99
การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมือง ในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ สุกัลยา โตสินธุ วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร .. 2554

ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมอืง ในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

สุกัลยา โตสินธุ

วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ. 2554

Page 2: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม
Page 3: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บทคัดยอ

ชื่อวิชาการคนควาอิสระ

: การบริหารจัดการพื้นที่สีเขยีวแบบมีสวนรวมในบรบิทการ ขยายตวัของเมืองในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ดวยเทคโนโลย ีภูมิสารสนเทศ

ชื่อผูเขียน : นางสาวสุกัลยา โตสินธุ ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) ปการศึกษา : 2553

การศึกษาวิจัยครั้งน้ีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานครจากการขยายตัวของเมืองและศึกษาพื้นที่สีเขียวที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมโดยการศึกษาเปรียบเทียบพ้ืนที่สีเขียวระหวาง ป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553 ดวยขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรของป พ.ศ.2547 นํามาเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ ดินดวยวิธีประมวลผลนําเขาขอมูลภาพถายดาวเทียมป พ.ศ.2553 และนํามาซอนทับกันเพ่ือจําแนกการใชประโยชนที่ดินและพ้ืนที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ จากนั้นนํามาวิเคราะหหาพื้นที่ที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม และ 2) เพ่ือศึกษาชุมชนในการบริหาร จัดการ การมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานคร โดยวิธีสัมภาษณเชิงลึกกับหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ องคการบริหารสวนตําบล ผูนําชุมชน ในเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่ เชน การจัดองคกร กฎระเบียบของชุมชน การบริหารงานของกลุม การจัดทํากิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ผลประโยชนที่ชุมชนไดรับจากการมีสวนรวม ผลการศึกษาทางกายภาพพบวาในป พ.ศ.2547 พ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร มีพ้ืนที่สีเขียวรอยละ 71.68 และในป พ.ศ. 2553 มีพ้ืนที่สีเขียวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 74.05 จากนั้นไดทําการคัดเลือกพื้นที่ที่เปนสีเขียวแปลงใหญๆ จากขอมูลทางกายภาพ ซ่ึงจะมีพ้ืนที่สีเขียวอยูใน 3 ตําบล คือ ตําบลบางกะเจา ตําบลบางกระสอบ และตําบลทรงคนอง ซ่ึงสวนใหญเปนพ้ืนที่ที่เปนที่ราชพัสดุที่กรมปาไมดูแล รับผิดชอบ และผลจาการสัมภาษณเชิงลึก พบวาตําบล

Page 4: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

(4)

ทรงคนอง มีศักยภาพสูงสุดในดานการมีสวนรวม ถึงแมวาพื้นที่สีเขียวจะลดลงจากป พ.ศ.2547 จํานวนรอยละ 0.83 หากเปรียบขนาดพื้นที่และจํานวนประชากร จํานวนครัวเรือนแลวจะพบวา ตําบลทรงคนองมีพ้ืนที่ทั้งหมด 681.76 ไร มีความหนาแนนของประชากร 12.07 คนตอไร ความหนาแนนของครัวเรือน 3.93 ครัวเรือนตอไร ซ่ึงมีความหนาแนนมากที่สุด แตยังสามารถอนุรักษพ้ืนที่สีเขียวโดยการมีสวนรวมของชุมชนไดอยางเขมแขง โดยพบวา ชุมชนรวมกันบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวของตําบลในรูปของปาชุมชนเมืองสวนปาเกดนอมเกลา ซึ่งการมีสวนรวมเกิดจากทุกภาคสวนอยางบูรณาการ ทั้งภาครัฐ สวนทองถิ่น ภาคเอกชน บริษัท หางราน และสถานศึกษา ไดรวมจัดกิจกรรมทั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยมีกรมปาไมเปนหนวยงานสนับสนุนทางดานเทคนิค วิชาการ และงบประมาณในการบริหารจัดการปาชุมชน สวนชุมชนเองซึ่งมีความสัมพันธในลักษณะเครือญาติ มีผูนําชุมชนที่เขมแข็ง มีความเสียสละสูง จริงจังในการปฏิบัติหนาที่ สามารถพัฒนาและตอยอดองคความรูไดอยางรวดเร็วประกอบกับประชาชนในพ้ืนที่มีการศึกษาคอนขางสูง ซึ่งมีสวนใหเกิดความรูความเขาใจ และยังเขามามีบทบาทในการรวมตัดสินใจใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดแกชุมชน มีการตั้งกฎระเบียบขึ้นเองจากภายในชุมชน ทําใหชุมชนไดรับประโยชนทั้งทางตรงและทางออม และยังสามารถขยายเครือขายอีก 5 ตําบลในอําเภอพระประแดง ใหหันมาสนใจในการอนุรักษพ้ืนที่สีเขียว แตปญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต คือการสืบทอดเจตนารมณของคนรุนถัดไป ซึ่งอาจมีแนวคิดตางกันเนื่องจากในปจจุบันสังคมรอบขางไดพัฒนาไปสูความเปนเมือง

Page 5: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ABSTRACT

Title of Independent Study

: Participatory Green Area Administration and Management in the Context of Urbanization in Suan Khlang MahaNakorn Project of Samutprakan Province by Using Geographic Information System (GIS).

Author : Miss. Sukanlaya Tosin Degree : Master of Science (Environmental Management) Year : 2010

This research aims to study participation-based administration and management of green area in the context of urbanization in Suan Khlang MahaNakorn project of Samutprakan province. The first part of this study, land use change of green areas in the study area between 2004 and 2010 of each sub-district was studied and compared to find out the potential green areas of community based management using overlay technique of ArcGIS 9.2. Factors considered are the large amount of green areas and population density. The second part of this study focused on participatory administration and management of the selected green areas. Relevant local government officers and sub-district community leaders in the target area were in-depth interviewed on the topics of community based green area management, group organizing, community regulation and rules, role of stakeholders, group management, sharing of benefits, and related issues. The results shows that the total green areas of Suan Khlang MahaNakorn were 71.68% and 74.05% in 2004 and 2010, respectively. The potential area of community based management found is in Chongkanong district where the amount of green area is 681.76 acres while population and household density is 12.07 person per acre and 3.93 household per acre, respectively. People in this target area are able to preserve

Page 6: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

(6)

green areas from the expansion of urbanization. This potential green area is called “Paked Nomklao community forest management”. All local government agencies, private sectors and various academic institutions are in collaboration with local community in management. The Royal Forest Department assists community in academic and technical support and budget allocation. Management of this green area is effective because of the strength of community leaders. They use the limited resources available to provide both directly and indirectly maximum benefits to the community. At present, this community are able to expand this concept to the nearby communities and establish the green area preservation network including five districts of Phrapradaeng province. However, this green areas seems to be decreased resulting from the expansion of urbanization in the future due to the communities have not transferred their concepts to their next generation, yet.

Page 7: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

กิตติกรรมประกาศ วิชาการคนควาอิสระ เร่ือง การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมืองในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ฉบับนี้ สามารถสําเร็จลงไดดวยความอนุเคราะหชวยเหลืออยางดียิ่งจากผูชวยศาสตราจารย ดร.จินตนา อมรสงวนสิน อาจารยที่ปรึกษา ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคุณอาจารยทุกทานในคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ที่ไดอุทิศตนใหวิชาความรูตลอดมา และขอขอบคุณเจาหนาที่คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมทุกทานที่ใหความชวยเหลือในการประสานงานระหวางการศึกษา

ขอกราบขอบพระคุณ รองอธิบดีกรมปาไม (นายชลธิศ สุรัสวดี) ดร.ปรีชา องคประเสริฐ และเจาหนาที่จากกรมปาไมที่ใหคําแนะนํา ใหความอนุเคราะหขอมูลดวยดีตลอดมา

ขอขอบคุณเพ่ือนๆ หลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอม รุน 7 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร-ศาสตร ทุกทานที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู และเปนกําลังใจมาตลอด

สุดทายนี้ ขอกราบขอบพระคุณพอ แม ญาติพ่ีนอง ที่สนับสนุนดานการศึกษา และขอบคุณเพ่ือนๆ พ่ีๆ นองๆ ทุกทานที่เปนกําลังใจในการจัดทําสารนิพนธฉบับนี้

สุกัลยา โตสนิธุ มิถุนายน 2554

Page 8: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (3) ABSTRACT (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (10) สารบัญภาพ (11) บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ที่มาและความสําคัญ 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 4 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 4 1.4 ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา 5 1.5 กรอบแนวคิดแนวคิดในการศึกษา 5 1.6 นิยามศัพท 6 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 7

2.1 การขยายตวัของเมือง 7 2.2 การใชประโยชนที่ดิน 13 2.3 พ้ืนที่สีเขียว 16 2.4 ความหมายของชุมชนและการมสีวนรวม 19 2.5 ความรูพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 24 2.6 นโยบายของรัฐบาล 25 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 27

Page 9: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

(9)

บทที่ 3 วิธีศึกษา 30 3.1 อุปกรณและวธิีการศึกษา 30 3.2 การเก็บรวบรวมขอมูล 32 3.3 การวิเคราะหขอมูล 33

บทที่ 4 ขอมูลพื้นฐานของพื้นที่ศึกษา 34 4.1 พ้ืนที่ศึกษา 34 4.2 ประวตัิของพืน้ที่ศึกษา 34 4.3 โครงสรางพื้นฐาน 36 4.4 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานครและสภาพทัว่ไปรายตําบล 39 4.5 ประชากร 42 4.6 ขอมูลราคาประเมินที่ดิน 43 4.7 ขอมูลแปลงทีดิ่นกรมปาไมรับผิดชอบในโครงการสวนกลางมหานคร 43

บทที่ 5 ผลการศึกษา 46 5.1 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนพ้ืนที่สเีขียว ระหวางป พ.ศ. 2547 46 และป พ.ศ. 2553 ในโครงการสวนกลางมหานคร อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 5.2 การวิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญและมีศักยภาพในการบรหิาร 70 จัดการแบบมีสวนรวมของชุมชน 5.3 การมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว 71

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 76 6.1 สรุปผลการศกึษา 76 6.2 อภิปรายผลการศึกษา 78 6.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา 79 6.4 ขอเสนอแนะงานวิจัยในอนาคต 80 บรรณานุกรม 81 ภาคผนวก 83 ประวตัิผูเขียน 88

Page 10: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 1.1 การกํากับดูแลโครงการสวนกลางมหานคร 3 4.1 จํานวนครัวเรอืนและจํานวนประชากรในพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร 42 ป พ.ศ.2547 4.2 จํานวนครัวเรือนและจํานวนประชากรในพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร 43 ป พ.ศ.2553 4.3 ราคาประเมินที่ดินตางๆ ในพ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร 43 5.1 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานคร พ.ศ.2547 48 5.2 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานครรายตําบล พ.ศ.2547 48 5.3 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานคร พ.ศ.2553 50 5.4 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานครรายตําบล พ.ศ.2553 50 5.5 ความหนาแนนของประชากรและจํานวนครัวเรือนตอไร ในป พ.ศ.2547 51 5.6 ความหนาแนนของประชากรและจํานวนครัวเรือนตอไร ในป พ.ศ.2553 51 5.7 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบรเิวณตําบลบางกะเจา ในป พ.ศ.2547 52 และในป พ.ศ.2553 5.8 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบรเิวณตําบลบางกอบัว ในป พ.ศ.2547 55 และในป พ.ศ.2553 5.9 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบรเิวณตําบลบางน้ําผึ้ง ในป พ.ศ.2547 58 และในป พ.ศ.2553 5.10 รอยละของพื้นที่เมืองกับพ้ืนที่สีเขียวบริเวณตําบลบางยอ ในป พ.ศ.2547 61 และในป พ.ศ.2553 5.11 รอยละของพื้นที่เมืองกับพ้ืนที่สีเขียวบริเวณตําบลบางกระสอบ ในป พ.ศ.2547 64 และในป พ.ศ.2553 5.12 รอยละของพื้นที่เมืองกับพ้ืนที่สีเขียวบริเวณตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ.2547 67 และในป พ.ศ.2553

Page 11: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 1.1 กรอบแนวคิดการศึกษา 5 2.1 ผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรปราการ 14 2.2 โมเดลวิวัฒนาการการใชที่ดินในประเทศไทย 15 3.1 ขั้นตอนการศึกษาขอมูลทางกายภาพ 31 3.2 ขั้นตอนการศึกษาขอมูลทางสังคม 33 4.1 แปลงที่ราชพัสดุที่อยูในความดูแลของกรมปาไม 45 บริเวณโครงการสวนกลางมหานคร อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 5.1 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาโครงการสวนกลางมหานคร ป พ.ศ.2547 47 5.2 ขอบเขตพื้นที่ศึกษาโครงการสวนกลางมหานคร ป พ.ศ.2553 49 5.3 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกะเจา ในป พ.ศ.2547 53 5.4 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกะเจา ในป พ.ศ.2553 54 5.5 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกอบัว ในป พ.ศ.2547 56 5.6 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกอบัว ในป พ.ศ.2553 57 5.7 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางน้ําผึ้ง ในป พ.ศ.2547 59 5.8 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางน้ําผึ้ง ในป พ.ศ.2553 60 5.9 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางยอ ในป พ.ศ.2547 62 5.10 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางยอ ในป พ.ศ.2553 63 5.11 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกระสอบ ในป พ.ศ.2547 65 5.12 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกระสอบ ในป พ.ศ.2553 66 5.13 การใชประโยชนที่ดินตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ.2547 68 5.14 การใชประโยชนที่ดินตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ.2553 69

Page 12: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ที่มาและความสําคัญ

การขยายตัวของเมืองที่มุงใหความสําคัญตอการพัฒนาทางธุรกิจเปนหลัก ทําใหระบบนิเวศเมืองทั้งทางดานสังคม ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนเพียงเปาหมายอันดับรองเทานั้น จึงทําใหระบบนิเวศของเมืองมีความเสื่อมโทรมลงอยางเห็นไดชัด เกิดปญหาชุมชนแออัด ขาดแคลนพื้นที่สีเขียว การขาดแคลนสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ปญหามลพิษ นอกจากนี้ปญหาการขยายตัวของเมืองในหลายพื้นที่ ยังขาดการควบคุมบังคับใชผังเมือง เกิดการขยายตัวยังรุกเขาไปในพื้นที่เกษตรกรรม สงผลกระทบตอพ้ืนที่ทางการเกษตรอีกเปนจํานวนมาก

โครงการสวนกลางมหานคร หรือเดิมชื่อ บางกะเจา เปนพ้ืนที่สวนสีเขียวขนาดใหญ ที่อยูใกลกรุงเทพมากที่สุด มีลักษณะเปนพื้นที่ชนบทกึ่งเมือง ตั้งอยูในเขต 6 ตําบล คือ ตําบลบางกระเจา ตําบลบางกอบัว ตําบลบางน้ําผึ้ง ตําบลบางยอ ตําบลบางกระสอบ ตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ที่ตั้งโครงการสวนกลางมหานคร (บางกะเจา) ระบบพิกัดฉาก หรือ UTM (Universal Transverse Mercator) Zone 47N ระหวาง 667000 กับ 672000 ตะวันออก และ 1510000 กับ 1516000 เหนือ หรือตําแหนงทางภูมิศาสตรอยูระหวางเสนรุงที่ 13o 39’ 16” ถึง 13o 42’ 5” เหนือ และเสนแวงที่ 100o 32’ 36” ถึง 100o 35’ 28” ตะวันออก มีเน้ือที่ประมาณ 18.9104 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 11,818.75 ไร พ้ืนที่ถูก รายลอมดวยแมน้ําเจาพระยาเปนรูปกระเพาะหมู ยาว 15 กิโลเมตร สวนแคบที่สุดกวาง 580 เมตร พ้ืนที่ดังกลาวมีความลาดชันไมเกิน 1 เปอรเซ็นต เปนพื้นที่ที่น้ําทะเลทวมถึงเปนประจํา ระดับพ้ืนที่โดยเฉลี่ยสูงกวาระดับน้ําทั่วไปประมาณ 50 – 60 เซนติเมตร (สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533) และเปนที่น้ําจืดจากแมน้ําเจาพระยาไหลมาบรรจบกับน้ําเค็มของทะเล ระดับความเค็มของดินจึงเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล โดยเฉพาะชวงฤดูฝนที่น้ําจืดไหลบา จะมีตะกอนและสารอินทรียวัตถุ หรือฮิวมัสที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกมาตกตะกอนบริเวณนี้ จึงทําใหพ้ืนที่สวนกลางมหานครในอดีตสวนใหญกวารอยละ 80 เปนพ้ืนทีใ่ชทําเกษตรกรรมที่มีความอุดมสมบูรณ ลักษณะเปนระบบนิเวศ 3 น้ํา คือ น้ําจืด น้ําเค็ม และ น้ํากรอย จึงมีวงจรชีวิตของพืชและสัตวที่เปนเอกลักษณ มีความหลากหลายและโดดเดน

Page 13: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

2

ในเรื่องของพันธุพืชที่มีเฉพาะพื้นที่ หาดูไดยากในปจจุบัน เชน ลําพู จิกน้ํา ชํามะเลียง โกงกางพ้ืนเมือง ลําพูตีนเปดทะเล พิลังกาสา เปนตน อีกทั้งความอุดมสมบูรณของพื้นที่ทําใหบริเวณนี้เปนแหลงอาหารของสัตวปา โดยเฉพาะนกนานาชนิด ซึ่งบางชนิดไมสามารถพบเห็นไดงายๆ ในเขตเมือง เชน บังรอใหญ กิ้งโครงหัวสีนวล เปนตน ดังน้ันสวนกลางมหานคร ถือเปนแหลงผลิตอากาศบริสุทธิ์เปน “ปอด” ใหกับประชาชนในเขตจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดใกลเคียง สภาพปญหาของโครงการสวนกลางมหานคร ซึ่งถูกรายลอมดวยพื้นที่พัฒนาแลวของเขตเมือง จึงหลีกหนีไมพนจากการไดรับผลกระทบของการรุกคืบ และขยายตัวของเขตเมืองเขาสูพ้ืนที่ดังกลาว โดยเฉพาะปญหาในดานมลพิษจากยานพาหนะที่เพ่ิมมากขึ้นสงผลตอสภาพน้ําและอากาศ การลดลงของอาชีพเกษตรกรรม เน่ืองจากคนรุนใหมไดรับการศึกษาที่สูงขึ้น อีกทั้งคาแรงในการประกอบอาชีพในเมืองที่สูงกวา ทําใหพ้ืนที่การเกษตรบางสวนถูกทิ้งรกราง หรือถูกเปลี่ยนมือจากเกษตรกรไปยังผูที่มีกําลังกวานซื้อที่ดิน เพ่ือใชในการลงทุนกิจการอื่น เชน จัดสรรที่ดินเปนที่อยูอาศัย สรางโกดังสินคา สงผลใหพืชพรรณหรือองคความรูในสังคมเกษตรกรรมสมัยกอนเร่ิมจะ สูญหายไปเนื่องจากขาดผูสืบทอด ความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ลดลงอยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ปญหาสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ ความเสื่อมโทรมโดยรวมเนื่องจากพื้นที่บางกะเจาถูกรายลอมดวยโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เทพารักษและสําโรง แรงงานอพยพที่เขามาอยูอาศัยชั่วคราวในพื้นที่ฯ เพ่ือไปทํางานในเขตอุตสาหกรรมที่โดยรอบพื้นที่ บางสวนกอใหเกิดสภาวะมลพิษตอพ้ืนที่ เชน ขยะมูลฝอย น้ําเสีย สภาพความเปนอยูที่แออัด ปญหาเหลานี้ตองไดรับแกไขอยางจริงจัง ในการพัฒนาพ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร รัฐบาลไดกําหนดนโยบายไวตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2520 ใหอนุรักษบริเวณบางกะเจา อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ใหเปนพ้ืนที่สีเขียวเพ่ือประโยชนดานการสงเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน และกระทรวงมหาดไทยไดออกกฎกระทรวงฉบับที่ 13 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เร่ือง กําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทในทองที่บางสวนในตําบลบางกะเจา ตําบลบางกอบัว ตําบลบางน้ําผึ้ง ตําบลบางยอ ตําบลบางกระสอบ และตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ทั้งนี้ใหคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เปนผูดูแลและดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายและหลักการ ตอมาไดมีมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ.2534 อนุมัติโครงการสวนกลางมหานคร ระยะเวลาการดําเนินการตั้งแตป พ.ศ.2534-2542 วงเงินงบประมาณ 8,000 ลานบาท เน้ือที่ประมาณ 9,000 ไร เพ่ือสรางสวนสาธารณะ และไดตรา พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินในบริเวณที่จะเวนคืนในทองที่บริเวณบางกะเจา อําเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ แตการดําเนินงานตามโครงการสวนกลางมหานคร ภายใต

Page 14: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

3

พระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินบริเวณที่เวนคืนพื้นที่ทั้งหมดเพื่อใชทําสวนสาธารณะ และใหดําเนินการยายชุมชนทั้ง 6 ตําบลในเขตบางกะเจาไปอยูที่ อําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา แตแนวความคิดดังกลาวไมประสบผลสําเร็จ ราษฎรในพื้นที่ตอตานอยางรุนแรง ตอมาจึงไดปรับแนวทางการดําเนินงานตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.2534 โดยรัฐบาลจะไมเวนคืนที่ดินใหกับราษฎร หรือเจาของสวนเดิมที่อยูอาศัยในพื้นที่โครงการนี้ แตจะใชวิธีซื้อขายโดยสมัครใจ รวมทั้งรัฐบาลจะปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนในพ้ืนที่ใหดีขึ้นโดยเฉพาะการพัฒนาสิ่งแวดลอมและชุมชน

ผลการดําเนินงานที่ผานมาชวงป พ.ศ.2535 – 2542 ไดจัดซื้อที่ดินเพ่ืออนุรักษใหเปนพ้ืนที่สีเขียวจํานวน 571 แปลง พ้ืนที่ 1,276 ไร ใชงบประมาณทั้งสิ้นประมาณ 2,142,624,809 บาท และจัดสรางสวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติ ในที่ดินที่รัฐไดจัดซื้อไว เน้ือที่ 148 ไร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา พระราชทานชื่อสาวสาธารณะและพฤกษชาติวา “ศรีนครเขื่อนขันธ” การดําเนินโครงการโดยรวมยังไมบรรลุวัตถุประสงค ทั้งน้ี เน่ืองจากการจัดหาที่ดินซึ่งเปนการซื้อขายโดยสมัครใจ จึงทําใหที่ดินที่จัดซื้อไวอยูในลักษณะกระจัดกระจายไมสามารถรวมที่ดินเปนผืนใหญได ซึ่งเปนปญหาตอการบริหารจัดการ และการดูแลบํารุงรักษาพื้นที่สีเขียวในอนาคต ดังน้ัน จึงจําเปนตองขยายระยะเวลาการดําเนินการโครงการสวนกลางมหานครออกไปอีก 3 ป ซึ่งสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมเดิม : สผ.) ไดดําเนินการจัดทําแผนการขยายเวลาดําเนินการโครงการสวนกลางมหานครระยะที่ 2 (พ.ศ.2545–2547) โดยในป พ.ศ.2545 สผ. ไดวาจาง บริษัท เทสโก จํากัด จัดทําแผนแมบทการจัดการพื้นที่สีเขียวในพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร ซึ่งแลวเสร็จในป พ.ศ.2546 แตยังมิไดการนําแผนแมบทดังกลาวมาดําเนินการอยางเปนรูปธรรม และมีความชัดเจน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดมีคําสั่งเม่ือวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2546 ใหโอนภารกิจการบริหารและอํานาจหนาที่ของรัฐ จาก สผ. ในสวนที่เกี่ยวของกับโครงการสวนกลางมหานครไปเปนของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช และกรมปาไม ดูแลตามลําดับ แสดงไวในตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 การกํากับดูแลโครงการสวนกลางมหานคร

ลําดับที ่ หนวยงานทีร่ับผิดชอบ ชวงเวลา

1 สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (สผ.) พ.ศ. 2535 – 2547

2 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 27 มีนาคม 2546 - 14 มกราคม 2548

3 กรมปาไม 14 มกราคม 2548 - ปจจุบัน

แหลงที่มา : บริษัท เทสโก จํากัด (2545)

Page 15: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

4

การศึกษาครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนของพ้ืนที่ ในป พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2553 โดยนําเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาประยุกตใชหาพื้นที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานคร อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในรูปแบบขอมูลเชิงพ้ืนที่ ประกอบกับขอมูลจากเอกสารของกรมปาไม แลวนํามาวิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญและมีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของชุมชนในพื้นที่มากที่สุด เพ่ือเปนแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวที่เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1.2.1 เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานครจากการขยายตัวของเมืองในระหวางป พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2553

1.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่สีเขียวที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม 1.2.3 เพ่ือศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในโครงการ

สวนกลางมหานคร

1.3 ขอบเขตของการวิจัย ในการศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมืองในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ผูศึกษาไดกําหนดขอบเขตของการศึกษา ไวดังนี้

1.3.1 ขอบเขตดานพื้นที่ การศึกษาวิจัยครั้งน้ีเปนการศึกษาในบริเวณโครงการสวนกลางมหานคร อําเภอ

พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 1.3.2 ขอบเขตดานเนื้อหา

ศึกษาการประยุกตใชขอมูลสํารวจระยะไกลรวมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ขอมูลแผนที่การใชประโยชนที่ดินซ่ึงไดจากขอมูลจากดาวเทียม จากนั้นจึงศึกษากระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในมีการจัดการพื้นที่สีเขียว ซึ่งรวมถึงพื้นที่อนุรักษ สวนปา พ้ืนที่เกษตรกรรม โดยทบทวนตั้งแตชุมชนเร่ิมมีการจัดการพื้นที่สีเขียว เพ่ือจะทําใหทราบวาที่ผานมานั้นชุมชนมีการจัดการและปรับตัวดวยวิธีการใด และการมีสวนรวมของหนวยงาน องคกรที่เกี่ยวของ 1.3.3 ขอบเขตดานเวลา

ในการศึกษาครั้งนี้ ทําการศึกษาเปนระยะเวลา 5 เดือน (พฤศจิกายน พ.ศ.2553 – มิถุนายน พ.ศ.2554) โดยเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามในเดือนเมษายน พ.ศ.2554

Page 16: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

5

1.4 ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา

1.4.1 ไดทราบถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานครจากการขยายตัวของเมืองในระหวางป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553

1.4.2 ไดทราบถึงพ้ืนที่สีเขียวที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม 1.4.3 ไดทราบถึงการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในโครงการ

สวนกลางมหานคร 1.4.4 ไดขอมูลสําหรับเปนแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวที่เหมาะสม บน พ้ืนฐานของการมีสวนรวมของชุมชน

1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา

การศึกษา เรื่อง การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมือง มีการดําเนินการศึกษาวิจัย 2 สวน ไดแก การศึกษาวิจัยทางดานกายภาพ เพ่ือวิเคราะหหาการใชประโยชนพ้ืนที่โดยการใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ บริเวณโครงการสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ และการศึกษาวิจัยทางดานสังคม เพ่ือศึกษาการ มีสวนรวมของประชาชนในการจัดการพื้นที่สีเขียว โดยมีรายละเอียดตามกรอบแนวคิดการศึกษา ดังภาพที่ 1.1

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียวจากการขยายตวัของเมือง ระหวางป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553 โดยใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

การหาพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญและมีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม โดยการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินของพื้นที่เมือง และพ้ืนที่ สีเขียว

การบริหารจัดการพื้นที่ สีเขยีวแบบมีสวนรวม โดยการสัมภาษณเชิงลกึจากผูนําชมุชน และหนวยงานที่เกีย่วของ

แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทของการขยายตวัของเมือง

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดการศึกษา

Page 17: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

6

1.6 นิยามศัพท 1.6.1 พ้ืนที่เมือง หมายถึง พ้ืนที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางทั้งหมด 1.6.2 พ้ืนที่สีเขียว หมายถึง พ้ืนที่ปาไม พ้ืนที่เกษตรกรรม พ้ืนที่รกราง และพ้ืนที่

สวนสาธารณะ

Page 18: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บทที่ 2

การทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการศึกษาวิจัยในหัวขอการบริหารจัดการพ้ืนที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมืองในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกะเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและรวบรวมผลงานวิจัยที่เกี่ยวของใน 7 สวนหลักๆ ดังนี้ 2.1 การขยายตัวของเมือง 2.2 การใชประโยชนที่ดิน 2.3 พ้ืนที่สีเขียว 2.4 ความหมายของชุมชนและการมีสวนรวม 2.5 ความรูพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.6 นโยบายของรัฐบาล 2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 การขยายตัวของเมือง

2.1.1 ความหมายของเมือง การผังเมือง หมายถึง

2.1.1.1 พ้ืนที่และลักษณะการตั้งถิ่นฐานของประชากรที่อยูรวมกันหนาแนนเปนชุมชน 2.1.1.2 อาชีพของประชากรสวนใหญ คือ การคา การบริหาร อุตสาหกรรม และอ่ืนๆ ที่มิใชทางเกษตรกรรม 2.1.1.3 สถานที่ทํางานและสถานที่พักอาศัยจะอยูชุมชนนั้นๆ เพ่ือสะดวกในการติดตอและการใชบริการดานตางๆ

Page 19: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

8

การปกครองและการบริหารประเทศ หมายถึง เขตเทศบาลซ่ึงเปนชุมชนที่มีประชากรหนาแนน สามารถมีการปกครองทองถิ่นสนองตามความตองการของประชาชน เทศบาลแบงเปน 3 ประเภท คือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตําบล การกําหนดเทศบาลเปนประเภทใดนั้น ขึ้นกับจํานวนประชากร ความหนาแนนของประชากร และรายไดของเทศบาล

ราชบัณฑิตยสถาน (2524 : 409) อธิบายวา ความเปนเมือง หมายถึง กระบวนการที่ชุมชนกลายเปนเมือง หรือการเคลื่อนยายของผูคนหรือการดําเนินกิจการงานเขาสูบริเวณเมืองหรือการขยายตัวของเมืองออกไปทางพ้ืนที่ การเพิ่มจํานวนประชากร หรือในการดําเนินกิจการงานตาง ๆ มากขึ้น

สถิตย นิยมญาติ (2526 : 2) อธิบายวา ความเปนเมือง เปนกระบวนการของ “การกลายสภาพ” (A process of becoming) กลาวคือ เปนการเปลี่ยนสภาพจากสภาวะที่ไรความเปนเมืองไปสูสภาวะของความเปนเมือง หรือไมก็เปลี่ยนสภาวะจากการกระจุกที่มีความหนาแนนมาก

จูเลียส โกลด และวิลเลี่ยม แอล โคลบ (Gould and Kobb1964 : 739) อธิบายวา ความเปนเมืองมีหลายความหมายดังนี้

1) ความเปนเมืองอาจหมายถึงการกระจาย (Diffused) ของอิทธิพลสังคมเมืองไปสูสังคมชนบท คําวา “อิทธิพล” ที่ไดกระจายไปนั้นหมายถึงขนบธรรมเนียมและลักษณะ (Trait) ของเมือง

2) ความเปนเมืองหมายถึง ปรากฏการณของลักษณะสังคมเมืองที่เกิดขึ้น หรือลักษณะของสังคมเมืองในแงประชากร คํานิยามนี้พบเสมอ ๆ ในหนังสือของสังคมวิทยาชนบท กลาวคือ การปฏิวัติทางดานวัฒนธรรมในเขตชนบทไดกลายเปนวัฒนธรรมแบบสังคมเมือง

3) นักประชากรศาสตรเขาใจความเปนเมืองวาเปนกระบวนการของประชากรที่มารวมกันอยูอยางหนาแนน มีความหมายสําคัญที่วาเปนกระบวนการหนึ่งของการเคลื่อนไหวจากที่ไมใชสังคมเมืองไปเพื่อใหดึงความสมบูรณของลักษณะเมืองของประชาชนที่มารวมอยูอยางหนาแนน

4) ความเปนเมือง เปนกระบวนการของการรวมตัวอยูอยางหนาแนนของประชากรซึ่งในอัตราของประชากรในเมือง ตอประชากรทั้งหมดที่เพ่ิมขึ้น

เจ. จอหน พาเลน (Palen 1987 : 9) อธิบายวา ความเปนเมือง เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสัดสวนประชากรของประเทศที่อาศัยอยูในเขตเมือง อันเปนผลมาจากการที่ประชาชนเคลื่อนยายถิ่นฐานเขาสูเมืองหรือไปตั้งถิ่นฐานอยูกันหนาแนนบริเวณใดบริเวณหนึ่งหรืออาจกลาวอีกนัยหนึ่งวาเปนขบวนการซึ่งชนบทเปลี่ยนรูปแบบมาเปนเมืองนั้นเอง

Page 20: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

9

เฮนเดอรสัน (Henderson, 1974) ไดนําเสนอแนวคิดของระบบเมือง (urban systems) ซึ่งตอมาไดกลายเปนจุดเริ่มตนของงานวิจัยจํานวนมากที่ผลิตออกมาเพื่อกําหนดการกระจายตัวของขนาดเมือง และประเภทของเมือง เฮนเดอรสัน ไดใหคําอธิบายเหตุผลที่ทําใหเมืองมีขนาดที่แตกตางกันไววาเกิดจากความแตกตางของผลกระทบภายนอก (external economies) ที่มักจะมีลักษณะพิเศษแตกตางกันไปตามประเภทของอุตสาหกรรมในแตละเมืองน่ันเอง เพราะฉะน้ันปญหาในการเลือกที่ตั้งที่ เหมาะสมของโรงงานอุตสาหกรรมแตละประเภทนั้นจะตองคํานึงถึงประเภทของอุตสาหกรรมที่ตั้งอยูกอนแลววาจะมีผลกระทบภายนอกตอกันที่เปนคุณประโยชนหรือไมอยางไร

มิลล (Mill, 1981) ไดนําเสนอแบบจําลองการใชประโยชนที่ดินเชิงพลวัตโดยกําหนดใหมีการแบงชวงเวลาออกเปนสองชวงเวลาและมีขอสมมติเกี่ยวกับการคาดการณอนาคตแบบตางๆ ทําใหไดรูปแบบของการใชประโยชนที่ดินที่แตกตางกันได ทิกแมน (Titman, 1985) ไดอธิบายปรากฏการณที่เจาของที่ดินในภาคเอกชนบางรายตองการกักกันที่ดินบางสวนที่ตั้งอยูในเขตเมืองไวใหเปนพ้ืนที่วางเปลา ไปกอนวามีสาเหตุมาจากการที่ที่ดินวางเปลาเหลานั้นมีมูลคาของทางเลือกในการเก็บที่ดินไวเพ่ือไปเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในอนาคตที่สูงกวาการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินทันทีในปจจุบัน

2.1.2 ความเปนเมือง เปนกระบวนการทางนิเวศวิทยาอยางหนึ่งที่มีรูปแบบการใชที่ดินที่และการขยายตัว

ของเมืองแตกตางกันออกไป รูปแบบของกระบวนการทางนิเวศวิทยาที่นิยมนํามาใชอธิบายการขยายตัวของความเปนเมืองมี 4 ทฤษฎีหลักดังนี้ (Wilson and Schulz, 1978 : 42-47) 2.1.2.1 ทฤษฎีรูปดาว (Star theory) ริชารด เอ็ม ฮูลด (Richard M. Hurd) อธิบายวา การขยายตัวของเมืองนั้นเกิดมาจากบริเวณศูนยกลางของเมืองที่เปนที่รวมของเสนทางคมนาคมสายหลักของเมือง อิทธิพลของเสนทางคมนาคมจะมีผลทําใหเมืองขยายตัวออกไปตามเสนทางรถยนต รถใตดิน และรถไฟ ประชาชนสวนใหญจะนิยมอาศัยอยูกันอยางหนาแนนบริเวณใกลเคียงกับเสนทางคมนาคมดังกลาวในระยะที่สามารถเดินไปถึงไดสะดวก ตอมาภายในเมืองไดมีการพัฒนาเสนทางคมนาคมดีขึ้น ประชาชนภายในเมืองนิยมใชรถยนตกันมากขึ้น พ้ืนที่วางที่อยูระหวางเสนทางคมนาคมก็จะมีประชาชนเขาไปอาศัยอยูกันหนาแนนมากขึ้น พ้ืนที่วางดังกลาวก็เชื่อมตอกันเปนพ้ืนที่เดียวกัน 2.1.2.2 ทฤษฎีวงแหวน (Concentric Zone Theory) เออรเนสต ดับบิว. บูรเกสส (Ernest W. Burgess) อธิบายวา การขยายตัวของเมืองจะมีลักษณะเปนรูปแบบวงแหวน เปนรัศมีวงกลมตอเน่ืองจากเขตศูนยกลาง และแบงพ้ืนที่ของเมืองออกเปน 5 เขต ดังนี้

Page 21: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

10

1) เขตที่ 1 เปนเขตศูนยกลางธุรกิจ (The Central Business District : C.B.D.) ประกอบดวยรานคา หางสรรพสินคา โรงภาพยนต โรงแรม ธนาคาร และสํานักงานทางเศรษฐกิจ การปกครอง กฎหมาย เปนตน เปนเขตที่มีคนหนาแนนเวลากลางวันเพ่ือทําธุรกิจและงานตามหนวยงานตาง ๆ มีคนจํานวนนอยที่ตั้งบานเรือนอยูอยางถาวร เพราะสวนใหญจะเดินทางไปพักอาศัยอยูที่เขตรอบนอก 2) เขตที่ 2 เปนเขตศูนยกลางการขนสง (The zone in transition) หรือบางครั้งอาจเรียกวาเปนเขตขายสงและอุตสาหกรรมเบา (Wholesale and light manufacturing zone) รวมทั้งเปนยานโรงงานอุตสาหกรรมเกา ๆ เปนเขตที่มีปญหาสังคมจํานวนมาก เชน มีอัตราของการกออาชญากรรมสูง เปนบริเวณของกลุมคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ําที่อพยพมาจากชนบท พักอาศัยอยูในบานราคาถูกและทรุดโทรมใกล ๆ โรงงานอุตสาหกรรม เพ่ือประหยัดคาใชจายในการเดินทางไปทํางาน แตเม่ือคนกลุมน้ีมีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น ก็จะยายออกไปอยูในที่แหงใหม กรรมสิทธิ์ในการครอบครองที่ดินในเขตนี้จะเปนของชนชั้นสูงที่ดําเนินกิจการในลักษณะของการใหผูอ่ืนเชา ผูพักอาศัยในเขตนี้มีจํานวนนอยที่มีที่ดินเปนของตนเอง 3) เขตที่ 3 เปนเขตที่อยูอาศัยของกรรมกรและผูใชแรงงาน (The zone of workingmens’ homes) ที่ยายออกมาจากเขตศูนยกลางการขนสง สภาพที่อยูอาศัยของคนในเขตนี้จะมีสภาพดีกวาคนที่อาศัยอยูในเขตศูนยกลางการขนสง บานเรือนจะปลูกอยูในระยะหางกันไมชิดติดกันเหมือนกับสลัม และเม่ือครอบครัวใดมีฐานะดีขึ้นก็จะยายออกไปอยูในเขตชนชั้นกลางตอไป 4) เขตที่ 4 เปนเขตชนชั้นกลาง (The middle class zone) มีที่พักอาศัยประเภทหองชุด โรงแรม บานเดี่ยวสําหรับครอบครัวเดี่ยว ผูอาศัยอยูในเขตนี้สวนใหญเปนชนชั้นกลาง เจาของธุรกิจขนาดเล็ก ผูประกอบวิชาชีพอิสระ พอคา และรวมถึงชนชั้นผูบริหารระดับกลาง 5) เขตที่ 5 เปนเขตที่พักอาศัยชานเมือง (The commuters’ zone) มีเสนทางคมนาคมที่สะดวกในการเดินทางเขาไปทํางานหรือประกอบธุรกิจในเมือง เขตน้ีจะมีทั้งชนชั้นกลางคอนขางสูง และชนชั้นสูง ที่เดินทางดวยรถประจําทางและรถสวนตัวเขาไปทํางานเมืองและกลับออกมาพักอาศัยในเขตนี้ 2.1.2.3 ทฤษฎีเสี้ยววงกลม (Sector theory) โฮเมอร ฮอยต (Homer Hoyt) อธิบายวา รูปแบบของการขยายตัวของเมืองจะเหมือนกับเสี้ยววงกลมหรือรูปขนมพาย (Pie-shaped) และในแตละเมืองจะพบวา การขยายตัวของเมืองออกไปยังพ้ืนที่ดานนอกจะเปนรูปเสี้ยววงกลมหนึ่งเสี้ยววงกลมหรือมากกวาหนึ่งเสี้ยววงกลม และการขยายตัวของเมืองจะมีลักษณะดังนี้

Page 22: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

11

1) การขยายตัวของเมืองจะขยายออกไปตามเสนทางการคมนาคมขนสง ที่เชื่อมไปยังศูนยกลางทางการคาและที่อยูอาศัยบริเวณอื่น ๆ 2) การขยายตัวของเมืองจะขยายออกไปตามพื้นที่สูงและแมน้ํา ลําคลองในเขตพัฒนาอุตสาหกรรม 3) การขยายตัวของเมืองจะขยายออกไปตามที่อยูอาศัยของชุมชนชั้นสูงของสังคมหองพักอาศัยราคาสูงมักจะเกิดขึ้นบริเวณยานธุรกิจใกล ๆ กับเขตที่อยูอาศัยเกา 4) เขตที่อยูอาศัยคาเชาราคาสูง จะตั้งอยูติดกับเขตที่อยูอาศัยคาเชาราคาปานกลาง 2.1.2.4 ทฤษฎีหลายจุดศูนยกลาง (Multiple-nuclei theory) ชวนซี่ ดี. แฮรรีส และเอ็ดวารด แอล. อัลลแมน (Chauncy D. Harris and Edward L. Ullman) อธิบายวา การขยายตัวของเมืองเกิดมาจากหลายจุดศูนยกลาง ไมไดเกิดมาจากศูนยกลาง ที่ใดที่หนึ่งเพียงแหงเดียว เพราะในยุคปจจุบันเมืองอุตสาหกรรม มีการพัฒนาศูนยกลางดานธุรกิจ ศูนยกลางดานอุตสาหกรรม และศูนยกลางดานที่อยูอาศัยเกิดขึ้นจากหลายแหง แฮรรีสและอัลลแมนไดเสนอแนวความคิดการขยายตัวของเมืองวาเกิดจากหลายจุดศูนยกลางมี 4 ประการดังนี้ 1) ธุรกิจแตละประเภท มีความตองการใชทรัพยากรและสิ่งอํานวยความสะดวกที่แตกตางกัน ธุรกิจที่ตองการใชทรัพยากรและสิ่งอํานวยความสะดวกเหมือนกัน จะมารวมตัวอยูบริเวณที่มีทรัพยากรและสิ่งอํานวยความสะดวกใหใชเหมือนกัน เชน เขตคาปลีกจะตั้งอยูในทําเลที่ลูกคาสามารถเดินทางเขามาซื้อสินคาไดงายและสะดวกจากทุกทิศทางของเมือง เขตเมืองทาจะตั้งอยูบริเวณริมฝงแมน้ําหรือทะเล เขตอุตสาหกรรมหนักเปนเขตที่ตองการพื้นที่ขนาดใหญที่ติดกับเสนทางคมนาคมขนสง เชน แมน้ํา ทะเล ถนน หรือใกลกับเสนทางรถไฟเพื่อสะดวกในการขนสง เปนตน 2) ธุรกิจที่เหมือนกันมักจะมีการรวมตัวอยูบริเวณเดียวกัน เพ่ือใหเกิดประโยชนในเชิงการคาจากการเปรียบเทียบและเลือกซื้อสินคาของลูกคา เชน ตัวแทนจําหนายรถยนตจะไปรวมกลุมเปนยานขายรถยนต ทําใหผูซื้อสามารถเปรียบเทียบคุณสมบัติและราคากับผูคารายอื่นๆ ไดงาย 3) การใชที่ดินของธุรกิจที่แตกตางกันทําใหเกิดความขัดแยงตอกันและไมสามารถอยูรวมกันได เชน พ้ืนที่สําหรับอยูอาศัยไมสามารถอยูในบริเวณเดียวกับเขตอุตสาหกรรม เพราะ พ้ืนที่สําหรับอยูอาศัยตองการความสงบ มีการขนสงที่ดี และไมมีปญหามลภาวะ แตเขตอุตสาหกรรมเปนเขตที่มีเสียงดัง มีการขนสงและใชยานพาหนะทั้งวัน และมีปญหามลภาวะ

Page 23: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

12

4) บริเวณที่ มีราคาที่ ดินสูงมากเปนอุปสรรคทําใหธุรกิจบางประเภทไมสามารถเขาไปทําธุรกิจได เพราะตองเสียคาใชจายเปนคาที่ดินในราคาแพงทําใหไมคุมกับการลงทุนและผลกําไรที่ไดรับ นักลงทุนจึงตองหาทําเลที่ตั้งแหลงใหมที่เหมาะสมกับธุรกิจของที่จะดําเนินการ ธนิชา (2550) ไดใหความหมายของรูปแบบของเมือง (Urban Form) จากการขยายตัวอยางมีแบบแผนนั้นขึ้นอยูกับเขตของพื้นที่ตางๆดังนี้ 1) เขตขยายตัวของเมือง (Urban Growth Boundary) คือ ขอบเขตของพื้นที่เมืองมีสามารถรอบรับการขยายตัวของเมืองในชวงเวลาหนึ่ง โดยทั่วไปไมต่ํากวา 20 ป เพ่ือปองกันการเก็งกําไร เม่ือครบชวงเวลาก็จะมีการปรับขอบเขตการขยายตัวของเมืองใหม เพ่ือรองรับความตองการในการขยายตัวของเนื้อเมือง ไมใชเพ่ือรองรับตัวเลขประมาณการเทานั้น 2) เขตใหบริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (Utility Service Areas) คือ ขอบเขตและขีดความสามารถในการใหบริการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการขั้นพ้ืนฐานอยางมีประสิทธิภาพ ในการขยายตัวของเมืองสาธารณูปโภคและสาธารณูปการตองขยายตัวตาม ทั้งในเรื่องของขอบเขตและขีดความสามารถในการใหบริการ 3) เขตอนุรักษ พ้ืนที่ เกษตรกรรมและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ (Agricultural and Natural Resource Lands) คือ พ้ืนที่ที่มีคุณภาพดินและนํ้าเหมาะสมกับการทําการเกษตร และพื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยของพืชและสัตวที่หายากและออนไหวตอการพัฒนา พ้ืนที่สองประเภทน้ีมีธรรมชาติที่แตกตางกันอยู ขอเริ่มจากเขตอนุรักษสําหรับเกษตรกรรมกอนและจะกลาวถึงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติภายหลัง สวนการขยายตัวของชานเมือง เปนลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการขยายตัวของเมือง เม่ือชานเมืองมีประชากรเคลื่อนยายเขาไปตั้งถิ่นฐานหนาแนนมากขึ้น มีความเจริญทั้งดานสาธารณูปโภค และอุปโภค สิ่งเหลานี้เปนเครื่องชี้สวนหนึ่งของลักษณะกระบวนการกลายเปนเมืองในหลายประเทศ การขยายตัวของเมืองขนาดใหญทําใหเกิดชุมชนเมืองขึ้นใหมในเขตชานเมืองที่อยูโดยรอบ จนเกิดเปนชุมชนเมืองที่เรียกวา มหานคร (Metropolis) ซึ่งเปนชุมชนเมืองขนาดใหญที่ลอมรอบดวยเมืองหลาย ๆ เมือง การเติบโตและการกระจายตัวของพื้นที่ที่เปนมหานคร จะเปนไปอยางตอเนื่องจนเกิดเปนพื้นที่เมืองประเภทใหมที่เรียกวา มหานครหลวง (Megalopolis) ที่ประกอบไปดวยมหานครหลาย ๆ มหานคร

Page 24: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

13

2.2 การใชประโยชนที่ดิน สํานักงานผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดการใชที่ดินในเขตเมืองโดยภาพรวมคือภูมิทัศนของเมือง จําแนกการใชที่ดินในเขตเมืองเปน 9 ประเภท คือ ประเภท คือ ประเภทสถาบัน-มหาวิทยาลัย พาณิชยกรรม สาธารณูปโภค ที่พักอาศัยหนาแนนมาก ที่พักอาศัยหนาแนนปานกลาง และที่พักหนาแนนนอย บริเวณอุตสาหกรรม-คลังสินคา ที่พักผอน และที่โลง กิจกรรมเหลานี้ในเมืองบางแหงตั้งอยูกระจัดกระจาย แตสวนใหญกิจกรรมที่คลายคลึงกันมีการรวมตัวกันจนสังเกตเห็นได ซึ่งบริเวณเหลานี้เรียกวายาน โดยมีถนน ทางเทา หรือเสนทางคมนาคมอื่น ทําหนาที่เชื่อมโยงยานตางๆ เขาดวยกัน เมืองแตละแหงประกอบดวยยานตางๆ มากนอยตามขนาดของเมือง 2.2.1 กฎหมายที่เก่ียวของกับการผังเมือง ในการศึกษาครั้งนี้มีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวของกับการผังเมือง การผังเมืองพบวามีกฎหมายที่เกี่ยวของกับการผังเมือง ดังนี้ 2.2.1.1 พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 (ผังเมืองรวมสมุทรปราการ พ.ศ.2544) สําหรับพ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร (บางกะเจา) อยูในเขตผังเมืองรวมสมุทรปราการ พ.ศ.2544 กําหนดการใชประโยชนที่ดินตามผังเมืองรวมของพื้นที่ ออกเปน 2 ประเภท คือ 1) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) หมายถึง กิจการอ่ืนไดไมเกินรอยละ 10 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ หามกิจการโรงงานบรรจุกาซ เก็บนํ้ามันเชื้อเพลิง โรงแรม จัดสรรเพื่ออุตสาหกรรม จัดสรรเพื่อการพาณิชยกรรมที่ไมใชสวนหนึ่งของโครงการอยูอาศัย หองแถว ตึกแถว หรือบานแถวที่ไมใชสวนหนึ่งของโครงการอยูอาศัย อาคารขนาดใหญ หองชุด อาคารชุด หอพัก ระยะถอยรน จากทางหลวงแผนดิน 15 เมตร จากริมนํ้า 6 เมตร

2) ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) หมายถึง กิจการอื่นไดไมเกินรอยละ 5 ของที่ดินประเภทนี้ในแตละบริเวณ หามกิจการโรงงาน จัดสรร อาคารขนาดใหญ หองแถว ตึกแถว บานแถว หองชุด อาคารชุด หอพัก ระยะถอยรนจากริมนํ้า 6 เมตร โดยมีการกําหนดการใชประโยชนที่ดินดังภาพที่ 2.1

Page 25: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

14

ภาพที่ 2.1 ผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรปราการ แหลงที่มา: สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสมุทรปราการ 2.2.1.2 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 กฎกระทรวงฉบับที่ 37 (พ.ศ.2535) สําหรับพ้ืนที่บางกะเจา มีกฎกระทรวงที่ออกมาควบคุม การกอสรางและการใชประโยชนอาคารอยู 1 ฉบับ คือ กฎกระทรวงฉบับที่ 37 (พ.ศ.2535) ครอบคลุมเขตพ้ืนที่ตําบลบางกะเจา ตําบลบางกอบัว ตําบลบางยอ ตําบลบางน้ําผึ้ง ตําบลบางกะสอบ ตําบลทรงคนอง เนื่องจากพื้นที่ดังกลาวมีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับสภาพการกอสรางและการใชอาคารไปจากเดิมอยางรวดเร็ว รายละเอียดการควบคุมแบงประเภทที่ดินออกได ดังนี้

1) ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (บริเวณสีเขียว) หาม อาคารสูงเกิน 15 เมตร (ถึงสวนที่สูงที่สุด) คลังสินคา โรงงาน ทาจอดเรือ หองแถว ตึกแถว อาคารประกอบกิจการคาที่พ้ืนที่ชั้นลางเกิน 100 ตารางเมตร

2) ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (บริเวณสีขาวมีกรอบและเสนทแยงสีเขียว) อนุญาตเฉพาะ บานเดี่ยวสูงไมเกิน 12 เมตร เขื่อน ทางหรือทอระบายน้ํา รั้ว กําแพง ประตู และสะพานที่ไมไดลงสูแมน้ําเจาพระยา สถิตย (2521) ใหนิยามของการใชดินหรือการใชประโยชนที่ดิน (Land use) หมายถึง การนําที่ดินมาใชบําบัดความตองการของมนุษยในดานตางๆ เชน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และที่อยูอาศัย และยังจําแนกการใชประโยชนที่ดินโดยพิจารณาถึงสภาพการใชที่ดินในปจจุบัน ภูมิประเทศ ความสูงของพื้นที่ สมรรถนะของที่ดิน ความเหมาะสมของที่ดิน และขอมูล ที่เกี่ยวกับสภาวะทางเศรษฐกิจสังคม โดยจําแนกออกเปน 5 ประเภท คือ

Page 26: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

15

1) เมือง และสิ่งกอสราง (Urban land) ไดแก ที่อยูอาศัย ยานการคา ยานอุตสาหกรรม เสนทางคมนาคม และสถานที่ราชการตางๆ 2) พ้ืนที่ทําการเกษตร (Agriculture land) ไดแก พ้ืนที่ปลูกพืชลมลุก และพืชถาวร เชน สวนผัก สวนผลไม นาขาว ทุงปศุสัตว และไรเลื่อนลอย 3) ปาไม (Forest land) ไดแก พ้ืนที่ปาไมทั่วไป และจําแนกยอยไปตามประเภทของปา เชน ปาเต็งรัง ปาดิบเขา ปาดิบชื้น เปนตน 4) แหลงนํ้า (Water bodies) ไดแก พ้ืนที่ที่เปนแหลงนํ้าลําธาร หนอง คลอง บึง และทะเลสาบ ดรรชนี (2531) ไดกลาวถึงรูปแบบของการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในประเทศไทยจากปาไมสูการใชที่ดินประเภทอื่นๆ วา เม่ือประชากรเพิ่มมากขึ้น ความตองการใชที่ ดินและที่อยูอาศัยก็จะมากขึ้นตามลําดับ ดังน้ันการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจึงมักจะเปนไปในลักษณะการเปลี่ยนแปลงจากการใชที่ดินที่มีสภาพเปนปาไมไปเปนพ้ืนที่เกษตรกรรม เมือง หรือแหลงนํ้า หรือจากพื้นที่เกษตรกรรมเปนเมือง ดังแสดงในภาพที่ 2.2 การเปลี่ยนแปลงดังกลาว แทบไมมีขอบเขตจํากัดแตอยางใด ทําใหเกิดปญหาการใชประโยชนที่ดินมากมายตามมา

ประชากร ประชากร

พ้ืนที่ปาไม

พ้ืนที่เกษตร

แหลงน้ํา

เมือง ชุมชน

ที่อยูอาศัย

ภาพที่ 2.2 โมเดลวิวัฒนาการการใชที่ดินในประเทศไทย แหลงที่มา: ดรรชนี (2531)

Page 27: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

16

2.3 พื้นที่สีเขียว

2.3.1 พื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนเมือง จากงานวิจัยมาตรการการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนอยางยั่งยืน

โดยศูนยวิจัยปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่เสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดใหคํานิยามของ “พ้ืนที่สีเขียวในเขตชุมชนเมือง” วาหมายถึง พ้ืนที่โลงวางในเขตเทศบาล ซึ่งมีพืชพรรณเปนองคประกอบหลัก ไดรับการจัดการตามหลักวิชาวนวัฒนวิทยาและหลักการทางภูมิสถาปตย เพ่ือเสริมสรางภูมิทัศนใหเอ้ืออํานวยตอการพักผอนหยอนใจ และเพ่ือเสริมสรางสภาพแวดลอมของเมือง โดยแบงพ้ืนที่สีเขียวในเขตชุมชนเมืองออกเปน 5 พ้ืนที่ ดังนี ้ 2.3.1.1 พ้ืนที่ธรรมชาติ เปนพ้ืนที่ที่มีอยูตามธรรมชาติ เปนแหลงรวมของระบบนิเวศที่จําเปนตองอนุรักษใหคงอยูในสภาพที่สมบูรณตลอดไป โดยมีการจัดการที่เหมาะสม สวนใหญจะอยูบริเวณตนนํ้า ปาไม ภูเขา 2.3.1.2 พ้ืนที่สีเขียวเพื่อบริการ เปนพ้ืนที่สีเขียวที่ประชาชนสามารถเขาไปใชบริการเพื่อการพักผอนหยอนใจ ออกกําลังกายและเสริมสรางทัศนียภาพที่สวยงามใหกับเมืองในรูปแบบสวนสาธารณะ สวนหยอม สนามกีฬากลางแจง สนามเด็กเลน ลานเมือง สวนพฤกษศาสตร สวนรุกขชาติ และสวนสัตว ซึ่งกรุงเทพมหานครมีพ้ืนที่สีเขียวในรูปแบบนี้หลายแหง อาทิเชน สวนหลวง ร.9 สวนลุมพินี ศูนยเยาวชน ลานคนเมือง ฯลฯ 2.3.1.3 พ้ืนที่สีเขียวเพื่อสิ่งแวดลอม เปนพ้ืนที่สีเขียวที่เสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอม เชน การเพิ่มกาซออกซิเจน และลดอุณหภูมิความรอนในเมือง แมประชาชนจะไมสามารถเขาไปใชบริการไดโดยตรง แตมีคุณคาดานสิ่งแวดลอมซึ่งเปนเสมือนปอดของชุมชนเมือง โดยรูปแบบในกรุงเทพมหานคร ไดแก สวนในบาน พ้ืนที่สีเขียวในโรงเรียน หนวยงานราชการ ศาสนสถาน สนามกอลฟ 2.3.1.4 พ้ืนที่สีเขียวริมเสนทางสัญจร เปนพื้นที่สีเขียวที่อยูในแนวเสนทางสัญจรสาธารณะ ซึ่งมีบทบาททั้งการเสริมสรางคุณคาดานสิ่งแวดลอมและการบริการ ไดแก พ้ืนที่ตามแนวถนน เกาะกลางถนน ริมทางเดิน แนวถอยรน ริมแมน้ํา ลําคลอง ริมทางรถไฟ 2.3.1.5 พ้ืนที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุมชน เปนการสรางมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกผูเปนเจาของ ไดแก สวนไมผลยืนตน สวนปาเศรษฐกิจ พ้ืนที่วางในบริเวณสถานประกอบการ ในกรุงเทพมหานคร ไดแก บริเวณชานเมืองฝงตะวันออก และฝงตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เชน สวนผัก สวนผลไม ฯลฯ

Page 28: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

17

โดยในเขตชุมชนเมืองยังมีพ้ืนที่ที่มีศักยภาพและมีความเหมาะสมที่จะนํามาพัฒนาเปนพ้ืนที่สีเขียวอยางยั่งยืน ไดแก พ้ืนที่วางรกราง พ้ืนที่สวนราชการ พ้ืนที่ศาสนสถาน พ้ืนที่สถานศึกษา พ้ืนที่ลานกิจกรรมของชุมชน พ้ืนที่วางภายหลังการพัฒนาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ พ้ืนที่วางตามอาคารบานเรือนและสถานประกอบการของเอกชน เปนตน

องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization : FAO) ใหความหมายไววาพื้นที่สีเขียวเปนเสมือนปอดที่ทําหนาที่ลดมลพิษจากยานพาหนะและโรงงานอุตสาหกรรม ปรากฏใหเห็นตามที่ตางๆ ในบริเวณเมืองสําคัญๆ

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (2540) ไดกลาวไววา พ้ืนที่สีเขียวหมายถึง พ้ืนที่ซึ่งมีสภาพเปนธรรมชาติควรแกการอนุรักษ เชน พ้ืนที่ปา พ้ืนที่ชุมนํ้า พ้ืนที่ชายน้ํา พ้ืนที่ชายหาด หรือชายทะเล พ้ืนที่โลงวางรอบเมือง เชน พ้ืนที่เกษตรกรรม พ้ืนที่สาธารณะประโยชน พ้ืนที่โลงวางในเมือง เชน สวนสาธารณะ สนามกีฬา สนามเด็กเลน พ้ืนที่โลงวางที่อ่ืน เพ่ือกิจกรรมของเมือง โบราณสถาน แหลงชุมชนโบราณหรือพ้ืนที่อ่ืนๆ ที่มีศักยภาพในการนํามาใชประโยชนในแงของการพักผอนหยอนใจหรือเพื่อรักษาสภาพแวดลอมของเมือง เปนตน

พ้ืนที่สีเขียวของเมือง มาตรฐานพื้นที่สีเขียว จากหนังสือ Planning the Moderm City เสนอมาตรฐานสวนสาธารณะในเมืองดังนี้ - เมืองที่มีประชากรนอยกวา 500,000 คน ควรมีพ้ืนที่สวนสาธารณะ 100 คน/ 2.53 ไร - เมืองที่มีประชากรมากกวา 500,000 คน ควรมีพ้ืนที่สวนสาธารณะ 200 คน/ 2.53 ไร - เมืองที่มีประชากรมากกวา 1,000,000 คน ควรมีพ้ืนที่สวนสาธารณะ 300 คน/2.53 ไร

2.3.2 ประเภทพื้นที่สีเขียวในเมือง 2.3.2.1 ปาในเมือง (Urban Forestry) หมายถึงตนไมที่มีอยูเดิมหรือปลูกใหมในใจกลางเมือง หรือชานเมือง การปลูกปาอาจปลูกในที่เอกชนหรือที่สาธารณะ เชน วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ริมถนน เปนตน 2.3.2.2. สวนปาริมทาง (Roadside Plantation) เปนการปลูกตนไมเปนแถวยาว ซอนกันสองสามแถวขนานกับแนวถนน เพ่ือความรมรื่นและสวยงาม 2.3.2.3. สวนปาริมคลอง (Canal Plantation) มีลักษณะคลายสวนปาริมทาง ในเขตแหงแลง สวนปาประเภทนี้มีประโยชนมาก เพราะชวยดูดซับนํ้าและปองกันการระเหยของน้ําอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหลําคลองแหงไดงาย

Page 29: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

18

2.3.2.4 สวนสาธารณะ (Urban Park) คือพ้ืนที่ที่มีการจัดภูมิทัศน มีตนไมใหญ และสนามหญาเปนหลัก มีพ้ืนที่โลงวางประกอบ สามารถแบงยอยตามขนาดและหนาที่ดังนี้ 1) สวนหยอม (Package Park) เปนการตกแตงบริเวณพื้นที่ขนาดเล็กริมถนน กลางถนน บริเวณรอบอนุสาวรีย หัวถนน เพื่อความสวยงามของบริเวณขางเคียง 2) สวนสาธารณะชุมชน (Community Park) หมายถึงบริเวณธรรมชาติหรือทีจัดตกตางขึ้น เพ่ือความสวยงามของสถานที่ขางเคียงและการพักผอนหยอนใจของคนในชุมชน 3) สวนสาธารณะในเมือง (City Park) หมายถึง บริเวณพื้นที่กวางขวางในเมืองที่เปนธรรมชาติหรือตกแตงขึ้นเพ่ือการพักผอนหยอนใจของชาวเมือง มีการแบงพ้ืนที่ใชสอยหลายอยาง เชน ที่นั่งเลน เดินเลน กีฬากลางแจงบางอยางที่ไมขัดแยงกับการใชพ้ืนที่อ่ืน เชน วิ่ง ขี่จักรยาน แอโรบิค เปนตน นอกจากนี้ยังมีสวนรุกขชาติ สวนพฤกษศาสตร สวนสัตว ซึ่งจัดเปนสถานที่พักผอนหยอนใจในเมืองดวย

2.3.3 เมืองที่มีสิ่งแวดลอมสีเขียว ในการศึกษาครั้งน้ีมีการทบทวนขอมูลที่เกี่ยวของกับเมืองที่มีสิ่งแวดลอมสีเขียว

พบวามีตัวอยางสังคมเมืองที่มีสิ่งแวดลอมสีเขียว ดังนี้ 2.3.3.1 นครแคนเบอรรา พ้ืนที่ 2,356 ตารางกิโลเมตร ประเทศออสเตรเลีย เปนเมืองที่มีทัศนียภาพงดงามตามธรรมชาติ ประกอบดวยที่ราบ เนินเขา แมน้ํา ทะเลสาบ และเทือกเขา เมืองนี้ไดรับการวางผังเมืองไดเหมาะกับสภาพแวดลอม แมจะมีการกอสรางตึกทันสมัยมากขึ้น แตทุกรัฐบาลใหความสําคัญกับสภาพธรรมชาติของเมือง 2.3.3.2 นครโยโกฮามา พ้ืนที่ 421.5 ตารางกิโลเมตร ประเทศญ่ีปุน ตั้งอยูริมอาว เปนเมืองอุตสาหกรรมขนาดใหญ บานเมืองเต็มไปดวยโรงงานและยวดยานขวักไขว แตเมืองยังคงมีสภาพธรรมชาติอยูมาก มีสวนสาธารณะถึง 1,209 แหง เน้ือที่ 6 ตารางกิโลเมตร ชานเมืองมีสวนปาเนื้อที่ 45 ตารางกิโลเมตร มีตนไมใหญสองขางถนน พ้ืนที่สีเขียวเหลานี้เปนผลจากการวางผังที่ดี และความตระหนักในคุณคาของสภาพแวดลอมธรรมชาติ 2.3.3.3 นครสิงคโปร พ้ืนที่ 92 ตารางกิโลเมตร เม่ือแยกตัวจากประเทศมาเลเซีย ทั้งเกาะสิงคโปรมีตนไมนอยมาก เมืองสกปรก น้ําในแมน้ําสีดํา ยกเวนสถานที่ราชการและบานพักของชาวยุโรป รัฐบาลไดวางเปาหมายใหเมืองเปนสีเขียว นอกจากการเปนประเทศอุตสาหกรรมและศูนยการคาของภูมิภาค ปจจุบันสิงคโปรไววางแนวปฏิบัติ 2 ประการคือ ใหปลูกตนไมเพ่ือความปลอดโปรงตามสถานที่ตางๆ และปลูกไมพุมและไม

Page 30: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

19

เลื้อยเสริมเพ่ือลดความกระดางของผนังคอนกรีต ดังนี้จึงพบตนไม ตามเชิงสะพานลอย ฐานตึก ใตทางยกระดับ และสิงคโปรมีการวางแผนระยะยาว และจัดการอยางเปนระบบ จนไดเปนอุทยานนครที่มีระเบียบ รมร่ืนและสวยงาม 2.3.3.4 นครปกกิ่ง พ้ืนที่ 16,800 ตารางกิโลเมตร ประเทศจีน ตลอดเสนทางยาว 25 กิโลเมตร จากสนามบินถึงตัวเมือง มีการปลูกตนไมซอนกันถึง 3 แถว คือ สน หลิว และพอพลา ตลอดพื้นที่วางสาธารณะในเมืองเต็มไปดวยตนไม และมีนโยบายใหคงปลูกตนไมเพ่ิมปละประมาณ 1 ลานตน จีนเปนชาติที่รักตนไม การปลูกตนไมจึงเปนหนาที่ของประชาชนทั่วไป โดยมีคําขวัญประจําชาติวา ปลูกตนไม 4 บริเวณคือรอบบาน บริเวณหมูบาน ริมถนน ฝงน้ําลําคลอง เพ่ือความสวยงามและรมเย็น

2.4 ความหมายของชุมชนและการมีสวนรวม

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๒๕ ไดใหนิยามความหมายของชุมชน ไววา หมายถึง หมูชน กลุมคนที่อยูรวมกันเปนสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยูในอาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชนรวมกัน จีรพรรณ กาญจนจิตรา (2529) ใหความหมายไววา ชุมชน หมายถึง กลุมบุคคล หลาย ๆ กลุมมารวมกันอยูในอาณาเขตและภายใตกฎหมายหรือขอบังคับเดียวกัน มีการปะทะสังสรรคกัน มีความสนใจรวมกันและมีผลประโยชนคลาย ๆ กัน และมีแนวพฤติกรรมเปนไปอยางเดียวกัน เชน ภาษาพูด ขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือมีวัฒนธรรมรวมกันนั่นเอง ถาจะแยกองคประกอบของชุมชนใหเห็นชัดเจนเปน ดังนี้ 1. คน (People) 2. ความสนใจรวมกัน (Common Interest) 3. อาณาบริเวณ (Area) 4. การปฏิบัติตอกัน (Interaction) 5. ความสัมพันธของสมาชิก (Relationship) ประเวศ วะสี (2538) ไดใหทัศนะตอความเปนชุมชนวา “ชุมชนมีหลายแบบชุมชนไมจําเปนจะตองหมายถึงคนกลุมใหญมาอยูรวมกันในอาณาบริเวณเดียวกัน แตความเปนชุมชนสามารถใหคําจํากัดความได คือ ความเปนชุมชนน้ันอยูที่การที่คนในชุมชนจํานวนหนึ่ง (คนละพื้นที่ก็ได) มีวัตถุประสงครวมกัน มีการติดตอสื่อสารกัน มีความเอื้ออาทรตอกัน มีการเรียนรู และรวมกันกระทําภารกิจตาง ๆ” และยังใหทัศนะวามีงานวิจัยหลายชิ้นคนพบวา ความเปนชุมชนคืออนาคตโลก ความเขมแข็งของชุมชนคือหัวใจของการแกไขปญหาทุกชนิด เปนหัวใจของความยั่งยืนที่เรียกวา “Sustainable Development”

Page 31: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

20

ดังน้ัน จึงอาจสามารถสรุปความหมายของชุมชนไดวา หมายถึง หมูชนหรือกลุมบุคคล ตาง ๆ ที่มารวมกันอยูในอาณาเขตและภายใตกฎหมายหรือขอบังคับเดียวกันเปนสังคมขนาดเล็ก มีการปะทะสังสรรคกัน มีความสนใจรวมกัน มีผลประโยชนคลาย ๆ กันและมีแนวพฤติกรรมเปนอยางเดียวกัน การมีสวนรวม (participation) หมายถึง การเขาไปมีสวนแบงในกิจกรรม รวมรับภารกิจหรือมีความรับผิดชอบรวมกับคนอื่นๆไมวาจะโดยการตัดสินใจหรือการแสดงความคิดเห็น ถือวาเปนการมีสวนรวมแลว เพราะโดยปกติเม่ือบุคคลเขาไปเกี่ยวของไมวาทางใดทางหนึ่ง โดยตรงหรือโดยออม ก็ยอมจะมีพันธะหรือความผูกพันบางบางประการ แมเพียงความสนใจในเรื่องนั้นก็ถือวาเปนการมีสวนรวม จึงกลาวไดวาความหมายของการมีสวนรวมกินอาณาเขตกวางขวางมาก และมีไดหลายรูปแบบ หลายวิธีการ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับป พ.ศ.2550 กลาวถึงการมีสวนรวมของประชาชนโดยคํานึงถึงสิทธิพ้ืนฐานของประชาชนทุกคนในฐานะที่เปนมนุษย รวมไปถึงสิทธิที่จะไมเชื่อฟงรัฐดวย ซึ่งเปนทางเลือกใหมหรือเปนทางเลือกที่สามของการเรียกรองหรือการมีสวนรวมทางการเมืองที่นอกเหนือไปจากชองทางปกติ แตเปนสิ่งที่ชอบธรรมและจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางกฎหมายและในทางสังคมไมใชปลอยใหรัฐบาล ผูพิพากษา นักการเมือง ขาราชการ ฯลฯ ผูกขาดการกําหนดทิศทางของรัฐและสังคมแตฝายเดียว (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2540) อยางแตกอน หรือกลาวอีกแบบหนึ่งไดวาการจรรโลงประชาธิปไตยนั้นไมใชเรื่องของการดําเนินการในระดับรัฐ แตรวมไปถึงในระดับประชาชนรากหญาดวย (นฤมล ทัพจุลพล, 2543) อคิน รพีพัฒน (2527) สรุปวา การมีสวนรวมของประชาชน คือ การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการจัดการ และควบคุมการใชและการกระจายทรัพยากรและปจจัยการผลิตที่มีอยูในสังคมเพื่อประโยชนในการดํารงชีวิตทางเศรษฐกิจและสังคม ตามความจําเปนอยางสมศักดิ์ศรีในฐานะสมาชิกสังคมในการมีสวนรวม ประชาชนไดพัฒนาการรับรูและภูมิปญญา ซึ่งแสดงออกในรูปแบบการตัดสินใจในการกําหนดวิถีชีวิตของตนอยางเปนตัวของตนเอง เจิมศักดิ์ ปนทอง (2527) แบงการมีสวนรวมของประชาชนออกเปน 4 ขั้นตอน คือ การมีสวนรวมในการคนปญหาและสาเหตุของปญหา การมีสวนรวมในการวางแผนดําเนินกิจกรรม การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏิบัติงาน และการมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลงาน ปกรณ (2530) ใหความหมายการมีสวนรวมในการพัฒนาของประชาชน คือการที่ประชาชนจะเขามามีบทบาทในการรวมคิด รวมทํา รวมแกไข และรวมมีผลประโยชน ซึ่งกระทําได 4 ลักษณะ คือ

Page 32: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

21

1. เปนผูมีบทบาทสําคัญในการกําหนดวาอะไร คือความจําเปนขั้นพ้ืนฐานของชุมชน 2. เปนผูระดมทรัพยากรตาง ๆ เพ่ือสนองตอบความจําเปนพ้ืนฐาน 3. เปนผูมีบทบาทในการปรับปรุงวิธีการกระจายสินคาและบริการใหสมบูรณขึ้น 4. เปนผูไดรับความพึงพอใจและเกิดแรงจูงใจที่จะสรางกระบวนการพัฒนาอยางตอเน่ือง WHO/UNICEF (1978) ใหความหมายของการมีสวนรวม คือการที่กลุมของประชาชนกอใหเกิดการรวมตัวที่สามารถจะกระทําการตัดสินใจใชทรัพยากร และความรับผิดชอบในกิจกรรมที่กระทําโดยกลุม United Nations, Department of International Economic and Social Affairs (1978) ใหความหมายวา การมีสวนรวมของประชาชน ก็คือ การที่ประชาชนกอใหเกิดกระบวนการและโครงสรางที่ประชาชนในชนบทสามารถที่จะแสดงออกซึ่งความตองการของตน การจัดอันดับความสําคัญการเขารวมในการพัฒนาและไดรับประโยชนจากการพัฒนานั้น โดยการเนนที่การใหอํานาจการตัดสินใจแกประชาชนในชนบท ตามแนวคิดของ World Health Organisation รูปแบบของการมีสวนรวมของประชาชนจะตองประกอบดวยกระบวนการ 4 ขั้นตอน คือ 1. การวางแผน (Planning) ประชาชนมีสวนรวมในการวิเคราะหปญหา จัดลําดับอางความสําคัญ ตั้งเปาหมาย กําหนดการใชทรัพยากร กําหนดวิธีการติดตามประเมินผลและการตัดสินใจ 2. การดําเนินกิจกรรม (Implementation) ประชาชนมีสวนรวมในการจัดการ และการบริหารการใชทรัพยากร มีความรับผิดชอบในการจัดสรร การควบคุมการเงิน และบริหาร 3. การใชประโยชน (Utilization) ประชาชนมีความสามารถนําเอากิจกรรมมาใชประโยชนไดเปนการเพิ่มระดับของการพึ่งพาตัวเอง และการควบคุมทางสังคม 4. การไดรับผลประโยชน (Obtaining benefits) ประชาชนตองไดรับการแจกจายผลประโยชนจากชุมชนในพื้นฐานที่เทากัน

การมีสวนรวม เปนกระบวนการที่รัฐบาลทําการสงเสริม ชักนํา สนับสนุน และเสริมสรางโอกาสใหประชาชนในชุมชนทั้งในรูปสวนบุคคล กลุมคน ชมรม สมาคม มูลนิธิ และองคการอาสาสมัครรูปแบบตางๆ ใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือหลายเรื่องรวมกัน เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคและนโยบายการพัฒนาที่กําหนดไวโดยมีสวนรวมในลักษณะตอไปน้ี

Page 33: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

22

1. รวมทําการศึกษาคนควาปญหาและสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนรวมตลอดจนความตองการชุมชน 2. รวมคิด สรางรูปแบบและวิธีการพัฒนา เพ่ือแกไขและลดปญหาของชุมชนหรือสรางสรรคสิ่งใหมที่เปนประโยชนตอชุมชน หรือสนองความตองการของชุมชน 3. รวมงาน นโยบายหรือแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม เพ่ือขจัดและแกปญหาสนองความตองการของชุมชน 4. รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มี กําหนดใหเปนประโยชนตอสวนรวม 5. รวมจัด หรือปรับปรุงระบบการบริหารงานพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 6. รวมลงทุนในกิจกรรมโครงการของชุมชน ตามขีดความสามารถของตนเองและหนวยงาน 7. รวมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการ และกิจกรรม ใหบรรลุตามเปาหมายที่วางไว 8. รวมควบคุม ติดตาม ประเมินผล และบํารุงรักษาโครงการและกิจกรรมที่ไดทําไว ทั้งโดยเอกชนและรัฐบาลใหใชประโยชนไดตลอดไป สุวรรณี คงทอง (2536) สรุปวาการมีสวนรวมของประชาชนเปนความคิดริเร่ิมของทองถิ่นในการทําใหเกิดการจัดองคกร และเกิดการปรากฏตัวขึ้นของผูนําตามธรรมชาติ ผูนําชุมชน ผูนําที่ทางราชการแตงตั้งอาจจะไมใชผูนําจริงๆที่ชาวบานยอมรับนับถือ ผูนําตามธรรมชาติอาจจะเปนชาวบาน พระ กํานัน ผูใหญบาน ครู หรือเปนใครก็ตามแลวแตสถานการณ จําเนียร (2540) ไดศึกษาการมีสวนรวมของผูใหญบานและผูชวยผูใหญบานในการปองกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี พบวา ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการปองกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และการรับรูขาวสารเกี่ยวกับการปองกันและรักษาธรรมชาติไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของผูใหญบานและผูชวยผูใหญบานในการปองกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สวนปจจัยที่มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของผูใหญบานและผูชวยผูใหญบานในเรื่องดังกลาว คือ ความคาดหวังถึงผลประโยชนที่จะไดรับจากการมีสวนรวมในการปองกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ถวิลวดี บุรีกุล (2547) ไดอธิบายถึงกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนวา เปนกระบวนการสื่อสารสองทางที่มีเปาหมายโดยรวมเพื่อที่จะใหเกิดการตัดสินใจที่ดีขึ้นและไดรับการสนับสนุนจากสาธารณชน ซึ่งเปาหมายของกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชนคือ การใหขอมูลตอสาธารณชนและใหสาธารณชนแสดงความคิดเห็นตอโครงการที่นําเสนอหรือนโยบายรัฐและมีสวนรวมในการแกปญหาเพื่อหาทางออกที่ดีที่สุดสําหรับทุกๆคน การมีสวนรวมของประชาชนยังจัดเปนรูปแบบหนึ่งของแนวความคิดในการกระจาย

Page 34: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

23

อํานาจจากสวนกลางมาสูสวนทองถิ่น คือ ผูที่รูปญหาและความตองการของทองถิ่นตนเองดีกวาผูอ่ืน การมีสวนรวมของประชาชนจึงเปนการเปดกวางในความคิดเห็น เน่ืองจากกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอาจจะไมสามารถกระทําไดในทุกๆประเด็น แนวทางทั่วไปประเด็นที่ตองการกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ไดแก 1) การตัดสินใจที่มีผลกระทบที่สําคัญ 2) การตัดสินใจที่มีผลกระทบตอบางคนมากกวาคนอื่น 3) การตัดสินใจที่มีผลกระทบตอผลประโยชนตอบางคนหรือกลุมคนที่มีอยูเดิม 4) การตัดสินใจที่เกี่ยวของกับเรื่องที่มีความขัดแยงอยูกอนแลว 5) ความจําเปนเพื่อใหมีการสนับสนุนตอผลการตัดสินใจ ดังน้ัน การมีสวนรวมของประชาชนจึงมีอยูในเกือบทุกกิจกรรมของสังคม ขึ้นอยูกับความสนใจและประเด็นในการพิจารณา แตมีเง่ือนไขพื้นฐานในการมีสวนรวมวาประชาชนตองมีอิสรภาพ ความเสมอภาค และความสามารถในการเขารวมกิจกรรม นอกจากนี้การมีสวนรวมตองมีวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมาย ตองมีกิจกรรมเปาหมาย และตองมีกลุมเปาหมาย ทั้งน้ีเพ่ือใหกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด รูปแบบของการมีสวนรวม สามารถจําแนกได 3 ลักษณะ ตามลักษณะของการมีสวนรวมดังน้ี คือ 1) การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยตรง โดยผานองคกรจัดตั้งของประชาชน เชน การรวมตัวของกลุมชาวบานในการเรียกรอง หรือคัดคานการกระทําของกลุมคนที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 2) การที่ประชาชนมีสวนรวมทางออม โดยผานองคกรผูแทนของประชาชน เชน หัวหนาคนงาน กรรมการกลุม ตัวแทนจากหนวยงาน 3) การที่ประชาชนมีสวนรวมโดยการเปดโอกาสให โดยผานองคการที่ไมใชผูแทนของประชาชน เชน หนวยงานหรือสถาบันที่เชิญชวน หรือเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไปเขามามีสวนรวมเม่ือใดก็ได ปญหาอ่ืนๆ ที่เปนอุปสรรคของการมีสวนรวม ไดแก ความไมรูซึ่งเกิดจากการไรการศึกษา การไมสามารถเขาถึงแหลงสื่อมวลชน ระดับการศึกษา และความแตกตางทางดานสถานะทางเศรษฐกิจสังคม ถูกควบคุมโดยคนจํานวนนอย ขาดกลไกที่ มีประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร หรือกลไกควบคุมระบบเศรษฐกิจอยางเขมงวด นอกจากนี้ ยังมีการแบงแยกทางสังคม เชน ภาษา เพศ อายุ อาจมีผลกระทบตอการมีสวนรวมดวย

Page 35: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

24

การที่บุคคลจะมีสวนรวมในกิจกรรมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดวยความสํานึกของตนเองหรือดวยการชักจูงจากผูอ่ืน ยอมจะเปนผลมาจากระดับความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ความผูกพัน และความสํานึกที่มีตอสิ่งแวดลอมโดยมองเห็นถึงผลกระทบที่เขาจะไดรับ มีความรูสึกวาสิ่งแวดลอมเปนเรื่องสําคัญ เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิต สิ่งเหลานี้จะเปนปจจัยสําคัญในการดึงดูดใหประชาชนเขารวมโครงการอนุรักษ เพราะพวกเขาจะไดรับผลจากการเขามามีสวนรวมโดยตรง เชน พวกเขาจะไดรับความชุมชื้นจากปา มีอาหารอยางสมบูรณ มีน้ําไวกินไวใชอยางพอเพียง

2.5 ความรูพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ใชในการศึกษาถึงระบบการใชประโยชนที่ดิน มีเครื่องมือในทางวิชาการหรือเทคโนโลยีสารสนเทศจํานวนมากที่สามารถนํามารวมใชในการศึกษาและประเมินระบบการใชที่ดินแบบวนเกษตรในทางสังคม หรือการประเมินทั้งสังคมและกายภาพ ดังตอไปน้ี

2.5.1 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรหมายถึง ระบบที่ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรชวยใน

การเก็บ จัดระเบียบ ประมวลผล เปนขอมูลที่อางอิงกับพิกัดทางภูมิศาสตร ระบบ GIS ที่สมบูรณประกอบดวยสวนตางๆ หลายระบบ ไดแก ตัวฐานขอมูลเชิงพ้ืนที่ และขอมูลอธิบายคุณลักษณะอ่ืนๆ ที่ไมไดมีความสัมพันธเชิงพ้ืนที่โดยตรง อาจไดรับขอมูลจากขอมูลระยะไกล (Remote Sensing) หรือการนําเขาขอมูลจากแผนที่แบบเสนหรือจุด (Digitize) ระบบการจัดการฐานขอมูล ระบบวิเคราะหขอมูลทางสถิติ รวมกับระบบวิเคราะหทางภูมิศาสตร เพ่ือผลิตเปนแผนที่โดยระบบจัดทําและแสดงแผนที่พรอมกับรายงานหรือขอมูลเชิงสถิติ จึงเปนเคร่ืองมือที่สามารถผนวกและวิเคราะหขอมูลทางสังคมรวมกับขอมูลกายภาพในแตละพ้ืนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยขอมูลการสํารวจ รวมกับขอมูลระยะไกล

2.5.2 ระบบขอมูลระยะไกล ระบบขอมูลระยะไกล เปนเทคโนโลยีการรับขอมูลจากวัตถุใดๆ โดยไมไดสัมผัสกับ

วัตถุนั้นและทําการวิเคราะหแปลความหมายขอมูลจากภาพนั้น หลักการวิเคราะหก็คือ ทําใหภาพถูกตองตามพิกัดทางภูมิศาสตรและทําใหสามารถแยกความแตกตางขอมูลในภาพใหชัดเจน วาตรงไหนคืออะไร กอนที่จะนําเขาสูระบบ GIS ตอไป ขอมูลระยะไกลอาจไดจาก ภาพถายทางอากาศ ที่ใชเปนฐานสําหรับทําแผนที่ภูมิประเทศ หรือแผนที่ทหาร มาตราสวน 1:50,000 หรือใชทําภาพสามมิติจําลองระดับความสูงของพ้ืนที่ และภาพถายจากดาวเทียม

Page 36: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

25

ที่ปจจุบันมีหลายระบบ ที่มีความละเอียดของภาพ และความถี่ในการถายซื้อในพ้ืนที่เดียวกัน ตางกันและมีราคาสูง ปจจุบันมีหลายหนวยงานในประเทศไทยไดนําเทคโนโลยีนี้มาใชกับงานที่เกี่ยวของกับการประเมินการใชประโยชนที่ดิน ไดแก กรมพัฒนาที่ดิน ที่จัดทําเปนโปรแกรมตางๆ ไดแก โปรแกรมกลุมชุดดิน โปรแกรมเขตปาไมถาวร โปรแกรมคุณสมบัติของชุดดิน โปรแกรมกายภาพดินกับพืช โปรแกรมการชะลางพังทลาย โปรแกรมออกแบบระบบอนุรักษ โปรแกรมคุณภาพดินเพ่ือการเกษตร และโปรแกรมเขตเกษตรเศรษฐกิจ

2.6 นโยบายของรัฐบาล ในการศึกษาครั้งน้ีมีการทบทวนนโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวของ พบวามีนโยบาย

ดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภา เม่ือวันที่ 29 ธันวาคม 2551 ดานนโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีรายละเอียด ดังนี้

2.6.1 คุมครองและอนุรักษทรัพยากรปาไมและสัตวปา ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง รวมทั้งฟนฟูอุทยานทางทะเลอยางเปนระบบ เรงจัด ทําแนวเขตการใชประโยชนที่ดิน

โดยจัดแบงประเภทที่ดินระหวางที่ดินของรัฐและเอกชนใหชัดเจน เรงประกาศพื้นที่ปาอนุรักษ กําหนดเขตและสงเสริมการปลูกปา ปาชุมชน เพ่ิมฝายตนนํ้าลําธารและฝายชะลอน้ําตามแนวพระราชดําริ สงเสริมปาเศรษฐกิจในพ้ืนที่ที่เหมาะสม ปองกันการเกิดไฟปา ปราบปรามการบุกรุกทําลายปาอยางจริงจัง สงเสริมการปลูกหญาแฝกเพ่ือลดการชะลางพังทลายของดิน ลดการใชสารเคมีและฟนฟูดินในบริเวณพื้นที่ที่ดินมีปญหา รวมทั้งจัดใหมีระบบบริหารจัดการน้ําในระดับประเทศทั้งน้ําผิวดินและน้ําใตดิน เพ่ือตอบสนองความตองการของภาคเศรษฐกิจและการอุปโภคบริโภค 2.6.2 คุมครองและฟนฟูพ้ืนที่อนุรักษที่มีความสําคัญเชิงระบบนิเวศ เพ่ือการอนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพ

โดยสํารวจ จัดทําระบบฐานขอมูล อนุรักษพัฒนา และใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือสรางความมั่นคงดานอาหาร พลังงาน สุขภาพ และสรางมูลคาทางเศรษฐกิจ บนฐานภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่นที่มีการแบงปนผลประโยชนอยางเปนธรรม รวมทั้งใหการคุมครองเพื่อใหเกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ

Page 37: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

26

2.6.3 จัดใหมีระบบการปองกันรวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดรอนแกผูประสบภัยธรรมชาติ

โดยนําระบบขอมูลภูมิสารสนเทศมาใชกําหนดพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเตือนภัยพิบัติ พัฒนาระบบฐานขอมูล และติดตั้งระบบเตือนภัย และจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานอันจําเปนที่เกี่ยวของ ในพื้นที่ที่มีความเปราะบางหรือเสี่ยงตอภัยพิบัติอันเกิดจากภาวะโลกรอน เชน น้ําทวม แผนดินหรือโคลนถลม น้ําแลง ตลอดจนธรณีพิบัติและการเกิดคลื่นยักษในทะเล เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งในทุกแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ

2.6.4 ควบคุมและลดปริมาณของเสียที่กลายมาเปนมลพิษทั้งในรูปขยะ ขยะอันตราย มลพิษทางอากาศ กลิ่น เสียง และน้ําเสีย

โดยสงเสริมการผลิตและบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การใชเทคโนโลยีเพ่ือใหเกิดการใชซ้ําหรือหมุนเวียนกลับมาใชใหมสงเสริมการปองกันมลพิษตั้งแตจุดกําเนิด เพ่ิมศักยภาพและขีดความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการบําบัดน้ําเสีย กําจัดขยะชุมชน และเพิ่มพ้ืนที่สีเขียว โดยเฉพาะการจัดใหมีศูนยกําจัดขยะชุมชนกลางในทุกจังหวัด มีการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง สําหรับผูกอมลพิษที่ฝาฝนกฎหมาย เรงแกไขปญหามลพิษในพื้นที่ที่วิกฤตซ้ําซาก รวมทั้งสนับสนุนมาตรการจูงใจดานภาษีและสิทธิตางๆ กับผูประกอบการที่รวมโครงการแกไขปญหาโลกรอนและลดมลพิษ

2.6.5 พัฒนาองคความรูในการบริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการสงเสริมการวิจัยและพัฒนาที่ชุมชนและนักวิชาการในทองถิ่น มีสวนรวม

และที่ภาคเอกชนสามารถนําไปใช รวมทั้งสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่ชวยใหเกิดการใชทรัพยากรและพลังงานอยางประหยัด และชวยลดมลพิษ

2.6.6 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง สรางจิตสํานึกในการอนุรักษและการใชประโยชน

โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน ประชาชนและภาคีที่เกี่ยวของ ในรูปของสมัชชาสิ่งแวดลอมมีสวนรวมบริหารจัดการ และจัดใหมีการใชระบบประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเชิงกลยุทธ เพ่ือเปนกลไกกํากับใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งสนองโครงการพระราชดําริดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทุกโครงการอยางจริงจัง

Page 38: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

27

2.7 งานวิจัยที่เก่ียวของ

มัลลิกา ใจเกื้อ (2545) ไดศึกษาเรื่อง การประยุกตใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรในการติดตามการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและคุณภาพน้ําเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในชวงป พ.ศ.2510 – 2544 จากการใชเทคนิคการซอนทับขอมูล ดวยวิธี Matrix Analysis โดยโปรแกรม SPANS Version 7.1 พบวาในชวง 34 ป พ้ืนที่นาขาวมีการเปลี่ยนแปลงในทางลดลงอยางเห็นไดชัด พ้ืนที่นาขาวทั้งหมดรอยละ 54.1 ของพื้นที่เขตบางขุนเทียนถูกเปลี่ยนไปเปนพ้ืนที่อ่ืนๆ พ้ืนที่ เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา พ้ืนที่สวนไมผลและพืชสวน พ้ืนที่ที่อยูอาศัย พื้นที่โรงงานอุตสาหกรรม และพ้ืนที่ปาจาก รอยละ 37.1 34.4 15.0 11.4 1.7 และ 0.4 ของพื้นที่นาขาวในป พ.ศ. 2510 ตามลําดับ ในขณะที่การใชประโยชนที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงในทางเพ่ิมขึ้นอยางเห็นไดชัดคือ พ้ืนที่โรงงานอุตสาหกรรม กลาวคือในป พ.ศ.2510 ไมมีพ้ืนที่โรงงานอุตสาหกรรมเลย แตในป พ.ศ.2530 มีพ้ืนที่เพ่ิมขึ้นรอยละ 100 และในป พ.ศ.2544 พ้ืนที่โรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นรอยละ 247.0 ของพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมในป พ.ศ.2530 คิดเปนพ้ืนที่รอยละ 2.4 ของพื้นที่เขตบางขุนเทียนทั้งหมด

ประสิทธิ์ ออนดี (2546) ไดศึกษาเรื่อง การประยุกตใชสารสนเทศภูมิศาสตร เพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรปาไมโดยชุมชนเขามามีสวนรวม ซึ่งวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม SPSS โดยใชสถิติการถดถอยพหุคูณ ดวยวิธี Stepwise และวิเคราะหขอมูลดวยวิธี Index overlay โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร ยังพบวา มีพ้ืนที่ปาที่มีความเสี่ยงตอการบุกรุกสูง และจากการเปรียบเทียบระดับเจตคติตอการอนุรักษทรัพยากรปาไมของเกษตรกร พบวาเกษตรกรที่ทําอาชีพรอง และมีรายไดอยูในระดับสูง จะมีเจตคติตอการอนุรักษทรัพยากรปาไมอยูในระดับสูงกวากลุมเกษตรกรที่มีรายไดอยูในระดับต่ํา และไมมีอาชีพรอง แตในทางตรงกันขาม เกษตรกรที่มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนมากกวา 5 คน และจํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่อยูในวัยแรงงานมากกวา 3 คน จะมีเจตคติตอการอนุรักษทรัพยากรปาไมอยูในระดับต่ํา

จิรวรรณ จารุพัฒน และนายสุจินต ขันติสมบูรณ (2547) ไดศึกษาเรื่องการจัดทําฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร การใชประโยชนที่ดินปาไม พ.ศ.2547 โดยนําขอมูลภาพถายจากดาวเทียม Landsat 5TM และ Landsat 7 TM ถายภาพเมื่อป พ.ศ.2546-2547 มาจัดพิมพที่มาตรสวน 1 : 50,000 จากนั้นนํามาแปลตีความภาพถายจากดาวเทียมดวยสายตา โดยกําหนดประเภทการใชประโยชนที่ดินปาไมออกเปน 5 ประเภท ไดแก ปาปก ปาชายเลย แหลงนํ้า นากุง และพ้ืนที่อ่ืนๆ จากนั้นนําผลเขาในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Page 39: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

28

พบวาในป พ.ศ.2547 ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปาไมปกคลุมรวม 104,744,360 ไร คิดเปนรอยละ 32.65 ของพื้นที่ประเทศไทย โดยแบงเปน ปาบก 103,020,576 ไร ปาชายเลน 1,723,784 ไร แหลงน้ํา 4,976,452 ไร นากุง 717,761 ไร พ้ืนที่อ่ืนๆ 210,294,199 ไร

วิมลมาศ นุยภักดี (2549) ไดศึกษาเรื่องการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ลุมนํ้าแมสา จังหวัดเชียงใหมในรอบ 10 ป (พ.ศ.2539 – 2549) และแนวทางในการควบคุมการใชประโยชนที่ดินใหตรงตามศักยภาพของพื้นที่ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ERDAS IMAGINE 8.7 และ Arc View GIS 3.3 ในระบบสารสนเทศภูมศาสตร แปลภาพถายจากดาวเทียม Landsat ป พ.ศ. 2540, 2542, 2544, 2546, 2548 และ 2549 พบวา ลุมนํ้าแมสา มีพ้ืนที่ปาในป 2549 รอยละ 71.73 ของพื้นที่ลุมน้ํา มีการสูญเสียพ้ืนที่ปาในรอบ 10 ป จํานวน 7,561.71 ไร คิดเปนรอยละ 8.63 ของพ้ืนที่ลุมนํ้า พ้ืนที่ปาลดลงมากที่สุดในป พ.ศ.2540 – 2542 โดยลดลงในอัตราเราที่นอยลงในปตอๆ มา และคอนขางคงที่ในชวงป พ.ศ.2548 – 2549 พ้ืนที่เกษตรแบบเปดโลงและพ้ืนที่โลงอ่ืนๆ เพ่ิมขึ้น 4,472.53 ไร คิดเปนรอยละ 5.10 ของพื้นที่ลุมนํ้า สิ่งกอสรางเพิ่มขึ้น 2,774.55 ไร คิดเปนรอยละ 3.17 ของพื้นที่ลุมนํ้า และมีการเพิ่มอยางตอเนื่อง สวนพื้นที่เกษตรแบบพืชยืนตนและพืชไรเพ่ิมขึ้น 315.17 ไร คิดเปนรอยละ 0.36 ของพื้นที่ลุมนํ้า สวนศักยภาพของพื้นที่นั้นพ้ืนที่ตอนบนของลุมนํ้าแมสา มีศักยภาพเปนปาตนนํ้า มีการสูญเสียพ้ืนที่ปาในรอบ 10 ป มากที่สุดคือ ลุมนํ้ายอยหวยทาน ลุมน้ํายอยหวยหนองหอย ลุมน้ํายอยหวยแมนาพระ ลุมน้ํายอยหวยปงไคร และลุมน้ํายอยหวยแมละงุน สูญเสียปารอยละ 23.75, 18.46, 16.36, 14.43 และ 13.38 ของพื้นที่ลุมน้ํายอยตามลําดับ

ยุวดี ดีงามเลิศ (2552) ไดศึกษาเรื่องกระบวนการการมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษาสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ พบวา การมีสวนรวมของชุมชนเปนลักษณะการมีสวนรวมที่แทจริง คือ ชาวบานในชุมชนเขามามีบทบาทสําคัญ ตั้งแตรวมกันศึกษาถึงที่มาของปญหาตลอดชวงระยะเวลาที่ผานมา รวมกันคิดหาวิธีการแกไขปญหา วางแผนงาน รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเปนประโยชนตอชุมชน ปฏิบัติตามแผนใหบรรลุผลที่กําหนดไว รวมถึงการติดตามและประเมินผล ทุกขั้นตอนของการทํางาน มีองคกรภาครัฐ เชน มูลนิธิชัยพัฒนา กรมปาไม อําเภอ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย องคการบริหารสวนตําบล เปนตน ที่มีประสบการณดานการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชน หลายๆ หนวยงานเปนที่ปรึกษา คอยใหคําแนะนําและชวยฝกกระบวนการทํางานดานการทองเที่ยว ดานการอนุรักษ โดยไดรวมกันทํางานและฝกประสบการณจากพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่

Page 40: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

29

หลากหลาย มีการนําความรูที่ไดจากการแลกเปลี่ยนกับชุมชนอ่ืน มาปรับปรุงรวมกับการทํางานในชุมชนของตนอยางสม่ําเสมอ

อุดมศักดิ์ สงวนศิริธรรม (2552) ไดศึกษาเรื่อง การประเมินความเหมาะสมที่ดินเพ่ือการวางแผนการใชที่ดินของกรมปาไมบริเวณโครงการสวนกลางมหานคร จังหวัดสมุทรปราการ สรุปไดวาการใชที่ดินเพ่ือเพิ่มพ้ืนที่สีเขียว มีคาความเหมาะสมมากอยู 133 กลุมแปลง (598.41 ไร) สวนใหญเปนกิจกรรมฟนฟูปาบกและกิจกรรมฟนฟูปาชายเลน จํานวน 87 กลุมแปลง (497.2 ไร) และ 27 กลุมแปลง (141.9 ไร) ตามลําดับ การใชที่ดินเพ่ือการพักผอนหยอนใจ มีคาความเหมาะสมมากอยู 22 กลุมแปลง (193.75 ไร) สวนใหญเปนกิจกรรมสรางสวนอนุรักษพันธุไมทองถิ่น และกิจกรรมสรางสวนพฤกษศาสตรตําบล จํานวน 11 กลุมแปลง (69.5 ไร) และ 6 กลุมแปลง (410.46 ไร) สวนใหญเปนกิจกรรมสรางสนามกีฬาและสนามเด็กเลน จํานวน 47 กลุมแปลง (135.7 ไร) ดังน้ันแนวทางการใชที่ดินเพ่ือเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียว การพักผอนหนอยใจ การทองเที่ยวและนันทนาการ มีคาความเหมาะสมเทากับ 0.934 0.734 และ 0.697 ตามลําดับ ดังน้ันควรเลือกเปาหมายการเพิ่มพ้ืนที่สีเขียวในกลุมแปลงใหคาความเหมาะสมมากที่สุด

Page 41: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

30

บทที่ 3

วิธีการศึกษา

การศึกษาวิจัยครั้งน้ี เปนการศึกษาการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมืองในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกะเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยการศึกษาจะแบงออกเปน 2 สวน คือ 1. การศึกษาขอมูลทางดานกายภาพ โดยศึกษาขอมูลภาพถายดาวเทียม ขอมูลทางสารสนเทศภูมิศาสตร และการศึกษารวบรวมจากเอกสารทางวิชาการ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธตางๆ ที่เกี่ยวของ เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและพ้ืนที่ สีเขียวบริเวณโครงการสวนกลางมหานคร 2. การศึกษาทางดานสังคม โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึกจากผูนําชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการพ้ืนที่สีเขียว แลวนํามาวิเคราะหขอมูลและสรุปผลการวิจัย

3.1 อุปกรณและวิธีการศึกษา 3.1.1 การศึกษาขอมูลทางดานกายภาพ ในการศึกษาขอมูลทางดานกายภาพของงานวิจัยฉบับน้ี จะใชขอมูลทุติยภูมิเชิงพ้ืนที่ ไดแก ขอมูลภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2547 ขอมูลภาพถายดาวเทียม THEOS ป พ.ศ. 2553 และขอมูลพ้ืนฐานจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพ่ือประมวลผลพ้ืนที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานคร และสรางระบบฐานขอมูลภูมิศาสตรรวมทั้งแสดงผลสารสนเทศดวยโปรแกรม ArcGIS 9.2 โดยมีรายละเอียดวิธีการศึกษาดังนี้ 3.1.1.1 การจําแนกการใชประโยชนที่ดินที่เปนพ้ืนที่สีเขียวและมีขนาดใหญ โดยการแปลภาพถายดาวเทียมจากการซอนทับ โดยใชภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2547 ขอมูลภาพถายดาวเทียม THEOS ป พ.ศ.2553 และขอมูลพ้ืนฐานจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 3.1.1.2 วิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีศักยภาพในบริหารจัดการพื้นที่แบบมีสวนรวมของชุมชน จากขอมูลที่ไดจากการประมวลผลตามขอ 31.1.1 โดยการเปรียบเทียบการใชประโยชนที่ดินระหวางป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553

Page 42: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

31

3.1.1.3 เลือกพื้นที่ที่จะทําการศึกษาทางดานสังคม โดยจะทําการเลือกพ้ืนที่ผานการวิเคราะหตามขอ 3.1.1.2 ซึ่งจะพิจารณาเลือกพื้นที่ที่มีสัดสวนพื้นที่สีเขียวสูงเม่ือเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด รายละเอียดของขั้นตอนการศึกษาปรากฏในภาพที่ 3.1

การวิเคราะหขอมูลทางดานกายภาพบริเวณโครงการสวนกลางมหานคร โดยใชระบบเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

- ขอมูลภาพถายดาวเทียม IKONOS ป พ.ศ.2547 - ขอมูลภาพถายดาวเทียม THEOS ป พ.ศ.2553 - ขอมูลพ้ืนฐานจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

การวิเคราะหหาการใชประโยชนที่ดิน และพ้ืนที่สีเขียว ระหวางป พ.ศ.2547 และป พ.ศ.2553 โดยการแปลงภาพถายดาวเทียมและประมวลผลนําเขาขอมูลพ้ืนฐานจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

ศึกษาการเปลีย่นแปลงพื้นทีส่ีเขียว โดยการเปรียบเทียบการใชประโยชนที่ดิน และพ้ืนที่สีเขยีวระหวางป พ.ศ.2547 และป พ.ศ.2553

วิเคราะหหาพืน้ที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ และวเิคราะหหาพื้นที่ที่มีศักยภาพ ในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของชุมชน

ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการศึกษาขอมูลทางกายภาพ

Page 43: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

32

3.1.2 การศึกษาทางดานสังคม การศึกษาทางดานสังคมของงานวิจัยฉบับน้ี จะทําการศึกษาการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว โดยการสัมภาษณแบบเจาะลึกกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก เจาหนาที่ของกรมปาไม องคการบริหารสวนตําบล และผูนําชุมชน ในเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่ในประเด็นตางๆ เชน ประวัติความเปนมา วิธีการบริการจัดการพื้นที่ กฎระเบียบของชุมชน การบริหารงานและการจัดกิจกรรมตางๆ รวมทั้งประโยชนที่ชุมชนไดรับจากการมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว โดยผูศึกษาไดทําการสัมภาษณหนวยงานที่ เกี่ยวของเปนรายบุคคล และเปนการสัมภาษณแบบปลายเปด โดยมีรายละเอียดวิธีการศึกษาดังนี้ 3.1.2.1 การสัมภาษณเจาหนาที่ในพื้นที่ทีดู่แลโครงการ เพ่ือหาพื้นที่สีเขียวที่มีสวนรวมของชุมชนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอมอยางเขมแขง 3.1.2.2 การสัมภาษณผูนําชุมชนในพื้นที่สีเขียวที่มีการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของชุมชนตามขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณเจาหนาที่ในพื้นที่ที่ดูแลโครงการขอ 3.1.2.1 เพ่ือศึกษากระบวนการและแนวทางหรือกิจกรรมของชุมชนที่ใชในการมีสวนรวมในการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3.1.2.3 วิเคราะหและสรุปขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณ ทั้งน้ีการศึกษาวิจัยทั้งการศึกษาขอมูลทางดานกายภาพ และการศึกษาทางดานสังคมสามารถสรุปขั้นตอนวิธีการศึกษาตามภาพที่ 3.2

3.2 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.2.1 ศึกษา คนควา รวมรวบขอมูลจากเอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ สารนิพนธ รายงาน และขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน 3.2.2 รวบรวมฐานขอมูลดานสารสนเทศภูมิศาสตร ขอมูลภาพถายดาวเทียม ในป พ.ศ.2547 และป พ.ศ. 2553 3.2.3 ประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Arc View 3.3 และ ArcGIS 9.2 3.2.4 แบบสัมภาษณเชิงลึกกับผูนําชุมชน และผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว

Page 44: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

33

การวิเคราะหขอมูลทางดานสังคมโดยการศึกษาการมีสวนรวมของชุมชน ในการจัดการพื้นที่สีเขียว

พ้ืนที่สีเขียวขนาดใหญทั้งหมดในบริเวณโครงการสวนกลางมหานคร

การวิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการพื้นที่แบบชุมชน มีสวนรวม โดยการสัมภาษณเชิงลึกกับหัวหนาศูนยจัดการพื้นที่สีเขยีวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ

พ้ืนที่สีเขียวทีมี่ศักยภาพในการบริหารจัดการแบบชุมชนมีสวนรวม

การสัมภาษณเชิงลึกกับผูนาํชุมชน และผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว

การมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว ภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการศึกษาขอมูลทางสังคม

3.3 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรม ArcGIS 9.2 ในการแปลภาพถายจากดาวเทียม THEOS ป พ.ศ.2553 บริเวณโครงการสวนกลางมหานคร โดยการนําเขาขอมูลเชิงพ้ืนที่ ดวยกระบวนการนําเขาขอมูลทางพื้นที่ (Spatial Data) และสรางชั้นขอมูลการใชประโยชนที่ดิน ซึ่งแบงเปน 2 ประเภทคือพ้ืนที่เมือง กับพ้ืนที่สีเขียว และนํามาเปรียบเทียบกับขอมูลทุตยภูมิของป พ.ศ.2547 เม่ือประมวลผลขอมูลการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่สีเขียว ระหวางป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553 แลว จึงวิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการพื้นที่แบบชุมชนมีสวนรวม จากนั้นทําการสัมภาษณเชิงลึกเกี่ยวกับการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม แลวนํามาวิเคราะหขอมูลเพื่อสรุปเปนผลการศึกษา

Page 45: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บทที่ 4

ขอมูลพื้นฐานของพื้นที่ศึกษา

4.1 พื้นที่ศึกษา พ้ืนที่ศึกษาครอบคลุมพ้ืนที่บริเวณโครงการสวนกลางมหานคร รวม 6 ตําบล ประกอบดวยตําบลบางกะเจา ตําบลบางน้ําผึ้ง ตําบลบางกอบัว ตําบลบางกระสอบ ตําบล บางยอ และตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในขอบเขตพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร โดยมีอาณาเขตติดตอ ดังนี้

ทิศเหนือ ตรงขามกับ เขตคลองเตย เขตพระโขนง และเขตบางนา กรุงเทพมหานคร ทิศใต ตรงขามกับ ตําบลสําโรงใต ตําบลบางหญาแพรกและเขตเทศบาลอาํเภอ พระประแดง ทิศตะวันออก ตรงขามกับ แขวงบางนา แขวงบางจาก เขตพระโขนง ทิศตะวันตก ตรงขามกับ แขวงบางโพงพาง และแขวงชองนนทรี เขตยานนาวา เขตทุงครุ และเขตราษฎรบรูณะ

4.2 ประวัติของพื้นทีศึกษา

พระประแดง เปนอําเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการหรือที่เรียกกันวาเมืองปากน้ํา ซึ่งเคยเปนเมืองหนาดานทางที่ทะเลที่สําคัญในอดีต จังหวัดสมุทรปราการตั้งอยูในภาคกลางของประเทศไทยสองฟากฝงตอนปลายสุดของแมน้ําเจาพระยา บริเวณปากอาวไทย จังหวัดสมุทรปราการแบงการปกครองออกเปน 6 อําเภอ ประกอบไปดวย (1) อําเภอเมืองสมุทรปราการ (2) อําเภอบางบอ (3) อําเภอบางพลี (4) อําเภอพระประแดง (5) อําเภอพระสมุทรเจดีย (6) อําเภอบางเสาธง

Page 46: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

35

อําเภอพระประแดง เดิมเปนเมืองเกาที่ขอมไดสรางขึ้น มีอายุประมาณ 1,000 ป เดิมเรียกวาเมืองปากลัด เน่ืองจากสมัยกอนปากแมน้ําเจาพระยาดานซายคืออยูทางฝงตะวันออก เปนเมืองที่ขอมใชเปนเมืองหนาดานทางทะเล และขนานนามเมืองหนาดานนี้วา พระประแดงนั้นก็มีเหตุผลเพราะคําวา พระประแดง หรือ บาแดง แปลวา คนเดินหมาย คนนําขาวสาร แตเดิมเมืองพระประแดงเมื่อมีเหตุการณใด ๆ เกิดขึ้นจะตองแจงขาวสารไปใหเมืองหลวง (ละโว) ทราบโดยดวน ตอมาเมื่อ ป พ.ศ. 2357 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยมีพระราชดําริวาควรจะมีเมืองปราการเพื่อปองกันขาศึกทางทะเล จึงตั้งชื่อเมืองใหมนี้วา “เมืองนครเขื่อนขันธ” และเม่ือ ป พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชดําริวาเมืองนครเขื่อนขันธ เปนเมืองที่สําคัญไมควรปลอยใหสูญหาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนชื่อ “นครเขื่อนขันธ” เปนจังหวัดพระประแดง แบงเขตการปกครองเปน 3 อําเภอ คือ อําเภอ พระประแดง ราษฎรบูรณะ และพระโขนง ตอมาเมื่อ ป พ.ศ.2475 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วประเทศ จังหวัดพระประแดงถูกยุบไปขึ้นกับจังหวัดสมุทรปราการ จึงคงสภาพเปนเพียงอําเภอพระประแดง จนถึงทุกวันน้ี การปกครองสวนภูมิภาคของอําเภอพระประแดงแบงเขตการปกครองยอย เปน 15 ตําบล 67 หมูบาน ไดแก (1) ตลาด (Talat) (2) บางพึ่ง (Bang Phueng) (3) บางจาก (Bang Chak) (4) บางครุ (Bang Khru) (5) บางหญาแพรก (Bang Ya Phraek) (6) บางหัวเสอื (Bang Hua Suea) (7) สําโรงใต (Samrong Tai) (8) บางยอ (Bang Yo) 10 หมูบาน (9) บางกะเจา (Bang Kachao) 9 หมูบาน (10) บางน้ําผึ้ง (Bang Namphueng) 11 หมูบาน (11) บางกระสอบ (Bang Krasop) 11 หมูบาน (12) บางกอบัว (Bang Ko Bua) 13 หมูบาน (13) ทรงคนอง (Song Khanong) 13 หมูบาน (14) สําโรง (Samrong) (15) สําโรงกลาง (Samrong Klang)

Page 47: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

36

4.3 โครงสรางพื้นฐาน

4.3.1 การคมนาคมขนสง การติดตอคมนาคมของประชาชนภายในเขตเทศบาลสามารถใชได 2 ทาง คือ ทางบก และทางน้ํา 4.3.1.1 ทางบก ระบบโครงขายถนนทั้งสายหลักและสายรองมีรายละเอียดดังนี้ โครงขายถนนสายหลัก คือ ถนนเพชรหึงษ เปนถนนสายหลักภายในพื้นที่เพียงสายเดียว มีสภาพเปนถนนคอนกรีตขนาด 2 ชองจราจร บางชวงเปนผิวจราจรแบบแอลฟลติกคอนกรีต สภาพการใชประโยชนที่ดินสองขางทางบริเวณใกลตลาดพระประแดง สวนใหญเปนบานพักอาศัยสลับอาคารพาณิชย บริเวณสองขางทางเปนพื้นที่สวนและมีบานพักอาศัยกระจัดกระจายอยางเบาบาง ปริมาณจราจรที่ใชเสนทางนี้คอนขางนอย ถนนเพชรหึงษสิ้นสุดที่ทาเรือเพชรหึงษในพื้นที่ตําบลบางกอบัว โครงขายถนนสายรอง คือ (1) ซอยสายน้ําผึ้ง-ซอยวัดบางน้ําผึ้งนอก-ถนนบัวผึ้งพัฒนา เปนถนนคอนกรีตขนาด 2 ชองจราจร แยกออกจากถนนเพชรหึงษ ผานวัดบางน้ําผึ้งนอกและมาบรรจบกับถนนเพชรหึงษอีกครั้งหนึ่งบริเวณใกลวัดบางกอบัว (2) ถนนบางกะเจา เปนถนนคอนกรีตขนาด 2 ชองจราจร สภาพถนนคอนขางเล็กและคดเคี้ยว เปนเสนทางเชื่อมระหวางถนนเพชรหึงษกับทาเรือบางกะเจา

4.3.1.2 ทางน้ํา เน่ืองจากจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยูทั้งสองฝงของแมน้ําเจาพระยา โดยพ้ืนที่เขตเทศบาลเมืองพระประแดง ตั้งอยูฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา ดังน้ันการติดตอประสานงานหรือธุรกิจการคาก็จะอาศัยทางเรือขามฝงไป – มา และมีแพขนานยนต สําหรับบรรทุกรถยนต ขนสินคา หรือวัตถุดิบ เพ่ือการอุตสาหกรรม ใหกับโรงงานอุตสาหกรรมทั้งสองฝง และระบายสินคาทางดานอุตสาหกรรม ไปยังตลาดภายในเขตจังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดอ่ืน ๆ เสนทางคมนาคมทางน้ําที่สําคัญ มีดังนี้ (1) แมน้ําเจาพระยา ไหลผานกรุงเทพมหานคร มาออกปากแมน้ําเจาพระยา ที่จังหวัดสมุทรปราการ ผานอําเภอพระประแดง อําเภอเมือง และอําเภอพระสมุทรเจดีย แมน้ําเจาพระยาเปนเสนทางคมนาคม ติดตอกับกรุงเทพมหานครมีเรือเดินสมุทรขนาดใหญ จากตางประเทศแลนผานไปมา เพ่ือขนถายและรับสินคาเขา – ออก ประเทศ ที่ทาเรือกรุงเทพ (ทาเรือคลองเตย) (2) คลองลัดหลวง ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา เลียบแนวเขตเทศบาล ไหลเชื่อมแมน้ําเจาพระยาทั้งดานทิศเหนือและทิศใต ของคลองลัดหลวง โดยทางทิศใตไหลลงสูอาวไทย สวนดานทิศเหนือของคลองลัดหลวงสามารถเดินทางเขาสูกรุงเทพมหานคร ทาเรือสาธุประดิษฐ

Page 48: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

37

ในปจจุบันทาเทียบเรือสินคาและทาเรือโดยสารที่ใชอยูในพื้นที่โครงการ มีดังนี้

(1) ทาเทียบเรือขนสงสินคา : เพ่ือขนถายสินคาสูโรงงานอุตสาหกรรมและขนสงสินคา จากโรงงานอุตสาหกรรมในเขตตําบลบางยอไปยังทาเรือคลองเตย ประกอบดวยทาเทียบเรือขนสงสินคา 3-4 ทา

(2) ทาเทียบเรือขนสงผูโดยสาร : เพื่อขนสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ ใกล เคียงไปยังฝ งกรุงเทพมหานครและพื้นที่บางสวนของจังหวัดสมุทรปราการประกอบดวยทาเทียบเรือขนสงผูโดยสารไดแก : (2.1) ทาเรือเพชรหึงษ : อยูในเขตตําบลบางกอบัว รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง กับทาเรือคลองเตยนอกและทาเรือโรงหมูของฝงกรุงเทพมหานคร (2.2) ทาเรือหนาวัดบางกอบัว : อยูในเขตตําบลบางกอบัว รับสงผูโดยสารขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร บริเวณทาเรือคลองเตย (2.3) ทาเรือบางกะเจา : อยูในเขตตําบลบางกะเจา รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง กับทาเรือคลองเตยของฝงกรุงเทพมหานคร (2.4) ทาเรือกํานันขาวหมู 3 : อยูในพ้ืนที่ตําบลบางกะเจา รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง ขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร (2.5) ทาเรือทาปมเกาหมู 2 : อยูในพื้นที่ตําบลบางกะเจา รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง ขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร (2.6) ทาเรือบานลางหมู 7 : อยูในพื้นที่ตําบลบางกะเจา รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง ขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร (2.7) ทาเรือวัดบางกระสอบหมู 10 : อยูในพ้ืนที่ตําบลบางกระสอบ รับสงผูโดยสารในพื้นที่โครงการ ขามไปยังโรงงานกระดาษ วัดสําโรง และที่อ่ืนๆ ฝงกรุงเทพมหานคร (2.8) ทาเรือหมู 1 ตําบลบางกระสอบ : รับสงผูโดยสารจากตําบลบางกระสอบและพื้นที่ใกลเคียง ขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร (2.9) ทาเรือหมู 3 ตําบลบางกระสอบ : รับสงผูโดยสารจากตําบลบางกระสอบและพื้นที่ใกลเคียง ขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร (2.10) ทาเรือวัดบางน้ําผึ้งนอก : อยูในเขตตําบลบางน้ําผึ้ง รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียงกับวัดบางนานอกและทาเรือกรมสรรพาวุธในเขตพระโขนงฝงกรุงเทพมหานคร (2.11) ทาเรือวัดบางน้ําผึ้งใน : อยูในเขตตําบลบางน้ําผึ้ง รับสงผูโดยสารจากพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกลเคียง กับทาเรือบางนานอก

Page 49: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

38

(2.12) ทาเรือโกดัง บริษัท ทรัพยสถาพร : อยูในเขตตําบล บางยอ รับสงผูโดยสารขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร บริเวณเขตยานนาวา ถนนพระราม 3 และวัดคลองภูมิ (2.13) ทาเรือคลองทานา : อยูในเขตตําบลบางยอ รับสงผูโดยสารขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร บริเวณวัดคลองภูมิ (2.14) ทาเรือวัดบางกะเจานอก : อยูในเขตตําบลบางยอ รับสงผูโดยสารขามไปยังฝงกรุงเทพมหานคร บริเวณชองนนทรีและชองลม 4.3.2 การใหบริการขนสงสาธารณะ 4.3.2.1 รถโดยสารประจําทาง พ้ืนที่โครงการฯ มีรถโดยสารประจําทางของเอกชน ใหบริการเพียง 1 เสนทาง คือ สายพระประแดง-บางกอบัว ในชวงเวลา 06.00-21.00 น. 4.3.2.2 รถจักรยานยนตรับจาง สวนใหญเปนการใหบริการรองรับผูที่เดินทางขามฟากแมน้ําเจาพระยาจากฝงกรุงเทพมาหนครบริเวณทาเรือวัดคลองเตยใน มายังฝง บางกะเจาที่บริเวณทาเรือบางกะเจาและทาเรือเพชรหึงษ โดยมีวินรถจักรยานยนตรับจางอยูที่บริเวณทาเรือทั้งสองแหง 4.3.3 การไฟฟา การใหบริการดานไฟฟาภายในเขตเทศบาลอยูในการควบคุมของ การไฟฟานครหลวงเขตราษฎรบูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยเทศบาลมีหนาที่ในการดูแล ซอมแซมหลอดไฟ ดวงไฟสาธารณะ บริเวณตรอกซอย ตาง ๆ ใหอยูในสภาพใชการได 4.3.4 การประปา การใหบริการทางดานการประปาในเขตเทศบาล อยูในความควบคุม และดูแลของการประปานครหลวงสาขาตากสิน ซึ่งประเภทผูใชสวนใหญยังเปนประเภทที่อยูอาศัย รองมาเปนประเภทธุรกิจตาง ๆ 4.3.5 การไปรษณีย อยูในเขตอําเภอพระประแดง 3 แหง คือ 4.3.5.1 ที่ทําการไปรษณียพระประแดง อําเภอพระประแดง 4.3.5.2 ที่ทําการไปรษณียสําโรงใต อําเภอพระประแดง 4.3.5.3 ที่ทําการไปรษณียปากลัด อําเภอพระประแดง (ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองพระประแดง)

Page 50: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

39

4.4 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานครและสภาพทั่วไป เปนรายตําบล

พ้ืนที่ทั่วไปของโครงการสวนกลางมหานครเปนที่ลุมเกิดจากการสะสมตะกอนจากแมน้ําเจาพระยา ประกอบกับเปนบริเวณที่อยูใกลปากแมน้ํา น้ําทะเลขึ้น-ลง มีผลกระทบตอพ้ืนที่โดยตรง ในหนาแลงเม่ือน้ําในแมน้ําเจาพระยามีปริมาณนอย ทําใหน้ําทะเลหนุนสูงขึ้นไปจนถึงจังหวัดนนทบุรีและปทุมธานี แตในทางกลับกัน ในฤดูน้ําหลากน้ําจืดในแมน้ํามีปริมาณมาก เม่ือน้ําทะเลหนุนก็ทําใหน้ําในแมน้ําลนฝง น้ําบริเวณนี้จึงเกิดสภาพน้ํากรอย พืชที่งอกงามดีในบริเวณนี้จึงเปนพืชที่สามารถปรับตัวไดทั้งนํ้าเค็ม น้ํากรอยและน้ําจืด เชน ตนจาก มะพราว ลําพู โกงกาง เปนตน เกษตรกรมีการพัฒนาที่ดินเพ่ือปองกันนํ้าทวม โดยการยกรองและทําคันดินรอบพ้ืนที่สวนปองกันนํ้าทวมขังแชรากไม ในฤดูแลงใชปองกันนํ้าเค็มอีกดวย การยกรองสวนแทนการถมที่เปนภูมิปญญาของเกษตรกรเพราะทําใหเกิดทองรองคูน้ํา แจกจายน้ําไปยังแปลงเกษตรตางๆ อยางทั่วถึง สามารถควบคุมระดับน้ําใตดินได ดังนั้นตนไมที่ปลูกในสวนดังกลาวจึงงอกงามและใหผลิตผลดี พืชผักที่ตองรดน้ําทุกวัน เกษตรกรจะใชเครื่องสูบน้ําติดตั้งบนเรือเล็ก แลวลากจูงหรือแลนไปในคูน้ํา พนนํ้าที่สูบจากคูน้ําเปนฝอยรดน้ําสองขางทาง เปนการสะดวกและงายในการดูแลตนไมตามฤดูกาล นอกจากนี้ยังใชรองสวนเลี้ยงปลา หรือปลูกพันธุไมน้ําเปนรายไดเสริมอีกทางหนึ่ง ตนไมที่เกษตรกรนิยมปลูก คือ หมาก มะพราว สมเขียวหวาน สมโอ กระทอน ฝรั่ง มะไฟ มะมวงชนิดตางๆ สวนผักและพืชลมลุกตางๆ สามารถปลูกไดเกือบทุกชนิด

เน่ืองจากแปลงที่ดินในโครงการฯ แตละผืนเปนแปลงขนาดเล็ก ผลผลิตตอครอบครัวจึงนอยกวาสวนเกษตรตามชนบท เกษตรกรมีครอบครัวขนาดเล็กใชแรงงานภายในครอบครัว ปลูกและดูแลบํารุงรักษาตนไมกันภายในครอบครัว มีรายไดอยางพอมีพอกิน ตอมาเม่ือมีบุตรหลานเพิ่มขึ้นจึงไมมีที่ดินเพียงพอสําหรับทุกคน ประกอบกับเยาวชนรุนใหมมีการศึกษาสูงขึ้น ละทิ้งอาชีพการเกษตรของบรรพบุรุษ เปลี่ยนอาชีพเปนการรับราชการ เปนลูกจางบริษัทหางราน หรือเปนคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ โดยรอบอําเภอพระประแดงและจังหวัดสมุทรปราการ ดังน้ัน จึงละเลยการดูแลบํารุงรักษาตนไม ผลผลิตนอยลง และปลอยใหเปนที่รกรางวางเปลา ในที่สุดจึงยกเลิกการทําสวน ขายที่ดินใหนายทุน ที่ดินเปลี่ยนมือจากเกษตรกรไปอยูในมือของผูกวานซื้อที่ดิน เพ่ือใชในการลงทุนกิจการอื่น เชน จัดสรรที่ดินเปนที่อยูอาศัย สรางโกดังสินคา โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย จึงทําใหพ้ืนที่เกษตรกรรมลดลง

Page 51: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

40

เม่ือพิจารณาการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินจากปจจุบัน ผูถือครองที่ดินบางสวนไมใชคนในทองที่เดิม ดังนั้นจึงมีความพยายามเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินที่เคยเปนสวนและพื้นที่เกษตรกรรมมาเปนที่อยูอาศัย เชน การจัดสรรที่ดินออกเปนแปลงที่ดินขนาดเล็ก ตัดตนไมที่มีอยูเดิมออก ถมรองสวนเดิม ถมดินใหสูงขึ้นกวาแปลงอื่น เพียงเพ่ือใหแปลงที่ดินของตนสูงพนระดับน้ําทวม แตกลับมีผลกระทบที่รายแรงตามมา กลาวคือเดิมนํ้าในพื้นที่สามารถระบายน้ําและปรับระดับน้ํา เฉลี่ยไปสูที่ดินแปลงอื่นๆ จนระบายน้ําออกสูคลองและแมน้ํา การถมดินปดทับรองสวนเดิมกั้นทางน้ําไหล ที่ใดเปนที่ต่ํากวาจะกลายเปนที่กักขังนํ้าปลูกพืชผลใดไมได ตอไปทุกคนจะตองถมดินใหสูงกวาที่ดินแปลงอ่ืนไปเรื่อยๆไมรูจบ หากเหตุการณยังเปนเชนนี้ตอไป พ้ืนที่ทั้งหมดก็จะเปลี่ยนสภาพจากการเกษตรเปนพ้ืนที่สําหรับอยูอาศัยและอุตสาหกรรม ซึ่งจะขัดแยงกับผังเมืองหลักที่กําหนดใหบริเวณนี้เปนพ้ืนที่สีเขียวทั้งหมด นอกจากนั้นยังมีกฎหมายควบคุมการปลูกสรางอาคาร หามปลูกสรางอาคารประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารพาณิชยขนาดใหญรวมทั้งอาคารตึกแถว หองแถว โดยอนุญาตใหปลูกสรางบานพักอาศัย แตโดยขอเท็จจริงแลวปรากฏวามีการฝาฝนใชอาคารผิดประเภท กลาวคือขออนุญาตปลูกสรางอาคารตามที่กฎหมายอนุญาตไวแตเม่ือปลูกสรางอาคารเสร็จแลว ก็มีการเปลี่ยนแปลงการใชอาคารเปนอยางอ่ืน และจากสาเหตุที่มีการควบคุมการปลูกสรางอาคารบางชนิด จึงทําใหราคาที่ดินในพื้นที่มีราคาต่ํากวาพื้นที่อ่ืนๆ โดยรอบที่อยูฝงตรงขามแมน้ําเจาพระยา จึงมีลูกจางและผูใชแรงงานในโรงงาน อุตสาหกรรมและสถานประกอบการตางๆ ที่ตั้งอยูบริเวณชองนนทรี คลองเตย พระโขนง บางจาก บางนา และสําโรง เดินทางขามฟากมาเชาบานหรือเชาที่ดินเพ่ือปลูกสรางบานพักอาศัยในพื้นที่ ตลอดจนการบุกรุกที่ดินสาธารณะชายฝงแมน้ําหรือที่ดินของทางราชการปริมาณมากขึ้นทุกที ทําใหเกิดสภาพชุมชนแออัดบริเวณใกลทาเรือขามฟาก 4.4.1 สภาพทั่วไปของตําบลบางกะเจา มี 9 หมูบานในตําบลบางกะเจา ไดแก บานวัดใหญ หมู 4, 5 บานบางกะเจา หมู 6, 7, 9 บานบางกระเบื้องลาง หมู 3 บางกะเจาเปนตําบลที่มีลักษณะเปนที่ราบลุม ที่ดินสวนใหญใชทําการเกษตร อากาศเย็นสบายตลอดทั้งป มีความรมเย็น สภาพพื้นที่ยังเปนบานสวนที่มีความเปนชนบทอยูมาก และเปนศูนยรวมของสถานที่ราชการที่สําคัญในตําบลอีกดวย การตั้งบานเรือนจะอยูรวมกันเปนกลุมๆ และกระจายตามพื้นที่ของตนเอง ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพรับจาง ทําการเกษตร และรับราชการ 4.4.2 สภาพทั่วไปของตําบลบางกอบัว มี 13 หมูบานในตําบลบางกอบัว ไดแก บานคลองบน หมู 1 บานคลองวัด หมู 2, 4, 5 บานคลองแพ หมู 6, 8, 13 บานคลองยายเอ็ด หมู 12 เปนตําบลที่มีลักษณะของลําน้ําลอมรอบหมูบาน ที่ดินชาวบานยกเปนรองสวน การตั้งบานเรือนจะกระจัดกระจายทั่วไป เปนชุมชนที่ไมหนาแนน ปลูกบานในที่ดินของตนเองเปนสวนใหญ ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม ทําการเกษตรเพียงไวสําหรับ

Page 52: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

41

รับประทานเอง และประกอบกิจการประเภทรานคาปลีกยอย อาชีพบริการตางๆ รับจางทั่วไป และรับราชการ 4.4.3 สภาพทั่วไปของตําบลบางน้ําผึ้ง มี 11 หมูบานในตําบลบางน้ําผึ้ง ไดแก บานบางน้ําผึ้ง หมู 5 บานบางน้ําผึ้งนอก หมู 1 บานบางน้ําผึ้ง หมู 10 บานไฟไหม หมู 6 บานบางน้ําผึ้ง 8 เปนตําบลที่มีลักษณะพื้นที่เปนรองสวนทั่ว ๆ ไป ที่ยังคงรูปแบบสวนเกษตรดั้งเดิม ซึ่งสวนใหญพ้ืนที่จะอยูติดกับแมน้ําเจาพระยา ยังคงความเปนธรรมชาติ มีตนไมใหญขึ้นอยูทั่วๆ ไป การตั้งบานเรือนจะรวมตัวอยางหนาแนนบริเวณริมฝงแมน้ําเจาพระยา ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทําการเกษตร เปนอาชีพหลัก โดยไดนําผลผลิตทางการเกษตรมาดัดแปลง พัฒนารูปแบบจากภูมิปญญาทองถิ่นเปนการเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ เชน มะมวง มะพราว กลวย ไมดอกไมประดับ รวมถึงไมมงคลชนิดตางๆ ไมยืนตน ไดแก ตนหมากแดง ตนตีนเปด เปนตน เพ่ือจําหนายในตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง อาชีพรองลงมาคือ รับจาง และรับราชการ 4.4.4 สภาพทั่วไปของตําบลบางบางยอ มี 10 หมูบานในตําบลบางยอ ไดแก บานบางขม้ิน หมู 3 บานบางยอ หมู 4 และหมู 8 บานปลายคลองลัดหลวง หมู 5 บานทานา หมู 6 บานคลองมอญ หมู 9 บานน้ําชน หมู 10 เปนตําบลที่มีลักษณะการตั้งบานเรือนอยูกันเปนกลุมๆ ติดตอกัน ลักษณะพื้นที่เหมาะแกการเพาะปลูก ทําสวนผลไม ไมดอกไมประดับ และเลี้ยงปลา และเหมาะแกการพัฒนาสงเสริมอาชีพดานการเกษตรและสงเสริมเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบกิจการประเภทรานคาปลีกยอย และอาชีพบริการตางๆ รับจางทั่วไป 4.4.5 สภาพทั่วไปของตําบลบางกระสอบ มี 11 หมูบานในตําบลบางกระสอบ ไดแก บานบางกระสอบ หมู 1 บานบางกระสอบ หมู 7 ตั้งอยูบริเวณฝงแมน้ําเจาพระยาเหนืออาวไทย การตั้งบานเรือนอยูบริเวณริมฝงแมน้ํา เนื่องจากสะดวกในการเดินทาง ดินและนํ้ามีความอุดมสมบูรณอยางมาก ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทําการเกษตรแบบผสมผสาน รับจางทั่วไป คาขาย และรับราชการ 4.4.6 สภาพทั่วไปของตําบลบางทรงคนอง มี 13 หมูบานในตําบลทรงคนอง ไดแก บานใหม หมู 2 บานวัดปาเกด หมู 3 บานจากแดง หมู 5 บานโรงเรือ หมู 7 บานหัวรอ หมู 9 บานถนนขี้เถา หมู 12 บานคลองลัดโพธิ์ หมู 10 เปนตําบลที่มีลักษณะการตั้งบานเรือนอยูกันเปนกลุมๆ ติดตอกัน ลักษณะพื้นที่เหมาะแกการเพาะปลูก ทําสวนผลไม ไมดอกไมประดับ และเลี้ยงปลา และเหมาะแกการพัฒนาสงเสริมอาชีพดานการเกษตรและสงเสริมเปนแหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบกิจการประเภทรานคาปลีกยอย และอาชีพบริการตางๆ รับจางทั่วไป

Page 53: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

42

4.5 ประชากร

ขอมูลจํานวนครัวเรือนและจํานวนประชากรในพื้นที่ 6 ตําบลของโครงการสวนกลางมหานคร ในป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553 จากฐานขอมูลของกรมการปกครอง กระทรวง มหาดไทย พบวาในป พ.ศ. 2547 มีจํานวนครัวเรือน ทั้งสิ้น 11,266 หลังคาเรือน แบงเปนประชากรชาย 18,851 คน ประชากรหญิง 20,140 คน รายละเอียดในตารางที่ 4.1 และในป พ.ศ. 2553 มีจํานวนครัวเรือน ทั้งสิ้น 12,267 หลังคาเรือน แบงเปนประชากรชาย 18,993 คน ประชากรหญิง 20,539 คน รายละเอียดในตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.1 จํานวนครวัเรือนและจํานวนประชากรในพืน้ที่โครงการสวนกลางมหานคร ป พ.ศ. 2547

จํานวนประชากร ตําบล ครัวเรือน

ชาย หญิง รวม

ตําบลบางกะเจา 1,604 2,497 2,795 5,292

ตําบลบางกอบัว 2,182 3,547 3,764 7,311

ตําบลบางน้ําผึ้ง 1,233 2,214 2,396 4,610

ตําบลบางยอ 2,966 5,221 5,596 10,817

ตําบลบางกระสอบ 719 1,181 1,226 2,407

ตําบลทรงคนอง 2,562 4,191 4,363 8,554

รวม 11,266 18,851 20,140 38,991

แหลงที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (2554)

Page 54: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

43

ตารางที่ 4.2 จํานวนครวัเรือนและจํานวนประชากรในพืน้ที่โครงการสวนกลางมหานคร ป พ.ศ. 2553

จํานวนประชากร ตําบล ครัวเรือน

ชาย หญิง รวม

ตําบลบางกะเจา 1,725 2,459 2,776 5,235

ตําบลบางกอบัว 2,377 3,438 3,712 7,150

ตําบลบางน้ําผึ้ง 1,379 2,333 2,584 4,917

ตําบลบางยอ 3,268 5,378 5,759 11,137

ตําบลบางกระสอบ 839 1,385 1,481 2,866

ตําบลทรงคนอง 2,679 4,000 4,227 8,227

รวม 12,267 18,993 20,539 39,532

แหลงที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (2554)

4.6 ขอมูลราคาประเมินที่ดิน

ตารางที่ 4.3 ราคาประเมินที่ดินตางๆ ในพ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร

ลําดับที ่ราคาประเมินที่ดิน

(บาท/ตร.ว.) ไร

1 1,500 – 5,000 5,288.33 2 5,001 – 10,000 3,071.83 3 10,001 – 15,000 721.15 4 15,001 – 20,000 263.87 5 20,001 – 30,000 182.15

รวม 9,527.33 แหลงที่มา : กรมที่ดิน (2547)

Page 55: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

44

4.7 ขอมูลแปลงที่ดินกรมปาไมรับผิดชอบในโครงการสวนกลางมหานคร

จากการเก็บรวบรวมขอมูลแปลงที่ดินของโครงการสวนกลางมหานคร ซึ่งเปนขอมูลแปลงที่ดินที่ไดจากการจัดทําโดยกรมธนารักษ ซึ่งสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดสงมอบใหกรมปาไมตามการโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 มีแปลงที่ดินจํานวน 571 แปลง จํานวน 1,276 ไร รายละเอียดแสดงในภาพที่ 4.1 ซึ่งพ้ืนที่ราชพัสดุเปนการใชที่ดินประเภทตางๆ สวนใหญเปนพ้ืนที่ปาไม รองลงมาเปนพ้ืนที่เบ็ดเตล็ดและพื้นที่เกษตรกรรมโดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ 4.1 เพ่ือการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติของบริเวณโครงการใหเปนพ้ืนที่สีเขียว ประเภทสวนสาธารณะ และประเภทเกษตรสมบูรณที่ใหผลิตผลทางการเกษตรที่ดี และรักษาดุลยภาพของสิ่งแวดลอมไวอยางถาวร 4.2 เพ่ือปรับปรุงลักษณะทางกายภาพของบริเวณพื้นที่โครงการ ทั้งที่เปนพ้ืนที ่เกษตรกรรมและพื้นที่ชุมชน โดยกําหนดขนาดของชุมชนใหเหมาะสมกับขีดความสามารถของธรรมชาติ และสาธารณูปโภคสาธารณูปการที่จะรองรับได หรือปองกันมิใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม และเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 4.3 เพ่ือจัดพื้นที่สวนหนึ่งใหเปนสวนสาธารณะ สวนพฤกษชาติ และสวนรุกขชาติ ซึ่งเปนที่รวบรวมพันธุไมตางๆ เทาที่สามารถปรับปรุงสภาพดินและนํ้าของพื้นที่ได ทั้งน้ีเพ่ือใหประชาชนไดรับประโยชนในการศึกษา และเพื่อใหเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ 4.4 เพ่ือควบคุมการใชประโยชนที่ดินในเปนสีเขียวตลอดไป

Page 56: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

45

แปลงที่ราชพัสดุที่อยูในความดูแลของกรมปาไม

ภาพที่ 4.1 แปลงที่ราชพัสดุที่อยูในความดูแลของกรมปาไม บริเวณโครงการสวนกลางมหานคร อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ แหลงที่มา : ศูนยจัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ กรมปาไม

Page 57: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บทที่ 5

ผลการศึกษา

จากการนําขอมูลเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาประยุกตใชในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนพ้ืนที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานคร ระหวางป พ.ศ.2547 และ ป พ.ศ.2553 โดยวิเคราะหการใชประโยชนที่ดินและพื้นที่สีเขียวดวยโปรแกรม ArcGIS 9.2 และ Arc View 3.3 รวมถึงการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของ และการสัมภาษณเชิงลึกผูนําชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของ จํานวน 4 ราย ผูศึกษาสามารถนําเสนอผลการศึกษา ไดดังนี้ 5.1 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนพ้ืนที่สีเขียว ระหวางป พ.ศ.2547 และป พ.ศ. 2553 ในโครงการสวนกลางมหานคร อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ 5.2 การวิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ และมีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของชุมชน 5.3 การมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว

5.1 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนพื้นทีส่เีขียว ระหวางป พ.ศ. 2547 และป พ.ศ. 2553 ในโครงการสวนกลางมหานคร อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

5.1.1 การใชประโยชนทีด่นิในป พ.ศ. 2547 จากผลการศกึษาพบวาในป พ.ศ. 2547 พ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร มีจํานวน 9,527.34 ไร ซึ่งมีขอบเขตคลอบคลุมอําเภอพระประแดง ดังภาพที่ 5.1 โดยแบงเปนพ้ืนที่เมือง 2,697.67 ไร คิดเปนรอยละ 28.32 พ้ืนที่สีเขียว 6,829.67 ไร คิดเปนรอยละ 71.68 รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 5.1 พ้ืนที่ทั้งหมดประกอบดวย 6 ตําบล คือ ตาํบลบางกะเจา มีพ้ืนที่เมือง 532.70 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,908.41 ไร ตําบลบางกอบัว มีพ้ืนที่เมือง 492.04 ไร พ้ืนที่สีเขียว 914.03 ไร ตําบล บางน้ําผึ้ง มีพ้ืนที่เมือง 560.68 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,014.10 ไร ตําบลบางยอ มีพ้ืนที่เมือง 838.47 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,259.68 ไร ตําบลบางกระสอบ มีพ้ืนที่เมือง 147.50 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,153.05 ไร ตาํบลทรงคนอง มีพ้ืนที่เมือง 126.28 ไร พ้ืนที่สีเขียว 580.40 ไร รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 5.2

Page 58: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

48

ตารางที่ 5.1 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานคร พ.ศ. 2547

ป พ.ศ.2547 พื้นที่เมือง (ไร) (Urban Area)

รอยละ พื้นที่สีเขียว (ไร) (Green Area)

รอยละ รวม (ไร) รอยละ

โครงการสวนกลางมหานคร

2,697.67 28.32 6,829.67 71.68 9,527.34 100.00

ตารางที่ 5.2 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานครรายตําบล พ.ศ. 2547

ตําบล พื้นที่เมือง

(Urban Area) ไร รอยละ

พื้นที่สีเขียว (Green Area)ไร

รอยละ รวม (ไร) รอยละ

บางกะเจา 532.70 19.75 1,908.41 27.94 2,441.11 25.62

บางกอบัว 492.04 18.24 914.03 13.38 1,406.07 14.76

บางน้ําผึ้ง 560.68 20.78 1,014.10 14.85 1,574.78 16.53

บางยอ 838.47 31.08 1,259.68 18.44 2,098.15 22.02

บางกระสอบ 147.50 5.47 1,153.05 16.88 1,300.55 13.65

ทรงคนอง 126.28 4.68 580.40 8.50 706.68 7.42

รวม 2,697.67 100.00 6,829.67 100.00 9,527.34 100.00

5.1.2 การใชประโยชนทีด่นิ ในป พ.ศ. 2553

จากผลการศึกษาพบวาในป พ.ศ. 2553 พ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร มีจํานวน 9,389.11 ไร ซึ่งมีขอบเขตคลอบคุลมอําเภอพระประแดง ดังภาพที่ 5.2 โดยแบงเปนพื้นที่เมือง 2,436.41 ไร คิดเปนรอยละ 25.95 พ้ืนที่สีเขียว 6,952.69 ไร คิดเปนรอยละ 74.05 รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 5.3 พ้ืนที่ทั้งหมดประกอบดวย 6 ตําบล คือ ตําบลบางกะเจา มีพ้ืนที่เมือง 428.30 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,990.53 ไร ตําบลบางกอบัว มีพ้ืนที่เมือง 377.93 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,005.88 ไร ตําบลบางน้ําผึ้ง มีพ้ืนที่เมือง 528.11 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,023.89 ไร ตําบลบางยอ มีพ้ืนที่เมือง 769.29 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,306.90 ไร ตําบลบางกระสอบ มีพ้ืนที่เมือง 184.14 ไร พ้ืนที่สีเขียว 1,092.38 ไร ตําบลทรงคนอง มีพ้ืนที่เมือง 148.64 ไร พ้ืนที่สีเขียว 533.12 ไร รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 5.4

Page 59: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

50

ตารางที่ 5.3 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานคร พ.ศ. 2553

ป พ.ศ. 2553 พื้นที่เมือง (ไร) (Urban Area)

รอยละ พื้นที่สีเขียว (ไร) (Green Area)

รอยละ รวม (ไร) รอยละ

โครงการสวนกลางมหานคร

2,436.41 25.95 6,952.70 74.05 9,389.11 100.00

ตารางที่ 5.4 การใชประโยชนที่ดินของโครงการสวนกลางมหานครรายตําบล พ.ศ. 2553

ตําบล พื้นที่เมือง

(Urban Area) ไร รอยละ

พื้นที่สีเขียว (Green Area)ไร

รอยละ รวม (ไร) รอยละ

บางกะเจา 428.30 17.58 1,990.53 28.63 2,418.83 25.76

บางกอบัว 377.93 15.51 1,005.88 14.47 1,383.81 14.74

บางน้ําผึ้ง 528.11 21.68 1,023.89 14.73 1,552.00 16.53

บางยอ 769.29 31.57 1,306.90 18.80 2,076.19 22.11

บางกระสอบ 184.14 7.56 1,092.38 15.71 1,276.52 13.60

ทรงคนอง 148.64 6.10 533.12 7.67 681.76 7.26

รวม 2,436.41 100.00 6,952.70 100.00 9,389.11 100.00

5.1.3 ขอมูลประชากรและจํานวนครัวเรือนตอเนื้อที่ (ไร) เปนรายตําบล ระหวางป พ.ศ. 2547 และป พ.ศ. 2553 พ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานครเปนพ้ืนที่ที่อยูในบริเวณวงแหวนอุตสาหกรรม และ ไมหางจากกรุงเทพฯ มากนัก แตเน่ืองจากลักษณะเฉพาะของพื้นที่ ซึ่งทําใหมีขอจํากัดในการเขาถึง มีแมน้ําเจาพระยาลอมรอบ การเดินทางยังไมคอยสะดวกเทาที่ควร มีถนนสายหลักเพียงสายเดียวที่เขาจากอําเภอพระประแดง คือ ถนนสายเพชรหึงษ ดังนั้นจึงทําใหประชากรยัง ไมแออัดนัก พ้ืนที่ที่เขาถึงสะดวกและมีประชากรอาศัยหนาแนนที่สุด คือ ตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ. 2547 มีความหนาแนนของประชากร 12.10 คนตอไร และความหนาแนนของครัวเรือน 3.63 ครัวเรือนตอไร และในป พ.ศ. 2553 มีความหนาแนนของประชากร 12.07 คนตอไร และความหนาแนนของครัวเรือน 3.93 ครัวเรือนตอไร รองลงมาคือตําบลบางกอบัว และตําบลบางยอ รายละเอียดปรากฏในตารางที่ 5.5 และตารางที่ 5.6

Page 60: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

51

ตารางที่ 5.5 ความหนาแนนของประชากรและจํานวนครัวเรือนตอไร ในป พ.ศ.2547

ประชากร (คน) จํานวน ความหนาแนน ความหนาแนน ตําบล เนื้อที ่

(ไร) ชาย หญิง รวม ครัวเรือน ประชากรตอไร ครัวเรือนตอไร

บางกะเจา 2,441.10 2,497 2,795 5,292 1,604 2.17 0.66

บางกอบัว 1,406.67 3,547 3,764 7,311 2,182 5.20 1.55

บางน้ําผึ้ง 1,574.78 2,214 2,396 4,610 1,233 2.93 0.78

บางยอ 2,098.16 5,221 5,596 10,817 2,966 5.16 1.41

บางกระสอบ 1,300.55 1,181 1,226 2,407 719 1.85 0.55

ทรงคนอง 706.68 4,191 4,363 8,554 2,562 12.10 3.63

รวม 9,527.94 18,851 20,140 38,991 11,266 4.09 1.18

แหลงที่มา : กรมการปกครอง (2554) ตารางที่ 5.6 ความหนาแนนของประชากรและจํานวนครัวเรือนตอไร ในป พ.ศ.2553

ประชากร (คน) จํานวน ความหนาแนน ความหนาแนน ตําบล เนื้อที ่

(ไร) ชาย หญิง รวม ครัวเรือน ประชากรตอไร ครัวเรือนตอไร

บางกะเจา 2,418.83 2,459 2,776 5,235 1,725 2.16 0.71

บางกอบัว 1,383.81 3,438 3,712 7,150 2,377 5.17 1.72

บางน้ําผึ้ง 1,552.00 2,333 2,584 4,917 1,379 3.17 0.89

บางยอ 2,076.19 5,378 5,759 11,137 3,268 5.36 1.57

บางกระสอบ 1,276.52 1,385 1,481 2,866 839 2.25 0.66

ทรงคนอง 681.76 4,000 4,227 8,227 2,679 12.07 3.93

รวม 9,389.11 18,993 20,539 39,532 12,267 4.21 1.31

แหลงที่มา : กรมการปกครอง (2554)

Page 61: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

52

5.1.4 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนพื้นที่เมืองกับพื้นที่สเีขียวรายตําบล ในป พ.ศ. 2547 และป พ.ศ. 2553 ผลกระทบจากการขยายตัวของเมือง และแหลงอุตสาหกรรม ทําใหเกิดการพัฒนารุกล้ําเขาไปในพื้นที่บางสวน สงผลใหเกิดการลดลงของพื้นที่เกษตรกรรม และพ้ืนที่ปาไม รวมไปถึงปญหาตางๆ ในดานสิ่งแวดลอม มลพิษทางอากาศ น้ําเสีย ขยะ แตเนื่องจากพื้นที่ดังกลาวเปนพ้ืนที่สีเขียวเขตอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2520 จึงทําใหเกิดขอจํากัดในการปลูกสิ่งกอสรางตางๆ ดังน้ันการใชประโยชนพ้ืนที่ในโครงการสวนกลางมหานคร พบวา ระหวางป พ.ศ.2547 และป พ.ศ.2553 หรือในชวง 6 ป สามารถแบงเปนรายตําบลไดดังนี้ 5.1.4.1 ตําบลบางกะเจา จากผลการศกึษาในพื้นทีต่าํบลบางกะเจา พบวาในป พ.ศ.2547 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 2,441.11 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 532.70 ไร คิดเปนรอยละ 21.82 พ้ืนที่สีเขียว 1,908.41 ไร คิดเปนรอยละ 78.18 และในป พ.ศ.2553 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 2,418.83 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 428.3 ไร คิดเปนรอยละ 17.71 พ้ืนที่สีเขียว 1,990.53 ไร คิดเปนรอยละ 82.29 ดังตารางที่ 5.7 และภาพที่ 5.3 , 5.4 ตารางที่ 5.7 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบรเิวณตําบลบางกะเจา ในป พ.ศ.2547 และในป พ.ศ.2553

ป พ.ศ. 2547 ป พ.ศ. 2553 ตําบลบางกะเจา

จํานวน (ไร) รอยละ จํานวน (ไร) รอยละ

พ้ืนที่เมือง 532.70 21.82 428.30 17.71

พ้ืนที่สีเขียว 1,908.41 78.18 1,990.53 82.29

รวม 2,441.11 100.00 2,418.83 100.00

Page 62: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

55 5.1.4.2 ตําบลบางกอบัว จากผลการศกึษาในพื้นทีต่าํบลบางกอบวั พบวาในป พ.ศ.2547 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,406.07 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 492.04 ไร คิดเปนรอยละ 34.99 พ้ืนที่สีเขยีว 914.03 ไร คิดเปนรอยละ 65.01 และในป พ.ศ. 2553 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,383.81 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 377.93 ไร คิดเปนรอยละ 27.31 พ้ืนที่สเีขียว 1,005.88 ไร คิดเปนรอยละ 72.69 ดังตารางที่ 5.8 และภาพที่ 5.5 , 5.6 ตารางที่ 5.8 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบรเิวณตําบลบางกอบัว ในป พ.ศ. 2547 และ ป พ.ศ. 2553

ป พ.ศ. 2547 ป พ.ศ. 2553 ตําบลบางกอบัว

จํานวน (ไร) รอยละ จํานวน (ไร) รอยละ

พ้ืนที่เมือง 492.04 34.99 377.93 27.31

พ้ืนที่สีเขียว 914.03 65.01 1,005.88 72.69

รวม 1,406.07 100.00 1,383.81 100.00

Page 63: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

58

5.1.4.3 ตําบลบางน้ําผึ้ง จากผลการศกึษาในพื้นทีต่าํบลบางน้ําผึ้ง พบวาในป พ.ศ.2547 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,574.78 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 560.68 ไร คิดเปนรอยละ 35.60 พ้ืนที่สีเขียว 1,014.10 ไร คิดเปนรอยละ 64.40 และในป พ.ศ.2553 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,552.00 ไร แบงเปนพื้นที่เมือง 528.11 ไร คิดเปนรอยละ 34.03 พ้ืนที่สเีขียว 1,023.89 ไร คิดเปนรอยละ 65.97 ดังตารางที ่5.9 และภาพที่ 5.7 , 5.8 ตารางที่ 5.9 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบรเิวณตําบลบางน้ําผึ้ง ในป พ.ศ. 2547 และ ป พ.ศ. 2553

ป พ.ศ. 2547 ป พ.ศ. 2553 ตําบลบางน้ําผึ้ง

จํานวน (ไร) รอยละ จํานวน (ไร) รอยละ

พ้ืนที่เมือง 560.68 35.60 528.11 34.03

พ้ืนที่สีเขียว 1,014.10 64.40 1,023.89 65.97

รวม 1,574.78 100.00 1,552.00 100.00

Page 64: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

61

5.1.4.4 ตําบลบางยอ จากผลการศกึษาในพื้นทีต่าํบลบางยอ พบวาในป พ.ศ.2547 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 2,098.15 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 838.47 ไร คิดเปนรอยละ 39.96 พ้ืนที่สีเขียว 1,259.68 ไร คิดเปนรอยละ 60.04 และในป พ.ศ.2553 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 2,076.19 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 769.29 ไร คิดเปนรอยละ 37.05 พ้ืนที่สีเขียว 1,306.90 ไร คิดเปนรอยละ 62.95 ดังตารางที่ 5.10 และภาพที่ 5.9 , 5.10 ตารางที่ 5.10 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบริเวณตําบลบางยอ ในป พ.ศ. 2547 และ ป พ.ศ. 2553

ป พ.ศ. 2547 ป พ.ศ. 2553 ตําบลบางยอ

จํานวน (ไร) รอยละ จํานวน (ไร) รอยละ

พ้ืนที่เมือง 838.47 39.96 769.29 37.05

พ้ืนที่สีเขียว 1,259.68 60.04 1,306.90 62.95

รวม 2,098.15 100.00 2,076.19 100.00

Page 65: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

64

5.1.4.5 ตําบลบางกระสอบ จากผลการศึกษาในพื้นที่ตําบลบางกระสอบ พบวาในป พ.ศ.2547 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,300.55 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 147.50 ไร คิดเปนรอยละ 11.34 พ้ืนที่สีเขียว 1,153.05 ไร คิดเปนรอยละ 88.66 และในป พ.ศ.2553 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 1,276.52 ไร แบงเปนพื้นที่เมือง 184.14 ไร คิดเปนรอยละ 14.43 พ้ืนที่สีเขียว 1,092.38 ไร คิดเปนรอยละ 85.57 ดังตารางที่ 5.11 และภาพที่ 5.11 , 5.12 ตารางที่ 5.11 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบริเวณตําบลบางกระสอบ ในป พ.ศ. 2547 และป พ.ศ. 2553

ป พ.ศ. 2547 ป พ.ศ. 2553 ตําบล บางกระสอบ จํานวน (ไร) รอยละ จํานวน (ไร) รอยละ

พ้ืนที่เมือง 147.50 11.34 184.14 14.43

พ้ืนที่สีเขียว 1,153.05 88.66 1,092.38 85.57

รวม 1,300.55 100.00 1,276.52 100.00

Page 66: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

67

5.1.4.6 ตําบลทรงคนอง จากผลการศกึษาในพื้นทีต่าํบลทรงคนอง พบวาในป พ.ศ.2547 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 706.68 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 126.28 ไร คิดเปนรอยละ 17.87 พ้ืนที่สีเขียว 580.40 ไร คิดเปน รอยละ 82.13 และในป พ.ศ.2553 มีพ้ืนที่ทั้งหมด 681.76 ไร แบงเปนพ้ืนที่เมือง 148.64 ไร คิดเปนรอยละ 21.80 พ้ืนทีส่ีเขียว 533.12 ไร คดิเปนรอยละ 78.20 ดังตารางที ่ 5.12 และภาพ ที่ 5.13 , 5.14 ตารางที่ 5.12 รอยละของพื้นที่เมืองกับพื้นที่สีเขียวบริเวณตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ. 2547 และป พ.ศ. 2553

ป พ.ศ. 2547 ป พ.ศ. 2553 ตําบลทรงคนอง

จํานวน (ไร) รอยละ จํานวน (ไร) รอยละ

พ้ืนที่เมือง 126.28 17.87 148.64 21.80

พ้ืนที่สีเขียว 580.40 82.13 533.12 78.20

รวม 706.68 100.00 681.76 100.00

Page 67: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

70

5.2 การวิเคราะหหาพื้นที่สีเขียวที่มีขนาดใหญและมีศักยภาพในการบริหาร จัดการแบบมีสวนรวมของชุมชน จากการรวมรวบขอมูลการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และพื้นที่สีเขียว รวมถึงการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานคร พบวา ในแตละตําบลจะมีลักษณะเดนทางสังคม การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และพื้นที่ สีเขียวแตกตางกันออกไป สรุปผลไดดังน้ี 5.2.1 ตําบลบางกะเจา มีพ้ืนที่บริเวณริมแมน้ําจึงถูกกัดเซาะหายไป 22.28 ไร พ้ืนที่เมืองไมเพ่ิมขึ้น พ้ืนที่สีเขียวเพิ่มขึ้นเนื่องจากในพื้นที่มีสวนสาธารณะขนาดใหญ สวนศรีนครเขื่อนขันธ มีการจัดทําแปลงสาธิตวนเกษตรประยุกต จัดทําแปลงเพื่อชวยเหลือเกษตรกร ผูยากไร ประกอบกับมีการเพาะกลาไมทองถิ่นแจกจายใหประชาชนในพื้นที่ นอกจากนั้นในพื้นที่ตําบลบางกะเจายังมีจุดเดนทางการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เนื่องจากเปนเมืองหนาดานของกรุงเทพฯ ซึ่งสามารถเดินทางเขามาในพื้นที่ไดสะดวก มีทาเรือขามฝากมาจากทางฝงกรุงเทพฯ ตรงพระราม 3 ในพื้นที่มีการสรางพิพิธภัณฑปลากัด หอดูนก เสนทางขี่จักรยานทองเที่ยว 5.2.2 ตําบลบางกอบัว มีพ้ืนที่บริเวณริมแมน้ําจึงถูกกัดเซาะหายไป 22.26 ไร พ้ืนที่ สีเขียวเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากมีการจัดทําสวนรุกขชาติประจําตําบล มีการปลูกปาฟนฟูโดยรวมกันบริษัทเอกชน สถานศึกษา ทั้งในและนอกพื้นที่ 5.2.3 ตําบลบางน้ําผึ้ง มีพ้ืนที่บริเวณริมแมน้ําจึงถูกกัดเซาะหายไป 22.78 ไร พ้ืนที่ สีเขียวเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากตําบลบางน้ําผึ้ง คอนขางมีชื่อเสียงในเร่ืองการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ทําใหมีประชาชนทั่วไปรูจักโดยเฉพาะตลาดน้ําบางน้ําผึ้ง จึงมีหนวยงานจากภายนอก บริษัทเอกชนตางๆ ขอเขาไปดําเนินการปลูกปาในพื้นที่อยางตอเน่ือง

5.2.4 ตําบลบางยอ มีพ้ืนที่บริเวณริมแมน้ําจึงถูกกัดเซาะหายไป 21.96 ไร พ้ืนที่สีเขียวเพ่ิมขึ้นเนื่องจากมีการดูแลสวนเกษตรดั่งเดิม มีการจัดจําหนายผักปลอดสารพิษ และสงเสริมใหบริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา รวมกันปลูกตนไมในพื้นที่ 5.2.5 ตําบลบางกระสอบ มีพ้ืนที่บริเวณริมแมน้ําจึงถูกกัดเซาะหายไป 24.03 ไร พ้ืนที่เมืองเพ่ิมขึ้นเล็กนอย ซึ่งเปนการปลูกสรางอาคารของทางราชการ และจัดใหมีสวนสาธารณะประจําตําบล จุดเดนของตําบลบางกระสอบคือการรักษาสภาพดังเดิมของพื้นที่ใหมากที่สุด และฟนฟู ดูแล สวนลําพูซึ่งเปนที่อยูอาศัยของห่ิงหอย เพ่ือในเกิดแหลงเรียนรู และการทองเที่ยวเชิงนิเวศขึ้น

Page 68: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

71

5.2.6 ตําบลทรงคนอง มีพ้ืนที่บริเวณริมแมน้ําจึงถูกกัดเซาะหายไป 24.92 ไร พ้ืนที่เมืองเพ่ิมขึ้นเล็กนอย เน่ืองจากมีการปลูกสรางบานเรือน จุดเดนของตําบลทรงคนองเปนตําบลที่อยูใกลความเจริญเติบโตของเมือง การเขาถึงสะดวก มีความหนาแนนของจํานวนประชากร 12.07 คนตอไร และความหนาแนนครัวเรือน 3.93 ครัวเรือนตอไร ซึ่งหนาแนนที่สุด แตชุมชนสามารถรวมตัวกันอยางเขมแขงในการอนุรักษพ้ืนที่มีการปลูกและดูแลตนไม รักษาระบบนิเวศใหมีความสมบูรณมาอยางตอเนื่อง จนทําใหภาครัฐเขามาสนับสนุนชุมชนในรูปแบบของ “ปาชุมชนเมือง สวนปาเกดนอมเกลา” จํานวน 55 ไร จนถึงในปจจุบันกลายเปนแหลงเรียนรูทางธรรมชาติที่สําคัญ และเปนตนแบบใหกับตําบลขางเคียงเขามาศึกษาพื้นที่ จากการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตรกับขอมูลทุติยภูมิ เพ่ือหาพ้ืนที่สีเขียวที่มีขนาดใหญ และมีศักยภาพในการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมของชุมชน พบวา มีพ้ืนที่ที่เปนสีเขียวแปลงใหญๆ อยูใน 3 ตําบล คือ ตําบลบางกะเจา ตําบลบางกระสอบ และตําบลทรงคนอง ซึ่งสวนใหญเปนพ้ืนที่ที่เปนที่ราชพัสดุที่กรมปาไมดูแล รับผิดชอบ และจากการสํารวจในพื้นที่และการสัมภาษณจากหัวหนาศูนยจัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ พบวา ตําบลทรงคนอง มีศักยภาพสูง ทั้งในเรื่องของขนาดพื้นที่สีเขียวและการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม

5.3 การมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว จากการสัมภาษณเชิงลึกจากผูนําชุมชน ผูอํานวยการโรงเรียนวัดปาเกด ผูแทนองคการบริหารสวนตําบลทรงคนอง และนายปรีชา องคประเสริฐ นักวิชาการปาไมชํานาญการ สํานักจัดการปาชุมชน กรมปาไม ในประเด็นการมีสวนรวมของชุมชนและการบริหารจัดการพื้นที่ สีเขียว สามารถสรุปไดดังนี้ 5.3.1 ความเปนมาของการอนุรักษพ้ืนทีส่ีเขียว 5.3.2 การมีสวนรวมของชมุชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว 5.3.3 วิธีการของผูนําชุมชนที่จูงใจใหเกดิการมีสวนรวมของชุมชนในการอนุรักษพ้ืนที่ สีเขียวทามกลางการขยายตวัของเมือง 5.3.4 กฎระเบียบของชุมชนในการอนุรักษพ้ืนที่สีเขียว 5.3.5 บทบาทของหนวยงานภาครัฐในการจัดการพื้นที่สีเขียว 5.3.6 ประโยชนที่ชุมชนไดรับจากการมีสวนรวมในการอนุรักษพ้ืนทีส่ีเขียว 5.3.7 ปญหาและการแกไขปญหาของชุมชนในการจัดการพื้นที่สีเขยีว

Page 69: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

72

5.3.1 ความเปนมาของการอนุรักษพื้นที่สีเขียว จากการสัมภาษณเชิงลึกประธานปาชุมชนเมือง และผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของ สรุปไดวา พ้ืนที่ปาชุมชนเมือง สวนปาเกดนอมเกลา มีจํานวน 55 ไร นี้เปนพ้ืนที่ที่ทางราชการจัดซื้อไว แรกเริ่มมีนโยบายใหปลอยพ้ืนที่ไวมิใหผูใดเขาไปใชประโยชน ซึ่งทําใหพ้ืนที่ดังกลาวซึ่งมีลักษณะเปนรองสวนเกษตร หากไมไดรับการดูแลจะมีสภาพเสื่อมโทรม รกราง น้ําเนาเสีย ชุมชนบริเวณนั้นจึงมีความประสงคจะขอใชประโยชนพ้ืนที่ ในครั้งแรกไดรับการปฏิเสธอยางสิ้นเชิง เน่ืองจากติดขัดในเรื่องของกฎหมาย นโยบาย และแนวคิดที่ไมตรงกัน แตดวยความตั้งใจที่แนวแนของชุมชนโดยยินยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขตามที่ทางราชการกําหนดทุกประการ จนมาถึงประมาณป พ.ศ. 2550 ภาครัฐมีนโยบายสงเสริมในเรื่องการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้น และเห็นความตั้งใจที่จะอนุรักษของชาวบาน กรมปาไมจึงเริ่มนําแนวความคิดในเรื่องของปาชุมชนเขาไปสงเสริม ประกอบกับขณะนั้นกรมปาไมไดมีโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งสวนสาธารณะ โดยรวมกับสํานักงานพัฒนาชุมชน อําเภอพระประแดง องคการบริหารสวนตําบล คัดเลือกพื้นที่จากทั้ง 6 ตําบล ปรากฏวาตําบลทรงคนองมีศักยภาพสูงสุด ประกอบกับมีพ้ืนที่ที่เหมาะสมที่สุด ทั้งทางดานการคมนาคม ความเชื่อมโยงของชุมชนกับพ้ืนที่ที่มีรูปแบบชัดเจน และกลุมอนุรักษพ้ืนที่สีเขียวที่มีความตั้งใจในเรื่องการอนุรักษ จากนั้นไดจัดทําเวทีประชาคมเปนครั้งแรก เม่ือวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ.2550 และไดรับความรวมมือจากชุมชนในพ้ืนที่ สถาบันราชภัฏพระนคร กรมการพัฒนาชุมชนทั้งสวนกลางและอําเภอพระประแดง องคการบริหารสวนตําบล จัดตั้งเปนคณะกรรมการปาชุมชน จํานวน 11 คน ตอมามีการจัดเวทีประชาคมอีก 2 ครั้ง จึงยื่นขอจัดตั้งปาชุมชนทางเปนทางการ แตยังติดขัดในเรื่องกฎหมายเน่ืองจากเปนที่ราชพัสดุ ปจจุบันยังอยูในขั้นตอนทําหนังสือขอความเห็นจากธนารักษจังหวัดสมุทรปราการ ปาชุมชนแหงน้ีเปนปาชุมชนลักษณะพิเศษ เรียกวา “ปาชุมชนเมือง” การกําหนดกิจกรรมตางๆ เปนไปตามมติของชุมชนทั้งหมด กรมปาไมเปนหนวยงานสนับสนุนทางดานเทคนิค วิชาการ และงบประมาณในการบริหารจัดการปาชุมชน การอบรมราษฎร และการศึกษาดูงาน อาจารยจากมหาวิทยาลัยตางๆ เขามาแนะนําในเรื่องการพัฒนาการมีสวนรวม การจัดตั้ งกลุม เครือขาย รวมถึงเทคนิคทางสถาปนิก การออกแบบพื้นที่ ให เขากับสภาพแวดลอม ภูมิปญญาทองถิ่น เปนการทํางานอยางบูรณาการ ผูนําชุมชนสามารถพัฒนาและตอยอดไดอยางรวดเร็วประกอบกับประชาชนในพื้นที่คอนขางมีการศึกษาสูง ลักษณะการดําเนินงานจึงเปนการมองภาพกวางไปถึงการศึกษาของเยาวชน การสาธารณสุข และเริ่มมีแนวคิดถึงการพัฒนาสิ่งแวดลอม พัฒนาอาชีพ ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน จึงถือเปนการทํางานอยางบูรณาการและมีสวนรวมอยางแทจริง สวนลักษณะพิเศษของชุมชนนี้คือเปนชุมชนที่อยูมานาน มีความสัมพันธกับแบบเครือญาติ สงผลใหเกิดความรวมมือในพื้นที่นั้นไดอยางรวดเร็ว และยังขยายไปยังตําบลขางเคียงในลักษณะปากตอปาก เปนการสรางเครือขายจากภายในซึ่งจะมีความเขมแข็งมากกวาการที่ใหเจาหนาของรัฐเขาไปดําเนินการ ภายในระยะเวลา 1 ป

Page 70: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

73

ปาชุมชนทรงคนองสามารถสรางเครือขายไดทั้ง 6 ตําบล มีตัวแทนของแตละตําบลอยางชัดเจน โดยนําทั้ง 5 ตําบลเขามาศึกษาดูงานในพื้นที่ตําบลทรงคนอง ดังน้ันปาชุมชนเมืองแหงน้ีจึงถือเปนปาชุมชนตนแบบ 5.3.2 การมีสวนรวมของชมุชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว การมีสวนรวมของชุมชนในตําบลทรงคนองในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว ชุมชน โดยมีภาครัฐ กรมปาไม องคการบริหารสวนตําบล พัฒนาชุมชน เกษตรตําบล เปนที่ปรึกษา สงเสริม สนับสนุน และมีสวนรวมตั้งแตการวางแผน การสํารวจพื้นที่ การทํากิจกรรม และมีภาคเอกชนเขามารวมทํากิจกรรมทั้งระยะสั้นและระยะยาว ระยะสั้น เชน การไปรวมกิจกรรมปลูกปาในพื้นที่รวมกับชุมชน ระยะยาว เชน การสงเสริมทางดานศิลปวัฒนธรรม สนับสนุนงบประมาณอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังมีการรณรงค สรางจิตสํานึกโรงเรียน และเยาวชนทั้งในและนอกพื้นที่ โดยจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ กิจกรรมแรลลี่ศึกษาตนไม จัดอบรมเยาวชนเร่ืองระบบนิเวศเพื่อศึกษาธรรมชาติโดยเขาใชพ้ืนที่ปาชุมชนเมืองฯ ในรูปแบบหองเรียนธรรมชาติ กิจกรรมกลางแจง ซึ่งถือเปนสื่อการเรียนการสอนที่ดี สามารถพัฒนาองคความรูตลอดเวลา โดยปาชุมชนเมืองสวนปาเกดนอมเกลาเปนแหลงศึกษาเรียนรู การจัดหาวิทยากรมาถายทอดองคความรูในดานภาษา ศิลปะ หัตถกรรม งานฝมือประเภทตางๆ ซึ่งจัดเปนผังการสอนในตารางเรียนที่แนนอน ทําใหชุมชนเกิดจิตสํานึกรวมในการอนุรักษ 5.3.3 วิธีการของผูนําชุมชนที่จูงใจใหเกิดการมีสวนรวมของชมุชนในการอนุรักษพื้นที่สีเขียวทามกลางการขยายตัวของเมือง วิธีการของผูนําชุมชนที่จูงใจใหเกิดการมีสวนรวมของชุมชน ผูนําชุมชนหาแนวทางที่ใหชุมชนมีสวนรวมในปจจุบันน้ันคอนขางยากเนื่องจากคนในชุมชนสวนมากทํางานในภาคอุตสาหกรรม แตผูนําชุมชนมีความเสียสละสูง ทุมเทแรงกาย แรงใจ ในการอนุรักษพ้ืนที่อยางจริงจัง ศึกษาเรียนรูโครงการใหมๆ ที่ภาครัฐสนับสนุน ประกอบกับเปนผูที่ไดรับความเชื่อม่ันจากคนในชุมชน เม่ือมีการจัดเวทีประชาคมขึ้นตามโอกาส การจัดกิจกรรมเทศกาลตางๆ จึงไดรับความรวมมือจากชุมชนเปนอยางดีในดานการระดมความคิด นอกจากนั้นยังมีการพัฒนาอาชีพ จัดอบรมเยาวชนใหเกิดทักษะในเรื่องศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบาน กิจกรรมทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เชน กลุมจักรยานเพื่อการทองเที่ยว โดยเนนการเชื่อมโยงความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ ชีวิตความเปนอยูในชุมชน รวมถึงความตั้งใจในการลดสภาวะโลกรอน ลดการใชพลังงานที่กอใหเกิดมลภาวะ ซึ่งไดรับความสนใจจากกลุมเยาวชนเหลานี้เปนอันมาก

Page 71: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

74

5.3.4 กฎระเบียบของชุมชนในการอนุรักษพื้นที่สีเขียว เนื่องจากพื้นที่ถูกควบคุมดวยผังเมืองประกอบกับในชุมชนมีความเปนอยูกันในลักษณะเครือญาติอาศัยอยูในพ้ืนที่มาอยางยาวนาน ชุมชนตั้งกฎระเบียบเองซ่ึงเปนกฎระเบียบที่ออกจากภายใน ทําใหสมาชิกของชุมชนเคารพกฎระเบียบของตนเอง จึงไมมีการใชประโยชนในพ้ืนที่เกินกําลังของทรัพยากร 5.3.5 บทบาทของหนวยงานภาครัฐในการจัดการพื้นที่สีเขียว ในการบริหารจัดการพื้นที่แหงน้ีมีความเขมแข็งจากทั้งผูนําชุมชน และหนวยงานภาครัฐ ไดแก กรมปาไม มีการสงเสริม สนับสนุนงบประมาณจัดตั้งปาชุมชนเมือง และดูแลทางดานเทคนิคใหมีสภาพแวดลอมที่ดี รวมถึงจัดตั้งศูนยจัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ เปนหนวยงานในพื้นที่ จัดการฝกอบรมชาวบาน เยาวชน ในโครงการตางๆ และรวมกับ (1) หนวยงานในระดับทองถิ่นในอําเภอพระประแดง ไดแก องคการบริหารสวนตําบลทรงคนอง สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอพระประแดง เกษตรตําบล วัดปาเกด จัดใหมีการพัฒนาอาชีพ อบรมชุมชนในเรื่องเทคนิค วิชาการ ถายทอดองคความรูตางๆ และการปลูกจิตสํานึก รักและหวงแหนถิ่นที่อยูอาศัย (2) สถาบันการศึกษาตางๆ ทั้งในและนอกพื้นที่ เชน โรงเรียนวัดปาเกด มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร รวมกันถายทอดองคความรูตางๆ การที่ปรึกษาใหแกชุมชน นํานักศึกษาเขาเยี่ยมชมชุมชน เขาฝกงาน และเก็บขอมูลเพ่ือทํางานวิจัยในสาขาตางๆ (3) องคกรพัฒนาเอกชน เชน สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องคกรมหาชน) รวมกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทย จัดทําขอมูลและพัฒนาองคความรูดานความหลากหลายทางชีวภาพ และจัดใหมีการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงนิเวศ และ (4) เครือขายจากภาคเอกชน ซึ่งเปนสวนสําคัญในการขับเคลื่อนในการพัฒนา โดยมีองคกรเอกชนหลายแหลงในการสนับสนุนในดานการปลูกตนไมเพ่ือฟนฟูพ้ืนที่สาธารณะที่ถูกทิ้งรางไวเปนเวลานาน ซึ่งดําเนินการรวมกับชุมชน เชน บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) บริษัท โรงไฟฟาราชบุรีโฮลด้ิง (มหาชน) และบริษัทฮอนดา (ประเทศไทย) เปนตน 5.3.6 ประโยชนที่ชุมชนไดรับจากการมีสวนรวมในการอนุรักษพื้นที่สีเขียว ประโยชนที่ชมุชนไดรับสามารถแบงไดเปนประโยชนทางตรงและประโยชนทางออมดังนี้ 5.3.6.1 ประโยชนทางตรง เน่ืองจากชุมชนน้ีเปนชุมชนเมือง การเก็บหาของปา การพ่ึงพิงทรัพยากรนั้น ถึงแมจะมีนอยกวาปาชุมชนในชนบท แตยังคงมีผลผลิตใหเก็บไปสําหรับทําอาหารในครัวเรือน เชน สะเดา ขี้เหล็ก มะพราว มีรายไดจากการเพาะกลาไมของกลุมดอกไมหอม ตําบลทรงคนอง ซึ่งมีอาชีพเพาะชํากลาไมดอก ไมประดับ ไมหายาก ไมทองถิ่น และไมยืน

Page 72: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

75

ตน โดยเฉพาะมะมวงพันธุน้ําดอกไมซึ่งถือเปนจุดเดนของพ้ืนที่ และยังเกิดการจางงาน เชน การขุดดิน ผางหญา หากมีหนวยงานตางๆ หรือบริษัทเอกชน สนใจเขามารวมกิจกรรมในพื้นที่ นอกจากนั้นยังมีกลุมแมบานจัดเตรียมอาหารในทองถิ่นไวบริการ สรางรายไดใหกับคนในพื้นที่และสรางความประทับใจกับผูมาเยือนอีกดวย 5.3.6.2 ประโยชนทางออม คือการที่ชุมชนมีความภาคภูมิใจ การไดรับความสนใจบุคคลจากภายนอก การมีชื่อเสียง ทําใหชุมชนเกิดความรูสึกในความเปนเจาของพื้นที่ มีความหวงแหนและตองการพัฒนาพื้นที่ รวมถึงความภาคภูมิใจในตองการสนองพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในการดูแลรักษาพื้นที่สี เขียว นอกจากนี้ยังใหประโยชนทางดานระบบนิเวศ เปนแหลงเรียนรูที่ มีความสําคัญกับชุมชนเปนอยางมาก ทําใหเยาวชนทั้งในและนอกพื้นที่มีหองเรียนธรรมชาติที่เปนประโยชนตอการศึกษาไดประสบการณอยางแทจริง และสามารถนําวิชาความรูไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนไดในชีวิตประจําวัน อีกทั้งยังมีประชาชน นักวิจัย และผูสนใจ เน่ืองจากเปนพ้ืนที่ที่เปนเอกลักษณที่โดดเดนเปนของตนเอง เปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ และยังใหความรมร่ืน อากาศบริสุทธิ์ สงผลใหเกิดความเขมแข็ง ประชาชนไมยายถิ่น เยาวชนรุนใหม การเกิดเรียนรู สืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นตอไปไดอยางยั่งยืน 5.3.7 ปญหาและการแกไขปญหาของชุมชนในการจัดการพื้นที่สีเขียว 5.3.7.1 ปญหาเกิดจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ทําใหมีการกอสรางอาคารซึ่งขัดตอผังเมืองที่วางไว และจากสภาพความเปนอยูในปจจุบันทําใหประชาชนนอกพื้นที่เขามาอาศัยในลักษณะเปนการเชาที่อยู เพ่ือทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม จึงไมมีความรัก ผูกพันในพ้ืนที่ นอกจากนี้งบประมาณจากหนวยงานภาครัฐยังไมเพียงพอที่จะดูแลพ้ืนที่ ประกอบกับสภาพพื้นที่ที่มีขอจํากัดทางธรรมชาติทําใหไมสามารถปลูกพืช ผัก ผลไม ไดหลายชนิด เนื่องจากเปนที่ที่น้ําเค็มทวมถึงในบางฤดู และเปนที่ที่น้ําจืดจากแมน้ําเจาพระยาไหลหลากในบางฤดู ดังนั้นจึงเปนทั้งประโยชนและขอจํากัดของพื้นที่ 5.3.7.2 แนวทางการแกไขปญหาของชุมชนนั้น คือการรวมกลุมจัดกิจกรรมตาง ๆ ที่ทําใหเกิดจากการมีสวนรวมของชุมชนอยางแทจริง และดําเนินการอยางตอเนื่อง เพ่ือใหเกิดการมีจิตสํานึกจากภายในชุมชน เชน การปฏิบัติการเคาะประตูบานของชุดปฏิบัติการซึ่งเขาพูดคุยถึงปญหา และสรางความเขาใจกับทุกครัวเรือน การสงเสริมใหปลูกพืชประจําถิ่น จัดอบรมเยาวชนในชุมชนโดยตั้งชื่อวา “กลุมเด็กดีเพ่ือพอหลวง” ใหเด็กมาทํากิจกรรมรวมกัน เรียนรูในเรื่องศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งสรางเครือขายไปทั้ง 6 ตําบล เพ่ือรวมมือกันอนุรักษพ้ืนที่สีเขียวไว รวมไปถึงการสืบทอดเจตนารมณใหเยาวชนรุนตอไปใหมีความรัก ทุมเท ในการรักษาพื้นที่สีเขียวใหคงอยู

Page 73: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.1 ขอบเขตพื้นที่ศกึษาโครงการสวนกลางมหานคร ป พ.ศ. 2547

Page 74: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.2 ขอบเขตพื้นที่ศกึษาโครงการสวนกลางมหานคร ป พ.ศ.2553

Page 75: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.3 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกะเจา ในป พ.ศ. 2547

Page 76: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.4 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกะเจา ในป พ.ศ. 2553

Page 77: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.5 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกอบัว ในป พ.ศ. 2547

Page 78: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.6 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกอบัว ในป พ.ศ. 2553

Page 79: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.7 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางน้ําผึ้ง ในป พ.ศ. 2547

Page 80: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.8 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางน้ําผึ้ง ในป พ.ศ. 2553

Page 81: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.9 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางยอ ในป พ.ศ. 2547

Page 82: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.10 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางยอ ในป พ.ศ. 2553

Page 83: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.11 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกระสอบ ในป พ.ศ. 2547

Page 84: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.12 การใชประโยชนที่ดินตําบลบางกระสอบ ในป พ.ศ. 2553

Page 85: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.13 การใชประโยชนที่ดินตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ. 2547

Page 86: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาพที่ 5.14 การใชประโยชนที่ดินตําบลทรงคนอง ในป พ.ศ. 2553

Page 87: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บทที่ 6

สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียว ในโครงการ สวนกลางมหานครจากการขยายตัวของเมือง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ระหวางป พ.ศ. 2547 และ พ.ศ.2553 และหาพ้ืนที่ที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมของชุมชนในโครงการสวนกลางมหานคร ซึ่งเครื่องมือที่ใชในการวิจัยแบงเปน 2 สวน คือ การศึกษาทางกายภาพดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ และการศึกษาทางสังคมใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก สามารถสรุปผลการศึกษาไดดังนี้

6.1 สรุปผลการศึกษา

6.1.1 การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน โครงการสวนกลางมหานคร มีพ้ืนที่ครอบคลุมอยูในอําเภอพระประแดง จังหวัด

สมุทรปราการ ประกอบดวย 6 ตําบล คือ ตําบลบางกะเจา ตําบลบางกอบัว ตําบลบางน้ําผึ้ง ตําบลบางยอ ตําบลบางกระสอบ และตําบลทรงคนอง โดยแบงการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินเปนพ้ืนที่สีเขียว ซึ่งหมายถึง พ้ืนที่ปาไม พ้ืนที่ทางเกษตรกรรม พ้ืนที่สวนสาธารณะ และพ้ืนที่รกราง พ้ืนที่เมือง ซึ่งหมายถึง พ้ืนที่ชุมชนและสิ่งปลูกสรางทั้งหมด ไดผลดังนี้

ผลจากการรวบรวมขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตรในป พ.ศ.2547 พบวาพื้นที่โครงการ สวนกลางมหานคร มีเน้ือที่รวม 9,396.49 ไร โดยแบงเปนพ้ืนที่เมือง 2,566.82 ไร คิดเปน รอยละ 28.32 พ้ืนที่สีเขียว 6,829.67 ไร คิดเปนรอยละ 71.68 ซึ่งหากแบงพ้ืนที่เมืองและพื้นที่ สีเขียวเปนรายตําบล ประกอบดวย ตําบลบางกะเจามีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 19.75 พ้ืนที่ สีเขียว คิดเปนรอยละ 27.94 ตําบลบางกอบัวมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 18.24 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 13.38 ตําบลบางน้ําผึ้งมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 20.78 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปน รอยละ 14.85 ตําบลบางยอมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 31.08 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 18.44 ตําบลบางกระสอบมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 5.47 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 16.88 ตําบลทรงคนองมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 4.68 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 8.50

Page 88: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

77

ผลจากการจัดทําฐานขอมูลจากภาพถายดาวเทียม THEOS ป พ.ศ.2553 พบวาพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร มีเน้ือที่รวม 9,389.10 ไร โดยแบงเปนพ้ืนที่เมือง 2,436.41 ไร คิดเปนรอยละ 25.95 พ้ืนที่สีเขียว 6,952.69 ไร คิดเปนรอยละ 74.05 ซึ่งหากแบงพ้ืนที่เมืองและพ้ืนที่สีเขียวเปนรายตําบล ประกอบดวย ตําบลบางกะเจามีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 17.58 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 28.63 ตําบลบางกอบัวมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 15.51 พ้ืนที่ สีเขียว คิดเปนรอยละ14.47 ตําบลบางน้ําผึ้งมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 21.68 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 14.73 ตําบลบางยอมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 31.57 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 18.80 ตําบลบางกระสอบมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 7.56 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 15.71 ตําบลทรงคนองมีพ้ืนที่เมือง คิดเปนรอยละ 6.10 พ้ืนที่สีเขียว คิดเปนรอยละ 7.67

การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ระหวางป พ.ศ.2547 และ พ.ศ.2553 พบวา พ้ืนที่ทั้งหมดถูกโอบลอมดวยแมน้ําเจาพระยากวารอยละ 85 จึงทําใหในแตละปมีน้ํากัดเซาะตลิ่งเขามาทุกป ดังน้ันจากการวิเคราะหขอมูลจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จะเห็นไดวาป พ.ศ. 2547 มีเน้ือที่ทั้งสิ้น จํานวน 9,396.49 ไร และในป พ.ศ. 2553 มีเน้ือที่ทั้งสิ้น จํานวน 9,389.10 ไร เน่ืองจากมีน้ํากัดเซาะตลิ่งในทุกตําบล ประมาณตําบลละ 20 กวาไร หรือรวมทั้งสิ้นประมาณ 138.83 ไร ภายในระยะเวลา 6 ป สภาพพื้นที่สวนใหญยังคงรูปแบบของสวนเกษตรกรรมดั้งเดิม โครงสรางทางสังคม ประชากร การดํารงชีพ ตลอดจนประเพณี และวัฒนธรรม มีเอกลักษณที่โดดเดนเปนของตนเอง ในแตละตําบลมีประชากรเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น พ้ืนที่โครงการสวนกลางมหานคร พบวามีพ้ืนที่สีเขียวเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 2.37 จากนั้นไดทําการคัดเลือกพ้ืนที่ที่เปนสีเขียวแปลงใหญๆ จากขอมูลทางกายภาพ ซึ่งจะมีพ้ืนที่สีเขียวอยูใน 3 ตําบล คือ ตําบลบางกะเจา ตําบลบางกระสอบ และตําบลทรงคนอง ซึ่งสวนใหญเปนพ้ืนที่ที่เปนที่ราชพัสดุที่กรมปาไมดูแล รับผิดชอบ และผลที่ไดจาการสัมภาษณหัวหนาศูนยจัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ พบวา ตําบลทรงคนอง มีศักยภาพสูงในดานการมีสวนรวม ถึงแมจะมีพ้ืนที่เมืองเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากมีการปลูกสรางอาคารบานเรือน แตเน่ืองจากตําบลทรงคนองมีจุดเดนคือเปนตําบลที่อยูใกลความเจริญเติบโตของเมือง การเขาถึงสะดวก มีความหนาแนนของจํานวนประชากร 12.07 คนตอไร และความหนาแนนครัวเรือน 3.93 ครัวเรือนตอไร ซึ่งหนาแนนที่สุด แตชุมชนยังสามารถรวมตัวกันอยางเขมแขงในการอนุรักษพ้ืนที่มีการปลูกและดูแลตนไม รักษาระบบนิเวศใหมีความสมบูรณมาอยางตอเน่ือง โดยมีภาครัฐเขาไปสนับสนุนชุมชนในรูปแบบของ “ปาชุมชนเมือง สวนปาเกดนอมเกลา”

Page 89: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

78

6.1.2 การมีสวนรวมในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียว จากการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยศึกษาทั้งจากเอกสารและการสัมภาษณเชิงลึกจากผูนําชุมชนและผูแทนของหนวยงานที่เกี่ยวของ จํานวน 4 ราย ซึ่งผูวิจัยกําหนดเวลาในการดําเนินการภายในเดือนเมษายน พ.ศ.2554 สรุปไดวาการมีสวนรวมชุมชนในการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวของตําบลทรงคนอง ซึ่งมีลักษณะเปนพ้ืนที่ปาชุมชนเมืองสวนปาเกดนอมเกลา เปนพ้ืนที่ที่มีการสวนรวมจากทุกภาคสวนอยางบูรณาการ ทั้งภาครัฐ สวนทองถิ่น ภาคเอกชน บริษัท หางราน สถานศึกษา ไดเขารวมทํากิจกรรม ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ระยะสั้น เชน การไปรวมกิจกรรมปลูกปาในพื้นที่รวมกับชุมชน ระยะยาว เชน การสงเสริมทางดานศิลปวัฒนธรรม พัฒนาอาชีพ โดยมีกรมปาไมเปนหนวยงานสนับสนุนทางดานเทคนิค วิชาการ และงบประมาณในการบริหารจัดการปาชุมชน และในสวนของชุมชนเอง ซึ่งมีผูนําชุมชนที่เสียสละ เขมแข็ง และจริงจังในการปฏิบัติหนาที่ สามารถพัฒนาและตอยอดไดอยางรวดเร็ว ลักษณะการดําเนินงานจึงเปนการมองภาพกวางไปถึงการศึกษาของเยาวชน การสาธารณสุข และมีแนวคิดในการพัฒนาสิ่งแวดลอม พัฒนาอาชีพ ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน ประกอบกับประชาชนในพื้นที่คอนขางมีการศึกษาสูง จึงทําใหเกิดความรูความเขาใจในการอนุรักษพ้ืนที่สีเขียวของชุมชนไดเปนอยางดี และยังสามารถขยายเครือขายอีก 5 ตําบลในอําเภอพระประแดง ใหหันมาสนใจในการอนุรักษพ้ืนที่ สีเขียวเอาไว โดยรูปแบบการบริหารจัดการของผูนําชุมชนนั้น เน่ืองจากเปนชุมชนเกา อาศัยรวมกันมานาน จึงทําใหการเขาถึง การทําความเขาใจทําไดโดยไมยาก ประกอบกับพ้ืนที่ดังกลาวเปนพื้นที่ราชพัสดุ และยังถึงควบคุมการผังเมืองอยูแลว การดําเนินการตางๆ จึงทําไปตามกฎหมาย และในสวนของชุมชนเองก็มีลักษณะของการมีสวนรวมอยางแทจริง คือ ชาวบานไดเขามามีบทบาทในการรวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดแกชุมชน การตั้งระเบียบ กติกาทางสังคมขึ้นมาเอง ซึ่งถือเปนกฎ ระเบียบที่ออกจากภายใน ชุมชนจึงรักษากฎ ระเบียบของตัวเองดวยความเต็มใจ และในสวนประโยชนที่ชุมชนไดรับมีทั้งประโยชนทางตรงเชน การมีรายไดจากการเพาะกลาไม กลาไมดอก ไมประดับ ไมหายาก ไมทองถิ่น และไมยืนตน โดยเฉพาะมะมวงพันธุน้ําดอกไมซึ่งถือเปนจุดเดนของพื้นที่ และยังเกิดการจางงานสรางรายไดใหกับคนในพื้นที่ และประโยชนทางออม คือชุมชนมีความภาคภูมิใจ การไดรับความสนใจบุคคลจากภายนอก การมีชื่อเสียง นอกจากนี้ยังใหประโยชนทางดานระบบนิเวศ เปนแหลงเรียนรูที่มีความสําคัญกับชุมชนเปนอยางมาก ทําใหเยาวชนทั้งในและนอกพื้นที่มีหองเรียนธรรมชาติที่เปนประโยชนตอการศึกษาไดประสบการณอยางแทจริง และสามารถนําวิชาความรูไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนไดในชีวิตประจําวัน แตปญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต คือการสืบทอดเจตนารมณของคนรุนถัดไป ซึ่งอาจมีแนวคิดตางกันออกไปเน่ืองจากสังคมรอบขางพัฒนาไปสูความเปนเมืองไปแลว

Page 90: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

79

6.2 อธิปรายผลการศึกษา การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน และพ้ืนที่สีเขียวในโครงการสวนกลางมหานคร ในระหวางป พ.ศ. 2547 และ พ.ศ.2553 พบวาพื้นที่สีเขียวในโครงการฯ เพ่ิมขึ้น เน่ืองจากมีการควบคุมพ้ืนที่โดยผังเมืองที่จัดใหเปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม และที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม ซึ่งเปนการควบคุมอาคาร และสิ่งกอสราง ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ประกอบกับภาครัฐไดจัดซื้อที่ดินเพื่ออนุรักษใหเปนพื้นที่สีเขียว เพ่ือจัดใหเปนสวนสาธารณะ สวนรุกขชาติประจําตําบล ในขณะเดียวกันพ้ืนที่ที่ไมใชที่ของรัฐก็มีการขยายตัวอยางรวดเร็วโดยเฉพาะบริเวณติดถนนสายหลัก บริเวณโรงงานอุตสาหกรรม บางแหงรุกล้ําไปยังพื้นที่สีเขียว และปญหาพื้นที่การเกษตรดั้งเดิมที่ถูกทิ้ง ปลอยใหรกราง สูญหายไปจากการเติบโตและการขยายตัวของเมือง การเปลี่ยนอาชีพไปทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมหรืองานบริการดานอ่ืนๆ จากการศึกษาขอมูลจากเอกสารราชการ การสัมภาษณเชิงลึกกับผูนําชุมชน พบวา การมีสวนรวมของชุมชน เปนแนวทางที่สําคัญในการอนุรักษพ้ืนที่สีเขียว การมีสวนรวมในกิจกรรมการอนุรักษตางๆ ทําใหเกิดจิตสํานึก ความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และสามารถดํารงความเปนพ้ืนที่สีเขียวไวอยางมีคุณภาพ พัฒนาใหชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และยังสามารถขยายเครือขายไปยังพ้ืนที่อ่ืนไดอีกดวย ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของอคิน รพีพัฒน (2527) ไดสรุปวา การที่ประชาชนหรือชุมชนพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากรเพื่อประโยชนในการดํารงชีวิต รวมถึงไดพัฒนาการรับรูและภูมิปญญา ซึ่งแสดงออกในรูปแบบการตัดสินใจในการกําหนดวิถีชีวิต

6.3 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา

6.3.1 ดานนโยบาย ภาครัฐ ควรเรงดําเนินการจัดตั้งปาชุมชนเมืองใหเรียบรอย เพ่ือจะจัดสรรงบประมาณมาดูแลพ้ืนที่อยางตอเน่ือง ตลอดจนรวมมือกับสวนทองถิ่นในการจัดโครงการตางๆ เพ่ือพัฒนาควบคูไปกับการอนุรักษไดอยางสมบูรณแบบ ไมขัดตอกฎ ระเบียบ และเปนแนวทางใหอีกทั้ง 5 ตําบล ดําเนินการตอไป 6.3.2 ดานการสงเสริม ภาคเอกชน หากมีการจัดกิจกรรมปลูกตนไมในพื้นที่ ควรมีการดูแล รักษา ตนไมที่ปลูกไวอยางตอเน่ือง เพ่ือใหตนไมที่ปลูกไวเจริญ เติบโต ซึ่งจากสภาพพื้นที่ที่เปนรองสวนนั้นตองมีการดูแลในเรื่องการขุดลอกรองน้ําเพื่อไมใหน้ําเนาเสียอยูเสมอ

Page 91: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

80

6.3.3 ดานงานวิจัย องคกรเอกชน และสถาบันการศึกษา รวมมือกันศึกษา วิจัย จากศักยภาพของพื้นที่ เพ่ือหาวิธีพัฒนาอาชีพ เพ่ิมรายไดใหกับคนในชุมชน 6.3.4 ดานการพัฒนา ชุมชน ควรสงเสริมใหเยาวชนรุนใหม เขามามีบทบาทในเรื่องการอนุรักษ และพัฒนาพื้นที่อยางตอเน่ือง

6.4 ขอเสนอแนะงานวิจัยในอนาคต

6.4.1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการปองกันการกัดเซาะของตลิ่งบริเวณรอบพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร 6.4.2 ควรมีแนวทางในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางตอเน่ืองเพ่ือเปนการปลูกจิตสํานึกใหนักทองเที่ยวและสามารถเพิ่มรายไดใหกับชุมชน 6.4.3 ควรหาแนวทางการจัดการดูแลรักษาพื้นที่ปาชุมชนเมือง สวนปาเกดนอมเกลา เพ่ือเปนการอนุรักษพันธุไมทองถิ่นใหคงอยูและดูสวยงาม เปนที่นาสนใจ

Page 92: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

บรรณานุกรม

กรมปาไม. 2551. คูมือสําหรับเจาหนาที่ปฏิบัติงานดานปาชุมชน เร่ือง การจัดทําขอมูล

แบบมีสวนรวมเพื่อการจัดการปาชุมชนอยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ

กรมปาไม. 2551. รายงานผลการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทําแผนแมบท เพื่อจัดการที่ดินที่ทางราชการจัดซื้อไวในโครงการสวนกลางมหานคร (บางกะเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. กรุงเทพฯ.

กรมการปกครอง. 2553. รายงานสถิติจํานวนประชากรและบาน รายตําบล ณ เดือนธันวาคม พ.ศ.2553 : อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ.

คนวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2554 จาก http://www.dopa.go.th

จินตนา อมรสงวนสิน. 2552. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสําหรับงานวิจัยดานสังคมและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร : ทิพเนตรการพิมพ.

บริษัท เทสโก จํากัด. 2546. รายงานฉบบัสมสมบูรณโครงการจัดทําแผนแมบทและการจัดการพื้นที่สีเขียวในพื้นที่โครงการสวนกลางมหานคร. กรุงเทพฯ.

พัชรินทร สิรสุนทร. 2552. ชุมชนปฏิบตัิการดานการเรยีนรู แนวคิด เทคนิค และ กระบวนการ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

มัตติกา พนมธรนิจกุล จิรวัฒน เวชแพศย พรชัย ปรีชาปญญา. 2547. การใชประโยชนที่ดิน. กรุงเทพฯ.

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2552. รายงานสถานการณ คุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ.

สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยอีวกาศและภูมิสารสนเทศ. 2554. ความรูพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ. คนวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2554 จาก http://www.gistda.or.th.

สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั. 2533. โครงการบางกะเจา. กรมพัฒนาที่ดิน. แผนประธานการใชที่ดินชายทะเล จังหวัดสมุทรปราการ.

Page 93: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

82

สมพันธ เตชะอธิก รัศมี ทองบุตร ถนัด แสงทอง ดนัย เพชรสังหาร สุภาภรณ เพชรสังหาร. 2544. การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิละเกษตรกรรมยั่งยืน. จังหวัด

ขอนแกน : หจก.โรงพิมพคลังนานาวิทยา.

สมศักดิ์ สุขวงศ. 2550. การจัดการปาชุมชน : เพื่อคนและเพื่อปา. กรุงเทพฯ : บริษัท ทววีัฒนการพิมพจํากัด.

สุริยา วีรวงศ. 2549. วิถีชีวิตชุมชนกับการพึ่งพิงปา. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสงัคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 94: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ภาคผนวก

แบบสัมภาษณเชิงลึกผูนําชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 95: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

84

แบบสัมภาษณเชิงลึก

เร่ือง การบริหารจัดการพื้นทีส่ีเขยีวแบบมสีวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมอืง

ในสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ดวยเทคโนโลยภีูมิสารสนเทศ

เรียน นางเปรมปรีย ไตรรตัน ประธานปาชุมชนเมอืงสวนปาเกดนอมเกลา

นายสราวุธ พิบูลยสวัสดิ์ ผูอํานวยการโรงเรียนวัดปาเกด (ดิษ วิทยาคาร) นางเตือนใจ เสกตระกูล รองนายกองคการบรหิารสวนตําบลทรงคนอง

นายปรีชา องคประเสริฐ นักวิชาการปาไมชํานาญการ สาํนักจัดการปาชุมชน กรมปาไม

ดวย นางสาวสุกัลยา โตสินธุ นักศึกษาปริญญาโท ภาคพิเศษ หลักสตูรการจัดการสิ่งแวดลอม (ภาคพิเศษ) รุนที่ ๗ คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร

ศาสตร ไดเสนอหัวขอเพื่อศึกษาวิชาการคนควาอิสระ เร่ือง การบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมในบริบทการขยายตัวของเมืองในสวนกลางมหานคร (บางกระเจา) อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยการใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ซึ่งมี ผศ.ดร.จินตนา อมรสงวนสิน

เปนอาจารยที่ปรึกษา ในการนี้นักศึกษามีความประสงคจะขอเก็บขอมูลแบบสัมภาษณเร่ืองการบริหารจัดการพื้นที่สีเขียวแบบมีสวนรวมจากทาน เนื่องจากปาชุมชนเมืองในตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปนสถานที่ที่มีความเหมาะสมเปนอยางยิ่งในการดําเนินการศึกษา จึงขอความอนุเคราะหจากทานเพื่อนําขอมูลไปใชประโยชนในการศึกษา

วิชาการคนควาอิสระตอไป ทั้งนี้ นักศึกษาผูมีชื่อขางตนจะเปนผูดํ าเนินการติดตอและประสานงานดวยตนเอง

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุเคราะหในเรื่องดังกลาวดวย จะขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ สุกัลยา โตสินธุ

Page 96: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

85

ขอมูลผูตอบแบบสอบถาม

ชื่อผูใหสัมภาษณ ................................................ นามสกุล ....................................................

ตําแหนง .................................................................................................................................

ขอที่ 1 ความเปนมาของการอนุรักษพื้นทีส่ีเขียวของชุมชนในตําบลทรงคะนอง ขอที่ 2 การมสีวนรวมของชุมชนในตําบลทรงคนองในการบริหารจัดการพื้นทีส่ีเขยีว ขอที่ 3 วิธีการของผูนําชุมชนที่จูงใจใหเกิดการมีสวนรวมของชุมชนในการอนรัุกษพืน้ที่สีเขยีว

ทามกลางการขยายตัวของเมือง ขอที่ 4 กฎระเบียบชองชุมชนในการอนุรักษพื้นทีส่ีเขียว ขอที่ 5 บทบาทของหนวยงานภาครัฐในการจัดการพื้นที่สีเขยีว

ขอที่ 6 ประโยชนที่ชุมชนไดรับจากการมีสวนรวมในการอนุรักษพื้นที่สีเขยีว ขอที่ 7 ปญหาและการแกไขปญหาของชุมชนในการจัดการพื้นทีส่ีเขยีว

Page 97: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

86

ภาพการเก็บแบบสอบถาม

ภาพการสัมภาษณนางเปรมปรีย ไตรรตัน ประธานปาชมุชนเมอืงสวนปาเกดนอมเกลา

ภาพการสัมภาษณนายสราวธุ พิบูลยสวัสดิ์ ผูอํานวยการโรงเรียนวัดปาเกด (ดษิ วิทยาคาร)

ภาพการสัมภาษณนางเตอืนใจ เสกตระกูล รองนายกองคการบริหารสวนตําบลทรงคนอง

Page 98: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

87

ภาพพื้นที่ปาชุมชนสวนปาเกดนอมเกลา

Page 99: ตร ) อม งแวดล อม . 2554library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2554/19675.pdfสวนกลางมหานครจากการขยายต วของเม

ประวัติผูเขียน

ชื่อ ชื่อสกุล สุกัลยา โตสนิธุ

ประวตัิการศกึษา ศิลปศาสตรบณัฑิต (สาขาวชิาบรรณารักษศาสตร

และสารสนเทศศาสตร) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุิต ปที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2542

ตําแหนงและสถานที่ทํางาน ตําแหนง เจาพนักงานเผยแพรประชาสัมพันธชํานาญงาน สถานที่ทํางาน สวนประชาสมัพันธและเผยแพร สํานักบริหารกลาง กรมปาไม