2550. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของบุคลากรสาธารณสุข : ศึกษา เฉพาะโรงพยาบาลพาน อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ดวงกมล พรหมลักขโณ. 2549. ปจจัยเชิงเหตุและผลของพฤติกรรมฉลาดดูแลสุขภาพตนเองของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ทัศนีย บุญทวีสง. 2549. พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในโรคท่ีพบบอย 5 อันดับแรก กรณีศึกษา เขตบริการโรงพยาบาลสิงหนคร จังหวัดสงขลา. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ธนวรรธณ อิ่มสมบูรณ. 2532. การสอนสุขศึกษาเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. เอกสาร ประกอบการสอนสุขศึกษาพลศึกษา กองสุขศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (อัดสําเนา).

ธนะรัตน คลายเปรม. 2550. การสรางเสริมสุขภาพของขาราชการกองทัพอากาศ. ภาคนิพนธคณะ พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

นันตศักด์ิ เศษสุวรรณ. 2547. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสรางสุขภาพของอาสาสมัคร สาธารณสุข อําเภอจตุพัตกรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

น้ําทิพย เอี่ยมรักษา. 2547. พฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อรักษาโรคเบาหวานของผูปวยนอก ศึกษา เฉพาะกรณีวชิรพยาบาล. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร.

นิรดา กลิ่นสุคนธชาติ. 2550. พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2537. การวัดสถานะทางสุขภาพ : การสรางมาตราสวนประมาณคาและ แบบสอบถาม. มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสํานักภาพพิมพ.

ประเวศ วะสี. 2543. สุขภาพในฐานะอุดมการณของมนุษย. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพปฏิรูประบบสุขภาพ.

Page 92: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

80

ปรีชา ชาญณรงค. 2545. พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดานการออกกําลังกายของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลาย: กรณีศึกษาโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ปรีชา วิหคโต และคณะ. 2534. เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมวัยรุน. สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุร:ี สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. 2534. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ศูนยสงเสริมสุขภาพ. ผองสาย จูงใจไพศาล และคณะ. 2542. คุณภาพชีวิตของมารดาท่ีติดเช้ือเอดส: กรณีศึกษาเชิง ปรากฎการณวิทยา. บทคัดยอในการนําเสนอผลงานทางวิชาการ. การสัมมนาระดับชาติ เรื่องโรคเอดส ครั้งท่ี 7 (21-23 เมษายน 2542) ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพมหานคร. พันธทิพย รามสูตร. 2540. พฤติกรรมมนุษยและพฤติกรรมสุขภาพ : ระบาดวิทยาสังคม.

กรุงเทพมหานคร: พี.เอ.ลีฟว่ิง จํากัด. พิกุล นันทชัยพันธ. 2539. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองของผูติดเช้ือเอชไอว/ีเอดส.

วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

มณฑิรา เขียวย่ิง และจินตนา ต้ังวรพงศชัย. 2542. การรับรูเรื่องโรคเอดสและบทบาทสามีและภรรยา ในการดูแลคูสมรสที่ติดเช้ือเอดส. บทคัดยอในการนําเสนอผลงานทางวิชาการ. การสัมมนาระดับชาติเร่ืองโรคเอดส ครั้งท่ี 7 (21-23 เมษายน 2542) ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพมหานคร.

มณีวรรณ ปนแดง. 2550. องคประกอบที่เก่ียวของกับพฤติกรรมการรับประทานยาตานไวรัส เอดส กรณีศึกษาผูปวยโรคเอดสโรงพยาบาลแมฟาหลวง อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

มัลลิกา มัติโก. 2530. แนวคิดการพัฒนาของการดูแลสุขภาพตนเอง. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สํานักพิมพแสงแดด จํากัด.

มาริสา เพฑูริยาเวทย. 2544. พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในอําเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ราชบัณฑิตยสถาน. 2536. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน.

Page 93: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

81

____________. 2538. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

ราณี ตาเดอินทร. 2549. พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากรสาธารณสุขมุสลิมท่ีมีผลตอการ เปล่ียนแปลงระดับน้ําตาลและไขมันในเลือดในชวงเทศกาลถือศีลอดเดือนรอมฎอน. ภาค นิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

วันเพ็ญ ใจทน. 2546. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค สํานักงานใหญ. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

วีระพันธุ อนันตพงศ. 2545. พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพดานออกกําลังกายของนักศึกษาวิทยาลัยการ สาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ศักด์ิไทย สุรกิจบวร. 2545. จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน. สมคิด โพธิชนะพันธ และคณะ. 2544. รูปแบบการพัฒนาการดูแลตนเองของผูติดเช้ือเอชไอว.ี

โครงการพัฒนาภูมิปญญาและการวิจัยเพื่อปองกันและการแกไขปญหาเอดสทบวงมหาวิทยาลัย. สํานักนโยบายและแผนอุดมศึกษา สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

สมจิต หนูเจริญกุล. 2533. ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม. กรุงเทพมหานคร: โครงการบัณฑิตศึกษา สาขาพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สมทรง รักษเผา และสรงคฏฎณ ดวงคําสวัสดิ.์ 2540. กระบวนการดําเนินงานสุขศึกษาเพื่อพัฒนา

พฤติกรรมสุขภาพ กรณี: การพัฒนาพฤติกรรมผูบริโภคในชุมชน. รายงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

สมทรง รักษเผา. 2533. การดูแลสุขภาพดวยตนเองในงานสาธารณสุขมูลฐาน. สํานักงาน คณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐาน.

สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. 2526. การปรับพฤติกรรม. กรุงเทพมหานคร: โอเดียน สโตร. สมโภชน เอี่ยมสุภาษิต. 2536. ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สมศรี บุญจันทร. 2548. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของหญิงต้ังครรภมุสลิม: ศึกษาเฉพาะ

กรณีอําเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สมศักดิ์ พ่ึงเศรษฐดี. 2548. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในสถาบัน บําราศนราดูร. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

Page 94: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

82

สําราญ เชื้อเมืองพาน. 2550. คุณภาพชีวิตของผูติดเช้ือเอดสและผูปวยเอดส : กรณีศึกษา กลุมรวม น้ําใจริมน้ําลาว อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สิน พันธุพินิจ. 2549. เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน. สุกานดา บุญญานนท. 2546. พฤติกรรมสุขภาพของหญิงต้ังครรภ. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม

และสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. สุนันทา พานทอง. 2547. เร่ืองพฤติกรรมสุขภาพของขาราชการอําเภอควนโดน จังหวัดสตูล. ภาค

นิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. สุพรรณ ตุรงคดิณชาติ. 2539. การศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของผูประกอบการรานคา

ในเขตอําเภอ พิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหิดล.

สุภัทรา พสุมาตร. 2543. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรใน โรงพยาบาลอํานาจเจริญ. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุรัสวดี ไมตรีกุล. 2547. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของบุคลากรใน โรงพยาบาลยะลา. ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุวัจน เฑียรทอง. 2536. รายงานการวิจัยเรื่อง ผลการดําเนินงานโครงการศึกษาการดูแล สุขภาพตนเองของประชาชนในพื้นท่ี 9 จังหวัด. สํานักงานคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐาน (อัดสําเนา).

สุฬสี กิตติวรเวช. 2544. พฤติกรรมสุขภาพตนเองของแกนนําสุขภาพประจําครอบครัวในเขต เทศบาลเมืองวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธาน.ี ภาคนิพนธคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เอื้อมพร ทองกระจาย. 2533. การดูแลสุขภาพตนเอง: แนวคิดนโยบายและยุทธวิธีเพื่อการ พัฒนาสาธารณสุข ยุทธศาสตรเพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง. นครปฐม: ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล.

Gene, M. Lutz. 1983. Understanding Social Statistics. New York: Macmillan Publishing Inc.

Page 95: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

ภาคผนวก

Page 96: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

84

ภาคผนวก ก

แบบสอบถาม เรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการดูแลสุขภาพตนเองของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส ใน

อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี คําชี้แจง

1. ผลการวิจัยดังกลาวนี้จะเปนประโยชนตอสถาบันและหนวยงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของในการนํา ขอมูลไปจัดระบบ และกําหนดมาตรการเพ่ือสงเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง อันจะสงผลตอคุณภาพชีวิตของผูติดเชื้อเอชไอวี และคุณภาพชีวิตของสังคมโดยรวมตอไป

2. ผูวิจัยขอความรวมมือจากผูตอบแบบสอบถามทุกทานในการตอบแบบสอบถามท่ีแนบมานี ้ตามความเปนจริงทุกขอ ขอใหม่ันใจวาคําตอบทุกขอจะเปนความลับ เนื่องจากไมมีการระบุชื่อ นามสกุล และท่ีอยูใด ๆ ของผูตอบแบบสอบถาม

3. ผูวิจัยขอแสดงความขอบคุณที่ใหความรวมมือมา ณ โอกาสนี ้

นายวิทูรย บุตรสาระ นักศึกษาปริญญาโท คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

Page 97: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

85

แบบสอบถาม สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป คําชี้แจง ขอใหทานทําเครื่องหมาย / ในชอง ( ) หรือเติมขอความลงในชองวาง ใหตรงกับความเปนจริงของทาน ขอไดโปรดตอบทุกขอ 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ .....................................ป 3. ระดับการศึกษาสูงสุดของทาน ( ) ไมไดเรียน ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนตน ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) ปวส. หรืออนุปริญญา ( ) ปริญญาตรีหรือสูงกวา ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ ............................................................... 4. ทานนับถือศาสนาใด ( ) พุทธ ( ) อิสลาม ( ) คริสต ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ ............................. 5. สถานภาพสมรสของทาน ( ) โสด ( ) สมรส ( ) มาย/หยาราง/แยกกันอยู 6. ทานประกอบอาชีพอะไร ( ) เกษตรกรรม ( ) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว ( ) รับจาง ( ) รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ( ) วางงาน ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ ...................................................

Page 98: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

86

7. ทานมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน.....................................................บาท 8. ทานทราบวาตนเองติดเชื้อเอชไอวีมานานเทาใด......................................ป 9. ทานมีอาการเจ็บปวยบอยครั้งมากนอยเพียงใดในรอบ 1 เดือนที่ผานมา ( ) ไมเจ็บปวยเลย ( ) เจ็บปวยเล็กนอย (ไมเกิน 1 ครั้ง) ( ) เจ็บปวยบอยครั้งพอสมควร (2-3 ครั้ง) ( ) เจ็บปวยบอยครั้งมาก (มากกวา 3 ครั้งหรือปวยเกือบทุกวันจนถึงทุกวัน) สวนท่ี 2 ความรูความเขาใจเก่ียวกับโรคเอดส คําชี้แจง ขอใหทานเขียนเครื่องหมาย / ลงในชองท่ีทานเห็นวาถูกตอง ขอ คําถาม ใช ไมใช ไมทราบ 1 โรคเอดสเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) 2 โรคเอดสติดตอกันไดโดยมีเพศสัมพันธท่ีไมปองกัน 3 โรคเอดสติดตอไดจากการรับประทานอาหารรวมกัน 4 การสวมถุงยางอนามัยสามารถชวยปองกันเอดสได 5 ถารูวาติดเชื้อเอชไอวีไมควรบอกใหคูนอนทราบ 6 การพิจารณาดวยตาเปลา เราไมสามารถบอกไดวาผูใด

ติดเชื้อเอชไอวี

7 การจะรูวาติดเชือ้เอชไอวีหรือไมนั้น จะทราบไดจาก การตรวจเลือดเทานั้น

8 หากผูติดเชื้อเอชไอวีไมปวย ก็ไมจําเปนตองไปพบแพทย

9 สามีภรรยาท่ีติดเชื้อเอชไอวีท้ังคู ไมจําเปนตองสวม ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธกัน

10 หากดูแลสุขภาพเปนอยางดี แมจะเปนโรคเอดส ก็จะมีชีวิตอยูไดยาวนาน

Page 99: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

87

สวนท่ี 3 ความรูความเขาใจในการดูแลสุขภาพตนเอง คําชี้แจง ขอใหทานเขียนเครื่องหมาย / ลงในชองท่ีเปนจริง ขอ คําถาม ใช ไมใช ไมทราบ 1 รางกายตองการวิตามินจากผักและผลไมสดทุกวัน 2 โปรตีนจากพืชไมสามารถทดแทนโปรตีนจากสตัวได 3 น้ําชวยขับถายของเสียออกจากรางกายได 4 การรับประทานอาหารอยางเรงรีบทําใหเกิดโรค

กระเพาะอาหารได

5 การรับประทานอาหารที่มีประโยชนประเภทเดียวซ้ํา ๆ กันนาน ๆ เปนผลดีตอสุขภาพ

6 วิธีการรักษาความสะอาดผิวหนังท่ีดีท่ีสุดคือการชําระลางดวยน้ําและสบู

7 การลางมือปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรคได 8 การดูแลรักษาฟนท่ีถูกตองหลังรับประทานอาหารควร

บวนปากดวยน้ําสะอาดหรือแปรงฟน

9 ถารูสึกวารางกายแข็งแรงดี ไมจําเปนตองไปตรวจสุขภาพประจําป

10 การกวาดบาน ถูบานเปนการออกกําลังกายท่ีไดประโยชน

11 วิธีการเสริมสรางรางกายและจิตใจไดดีคือการออกกําลังกายสมํ่าเสมอ

12 ภาวะความเครียดกอใหเกิดการเจ็บปวยทางกายได 13 การมีสิ่งยึดเหนี่ยวสูงสุดในจิตใจ ทําใหจิตใจม่ันคง

และมีความเชื่อมั่นตนเองมากขึ้น

14 การอานหนังสือท่ีชอบเปนการขจัดความเครียดได

Page 100: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

88

สวนท่ี 4 พฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตัวทานเอง คําชี้แจง ขอใหทานเขียนเครื่องหมาย / ลงในชองท่ีเปนจริง

ขอ คําถาม ปฏิบัติเปน

ประจํา

ปฏิบัติบอย คร้ัง

ปฏิบัตินาน ๆ คร้ัง

ไมได ปฏิ บัติ

1 ดานรางกาย แสวงหาและจัดเตรียมอาหารท่ีตนชอบและมีประโยชน

2 หลีกเลี่ยงการรับประทานท่ีใหโทษแกรางกาย เชน อาหารหมักดอง หรือเนื้อสัตวท่ีไมสุก

3 ดื่มน้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว 4 ฝกหัดการขับถายใหติดเปนนิสัย 5 รับประทานอาหารที่มีประโยชนอยางเพียงพอครบ 3 ม้ือ 6 นอนหลับใหเปนเวลาอยางเพียงพอ 6-8 ชั่วโมง 7 รักษาความสะอาดของรางกาย ปาก และฟน 8 ระมัดระวังและปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายตอชีวิต

สุขภาพ และสวัสดิภาพของตนเอง

9 เฝาสํารวจอาการเจ็บปวยหรือความผิดปกติของสุขภาพรางกาย

10 หากิจกรรมทํา หรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม

11 ดานจิตใจ แบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจ

12 ระมัดระวังและปองกันการไดรับเชื้อเอชไอวีเพ่ิม (ใชถุงยางอนามัยทุกครั้งท่ีมีเพศสัมพันธ ไมใชเข็มฉีดยารวมกับผูอื่น)

13 ระมัดระวังการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี เชน ระวังการปนเปอนของเลือดหรือน้ําเหลืองจากบาดแผล ไมมีเพศสัมพันธโดยไมใชถุงยางอนามัย

14 พยายามสราง และแสวงหากําลังใจใหตนเอง 15 ปรับตัวใหเขากับสภาพการติดเชื้อและการเจ็บปวย

Page 101: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

89

ขอ คําถาม ปฏิบัติเปน

ประจํา

ปฏิบัติบอย คร้ัง

ปฏิบัตินาน ๆ คร้ัง

ไมได ปฏิ บัติ

16 งดหรือละเวนการดื่มท่ีมีแอลกอฮอล เชน เบียร สุรา 17 ฝกฝนตนเองใหแกปญหาทางอารมณและจิตใจไดอยาง

เหมาะสม เชน การคลายเครียด คลายกังวล ทําจิตใจใหสบาย หรือการออกกําลังกาย

18 ติดตามและประเมินผลการดูแลหรือรักษาท่ีไดรับ 19 ทําการดูแล หรือจัดการแกไข หรือบรรเทาอาการเจ็บปวย 20 พยายามดําเนินชีวิตตามปกติเหมือนกับกอนมีการติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส

21 ดานสังคมส่ิงแวดลอม อยูในท่ีท่ีอากาศถายเทดี

22 หลีกเลี่ยงจากการอยูใกลชิดกับผูที่มีอาการไอหรือเปนหวัด

23 จัดสิ่งแวดลอมและท่ีอยูอาศัยใหสะอาด 24 ติดตอขอรับการชวยเหลือจากบุคคลที่เชื่อถือไดเม่ือมี

ความจําเปน

25 แสวงหาการดูแลรักษาอาการเจ็บปวยท่ีเหมาะสม 26 รักษาและคงไวซึ่งความสัมพันธอันดีกับญาติ พ่ีนอง

เพื่อนฝูง

27 คิดทบทวนไตรตรองเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูของตนเอง 28 ปรับตัวและทําใจใหพรอมที่จะพ่ึงพาบุคคลอื่น 29 แสวงหาความรูและขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการติดเชื้อเอช

ไอวี เพื่อประโยชนในการดูแลตนเอง

30 เขาสังคม และทําหนาที่ชวยกิจการในสังคมตามปกติ

Page 102: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

90

ภาคผนวก ข

ผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดตัวแปรท่ีใชในการศึกษา

ตารางที่ 1 แสดงผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดความรูเกี่ยวกับโรคเอดส รายการขอความ rกับสเกลรวม ดัชนีความยาก

1 โรคเอดสเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) 0.382* 0.93 2 โรคเอดสติดตอกันไดโดยมีเพศสัมพันธท่ีไมปองกัน 0.377* 0.95 3 โรคเอดสติดตอไดจากการรับประทานอาหารรวมกัน 0.446* 0.93 4 การสวมถุงยางอนามัยสามารถชวยปองกันเอดสได 0.187* 0.95 5 ถารูวาติดเชื้อเอชไอวีไมควรบอกใหคูนอนทราบ 0.652* 0.71 6 การพิจารณาดวยตาเปลา เราไมสามารถบอกไดวาผูใด

ติดเชื้อเอชไอวี 0.409* 0.85

7 การจะรูวาติดเชื้อเอชไอวีหรือไมนั้น จะทราบไดจาก การตรวจเลือดเทานั้น

0.263* 0.97

8 หากผูติดเชื้อเอชไอวีไมปวย ก็ไมจําเปนตองไปพบแพทย

0.591* 0.84

9 สามีภรรยาท่ีติดเชื้อเอชไอวีท้ังคู ไมจําเปนตองสวม ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธกัน

0.537* 0.88

10 หากดูแลสุขภาพเปนอยางดี แมจะเปนโรคเอดส ก็จะมีชีวิตอยูไดยาวนาน

0.206* 0.97

หมายเหต:ุ * มีนัยสําคัญท่ี .05 คาความเชื่อม่ัน alpha = 0.086

Page 103: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

91

ตารางที่ 2 แสดงผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง รายการขอความ rกับสเกลรวม ดัชนีความยาก

1 รางกายตองการวิตามินจากผักและผลไมสดทุกวัน 0.231* 0.95 2 โปรตีนจากพืชไมสามารถทดแทนโปรตีนจากสัตวได 0.382* 0.41 3 น้ําชวยขับถายของเสียออกจากรางกายได 0.290* 0.95 4 การรับประทานอาหารอยางเรงรีบทําใหเกิดโรค

กระเพาะอาหารได 0.513* 0.76

5 การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชนประเภทเดียวซ้ํา ๆ กันนาน ๆ เปนผลดีตอสุขภาพ

0.486* 0.63

6 วิธีการรักษาความสะอาดผิวหนังท่ีดีท่ีสุดคือการชําระลางดวยน้ําและสบู

0.145* 0.97

7 การลางมือปองกันการแพรกระจายของเชื้อโรคได 0.401* 0.93 8 การดูแลรักษาฟนท่ีถูกตองหลังรับประทานอาหาร

ควรบวนปากดวยน้ําสะอาดหรือแปรงฟน 0.315* 0.97

9 ถารูสึกวารางกายแข็งแรงดี ไมจําเปนตองไปตรวจสุขภาพประจําป

0.335* 0.91

10 การกวาดบาน ถูบานเปนการออกกําลังกายท่ีไดประโยชน

0.263* 0.93

11 วิธีการเสริมสรางรางกายและจิตใจไดดีคือการออกกําลังกายสมํ่าเสมอ

0.155* 0.97

12 ภาวะความเครียดกอใหเกิดการเจ็บปวยทางกายได 0.263* 0.93 13 การมีสิ่งยึดเหนี่ยวสูงสุดในจิตใจ ทําใหจิตใจม่ันคง

และมีความเชื่อมั่นตนเองมากขึ้น 0.116 0.97

14 การอานหนังสือที่ชอบเปนการขจัดความเครียดได 0.270* 0.95 หมายเหต:ุ * มีนัยสําคัญท่ี .05 คาความเชื่อม่ัน alpha = 0.444

Page 104: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

92

ตารางที่ 3 แสดงผลการทดสอบคุณภาพมาตรวัดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง รายการขอความ rกับสเกลยอย rกับสเกลรวม

1 ดานรางกาย (คาความเชื่อม่ัน alpha = 0.716) แสวงหาและจัดเตรียมอาหารท่ีตนชอบและมีประโยชน 0.547*

0.475*

2 หลีกเลี่ยงการรับประทานท่ีใหโทษแกรางกาย เชน อาหารหมักดอง หรือเนื้อสัตวที่ไมสุก

0.553* 0.411*

3 ดื่มน้ําสะอาดอยางนอยวันละ 6-8 แกว 0.491* 0.395* 4 ฝกหัดการขับถายใหติดเปนนิสัย 0.635* 0.551* 5 รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนอยางเพียงพอครบ 3 ม้ือ 0.641* 0.555* 6 นอนหลับใหเปนเวลาอยางเพียงพอ 6-8 ชั่วโมง 0.629* 0.547* 7 รักษาความสะอาดของรางกาย ปาก และฟน 0.383* 0.254* 8 ระมัดระวังและปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายตอชีวิต

สุขภาพ และสวัสดิภาพของตนเอง 0.370* 0.462*

9 เฝาสํารวจอาการเจ็บปวยหรือความผิดปกติของสุขภาพรางกาย

0.237* 0.235*

10 หากิจกรรมทํา หรือออกกําลังกายอยางเหมาะสม 0.704* 0.610*

11 ดานจิตใจ (คาความเชื่อม่ัน alpha = 0.690) แบงเวลาสําหรับการพักผอนหยอนใจ 0.541*

0.529*

12 ระมัดระวังและปองกันการไดรับเชื้อเอชไอวีเพ่ิม (ใชถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ ไมใชเข็มฉีดยารวมกับผูอื่น)

0.480* 0.376*

13 ระมัดระวังการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี เชน ระวังการปนเปอนของเลือดหรือน้ําเหลืองจากบาดแผล ไมมีเพศสัมพันธโดยไมใชถุงยางอนามัย

0.474* 0.349*

14 พยายามสราง และแสวงหากําลังใจใหตนเอง 0.499* 0.468* 15 ปรับตัวใหเขากับสภาพการติดเชื้อและการเจ็บปวย 0.620* 0.582*

Page 105: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

93

ตารางที่ 3 (ตอ) รายการขอความ rกับสเกลยอย rกับสเกลรวม 16 งดหรือละเวนการดื่มท่ีมีแอลกอฮอล เชน เบียร สุรา 0.322* 0.221* 17 ฝกฝนตนเองใหแกปญหาทางอารมณและจิตใจไดอยาง

เหมาะสม เชน การคลายเครียด คลายกังวล ทําจิตใจใหสบาย หรือการออกกําลังกาย

0.619* 0.499*

18 ติดตามและประเมินผลการดูแลหรือรักษาท่ีไดรับ 0.621* 0.520* 19 ทําการดูแล หรือจัดการแกไข หรือบรรเทาอาการเจ็บปวย 0.632* 0.597* 20 พยายามดําเนินชีวิตตามปกติเหมือนกับกอนมีการติดเชื้อ

เอชไอวี/เอดส 0.455* 0.435*

21 ดานสังคมส่ิงแวดลอม (คาความเชื่อม่ัน alpha = 0.679) อยูในท่ีท่ีอากาศถายเทดี 0.358*

0.304*

22 หลีกเลี่ยงจากการอยูใกลชิดกับผูที่มีอาการไอหรือเปนหวัด

0.483* 0.478*

23 จัดสิ่งแวดลอมและท่ีอยูอาศัยใหสะอาด 0.285* 0.282* 24 ติดตอขอรับการชวยเหลือจากบุคคลที่เชื่อถือไดเม่ือมี

ความจําเปน 0.535* 0.452*

25 แสวงหาการดูแลรักษาอาการเจ็บปวยท่ีเหมาะสม 0.416* 0.561* 26 รักษาและคงไวซึ่งความสัมพันธอันดีกับญาติ พ่ีนอง

เพื่อนฝูง 0.629* 0.452*

27 คิดทบทวนไตรตรองเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูของตนเอง 0.596* 0.327* 28 ปรับตัวและทําใจใหพรอมที่จะพ่ึงพาบุคคลอื่น 0.631* 0.461 29 แสวงหาความรูและขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการติดเชื้อเอช

ไอวี เพื่อประโยชนในการดูแลตนเอง 0.504* 0.420

30 เขาสังคม และทําหนาที่ชวยกิจการในสังคมตามปกติ 0.589* 0.460* หมายเหต:ุ * มีนัยสําคัญท่ี .05 คาความเชื่อม่ัน alpha = 0.856

Page 106: ป จจัยที่มีผลต อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู ติดเชื้อ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2552/19584.pdf ·

ประวัติผูเขียน

ช่ือ-นามสกุล นายวิทูรย บุตรสาระ ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบําบัด)

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545 ตําแหนง เจาหนาท่ีโครงการ สถานที่ทํางาน องคการแพธ (PATH) 37/1 ซอยเพชรบุรี 15 ถนนเพชรบุรี กรุงเทพมหานคร ท่ีอยูปจจุบัน 34/31 ซอยหทัยราษฎร 34/3 แขวงสามวาตะวันตก

เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร