116
ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในชวงเวลาป พ.ศ. 2561 โดย นายกันต อัจฉริยะพิทักษ สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก

ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในชวงเวลาป พ.ศ. 2561

โดยนายกันต อัจฉริยะพิทักษ

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง

มหาวิทยาลัยเกริก

Page 2: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

พ.ศ.2561

Page 3: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

FACTORS AFFECTING THE DECISION MAKING OF THE HOUSE OFREPRESENTATIVES’ ELECTION IN NONTHABURI PROVINCE :

CASE STUDY OF 2561 B.E.

BYMR.GUNT ADCHARIYATPITUK

A STUDYREPORT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THEREQUIREMENTS FORTHEMASTER DEGREE OF POLITICAL SCIENCE INPOLITICAL COMMUNICATIONPOLITICAL COMMUNICATION COLLEGE

KRIRK UNIVERSITY2018

Page 4: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(1)

หัวขอสารนิพนธ ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในชวงเวลาป พ.ศ. 2561

ชื่อผูวิจัย นายกันต อัจฉริยะพิทักษสาขาวิชา/คณะ/ สาขาวิชาสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมืองมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ดร. นันทนา นันทวโรภาสปการศึกษา 2561

บทคัดยอ

การวิจัยเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี :ศึกษาในชวงเวลาป พ.ศ. 2561” มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 2561 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางคุณลักษณะประชากรกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 2561 และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มี ผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 2561 ใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรี จํานวน 400 ตัวอยาง ในการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) บรรยายลักษณะเกี่ยวกับตัวแปรตางๆ คาแจกแจงความถี่ (Frequency) คารอยละ (percentage) คาเฉลี่ย (mean : x̄) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation : S.D.) สถิติเชิงอนุมาน ดวยคาสถิติ t-test และ F-test และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน

ผลการศึกษาพบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 31-40 ป มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท มีการเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรี ตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พบวาภาพรวมอยูในระดับปานกลาง อยูในระดับมากที่สุด จํานวน 1 ขอ อยูในระดับมาก จํานวน 1 ขอ และอยูในระดับนอยที่สุดเรียงลําดับจากมากไปหานอยได ดังน้ี สื่อโทรทัศน รองลงมาคือ สื่ออินเทอรเน็ต และสื่อวิทยุ สื่อหนังสือพิมพ ตามลําดับ

Page 5: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(2)

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยภาพรวมพบวา อยูในระดับมาก อยูในระดับมากที่สุด จํานวน 3 ขอ และอยูในระดับมาก จํานวน 2 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอยไดดังน้ี ดานนโยบายของผูสมัคร รองลงมาคือ ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานพรรคการเมือง ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคลตามลําดับ

ผลการทดสอบสมมติฐานพบวา เพศ และอายุ ไมมีความสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอ การตัดสินใจเลือกต้ัง คือ ประชาชนที่มีเพศและอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สวนระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดมีความสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง กลาวคือ ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05

Page 6: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(3)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธฉบับน้ี สําเร็จลุลวงลงไดดวยดี ดวยความกรุณาเปนอยางสูงจากทานอาจารย ที่ปรึกษา ดร.นันทนา นันทวโรภาส ที่ใหคําแนะนํา แกไขขอบกพรอง และขอคิดเห็นตางๆ ในการวิจัยคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณ คณาจารย ตลอดจนผูตอบแบบสอบถามทุกทาน ที่ก รุณาสละเวลาใหขอมูลอันเปนประโยชนอยางยิ่งในการทําวิจัย

ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และเพื่อนๆ ที่คอยใหกําลังใจ เปนแรงผลักดันในการทําสารนิพนธฉบับน้ีจนประสบความสําเร็จ

นายกันต อัจฉริยะพิทักษมหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2561

Page 7: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(4)

สารบัญ

หนาบทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (3)สารบัญ (4)สารบัญตาราง (6)สารบัญภาพ (9)บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคในการวิจัย 31.3 สมมติฐานในการวิจัย 31.4 ขอบเขตของการวิจัย 31.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 41.6 คํานิยามศัพทที่เก่ียวของ 4

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวของ2.1 ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารทางการเมือง 52.2 แนวคิดเก่ียวกับการตัดสินใจเลือกต้ัง 192.3 งานวิจัยที่เก่ียวของ 262.4 กรอบแนวคิดการวิจัย 33

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 343.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 353.3 การตรวจสอบความเที่ยงของเครื่องมือ (reliability) 363.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 373.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 37

Page 8: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(5)

สารบัญ (ตอ)

หนาบทที่ 4 ผลการวิจัย

4.1 ขอมูลสวนบุคคล 394.2 การเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรี ตอการตัดสินใจเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี 434.3 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของ จังหวัดนนทบุรี 444.4 การทดสอบสมมติฐาน 50

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ5.1 สรุปผลการวิจัย 815.2 อภิปรายผล 855.3 ขอเสนอแนะ 91

ภาคผนวก 92แบบสอบถาม 93

บรรณานุกรม 100ประวัติผูวิจัย 103

Page 9: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(6)

สารบัญตาราง

หนาตารางท่ี3.1 เกณฑการวัดระดับความสัมพันธ 314.1 ขอมูลสวนบุคคล จําแนกตามเพศ 394.2 ขอมูลสวนบุคคลจําแนกตามอายุ 404.3 ขอมูลสวนบุคคลจําแนกตามระดับการศึกษา 40

4.4 ขอมูลสวนบุคคล จําแนกตามอาชีพ 41 4.5 ขอมูลสวนบุคคลจําแนกตามรายไดตอเดือน 42 4.6 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการเปดรับสื่อ

ของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี 43

4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยภาพรวม 44

4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานคุณลักษณะของผูสมัคร 45

4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัคร 46

4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานพรรคการเมือง 47

4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานการรณรงคหาเสียง 48

Page 10: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(7)

สารบัญตาราง (ตอ)หนา

ตารางท่ี4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอ

การตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานอิทธิพลสื่อบุคคล 49

4.13 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีจําแนกตามเพศ 50

4.14 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีจําแนกตามอายุ 51

4.15 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานพรรคการเมืองจําแนกตามอายุ 53

4.16 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามระดับการศึกษา 54

4.17 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานผูสมัครรับเลือกต้ังจําแนกตามระดับการศึกษา 57

4.18 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัครจําแนกตามระดับการศึกษา 58

4.19 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงจําแนกตามระดับการศึกษา 59

4.20 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานอิทธิพลสื่อบุคคลจําแนกตามระดับการศึกษา 61

4.21 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวมจําแนกตามระดับการศึกษา 62

Page 11: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(8)

สารบัญตาราง (ตอ)

หนาตารางท่ี4.22 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามอาชีพ 644.23 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงจําแนกตามอาชีพ 67

4.24 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานอิทธิพลสื่อบุคคลจําแนกตามอาชีพ 68

4.25 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวมจําแนกตามอาชีพ 69

4.26 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามรายไดตอเดือน 71

4.27 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานคุณลักษณะของผูสมัครจําแนกตามรายไดตอเดือน 74

4.28 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัครจําแนกตามรายไดตอเดือน 75

4.29 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงจําแนกตามรายไดตอเดือน 76

4.30 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานอิทธิพลสื่อบุคคลจําแนกตามรายไดตอเดือน 77

Page 12: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(9)

สารบัญตาราง (ตอ)

หนาตารางท่ี4.31 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ

เลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวมจําแนกตามรายไดตอเดือน 79

4.32 ผลการวิเคราะหสหสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี 80

Page 13: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(10)

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา2.1 แบบจําลองของ David K. Berlo 72.2 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของ ไบรอัน แมคแนร 11

Page 14: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการเลือกต้ังเปนกลไกแสดงเจตนารมณที่มีเหตุผลของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย

ถือวาเปนการปกครองที่ใหสิทธิเสรีภาพแกประชาชนมากกวาระบอบอ่ืนๆ และเปนระบบการเมืองที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองมากที่สุด แสดงเจตนารมณของประชาชนกลาวคือ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยน้ัน ไมสามารถจะใชการปกครองโดยตรง ฉะน้ันจึงจําเปนที่จะตองใชประชาธิปไตยโดยทางออม คือ เลือกตัวแทนที่เปนสมาชิกพรรคการเมืองเขามาปฏิบัติหนาที่ในสภา ถาพรรคการเมืองใดไดเสียงขางมากก็แสด งใหเห็นวาความตองการของประชาชนสวนใหญเห็นดวยกับนโยบายของพรรคการเมืองน้ัน เพราะการเลือกต้ังเปนการแสดงออกซึ่งเจตนารมณของประชาชนเปนเจาของประเทศในอันที่จะมอบความไววางใจในตัวแทนของปวงชนไปใชอํานาจแทนตน การออกเสียงเลือกต้ังเปนสิทธิขั้นมูลฐานของมนุษยโดยเฉพาะสังคมประชาธิปไตย รัฐสภาจึงเปนสถาบันการเมืองที่สําคัญในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย เพราะรัฐสภาทําหนาที่ในการตรากฎหมายออกมาเพื่อใชในการบริหารประเทศ1 และการเลือกต้ังเปนกิจกรรมสําคัญอยางหน่ึงในกระบวนการทางการเมืองเพราะเปนที่มาของความชอบธรรมในการปกครอง และเปนชองทางที่เปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวม ในการกําหนด หรือเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายของผูบริหารที่ตนเองเลือกเขาไปการเลือกต้ัง จึงกลายเปนหัวใจสําคัญที่ตองจัดใหมีขึ้นในทุกระดับของประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การที่ประชาชนจะไดผูบริหารที่มีประสิทธิภาพ หรือเปนตัวแทนของตนเองไดอยางแทจริงหรือไมน้ันขึ้นอยูกับวาประชาชนจะสามารถตัดสินใจเลือกบุคคลที่มีความสามารถเขาไปทําหนาที่ตามความตองการของตนเองไดหรือไม และที่สําคัญยิ่งกวาน้ันการตัดสินใจของประชาชนที่เกิดขึ้นเปนไปอยางอิสรเสรีเพียงใด ทั้งน้ีเพราะในสภาพความเปนจริงน้ัน การไปใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนเปนเพียงผลพวงขั้นสุดทายของกระบวนการทางการเมืองของสังคมน้ัน อยางไรก็ตามการที่จะสามารถดําเนินการใหเปนไปตามหลักการเชนน้ีได จะตองมีปจจัยและองคประกอบอ่ืนๆอีกเปนจํานวนมาก2

1มานิตย นวลลออ. การเมืองไทยยุคสัญลักษณรัฐไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะสังคมศาสตรภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร, 2540.

2สมบัติ จันทรวงศ. การเมืองเร่ืองการเลือกต้ัง : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกต้ังทั่วไป พ.ศ.2529. กรุงเทพมหานคร:มูลนิธิเพ่ือการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา, 2530

Page 15: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

2

จังหวัดนนทบุรีเปนจังหวัดที่มีความสําคัญจังหวัดหน่ึงในภาคกลางของประเทศไทย จัดต้ังขึ้นคร้ังลาสุดโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใชบังคับต้ังแตวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2489 ปจจุบันจังหวัดนนทบุรี จัดเปนพื้นที่ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร มีขนาดเน้ือที่ใหญเปนอันดับที่75 ของประเทศ แตมีประชากรหนาแนนเปนอันดับที่ 2 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรีเปนจังหวัดที่มีความสําคัญมากจังหวัดหน่ึง เน่ืองจากเปนจังหวัดที่มีความเปนอยูแบบกึ่งเมือง กึ่งชนบท เพราะในกรุงเทพมหานครน้ันมีความแออัด ประชาชนจึงไดอพยพออกมาอาศัยอยูในจังหวัดนนทบุรีจํานวนมาก ซึ่งจังหวัดนนทบุรีมีการคมนาคมที่สะดวก มีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเน่ือง โดยจังหวัดนนทบุรีแบงออกเปน 6 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองนนทบุรี อําเภอบางกรวย อําเภอบางใหญ อําเภอบางบัวทอง อําเภอไทรนอย และอําเภอปากเกร็ด มีประชาชนทั้งหมด 1,141,673 คนเปนชาย 535,711 คน และหญิง 605,962 คน และเปนประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังจํานวน 838,452 คน มีเขตการเลือกต้ังทั้งหมด 6 เขต มีสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จํานวน 6 คน โดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจากการเลือกต้ังลาสุดเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 น้ันเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจากพรรคเพื่อไทยทั้งหมด ไดแก เขต 1 นายนิทัศน ศรีนนท เขต 2 นายอุดมเดช รัตนเสถียร เขต 3 นางวิไลพร อัจฉริยะประสิทธิ์ เขต 4 นายมนตรี ต้ังเจริญถาวร เขต 5 นายวันชัย เจริญนนทสิทธิ์ เขต 6 นายฉลอง เร่ียวแรง3

ซึ่งพรรคเพื่อไทยไดเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี มากกวาการเลือกต้ังเมื่อป 2550 ที่ไดเพียง 3 ที่น่ัง ไดแก นายนิทัศน ศรีนนท นายอุดมเดช รัตนเสถียร และพันเอกอภิวันท วิริยะชัย ที่เหลือเปนสมาชิกผูแทนราษฎรจากพรรคประชาธิปตย 2 ที่น่ัง ไดแก นายสมบัติ สิทธิกรวงศ และ นายทศพล เพ็งสม ผูแทนราษฎรจากพรรคภูมิใจไทย 1 คน ไดแก นายมานะศักด์ิ จันทรประสงค4

ปจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับป 2560 ผานการลงประชามติและประกาศใชเปนที่เรียบรอยแลวจึงคาดหมายกันวาจะมีกําหนดการเลือกต้ังในเร็ววันน้ี ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในชวงป พ.ศ. 2561 เพื่อตอยอดองคความรูทางดานสื่อสารการเมืองตอไป

1.2 วัตถุประสงคในการวิจัย

3คณะกรรมการการเลือกต้ังจังหวัดนนทบุรี, กรกฎาคม 2554.4คณะกรรมการการเลือกต้ังจังหวัดนนทบุรี, ธันวาคม 2550.

Page 16: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

3

1. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีในชวงเวลาป 2561

2. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางคุณลักษณะประชากรกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 2561

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 2561

1.3 สมมติฐานในการวิจัย1. ลักษณะทางประชากรศาสตรของประชาชนในจังหวัดนนทบุรีมีความสัมพันธกับการ

ตัดสินใจเลือกต้ัง2. การเปดรับสื่อของประชาชนในจังหวัดนนทบุรีมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ัง

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

1.4 ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตดานเน้ือหา

มุงศึกษาเฉพาะผูมีสิทธิเลือกต้ังที่อาศัยอยูในจังหวัดนนทบุรี จํานวน 840, 782 คน5

ขอบเขตดานระยะเวลาศึกษาในชวงระยะเวลาเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม 2560

ขอบเขตดานตัวแปรตัวแปรอิสระ ไดแก คุณลักษณะของประชากรและพฤติกรรมการเปดรับสื่อ

คุณลักษณะของประชากร เชน เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได อาชีพ รายไดตอเดือนตัวแปรตาม ไดแก การตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี โดย

มีปจจัยในดานตางๆ เชน ดานคุณสมบัติผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบาย ดานการรณรงคหาเสียงดานสื่อบุคคล ดานพรรคการเมืองและบริบททางการเมือง

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

5สํานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังประจําจังหวัดนนทบุรี, ขอมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559.

Page 17: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

4

1. ไดทราบถึงปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี2. ไดทราบถึงความสัมพันธระหวางคุณลักษณะประชากรกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ

เลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 25603. ไดทราบถึงความสัมพันธระหวางระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ

เลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ในชวงเวลาป 2560

1.6 คํานิยามศัพทท่ีเกี่ยวของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง หมายถึง ปจจัยที่ประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังใช

ตัดสินใจในการเลือกต้ังอันประกอบดวยปจจัยดานตัวผูสมัคร ปจจัยดานพรรคการเมือง ปจจัยดานนโยบายพรรค ปจจัยดานการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง ปจจัยดานสื่อบุคคลที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

สมาชิกสภาผูแทนราษฎร หมายถึง บุคคลผูไดรับการเลือกต้ังจากประชาชนในพื้นที่ตามเกณฑที่กฎหมายรัฐธรรมนูญกําหนดไปทําหนาที่เปนตัวแทนของประชาชนในสภาผูแทนราษฎร

การเปดรับสื่อ หมายถึง การเปดรับสื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ สื่อหนังสือพิมพสื่อนิตยสารสื่ออินเตอรเน็ต โดยแบงระดับความถี่ของการเปดรับสื่อ เปนดังน้ี

มากที่สุด หมายถึง เปดรับทุกวันๆ ละ 4-5 ชั่วโมงมาก หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 5-6 วันๆ ละ 3-4ชั่วโมงปานกลาง หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 3-4 วันๆ ละ 2-3 ชั่วโมงนอย หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 1-2 วันๆ ละ 1-2 ชั่วโมงนอยที่สุด หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 1 วันๆ ละไมเกิน 1 ชั่วโมง

Page 18: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิัยที่เก่ียวของ

การศึกษาวิจัยเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในหวงเวลาป 2560” คร้ังน้ีผูวิจัยไดคนควาแนวคิดตาง ๆรวมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อประโยชนในการกําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังน้ี

2.1 ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารทางการเมือง2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกต้ัง2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.4 กรอบแนวคิดการวิจัย

2.1 ทฤษฎีการสื่อสารและการสื่อสารทางการเมืองทฤษฎีการสื่อสารประกอบดวยคํา 2 คํา คือ "ทฤษฎี" และ "การสื่อสาร “ความหมายของคําวา

ทฤษฎีคือ ขอความที่อธิบายขอเท็จจริงหรือปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นแลวไดรับการตรวจสอบและไดรับการยอมรับกันพอสมควรการสื่อสาร (Communication) มีรากศัพทมาจากภาษากรีกวาCommunism แปลวา ทําใหเหมือน ซึ่งตอมาไดมีนักวิชาการใหความหมายของการสื่อสารไวมากมาย ดังที่ ปรมะ สตะเวทิน1 ไดรวบรวมไวดังน้ี

อริสโตเติล (Aristotle) อธิบายวา การสื่อสารหรือวิชาวาทศิลป (Rhetoric) คือ การจูงใจทุกรูปแบบ

จอรจ เอ มิลเลอร (George A. Miller) กลาววา การสื่อสารหมายถึง การถายทอดขาวสารจากที่หน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง

เอเวอเร็ตเอ็ม โรเจอร และเอฟฟลอยดชูมัคเกอร (Everett M. Roger & Floyd Shoemaker) ใหความหมายของการสื่อสารวา การสื่อสารคือ กระบวนการในการแลกเปลี่ยนขาวสารความคิดเ ห็นทัศนคติระหวางบุคคลกับบุคคลหรือกลุมบุคคลโดยผานทางการพูด การเขียน กิริยาทาทางการแสดงออก เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน ระหวางผูสงและผูรับสารมากที่สุด

จอรจ เกิรบเนอร (George Gerbner) เสนอวาการสื่อสาร คือ การแสดงปฏิสัมพันธทางสังคมดวยการใชสัญลักษณ และระบบสาร (Message Systems)

1นันทนา นันทวโรภาส. ส่ือสารการเมือง: ทฤษฎีและการประยุกตใช. กรุงเทพมหานคร: แมสมีเดีย, 2557, หนา 1.

Page 19: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

6

ดังน้ัน ทฤษฎีการสื่อสารจึงนาจะ หมายถึง คําอธิบายขอเท็จจริงหรือปรากฏการณของกระบวนการสื่อสารที่ตรวจสอบแลวหรือยอมรับกันแลวตามสมควร น่ันก็คือยอมรับวาหากเกิดปรากฏการณหรือเหตุการณเชนน้ีขึ้นจะเรียกเหตุการณหรือปรากฏการณน้ันวา "ทฤษฎีการสื่อสาร"2

บิงแฮม จี เพาเวอรและแกเบรียล เอ อัลมอนด3 (Bingham G. Powell and Gabriel A. Almond)กลาววา การสื่อสารทางการเมืองเปนหนาที่พื้นฐานหน่ึงของโครงสรางระบบการเมือง และเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมทางการเมืองในกระบวนการกลอมเกลาทางการเมือง โดยเปนตัวกําหนดความตองการขอมูลขาวสารภายใตบทบาทขององคกรตางๆ เมื่อมีการไหลของขอมูลขาวสารในระบบการเมือง วิเคราะหและเปรียบเทียบโครงสรางที่แสดงถึงหนาที่ของการสื่อสารที่เกิดขึ้น เมื่อตองการทราบวาผูนําคนใด มีแนวนโยบายอยางไร รวมทั้งการกระทําของรัฐบาล เพื่อประเมินและควบคุมการทํางาน รวมทั้งพยายามที่จะมีอิทธิพล และควบคุมผูนําภายใตบทบาทของกลุมตางๆและประสานงานกับกลุมอ่ืนๆ เพื่อแสดงความตองการถึงผูนําอยางมีประสิทธิภาพ

ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองทฤษฎีการสื่อสารทางการเมือง คือ การอธิบายการสื่อสารดานความหมายกระบวนการ

องคประกอบ วิธีการ บทบาทหนาที่ ผล อิทธิพล การใช การควบคุม แนวคิดของศาสตรตางๆแนวโนมอนาคต และปรากฏการณเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมือง ซึ่งสรุปและนําเสนอไดดังน้ี

ในป ค.ศ.1960 David K. Berlo4 ไดเสนอแบบจําลองที่เนนความสําคัญขององคประกอบสําคัญ 4 ประการในกระบวนการสื่อสาร ไดแก ผูสงสาร (Sender) สาร (Messages) ชองทางของสาร (ChannelS) และผูรับสาร (Receivers) แบบจําลองของ David K. Berlo มักถูกอางถึงโดยเรียกสั้นๆ วา S-M-C-R ตามคําจํากัดความของ David K. Berlo ผูสงสาร คือ บุคคลใดบุคคลหน่ึงหรือ กลุมบุคคล ที่มีเจตนาที่จะสื่อสาร สาร คือ การแปลความหมายของความคิดเห็นใหอยูในรูปรหัส สัญลักษณ เชน ภาษา หรือ ทาทางที่แสดงออก ชองทางของสาร คือ สื่อที่สารจะถูกสงผานและ ผูรับสาร คือ บุคคลที่เปนเปาหมายของการสื่อสารแบบจําลองของ David K. Berlo มีดังน้ี

2อรนุช เลิศจรรยารักษ และดาราวรรณ สุขุมาลชาติ. ทฤษฎีการส่ือสารเบ้ืองตน. พิมพคร้ังที่ 7. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2535.

3Almond Gabriel and Bingham G. Powell, Jr.Comparative Politics:System, Process, and Policy. 2ndedition. Boston:Little Brown, 1978 .

4 David K. Berlo. The Process of Communication. New York: Rinehart Press, 1960.

Page 20: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

7

ภาพท่ี 2.1 แบบจําลองของ David K. Berlo

แบบจําลองของ David K. Berlo ไดระบุวาจําเปนตองมีผูเขารหัสและผูถอดรหัสในกระบวนการสื่อสาร ผูเขารหัส (Encoder) รับผิดชอบในการแสดงวัตถุประสงคของผูสงสารในรูปของสารในการสื่อสารแบบสองตอสอง (เผชิญหนากัน) การเขารหัส คือ การออกเสียงและการเคลื่อนไหวกลามเน้ือของผูสงสาร (ซึ่งผลิตทั้งวัจนสาร และอวัจนสาร) แตอยางไรก็ตาม เปนไปไดที่จะมีบุคคลอีกผูหน่ึงทําหนาที่เขารหัสสาร ตัวอยางเชน โฆษกรัฐบาลทําหนาที่เปนผูเขารหัสในการแถลงขาวใหสื่อมวลชนทราบในทํานองเดียวกันผูรับสารจะเปนผูถอดรหัสเพื่อแปลความหมายสารที่เขาไดรับแตสวนมากแลวผูถอดรหัสก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งหลายของผูรับสารน่ันเอง เชน ในการสื่อสารแบบเผชิญหนาแบบกลุมยอยและการพูดในที่ชุมชน ชองทางของสาร (Channels) ก็คืออากาศที่คลื่นเสียงสามารถเดินทางผานไดสําหรับการสื่อสารมวลชน ชองทางของสารมีหลายชนิดดวยกัน คือ โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพและหนังสือตาง ๆ

แบบจําลองของ David K. Berlo ยังไดอธิบายถึงปจจัยสวนตัวบางอยางที่มีผลกระทบตอกระบวนการสื่อสารดวยปจจัยเหลาน้ัน คือ ทักษะในการสื่อสาร ทัศนคติความรูระบบสังคมและวัฒนธรรมทั้งของ ผูสงสารและผูรับสาร

Page 21: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

8

องคประกอบของกระบวนการสื่อสารแบบจําลอง S-M-C-R ของ David K. Berlo ไดใหความสําคัญกับองคประกอบตางๆ คือ1. ผูสงสาร (Sender) หมายถึง บุคคลที่ทําการสื่อสารซึ่งเปนผูถายทอดความคิดตางๆ โดย

ตองเปนผูที่มีทักษะ ความชํานาญในการสื่อสาร มีความสามารถในการเขารหัส (Encode) มีเจตคติที่ดีตอผูรับสารเพื่อผลในการสื่อสาร มีความรูอยางดีเกี่ยวกับขอมูลขาวสาร มีความสามารถในการปรับระดับของขอมูลน้ันใหเหมาะสมและงายตอระดับความรูของผูรับสาร ทั้งน้ีผูสงสารจะทําการสื่อสารไดดีมากนอยเพียงใดน้ัน ขึ้นอยูกับคุณลักษณะของผูสงสารตอไปน้ี

1.1 ทักษะในการสื่อสาร ไดแก ความสามารถในการพูด การเขียน การแสดง อากัปกิริยาและการมีเหตุผล ตัวอยาง เชน ถาผูสงสารมีปญหาในการพูด พูดไมชัด การลําดับเร่ือง ในการพูดหรือ พูดไมตอเน่ือง ผูสงสารก็ยอมสงสารไดอยางไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร

1.2 ทัศนคติเปนความรูสึกภายในบุคคล โดยไดรับอิทธิพลจากความรูประสบการณคานิยม ฯลฯ การสื่อสารจะมีประสิทธิภาพก็ตอเมื่อผูสงสารน้ันมีทัศนคติที่สอดคลองกับสารที่จะสงออกไป

1.3 ความรูเปนองคประกอบที่สําคัญในอันที่จะใหผูรับสารไดรับความรูที่ถูกตอง และครบถวน หากผูสงสารเองขาดความรูความเขาใจในเร่ืองที่จะสื่อสาร สื่อสารไมถูกตองและไมสมบูรณแลว ประสิทธิผลที่จะไดรับก็จะลดลง

1.4 ระบบสังคม เปนตัวกําหนดใหผูสงสารมีบทบาทหนาที่ หรือ ตําแหนงในสังคมเปนอยางใดอยางหน่ึง ตัวอยางเชน ถาผูสงสารมาจากภาครัฐและภาคเอกชนยอมจะมีผล ตอความเชื่อความศรัทธา หรือ การยอมรับในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงแตกตางกัน

1.5 วัฒนธรรม ไดแก ขนบธรรมเนียมประเพณีคานิยม ความเชื่อที่มีอิทธิพลตอ ผูสงสารในการสื่อสาร เชน บางเร่ืองผูสงสารอาจจะไมคอยสบายใจในการใหขาวสารเพราะขัดกับวัฒนธรรมของตนเอง เปนตน

2. สาร (Messages) หรือขาวสารน้ันเปนผลผลิตในการแปรความคิด ความรูและประสบการณของผูสงสาร โดยสารน้ันจะเปนเร่ืองราวที่มีความหมายหน่ึงที่ผูสงสารตองการที่จะ ถายทอดไปยังผูรับสารโดยมีจุดมุงหมายใหผูรับสารไดมีความรูรวมกันหรือเพื่อใหผูรับสาร ตอบสนองอยางใดอยางหน่ึง โดยนําประสบการณที่จะถายทอดออกไป มาแปลเปนสัญลักษณใน รูปแบบตางๆ เชน ภาษาหรืออากัปกิริยาทาทาง เปนตน แลวสงผานชองทางการสื่อสารหรือสื่อ เชน การเขียน การพูด เปนตนไปยังผูรับสาร รหัสของสาร (Message Code) หมายถึง ภาษาหรือสัญลักษณที่มนุษยไดคิดขึ้นมาเพื่อใชแทนความคิดในการสื่อสารรหัสของสารน้ันมีอยู 2 อยาง คือ

1. รหัสของสารที่เปนถอยคํา หรือ วัจนภาษา ไดแก ภาษาน้ันเอง

Page 22: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

9

2. รหัสของสารที่ไมใชถอยคํา หรือ อวัจนภาษา ไดแก สัญลักษณตางๆ เชน สัญญาณไฟของหอคอยที่เกาะลานเมืองพัทยา สัญญาณธงของทหารเรือ เน้ือหาของสาร (Message Contents)หมายถึง เน้ือหาของเร่ืองราวตางๆ ที่ครอบคลุมถึงความคิด ความรูประสบการณที่รวบรวมไวตามที่ผูสงสารตองการถายทอดออกไปสูผูรับสารเน้ือหาของสารน้ันจะมีอยู 2 ลักษณะ คือ

1. เน้ือหาของสารที่เปนขอเท็จจริง เชน การสรางถนน การสรางโรงบําบัดนํ้าเสีย การนําสิ่งของไปชวยเหลือผูประสบภัยจากนํ้าทวมของนายกเมืองพัทยา

2. เน้ือหาของสารที่เปนความคิดเห็น เชน การใหสัมภาษณของนายกเมืองพัทยาในวาระ ที่เมืองพัทยาไดจัดกิจกรรมชวยสนับสนุนประชาชนในการทําผลิตภัณฑของชุมชน สวนการจัดสารหมายถึง การนําเน้ือหาของสารมาจัดลําดับหรือเรียบเรียงในรูปแบบหน่ึงเพื่อใหเหมาะสมกับสื่อและผูรับสาร เชน การเขียนบทความเพื่อเผยแพรทางวิทยุกระจายเสียงอาจจัดใหมีเน้ือหาที่เปนภาษางายๆ หลีกเลี่ยงศัพทเทคนิค มีลําดับขอหรือขั้นตอนกอน-หลัง ใหสอดคลองตอเน่ือง มีความกะทัดรัดและไมยาวเกินไป

3. ชองทางหรือสื่อ (Channels/Media) หมายถึง พาหนะที่นําสารจากผูสงสารไปยังผูรับสารโดยสงสารเขาไปสูประสาทสวนใดสวนหน่ึงหรือหลายๆ สวนของผูรับสาร ประสาท เหลาน้ีไดแก ประสาทตา คือ การมองเห็น ประสาทหู คือ การไดยิน ประสาทจมูก คือ การไดกลิ่น ประสาทกายคือ การสัมผัส ประสาทลิ้น คือ การลิ้มรส

4. ผูรับสาร (Receivers) หมายถึง บุคคลที่เปนเปาหมายทางการสื่อสารโดยบุคคลผูน้ีจะทําการถอดรหัสสาร ที่สงมาจากผูสงสารใหมีความหมายหน่ึงซึ่งควรจะเปนความหมายเดียวกันกับผูสงสารประสิทธิภาพในการถอดรหัสหรือการสื่อสารอันเน่ืองจากผูรับสารน้ันจะผันแปรไปตามลักษณะในการสื่อสารทัศนคติความรูระบบสังคมและวัฒนธรรมของผูรับสาร

ในกระบวนการสื่อสารไมวาจะเปนผูสงสารสารชองทางในการสื่อสารและผูรับสารจะตองขึ้นอยูกับลักษณะของภูมิหลังหรือประสบการณการที่มีภูมิหลังแตกตางกันอาจจะทําใหการสื่อสารเขาใจกันดีหรือแตกตางกันไดตามภูมิหลังในเร่ืองตางๆ ดังน้ี

1. เพศ ผูหญิงและผูชาย มีลักษณะทางจิตวิทยาแตกตางกันมีโลกทัศนไมเหมือนกันทําใหรสนิยม การมอง การยอมรับและความพอใจกับสิ่งตางๆ แตกตางกันไป

2. อายุ วัยที่แตกตางกัน เชน วัยเด็ก วัยรุน วัยกลางคน วัยชรา มีผลเกี่ยวกับรสนิยม การมีมุมมอง การยอมรับและความพอใจกับสิ่งตางๆ แตกตางกันไป

3. สถานภาพการสมรส ผูที่เปนคนโสดกับผูที่สมรสแลวจะมีการตัดสินใจแตกตางกันคนที่สมรสแลวการตัดสินใจจะรอบคอบในขณะที่คนโสดการตัดสินใจดานตางๆ ทําไดเร็วกวา

Page 23: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

10

4. ระดับการศึกษา การศึกษาจะชวยใหคนเรามีพื้นฐานความรูและประสบการณแตกตางกันและทําใหความสามารถในการรับสารของแตละบุคคลแตกตางกันดวย

5. อาชีพ เปนตัวกําหนดบทบาทและรายไดของคนในสังคม จากบทบาทน้ีจะทําใหคนเกิดการเรียนรูคานิยม ทัศนคติและโลกทัศนแตกตางกัน

6. รายไดผูที่มีฐานะทางเศรษฐกิจแตกตางกันทําใหอํานาจซื้อและการตัดสินใจแตกตางกัน7. ภูมิลําเนา ผูที่อยูในเมืองและสวนภูมิภาคจะมีความคิดและการมองโลกแตกตางกัน ดังน้ัน

สรุปไดวาการสื่อสารเปนกิจกรรมที่แพรหลายทั่วไป ทําหนาที่สําคัญหลายประการในสังคมและชีวิตสวนตัวของเรา กระบวนการของการสื่อสารทําใหมนุษยสามารถควบคุมสภาวะแวดลอมไดการสื่อสารยังชวยสรางและรักษาความสัมพันธทางสังคมซึ่งก็เปนผลใหมนุษยสามารถพัฒนาตนเองไดในฐานะเปนปจเจกบุคคล การสื่อสาร เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆที่ประกอบขึ้นมาเปนกระบวนการน้ัน กระบวนการของการสื่อสารดําเนินไปอยางตอเน่ืองเปนการยากที่จะกําหนดวาตรงไหน คือ ตอนเร่ิมตน ตอนกลางหรือตอนจบ การสื่อสารทุกรูปแบบ เกี่ยวของกับการถายทอดความหมาย ระหวางผูสงสารและผูรับสารปฏิกิริยาสะทอนกลับเปนปฏิกิริยาที่ผูรับสารตอบสนองที่ไดรับสารในกระบวนการของการสื่อสารการสื่อสารทุกประเภทกอใหเกิดผลกระทบ ผลกระทบน้ีจะเกิดขึ้นกับผูรับสาร หรือผูสงสารฝายใดฝายหน่ึง หรืออาจเกิดขึ้นกับทั้ง 2 ฝายก็ได นักนิเทศศาสตรบางคนเชื่อวาพฤติกรรมทุกรูปแบบเปนการสื่อสารทั้งสิ้นและเปนไปไมไดที่มนุษยจะไมสื่อสาร

การสื่อสารเปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการแลกเปลี่ยนรหัสหรือสัญลักษณกลาวไดวาเปนเร่ืองเฉพาะตัว ทั้งน้ีเพราะความหมายของรหัสหรือสัญลักษณน้ันอยูในตัวบุคคลที่ใชสัญลักษณน้ันคําจํากัดความของการสื่อสาร อาจมุงเนนความสําคัญทางดานผูสงสาร หรือ ทางดานผูรับสารก็ไดคําจํากัดความที่เนนความสําคัญทางดานผูสงสาร (Sender) ถือวากิจกรรมทั้งหลายที่ผูสงสารมีเจตนาที่จะกระตุนใหผูรับสารตอบสนองเปนการสื่อสารทั้งสิ้น คําจํากัดความน้ีเนนที่การผลิตสาร ที่มีประสิทธิภาพของผูสงสาร สวนคําจํากัดความที่เนนความสําคัญทางผูรับสาร (Receivers) ถือวากิจกรรมทั้งหลายที่ผูรับสารตอบสนองตอสิ่งกระตุนเปนการสื่อสารทั้งสิ้น คําจํากัดความน้ีเนนความสําคัญของการตีความหมายของสารที่ผูรับสารไดรับ

บทบาทที่พึงประสงคหรือความคาดหวังของสังคมที่มีตอการทําหนาที่ของสื่อมวลชนในกระบวนทางการเมืองในสังคมประชาธิปไตย Brian McNair กลาวไวดังน้ี

1. การเสนอขอมูลขาวสารใหประชาชนไดรับรูวาในขณะน้ีกําลังเกิดอะไรขึ้นในสังคมอาจกลาวไดวา สื่อมวลชนกําลังทําหนาที่ในการตรวจตรา (Surveillance) หรือการแจงเหตุ (inform)

Page 24: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

11

2. การใหการศึกษาแกประชาชนถึงความหมายและความสําคัญของขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น3. การเสนอประเด็นทางดานนโยบายเพื่อใหมีการถกเถียง แลกเปลี่ยนทางการเมืองหรือ

แสดงความคิดเห็นสาธารณะ โดยเฉพาะตองเปดโอกาสตอความคิดเห็นที่แตกตางหลากหลายซึ่งมีความสําคัญตอวิถีประชาธิปไตย

4. การตรวจสอบรัฐบาลและสถาบันทางการเมืองทั้งหลายใหดําเนินการตามบทบาท หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

5. เปนชองทางสําหรับสนับสนุนความคิดเห็นทางการเมือง เชน พรรคการเมืองตองการชองทางในการนําเสนอนโยบาย หรือโครงการตางๆ ไปสูการรับรูของประชาชน

โดยไบรอัน แมคแนร (Brian McNair) ไดนําเสนอแบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองไวดังน้ี

ภาพท่ี 2.2 แบบจําลองการสื่อสารทางการเมืองของ ไบรอัน แมคแนร5

ชองทางการสื่อสารทางการเมืองAlmond and Powell6 ไดวิเคราะหระบบการเมืองโดยจําแนกโครงสรางตามหนาที่ในการสื่อสาร

หรือชองทางการสื่อสารทางการเมืองไว 5 ชองทาง คือ

5Brian McNair. An introduction to political communication.First published .London :Routledge, 1995.

องคกรทางการเมือง

สื่อมวลชน

ประชาชน

Page 25: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

12

1. การสื่อสารแบบพบหนากันอยางไมเปนทางการ (informal face to face contact) หมายถึงการสื่อสารขอมูลขาวสารอยางไมเปนทางการ หรือการสื่อสารแบบปฐมภูมิซึ่งจะอยูในรูปของการแสดงความคิดเห็นหรือการสนทนากับเพื่อนผูรวมงาน โดยเปนวิธีการที่คนๆ หน่ึง เลาเร่ืองใหความเห็น หรือวิพากษวิจารณเหตุการณบานเมืองใหอีกคนหน่ึงฟง และผูที่รับฟงน้ันไดรับเอาเร่ืองราวเหลาน้ัน และเห็นดวยกับความคิดของบุคคลผูน้ัน ซึ่งมักจะเกิดสภาพการสื่อสารลักษณะน้ีในระบบการเมือง หรือสังคมที่ยังไมมีวิวัฒนาการมากพอ แตอยางไรก็ตามแมในสังคมที่พัฒนาแลวการสื่อสารในลักษณะเชนน้ียังมีความสําคัญอยูในรูปของการที่บุคคลที่เปนที่ยกยองนับถือของคนในกลุมแสดงความคิดเห็นออกมา ตลอดจนชี้แนะวาเร่ืองอยางน้ีสมควรเปนอยางน้ันอยางน้ีคนอ่ืนที่ไดรับฟงมักจะรับเอาความเห็น ทั้งน้ีเพราะมีความเชื่อถือในตัวบุคคลผูน้ันอยูแลว บุคคลเชนน้ีมักเรียกกันวาผูนําทางความคิดเห็น (opinion leader) ผูที่จะเปนผูนําความคิดเห็นไดมักจะมีสถานภาพทางสังคม และบุคลิกภาพที่ดี โดยเปนเสมือนตัวกลางหรือสื่อในการแปลความคิดเห็น และจะแปรความหมายของขอมูลที่ไดรับจากสื่อในการพบปะ ตามความรูและความเชื่อถือของตน ในปจจุบันนักสังคมศาสตรไดใหความสําคัญกับการสื่อสารอยางไมเปนทางการวาสามารถพัฒน าและเกิดประโยชนไดมาก สื่อมวลชนไมไดมีผลกระทบโดยตรงตอประชาชนสื่อบุคคลที่มีบทบาทสําหรับประชาชนในการเรียนนโยบายและระบบสังคม แมจะมิไดมีอิทธิพลโดยตรงตอการเรียนรูทางการเมือง แตมีอิทธิพลโดยทางออมกลาวคือ สามารถนําขอมูลขาวสารผานตัวกลางที่มีความรูสึกรวมกัน มีความเชื่อมโยงกันทางวัฒนธรรมและจิตใจพอสมควร โดยเฉพาะสังคมชนบทหรือผูที่ไมมีการศึกษาจะพบวามีการสื่อสารแบบพบหนากันคอนขางมากและพบเห็นไดอยางชัดเจน ดังน้ัน จะเห็นวาชองวางทางการสื่อสารทางการเมืองน้ีคือ การสนทนาแบบไมเปนทางการ

2. การสื่อสารแบบสังคมที่ไมใชระบบการเมือง (nonpolitical social structure) หมายถึงการสื่อสารในสังคมจารีตประเพณี โดยผานตัวกลาง คือ หัวหนาเผา ผูนํา ชุมชน ผูอาวุโส ในครอบครัวผูนําทางศาสนา ซึ่งเปนรูปแบบการสื่อสารที่มีอิทธิพลอยางมากในสังคมชนบท โดยตัวกลางดังกลาวมีบทบาทในการเปนผูริเร่ิม (initiator) และแปลผลขอมูลขาวสารตางๆ ใหสมาชิกสวนใหญในสังคมรับทราบและผูตีความขางตนเปรียบเสมือนตัวกลางที่อยูระหวางรัฐบาลกับประชาชนในการสงผานขาวสาร เพราะจะเปนบุคคลที่รับรูขาวสารและมีความเขาใจ สามารถเปนเครือขายที่ทําใหเกิดการตอรองระหวางสมาชิกในสังคมระบบอบประชาธิปไตยไดงายขึ้นโครงสรางสังคมจารีตประเพณียังคงมีความสําคัญในสังคมสมัยใหมที่ยังไดรับการซึมผานดวยประเพณีและระบบสังคมที่ไมเปนทางการรวมทั้ง ครอบครัว ศาสนา อาชีพ และระบบการศึกษาที่ผูนําและประชาชนก็ยังตอง

6Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell Jr.Comparative politics:System, process and policy. 2ndedition.Boston: Little Brown, 1978.

Page 26: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

13

แสดงบทบาทในชีวิตสวนบุคคล การมีปฏิสัมพันธจะทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนกันทั้ง ปญหา และโอกาสที่ไมใชเฉพาะทางการเมืองเทาน้ัน แตอาจกอใหเกิดการตอรองการเมืองที่ตองการจะเขาไปหรือเกิดความเคลื่อนไหวในจุดมุงหมายทางการเมืองอ่ืนๆ อันเปนการริเร่ิมการพัฒนาทางการเมืองใหมากขึ้น ผูนําทางศาสนาในสังคมจารีตประเพณีน้ีจะเปนผูมีอิทธิพลตอความคิดทางโลก และการเมือง ซึ่งจะเห็นวาชองทางการสื่อสารทางการเมืองในรูปแบบน้ีไดแกหัวหนาเผา (tribal head)ผูอาวุโสในครอบครัวขยาย (council of elders in extended family) ผูนําทางศาสนา (religious leaders)

3. การสื่อสารในปจจัยนําเขาของระบบการเมือง (political input structures) หมายถึงชองทางการสื่อสารทางการเมืองที่สามารถเปนตัวแทนการเขาสูระบบการเมืองโดยผานสมาคมการเมือง (political associations) กลุมผลประโยชน (interest groups) พรรคการเมือง (political parties)เพื่อถายทอดขอเรียกรองความตองการ ความคิดเห็นประชาชน ความคิดเห็นผูนําทางการเมือง หรือการที่ผูนําทางการเมืองกระจายขอมูลขาวสารเกี่ยวกับกิจกรรมของรัฐบาลใหประชาชนไดรับรูผานชองทางสําคัญ คือ พรรคการเมืองและกลุมผลประโยชนในทางตรงขามพรรคฝายคานก็สามารถเปนชองทางที่จะเปดเผยถึงความผิดพลาด และไมเหมาะสมของผูมีหนาที่ในการบริหาร โดยการสื่อสารประเภทน้ีตองมีการจัดต้ังองคกรที่เปนอิสระ มีระเบียบวินัย และความเขมแข็ง การเรียกรองจึงจะเปนไปอยางไดผล อีกทั้งยังตองพยายามสรางเครือขายในการสรางปฏิสัมพันธรวมกัน

4. การสื่อสารในปจจัยสงออกของระบบการเมือง (political output structures) หมายถึงชองทางการสื่อสารที่เปนทางการ ไดแก หนวยราชการ ซึ่งเปนเครือขายสําคัญในการที่ผูนําทางการเมืองใชในการติดตอกับขาราชการ และเปนตัวประสานระหวางผูนําทางการเมืองกับประชาชนดวยการกระจายขอมูลขาวสารไปใหทั่วถึงทั้งระบบ โดยเฉพาะดานนโยบายทั้งในชุมชนเมืองและชนบททั้งทิศทางขึ้นและลงทําใหเกิดความรวมมือและเกิดความเคลื่อนไหวในสังคม อีกทั้งยังเปนการเชื่อมระหวางผูนําทางการเมืองกับประชาชน โดยเปนเคร่ืองมือที่ประชาชนจะใชแสดงความไมพอใจการรองทุกขหรือชดเชยความตองการได

5. สื่อมวลชน (mass media) หมายถึง การสื่อสารที่เกี่ยวกับเหตุการณและปรากฏการณทางการเมือง หรือการสื่อสารจากรัฐบาลถึงประชาชน หรือการสื่อสารจากคนกลุมหน่ึงสูอีกกลุมหน่ึงโดยผานชองทางการสื่อสาร คือ หนังสือพิมพโทรทัศนวิทยุนิตยสาร และหนังสือ สิ่งเหลาน้ีเกิดขึ้นมาก็ดวยจุดประสงคเฉพาะเพื่อตองการใหขาวสารแกประชาชน หากประชาชนมีการศึกษาสูงพอและมีการสื่อสารมีประสิทธิภาพพอ การใชสื่อมวลชนใหขาวสารตางๆ แกประชาชนนับวาเปนวิธีการที่ประหยัดมาก

Page 27: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

14

นอกจากน้ี Deutsch7 กลาววา กลไกที่เปนผูรับสารจะมีประสิทธิภาพมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับลักษณะของชองทางเดินขาวสารและปริมาณขาวสาร ดังน้ี

1. ชองทางเดินขาวสาร (channels of communication) ไดแก บุคคล กลุมผลประโยชนพรรคการเมือง กลุมอิทธิพลการเมือง หนวยราชการ สื่อมวลชน เปนตน

2. ปริมาณขาวสาร (load) หมายถึง จํานวนของขอมูลขาวสารที่จะรายงานใหระบบไดรับรูและสมรรถนะในการรับขาวสารของระบบจึงขึ้นอยูกับประสิทธิภาพและความรับผิดชอบของชองทางเดินขาวสารที่จะยอดเปดรับใหขาวสารสามารถไหลเขาสูระบบไดอยางรวดเร็วและไมบิดเบือนซึ่งจะเปนผลดีตอกลไกการตัดสินใจในอันที่จะไดรับขอมูลที่เที่ยงตรง และสามารถตัดสินใจ ตอบสนองเปาหมายของระบบอยางไมผิดพลาด ผลที่เกิดจากการตัดสินใจของระบบก็คือนโยบายหรือคําสั่งตางๆ ของระบบการเมือง แมกลไกการตัดสินใจจะสามารถกําหนดนโยบายหรือคําสั่งที่สนองเปาหมายของระบบไดอยางถูกตอง ความสําเร็จในการบรรลุเปาหมายขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของกลไกที่เปนตัวนําเอานโยบายของระบบไปดําเนินการ โดยกลไกควบคุมและการปอนกลับขาวสาร จะรายงานใหระบบไดรับรูถึงผลลัพธของการนําเอานโยบายไปปฏิบัติ

ขอจํากัดในการสื่อสารทางการเมืองAlmond and Powell8 กลาววาในระบบการเมืองที่เปดจะมีโครงสรางและชองทางการ

สื่อสารทางการเมืองที่หลากหลายทั้งผูนําและประชาชนสามารถใชประโยชนจากแหลงขาวสารตางๆ ไดอยางมากมาย แตก็ยังมีขอจํากัดของการสื่อสารหลายประการดังน้ี

1. การบิดเบือนของชองทางการสื่อสารชองทางการสื่อสารที่อาจบิดเบือนไดดวยคุณภาพของเสียง เวลา ความคาดหวังของผูนําตนทุน แผนการทางการเมือง การผานเขาออกของขาวสารในแตละชวงเวลา การแปรผล และวิเคราะหโดยผูเชี่ยวชาญที่จะแปรความหมายสูความหมายที่เขาใจงายๆ วิจารณญาณของขาราชการ สายการบังคับบัญชา การประสานงาน ความรับผิดชอบความสนใจและแปรผลใหตรงกันตามความตองการของผูนําและประชาชนที่เปนเสียงสะทอนกลับที่เปนขอมูลลักษณะไหลขึ้น (upwards) ที่อาจถูกลบหรือขาวสารหายไปโดยเฉพาะในชนบท

2. ความซับซอนและระบบเทคโนโลยีกระบวนการทางการเมืองและระบบการเมืองจะขึ้นกับความซับซอนและระบบเทคโนโลยีการหันเหความสนใจของประชาชนที่จะเขาถึงขาวสาร

7Karl Deutsch , Political Community and North Atlantic Area.Westport, Connecticut :Greenwood Press,1969.

8Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell Jr. Comparative politics: System, process and policy. 2ndedition.Boston: Little Brown, 1978.

Page 28: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

15

ไดทันเวลาสําหรับการตัดสินใจในเร่ืองสําคัญๆ หากชองทางการสื่อสารที่เปดกวางและมีการแขงขันกันทํางานโดยใชแหลงสารเดียว แตเจาะลึกอยางไดผล การไหลของขอมูลขาวสารมากหรื อนอย เทคโนโลยีเปนสวนสําคัญที่ทําใหการไหลของขอมูลขาวสารมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังขึ้นอยูกับความยืดหยุนของผูนําที่จะตอบสนองความตองการของประชาชนดวย

3. นโยบายการบิดเบือนขาวสาร โดยนโยบายการบิดเบือนของขาวสารอาจเกิดขึ้นไดเน่ืองจากสภาพแวดลอมและความสามารถของระบบการเมืองที่ใชตัวแทน คือ ระบบราชการที่จะสกัดกั้น ควบคุม หรือแพรกระจายขาวสาร ดวยการผานสายการบังคับบัญชา การรวมศูนยอํา นาจของระบบราชการทําใหนโยบายตางๆ ที่ออกมายอมไมสามารถสนองความตองการได

4. คุณสมบัติของผูรับสารผูรับสารภายใตรูปแบบการเลือกรับสารหรืออิทธิพลอันจํากัดของการสื่อสารนักการสื่อสารมองเห็นวาคุณสมบัติตางๆ ของผูรับสารเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดรูปแบบของปฏิกิริยายอนกลับของประชาชน การที่จะเสนอขาวสารใดๆ ตองศึกษาวิเคราะหเพราะหากขาวสารใดๆ ไมสอดคลองกับความรูความคิดเห็น ความเชื่อ คา นิยม ทัศนคติหรือปทัสถานของกลุมผูรับขาวสาร ขาวน้ันก็จะไมไดรับความสนใจ ประชาชนจะปดการรับสารหรือถาเปดรับก็จะไมสนใจอยางแทจริง ซึ่งมีผลกระทบตอการตีความขาวสารที่ไดรับดวย โดยสิ่งที่มีผลกระทบตอ การตีความขาวสารที่สําคัญ คือ สิ่งที่ประชาชนสะสมไวแต ด้ังเดิม คือ ความรูความคิดเห็น ทัศนคติถาขาวสารตางๆ ที่สอดคลองกับความตองการ สิ่งเหลาน้ีจะไดรับความสนใจ การสื่อสารระหวางบุคคล จากการเขาอบรม ประชุมสัมมนา จากการฟงการดูจากสื่อมวลชน ประชาชนอาจนําเอาขาวสารไปสนทนากับบุคคลอ่ืนได อิทธิพลของผูนําคือ ประชาชนมักจะฟงความคิดเห็นของผูนํา ภาพพจนของรัฐบาลและสื่อมวลชน ความนาเชื่อถือ นาไววางใจของรัฐบาลและความเปนกลาง หรือความอิสรเสรีในการเผยแพรของสื่อมวลชน

จากแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมืองที่นํากลาวถึง จะทําใหรับทราบถึงความหมายของการสื่อสารทางการเมือง ชองทางการสื่อสารทางการเมือง ขอจํากัดในการสื่อสารทางการเมืองซึ่งจะนํามาอธิบายการรับรูการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไดอยางคอนขางสมบูรณ

การรับรูขาวสารและการเปดรับสื่อในกระบวนการถายทอดขาวสารในสังคมน้ัน จําเปนตองมีองคประกอบของการสื่อสาร

ครบทั้ง 3 ประการ คือ มีแหลงกําเนิด (source) ขาวสาร (message) และจุดหมายปลายทาง (destination)แหลงกําเนิดของขาวสารมีลักษณะเปนนามธรรม คือ ที่มาของขาวสารที่มีสื่อมวลชนทําหนาที่บันทึกรหัส (encode) หรือเปนผูนําเอาวัตถุดิบมาเปลี่ยนเปนรูปของขาวสารไปสูจุดหมายปลายทาง

Page 29: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

16

คือ ผูรับขาวสาร เน่ืองจากการสื่อสารมีลักษณะเปนกระบวนการจึงสามารถพิจารณาไดเสมือนระบบหน่ึงดังน้ี9

1. แหลงสารหรือผูสงสาร (source) เปนจุดเร่ิมตนของการสื่อสาร หมายถึง แหลงกําเนิดของสารหรือผูที่เลือกสรรขาวสารเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นแลวสงตอไปยังผูรับสาร บทบาทของผูสงสารมี 3 ประการ คือเลือกสรรความหมายที่ใชในการสื่อสาร สรางรหัสจากความหมายใหอยูในรูปของสาร และสงรหัสของสารน้ันออกไป

2. สาร (message) หมายถึงสิ่งที่ทําหนาที่กระตุนความหมายใหกับผูรับเปนเร่ืองราวสาระที่สงออกไปจากผูสื่อสารถึงตัวผูรับสารในการวิเคราะหองคประกอบของสารมีขอนาพิจารณา3 ประการ คือ รหัสหรือสัญลักษณของสาร (message code หรือ symbol of signal) เน้ือหาของสาร(message content) และการทําขาวสาร (message treatment) แตในความหมายทั่วไปที่ใชมักหมายถึง “เน้ือหาของสาร” ซึ่งหมายถึง ขอความที่ผูสงสารใชสื่อความหมายที่ตองการ

3. ชองทางสําหรับสงสารหรือสื่อ (channel of medium) เปนสิ่งที่พาสารจากผูสงไปถึงผูรับ4. ผู รับสาร (receiver) หมายถึง ผู รับขาวสารจากแหลงสาร บทบาทของผูรับสารมี 3

ประการ คือ รับสาร ถอดรหัสจากสารเพื่อใหไดความหมาย และโตตอบตอความหมายจากกระบวนการขางตนจะเห็นไดถึงความสัมพันธกันระหวางผูสงสาร ซึ่ง ไดแก สื่อมวลชน

ตางๆ เน้ือหาขาวสาร คือ “ขาว” (news) ที่เปนการรายงานเหตุการณที่เกิดขึ้นและเปนสิ่งที่นาสนใจและผูรับสาร คือ ผูบริโภคขาวสารจากสื่อน่ันเอง ดังน้ัน การศึกษาเร่ืองการรับรูขาวสารทางการเมืองในชวงการเลือกต้ัง จึงนําเอาแนวความคิดดังกลาวมาประยุกตใช โดยมีสมมติฐานวาผูมีสิทธิเลือกต้ังน้ันเปดรับขาวสารอยางมีวัตถุประสงคซึ่งจะแตกตางกันไปตามสถานภาพและภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม

บลูมเลอร และ แมคเกล (Blumler & Mcquail) ไดศึกษาถึงสาเหตุที่การสนใจติดตามขาวการเมืองในชวงการเลือกต้ังมี 4 ประการ คือ10

1. ตองการทราบขาวสารทางการเมือง (Surveillance)2. เปนการเสริมความเชื่อมั่นในผลการตัดสินใจของตนเอง (Reinforcement)3. เพื่อตองการ การแนะนําในการตัดสินใจลงคะแนน (Voting guidance)4. เพื่อความต่ืนเตน (Excitement)

9พรศักด์ิ ผองแผว. ขาวสารการเมืองของคนไทย. กรุงเทพฯ : เจาพระยาการพิมพ, 2526.10Martin Harrop& William L. Miller.Elections and Voters:A ComparativeIntroduction. London:Macmillan

Education, 1987.

Page 30: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

17

แชรม (Schramm)11 พบวาการศึกษาเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสนใจขาวสารทางการเมืองมาก กลาวคือ คนที่มีการศึกษาสูงไมวาจะมีอาชีพหรือมีฐานะทางเศรษฐกิจอยางไร จะมีความสนใจในขาวสารทางการเมืองในระดับที่ไมแตกตางกัน สําหรับบุคคลที่มีการศึกษาตํ่า การมีอาชีพที่ไดรับการยกยองหรือมีเกียรติหรือมีฐานะทางเศรษฐกิจดีจะทําใหบุคคลน้ันเพิ่มความสนใจในการเปดรับขาวสารทางการเมือง

พฤติกรรมการเปดรับสื่อในเร่ืองของการเปดรับสื่อ Klapper12 ไดกลาวไววา กระบวนการเลือกรับขาวสารหรือ

เปดรับขาวสารเปรียบเสมือนเคร่ืองกรองขาวสารในการรับรูของมนุษยซึ่งประกอบดวย การกลั่นกรอง 4 ขั้นตามลําดับดังตอไปน้ี

1. การเลือกเปดรับ (Selective Exposure) เปนขั้นแรกในการเลือกชองทางการสื่อสารบุคคลจะเลือกเปดรับสื่อและขาวสารจากแหลงสารที่มีอยูดวยกันหลายแหลง เชน การเลือกซื้อหนังสือพิมพฉบับใดฉบับหน่ึง เลือกเปดวิทยุกระจายเสียงสถานีใดสถานีหน่ึงตามความสนใจและความตองการของตน อีกทั้งทักษะและความชํานาญในการรับรูขาวสารของคนเราน้ันก็ตางกัน บางคนถนัดที่จะฟงมากกวาอาน ก็จะชอบฟงวิทยุ ดูโทรทัศนมากกวาอานหนังสือ เปนตน

2. การเลือกใหความสนใจ (Selective Attention) ผูเปดรับขาวสารมีแนวโนมที่จะเลือกสนใจขาวจากแหลงใดแหลงหน่ึง โดยมักเลือกตามความคิดเห็น ความสนใจของตน เพื่อสนับสนุนทัศนคติเดิมที่มีอยูและหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไมสอดคลองกับความรูความ เขาใจหรือทัศนคติเดิมที่มีอยูแลวเพื่อไมใหเกิดภาวะทางจิตใจที่ไมสมดุลหรือมีความไมสบายใจที่เรียกวาความไมสอดคลองทางดานความเขาใจ (Cognitive Dissonance)

3. การเลือกรับรูและตีความหมาย (Selective Perception and Interpretation) เมื่อบุคคลเปดรับขอมูลขาวสารแลว ก็ใชวาจะรับรูขาวสารทั้งหมดตามเจตนารมณของ ผูสงสารเสมอไปเพราะคนเรามักเลือกรับรูและตีความหมายสารแตกตางกันไปตามความสนใจ ทัศนคติ ประสบการณ ความเชื่อความตองการ ความคาดหวัง แรงจูงใจ สภาวะทางรางกาย หรือสภาวะทางอารมณและจิตใจ ฉะน้ันแตละคนอาจตีความเฉพาะขาวสารที่สอดคลองกับลักษณะสวนบุคคลดังกลาว นอกจากจะทําใหขาวสารบางสวนถูกตัดทิ้งไปยังมีการบิดเบือนขาวสารใหมีทิศทางเปนที่นาพอใจของแตละบุคคลดวย

11Wilbur Schramm. “The Mass Media as Source of Public Affairs, Science and Health Knowledge”.Public OpinionQuarterly 33, 1969.

12Klapper, Joseph T. The Effects of Mass Communication.New York:The free Press, 1960.

Page 31: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

18

4. การเลือกจดจํา (Selective Retention) บุคคลจะเลือกจดจําขาวสารในสวนที่ตรงกับความสนใจ ความตองการ ทัศนคติ ฯลฯ ของตนเอง และมักจะลืมหรือไมนําไป ถายทอดตอในสวนที่ตนเองไมสนใจ ไมเห็นดวยหรือเร่ืองที่ขัดแยงคานกับความคิดของตนเอง ขาวสารที่คนเราเลือกจดจําไวน้ัน มักมีเน้ือหาที่จะชวยสงเสริมหรือสนับสนุนความรูสึกนึกคิด ทัศนคติ คานิยม หรือความเชื่อของแตละคนที่มีอยูเดิมใหมีความมั่นคงชัดเจนยิ่งขึ้นและเปลี่ยนแปลงยากขึ้น เพื่อนําไปใชเปนประโยชนในโอกาสตอไป สวนหน่ึงอาจนําไปใชเมื่อเกิดความรูสึกขัดแยงและมีสิ่งที่ทําใหไมสบายใจ

โดยขาวสาร สาระบันเทิงตางๆ ผูเปดรับได เลือกดู เลือกฟง เลือกสนใจ เลือกจํา จึงตองนําเสนอใหมีจุดเดนออกมา เพื่อใหสามารถผานการเลือกแตละขั้นตอนของผูเปดรับได สิ่งที่จะชวยใหผานการเลือกจนเขาไปถึงการรับรูของผูบริโภค สําหรับปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกเปดรับขาวสารของบุคคลน้ัน ปรมะ สตะเวทิน13 ไดกลาวถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกเปดรับขาวสารของบุคคลไวดังน้ี

1. ความตองการ (Need) ปจจัยที่สําคัญที่สุดปจจัยหน่ึงในกระบวนการเลือกของมนุษยคือความตองการความตองการทุกอยางของมนุษยทั้งความตองการทางกายและใจทั้งความตองการระดับสูงและความตองการระดับตํ่า ยอมเปนตัวกําหนดการเลือกของเราเราเลือกตอบสนองความตองการของเรา เพื่อใหไดขาวสารที่ตองการ เพื่อแสดงรสนิยม เพื่อการยอมรับในสังคม เพื่อความพอใจ ฯลฯ

2. ทัศนคติและคานิยม (Attitude and Values) ทัศนคติ คือ ความชอบและมีใจโนมเอียง(Preference and Predisposition) ตอเร่ืองตางๆ สวนคานิยม คือ หลักพื้นฐานที่เรายึดถือเปนความรูสึกที่วาเราควรจะทําหรือไมควรทําอะไรในการมีความสัมพันธกับ สิ่งแวดลอมและคนซึ่งทัศนคติและคานิยมมีอิทธิพลอยางยิ่งตอการเลือกใชสื่อมวลชน การเลือกขาวสาร การเลือกตีความหมายและการเลือกจดจํา

3. เปาหมาย (Goal) มนุษยทุกคนมีเปาหมายมนุษยทุกคนกําหนดเปาหมายในการดําเนินชีวิตทั้งในเร่ืองอาชีพ การเขาสมาคม การพักผอน เปาหมายของกิจกรรมตางๆ ที่เรากําหนดขึ้นน้ีจะมีอิทธิพลตอการเลือกใชสื่อมวลชน การเลือกขาวสาร การเลือกตีความหมาย และการเลือกจดจําเพื่อสนองเปาหมายของตน

4. ความสามารถ (Capability) ความสามารถของเราเกี่ยวกับเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงรวมทั้งความสามารถดานภาษามีอิทธิพลตอเราในการที่จะเลือกรับขาวสารเลือกตีความหมาย และเลือกเก็บเน้ือหาของขาวน้ันไว

13ปรมะ สตะเวทิน. หลักและทฤษฎีการส่ือสาร. กรุงเทพฯ:โรงพิมพมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2528.

Page 32: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

19

5. การใชประโยชน (Utility) กลาวโดยทั่วไปแลวเราจะใหความสนใจและใชความพยายามในการที่จะเขาใจ และจดจําขาวสารที่เราสามารถนําไปใชประโยชนได

6. ลีลาในการสื่อสาร (Communication Style) การเปนผูรับสารของเราน้ันสวนหน่ึงขึ้นอยูกับลีลาในการสื่อสารของเรา คือ ความชอบหรือไมชอบสื่อบางประเภท ดังน้ัน บางคนจึงชอบฟงวิทยุ บางคนชอบดูโทรทัศน บางคนชอบอานหนังสือพิมพ ฯลฯ

7. สภาวะ (Context) สภาวะในที่น้ีหมายถึง สถานที่ บุคคล และเวลาที่อยูในสถานการณการสื่อสาร สิ่งตางๆ เหลาน้ีมีอิทธิพลตอการเลือกของผูรับสาร การมีคนอ่ืนอยูดวยมีอิทธิพลตรงตอการเลือกใชสื่อและขาวสาร การเลือกตีความหมายและเลือกจดจาขาวสาร การที่เราตองถูกมองวาเปนอยางไร การที่เราคิดวาคนอ่ืนมองเราอยางไร เราเชื่อวาคนอ่ืนคาดหวังอะไรจากเรา และการที่คิดวาคนอ่ืนคิดวาเราอยูในสถานการณอะไร ลวนแตมีอิทธิพลตอการเลือกของเรา

8. ประสบการณและนิสัย (Experience and Habit) ในฐานะของผูรับสาร ผูรับสารแตละคนพัฒนานิสัยการรับสาร อันเปนผลมาจากประสบการณในการรับขาวสารของเรา เราพัฒนาความชอบสื่อชนิดใดชนิดหน่ึง รายการประเภทใดประเภทหน่ึง ดังน้ัน เราจึงเลือกใชสื่อชนิดใดชนิดหน่ึง สนใจเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ตีความหมายอยางใดอยางหน่ึง และเลือกจดจําเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงเทาน้ัน

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกตั้งการตัดสินใจถือวาเปนเร่ืองสําคัญ ที่มนุษยทุกคนจะตองเผชิญ และปฏิบัติอยูเปนประจํา

เน่ืองจากการตัดสินใจจะทําใหมนุษยเลือก และไดสิ่งตางๆ ที่คิดวาเหมาะสมกับตนเองมากที่สุดดังน้ัน ผูวิจัยจึงไดศึกษาถึงกระบวนการ และพฤติกรรมในการตัดสินใจของมนุษย ดังน้ี

ความหมายของการตัดสินใจจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการตัดสินใจพบวามีผูใหความหมายของการ

ตัดสินใจไวหลายประการไดแกวิชัย โถสุวรรณจินดา14ไดใหความหมายของการตัดสินใจวา หมายถึง การเลือกทางเลือกที่

มีอยูหลายๆ ทางเลือก โดยอาศัยทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเลือกเดียวที่สามารถ ตอบสนองเปาหมายหรือความตองการของผูเลือกได

14วิชัย โถสุวรรณจินดา. ความลับขององคการ : พฤติกรรมองคการสมัยใหม. กรุงเทพฯ:ธรรมนิติ, 2535.

Page 33: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

20

กรองแกว อยูสุข15 ไดใหความหมายของการตัดสินใจวา หมายถึง การเลือกสิ่งหน่ึงหรือหลายๆ สิ่ง หรือเลือกที่จะปฏิบัติทางใดทางหน่ึงจากหลายๆ ทางที่มีอยูหรือวิธีการที่เลือกน้ันยอมไดรับการพิจารณาอยางถี่ถวนแลววาถูกตองเหมาะสมหรือดีที่สุด และตรงกับเปาหมายขององคการดวย

กลาวโดยสรุปการตัดสินใจ จึงหมายถึง การพิจารณาโดยใชขอมูล หลักการและเหตุ ผลวิเคราะหอยางถี่ถวนในการหาทางเลือกที่ ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด จากหลายๆ ทางเลือกที่ สามารถตอบสนองเปาหมายของหนวยงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีองคประกอบของการตัดสินใจ คือ

1. ตัวผูตัดสินใจ โดยผูตัดสินใจมีความสามารถในการประเมินคุณคาประโยชนหรือความสําคัญของทางเลือกแตละอยาง

2. ทางเลือก ผูตัดสินใจจะเผชิญกับทางเลือกจํานวนหน่ึง ซึ่งถาไมมีทางเลือกก็ไมตองเลือก3. ผลของทางเลือกในอดีต จะขึ้นอยูกับการเลือก ซึ่งการเลือกแตละอยางแตกตางกันและไม

เทากัน ขึ้นอยูกับสถานการณที่แตกตางกันสําหรับประเภทของการตัดสินใจ วิชัย โถสุวรรณจินดา ไดแบงประเภทของการตัดสินใจ

ไว 3 ประเภท ตามสถานการณที่เกิดขึ้น คือ1. การตัดสินใจภายใตสถานการณที่แนนอน เปนการตัดสินใจที่อยูบนพื้นฐานของผลลัพธ

ที่คาดหมายไวแลว โดยเกิดขึ้นไดเมื่อผูตัดสินใจมีขอมูลเพียงพอและทราบถึงผลของการเลือกแตละทางเลือกอยางแนนอน ในสถานการณเชนน้ีผูตัดสินใจจะพยายามเลือกทางเลือกที่ใหผลประโยชนสูงสุด

2. การตัดสินใจภายใตสถานการณที่เสี่ยง คือ การตัดสินใจที่ต้ังอยูบนพื้นฐานของผลลัพธที่แนนอนนอยกวาการตัดสินใจภายใตสถานการณที่แนนอน แตยังพอคาดคะเนความเปนไปไดอยูบาง ทั้งน้ีผูตัดสินใจทราบถึงผลลัพธของทางเลือกตางๆ ที่ใชในการตัดสินใจ แตโอกาสที่จะเกิดทางเลือกแตกตางกัน อันเน่ืองมาจากปจจัยบางอยางที่ไมแนนอน

3. การตัดสินใจภายใตสถานการณที่ไมแนนอน เปนการตัดสินใจที่ไมสามารถคาดการณผลลัพธหรือความนาจะเปนที่จะเกิดขึ้นไดเลย หรือกลาวไดวาเปนสถานการณที่มืดแปดดาน ทั้งน้ีเพราะผูตัดสินใจในสถานการณน้ีจะไมมีโอกาสทราบผลลัพธของแตละทางเลือก เน่ืองจากไมมีขอมูลประกอบการตัดสินใจเพียงพอ ไมมีโอกาสทราบความนาจะเปนของเหตุการณที่จะเกิดขึ้นและมีตัวแปรอ่ืนที่ควบคุมไมไดอยูดวย ดังน้ัน การตัดสินใจในสถานการณเชนน้ี จึงไมอาจเลือกโดยใชทางเลือกที่ใหผลตอบแทนสูงสุดได ผูตัดสินใจตองใชดุลยพินิจและวิจารณญาณชวยในการตัดสินใจอยางมาก

15กรองแกว อยูสุข. พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537.

Page 34: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

21

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจ1. การรับรูการตัดสินใจ การรับรู (perception) จะมีอิทธิพลในการกําหนดพฤติกรรมการ

ตัดสินใจของบุคคลใหแตกตางกันไป โดยเฉพาะจะมีอิทธิพลในสถานการณการตัดสินใจที่ไมแนนอน ขอมูลในการตัดสินใจไมพอเพียงและยังมีบทบาทสําคัญเมื่อจะตองตัดสินใจเลือกทางที่ไมมีขอแตกตางมากนัก การรับรูเปนกระบวนการทางจิตวิทยา ซึ่งรับสิ่งกระตุน (stimulus) ผานอวัยวะรับความรูสึก เชน ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง และไปสูสมองซึ่งประกอบดวยความจําประสบการณในอดีตทัศนคติ และความรูสึก บุคคลแตละคนจะรับรูสิ่งตางๆ แตกตางกันออกไป ปจจัยที่กําหนดความสามารถในการรับรู ไดแก ความคุนเคยกับตัวกระตุน ซึ่ งก็คือ ประสบการณในเร่ืองตางๆรวมทั้งบุคลิกภาพ พื้นเพวัฒนธรรม และลักษณะทางกายภาพของแตละบุคคล ดังน้ัน บุคคลจะเลือกรับรูสิ่งที่เขาอยากจะรับรู ซึ่งขึ้นอยูกับพื้นฐานของแตละบุคคล เชน นักจิตวิทยาศึกษาวิชาการบริหารในแงการศึกษาพฤติกรรมของแตละคน เปนตน ลักษณะของการรับรูจะมีผลตอการตัดสินใจประสบการณที่แตกตางกันทําใหแตละคนมีการตระหนักในปญหา การระบุและวิเคราะหปญหาการแสวงหาขอมูลขาวสาร รวมทั้งการตีความ การประเมินทางเลือก และตัดสินใจเลือกทางเลือกที่แตกตางกันออกไป

2. คานิยมกับการตัดสินใจ คานิยมของผูตัดสินใจแตละคนจะมีบทบาทสําคัญตอพฤติกรรมการตัดสินใจ คานิยมจะหมายถึง สิ่งที่คนแตละคนคิดวาควรจะเปน ไมวาสิ่งน้ันจะดีหรือไมก็ตามและมักจะเปนสิ่งที่บุคคลในกลุมมีความเห็นเหมือนๆ กัน คานิยมเกิดจากกระบวนการเรียนรูทางสังคม ทําใหประสบการณของแตละคนผิดแผกแตกตางกันไป

3. บุคลิกภาพกับการตัดสินใจ บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะของรูปแบบแตละคนที่เปนการผสมผสานของรางกาย อารมณ สังคม ลักษณะนิสัย การจูงใจที่แสด งออกคือ คนอ่ืนและสภาพแวดลอมรอบๆ ตัว บุคลิกภาพจะมีองคประกอบสําคัญ 3 ประการ คือ แรงจูงใจซึ่งเปนสวนชักจูงจิตใจใหอยากทําอยางใดอยางหน่ึง การรูถึงสิ่งที่อยูรอบตัว และแนวโนมที่จะแสดงพฤติกรรมของแตละคน

โดยบุคคล บุคลิกภาพจะมีลักษณะคงทน การเปลี่ยนแปลงจะคอยเปนคอยไป โดยเปนผลจากความรับรูและสภาพแวดลอม บุคลิกภาพมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ เชน บางคนมีบุคลิกกลาไดกลาเสีย บางคนชอบรีรอในการตัดสินใจ บางคนชอบแกปญหา บางคนรอใหปญหาเขามาเอง บางคนอาจมีบุคลิกภาพที่ชอบคิดสรางสรรค ชอบทดลอง เปนตน บุคลิกภาพเหลาน้ีลวนมีผลตอการตัดสินใจทั้งสิ้น เชน ผูมีบุคลิกภาพกลาเสี่ยงมักชอบการติดสินใจในสถานการณไมแนนอนและตัดสินใจไดเร็ว ขณะที่ผูมีบุคลิกภาพไมกลาเสี่ยงมักชอบการติดสินใจในสถานการณแนนอน มัก

Page 35: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

22

ชอบรีรอเพื่อใหไดขอมูลทางเลือกมากที่สุดจึงตัดสินใจ ซึ่งปจจัยที่มีผลตอการติดสินใจวามาจาก 2ปจจัย คือ

1. มาจากสังคม ซึ่งสวนใหญเปนเร่ืองที่เกี่ยวกับปทัสถาน (social norm) และคานิยมทางสังคม (social value) ที่มีอยูในสังคมน้ันๆ

2. มาจากบุคลิกภาพและคานิยมสวนตัว (Personal trait and value) ซึ่งจะแตกตางออกไปเปนรายบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกตางกันก็ได

โดยมีวิธีการในการตัดสินใจ ดังน้ี1. ตัดสินใจโดยอาศัยประสบการณ ถือวาเปนเร่ืองปกติและทํากันเปนประจํา2. การตัดสินใจโดยการสังเกต ถือเปนการศึกษาและหาแนวทางของแตละบุคคลที่จะสนใจ

ในสิ่งตางๆ เพื่อนํามาประมวลประกอบการตัดสินใจ3. ตัดสินใจโดยการลองผิดลองถูก การลองผิดลองถูกทําใหเราจดจําไดรวดเร็วแตบางคร้ัง

ตองใชงบประมาณสูง4. ตัดสินใจโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร เปนเร่ืองที่ดี เพราะมีการต้ังสมมติฐานมีการ

วิจัยคนควาอยางเปนระบบ บางคร้ังอาจจําเปนตองทดลองในหองปฏิบัติการลักษณะของผูตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ ไดแก1. คนหา รวบรวมขอมูลและสถิติ เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองและทันตอเหตุการณ2. วิเคราะหและประเมินขอมูล เพื่อความเปนไปไดในการตัดสินใจ3. อยามองอะไรดานเดียว ผูนําตองมองการณไกล มองกวาง มองลึก นึกถึงอนาคตเปนที่ต้ัง4. ตองมีความกลาและใจปา กลาไดกลาเสีย ตามโอกาสหรือสถานการณที่จะเกิดขึ้น5. เลือกจังหวะการตัดสินใจที่เหมาะสม6. การตัดสินใจสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามกาลเทศะ มีการยืดหยุนได7. ตองมีการประสานงานกับทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อใหการตัดสินใจมีประสิทธิภาพสูงสุด8. ตองมีการติดตามและประเมินผลการตัดสินใจ เพื่อจะสามารถใชเปนแนวทางในโอกาส

ตอไป

อิทธิพลในการตัดสินใจเลือกตั้ง

Page 36: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

23

ไดมีนักวิชาการไดศึกษาเร่ืองอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกต้ังไวหลายทาน ดังเชน สัมฤทธิ์ราชสมณะ16ไดศึกษาอิทธิพลในการตัดสินใจกอนที่จะมีการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง ซึ่ งอิทธิพลดังกลาวแบงออกเปน 4 ขั้นตอน ดังตอไปน้ี

ขั้นตอนที่ 1 อิทธิพลในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร คือ ขั้นตอนจะไดรับขาวเกี่ยวกับการเลือกต้ังซึ่งจะเร่ิมจากการไดรับขาวสารจะตองมีการเลือกต้ังของการสมัครรับเลือกต้ัง ทราบขาวสารเกี่ยวกับตัวผูสมัครรับเลือกต้ัง และนโยบายตางๆ ของพรรคการเมืองของผูสมัครรับเลือกต้ังซึ่งในการไดรับขาวสารเกี่ยวกับการเลือกต้ังน้ัน ประชาชนในชนบทไดรับขาวสารเกี่ยวกับการเลือกต้ังโดยผานสื่อในการรณรงคหาเสียงเลือกต้ังเกี่ยวกับผูสมัครรับเลือกต้ังหรือเกี่ยวกับพรรคการเมืองที่สงผูสมัครรับเลือกต้ัง ประชาชนนําขาวสารน้ันเปนหลักเกณฑในการคัดเลือกผูสมัครรับเลือกต้ังใหเหลือเทากับจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่ตองการจะลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง และลักษณะของขาวสารที่ผานไปสูผูลงคะแนนเสียงน้ันก็เปนลักษณะขาวสารที่หลากหลาย หลายแงหลายมุมเพื่อจะจูงใจใหลงคะแนนเสียงใหผูสมัครคนใดคนหน่ึงประชาชนเลือกที่จะลงขาวสารลักษณะใดมาเปนเกณฑในการพิจารณาคัดเลือกผูสมัครรับเลือกต้ังเพื่อที่จะลงคะแนนให

ขั้นตอนที่ 2 อิทธิพลในการสรางหลักเกณฑในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเมื่อผูลงคะแนนเสียงยอมรับวาจะตองมีการตัดสินใจและไดรับขาวสารตางๆ เกี่ยวกับผูสมัครรับเลือกต้ังหรือนโยบายของพรรคการเมืองที่ผูสมัครรับเลือกต้ังสังกัดอยู หรือผูลงคะแนนเสียงที่ผูกพันกับพรรคการเมืองจะสรางหลักเกณฑในการที่จะคัดเลือกผูสมัครรับเลือกต้ังเพื่อที่จะคัดเลือกผูสมัครรับเลือกต้ังที่ตนเองถูกใจมากที่สุดใหเหลือจํานวนเทากับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่พึงมีไดผูลงคะแนนเสียงก็จะมาสรางหลักเกณฑของตนเองวาในการลงคะแนนเสียงจะใหความสําคัญกับพรรคการเมืองหรือใหความสําคัญกับคุณสมบัติสวนตัวของบุคคลในขั้นตอนจะเร่ิมมีการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง เพื่อใหผูลงคะแนนเสียงเห็นชอบกับตัวผูสมัครขาวสารตางๆ ทั้งในดานสวนตัวของผูสมัครรับเลือกต้ังหรือนโยบายของพรรคการเมือง ประชาชนผูลงคะแนนเสียงเร่ิมประเมินขาวสารตางๆ ซึ่งสอดคลองกับหลักเกณฑหรือจุดมุงหมายของผูลงคะแนนเสียงหรือไมผูลงคะแนนเสียงบางคนอาจจะใหความสําคัญกับนโยบายของพรรคการเมืองบางคนใหความสําคัญกับคุณสมบัติสวนตัวของผูสมัครรับเลือกต้ัง

ขั้นตอนที่ 3 อิทธิพลในการประเมินและการจัดลําดับผูสมัครรับเลือกต้ัง ใชหลักเกณฑในการคัดเลือกผูสมัครรับเลือกต้ังหลังจากน้ันจะเปนการประเมินผูสมัคร รับเลือกต้ังต้ังแตละคนวา

16สัมฤทธ์ิ ราชสมณะ. “กระบวนการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร”. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตภาควิชาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2530.

Page 37: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

24

ตามหลักเกณฑที่ไดกลาวมาแลวน้ัน ผูสมัครรับเลือกต้ังแตละคนควรจะไดรับการประเมินเทาไรตามการประเมินของผูลงคะแนนเสียงแตละคน

ขั้นตอนที่ 4 อิทธิพลจากการตัดสินใจลงคะแนนเสียงใหกับผูสมัครที่มีคะแนนรวมจากการประเมินมากที่สุดแตในขั้นตอนน้ีอาจจะมีเหตุการณบางอยางเขามาสอดแทรกคือ ผูลงคะแนนเสียงบางคนอาจจะลงคะแนนเสียงเลือกต้ังตามอิทธิพลของสิ่งของเงินทองที่ไดรับจากหัวคะแนนผูสมัครรับเลือกต้ังซึ่งเงินและสิ่งของน้ีอาจจะมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจลงคะแนนเสียงใหผูสมัครคนใดคนหน่ึง ถึงแมวาจะมีขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจเลือกต้ังมาตลอดจนกระทั่งไดตัวผูสมัครที่ไดรับการประเมินสูงสุด แตเมื่อรับเงินหรือสิ่งของไปแลวอาจจะทําการเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจไปลงคะแนนเสียงที่ตนเองรับสิ่งของเงินทองมาก็ได

อิทธิพลที่มีตอการใชสิทธิการเลือกต้ังในระดับชาติทําใหการเลือกต้ังในระดับกํานันผูใหญบาน ซึ่งเปนตําแหนงผูนําทองถิ่นเขามาอยูภายใตอิทธิพลของการวางแผนหาเสียงระยะยาวของนักการเมืองมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นฐานทางเศรษฐกิจของประชาชนจากระบบเกษตรกรรมไปสูระบบการเกษตรเพื่อการอุตสาหกรรมหรือมีการแทรกแซงของระบบอุตสาหกรรมเขาไปในพื้นที่น้ันดู จะยิ่งเปนตัวเกงใหตําแหนงผูนําทองถิ่นและกลุมทุนจากภายนอกมีความสัมพันธแนบแนนยิ่งขึ้น จนนากลัวจึงทําใหผูนําใหทองถิ่นเหลาน้ัน เขามาพัวพันหรืออยูในอาณัติของกลุมบุคคลที่มีผลประโยชนอยูนอกชุมชนน้ันๆ มากยิ่งขึ้นทุกที ในระบบที่สุดพรรคการเมืองไมไดทําหนาที่ “ประสาน” ผลประโยชนที่แตกตางและกระจัดกระจายใหรวมเขาเปนแนวเดียวกัน หากพรรคการเมืองเปนเพียงที่รวมของกลุมผลประโยชนตางๆ กัน ซึ่งรวมกันเพื่อผลประโยชนเฉพาะหนาของการเลือกต้ังเทาน้ัน ความหลากหลายของพรรคการเมืองจึงเปนความหลากหลายที่ยากจะประสานหรือประกอบกันในรูปที่สามารถสงผลกระทบถึงนโยบายของชาติ

พรศักด์ิ ผองแผว17 ไดศึกษาหลักการกําหนดที่พิจารณาลงคะแนนเสียงเลือกต้ังของประชากร1. สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมกับอิทธิพลทีมีตอการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง ผู

ลงคะแนนเสียงที่มีความรูความสนใจทางการเมืองนอย จะตัดสินใจลงคะแนนเสียงโดยไมอิงกับประเด็นนโยบายทางการเมือง ดานการชักจูง การระดมและอามิสสินจางจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกลงคะแนนเสียง

2. ความสัมพันธทางการเมืองกับอิทธิพลที่มีตอการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังพบวา ผูลงคะแนนเสียงเลือกต้ังเกือบคร่ึงหน่ึงใชเกณฑในการเลือกโดยคํานึงถึงตัวผูสมัครสวนที่เหลืออยาง

17พรศักด์ิ ผองแผว และสุจิต บุญบงการ. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังของคนไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2527.

Page 38: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

25

ละคร่ึงคละกันไประหวางผูสมัครกับพรรคการเมือง ปจจัยที่มี อิทธิพลที่มีตอแบบแผนการลงคะแนนเสียงที่เห็นไดชัดเจน ไดแก อาชีพ การศึกษา และรายได สวนที่อาศัยและเพศน้ันมีอิทธิพลชัดแจงในบางกรณี ผูมีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตํ่ามักจะตัดสินใจเลือกในเขตเลือกต้ังผูที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูงมักจะตัดสินใจกอนวันเลือกต้ังและไมเปลี่ยนแปลงการตัดสินใจน้ันโดยงาย

3. สภาพแวดลอมของชวงเวลากับอิทธิพลที่มีตอการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกต้ังพบวาผูลงคะแนนเสียงประมาณหน่ึงในสี่เลือกผูสมัคร โดยคํานึงถึงความนิยมของพรรคการเมือง เปนเกณฑสําคัญ เชน การเปนคนทองถิ่นมีศักยภาพที่จะชวยเหลือทองถิ่นได มีความรูความสามารถแจกขาวของเงินทองและหาเสียงที่ประทับใจเปนตน ผูนําทองถิ่นที่มีอิทธิพลตอการชี้นําผูลงคะแนนเสียงที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตํ่าจากมากไปนอย ไดแก กํานัน ผูใหญบาน เพื่อนฝูง ญาติพี่นอง และครู เปนตน

จากการศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ และพฤติกรรมในการตัดสินใจ สรุปไดวา การตัดสินใจ หมายถึง การพิจารณาโดยใชขอมูล หลักการและเหตุผล วิเคราะหอยางถี่ถวนในการหาทางเลือกที่ดีที่สุด และเหมาะสมที่สุดจากหลายๆ ทางเลือก โดยองคประกอบในการตัดสินใจจะประกอบดวยตัวผูตัดสินใจ ทางเลือกและผลของทางเลือก18

2.3 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของในการศึกษาวิจัยเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จังหวัดนนทบุรี ศึกษาในหวงเวลาป 2560.” มีงานวิจัยที่เกี่ยวของและเปนประโยชนพรอมทั้งเปนแนวทางในการวิจัยคร้ังน้ี ดังตอไปน้ี

ศิวะพร ปญจมาลา19 ศึกษาเร่ืองปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชน : ศึกษากรณีการเลือกต้ังซอมสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 1 พ.ศ.2537 โดยการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ี ผูศึกษามีความสนใจเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชน โดยเฉพาะกรณีการเลือกต้ังซอมสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในจังหวัดนครพนม เขต 1

18วิชาญ รอดไพบูลย. “ปจจัยที่มีความสัมพันธตอการตัดสินใจไปใชสิทธิเลือกต้ังนายกองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี.” หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549.

19ศิวะพร ปญจมาลา. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชน: ศึกษากรณี การเลือกต้ังซอมสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 1 พ.ศ. 2537.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. รัฐศาสตร (การปกครอง)บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538.

Page 39: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

26

พ.ศ.2537 โดยเนนศึกษาถึงปจจัยดานพรรคการเมือง ผูสมัครรับเลือกต้ัง และหัวคะแนน นอกจากน้ียังศึกษาพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง และบทบาทพรรคการเมืองตัวผูรับสมัครเลือกต้ังรวมทั้งบทบาทของหัวคะแนนดวย โดยใชวิธีการศึกษาจากเอกสาร และการศึกษาภาคสนามจากประชาชน จํานวน 700 คน จาก 6 อําเภอ 1 กิ่งอําเภอ ผลการศึกษาสรุปไดวา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนมากที่สุด พรรคการเมือง คุณสมบัติผูสมัครรับเลือกต้ัง และหัวคะแนน ตามลําดับ นอกจากน้ีจากการศึกษาพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังพบวา ประชาชนมีความสนใจในการเลือกต้ังคอนขางมากและจากการศึกษาพบวาพรรคการเมืองมีบทบาทมากที่สุดในการเลือกต้ัง รองลงมาคือ คุณสมบัติผูรับสมัครเลือกต้ังและหัวคะแนน

วิชา อยูหลํา20 ศึกษาเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร : ศึกษากรณีประชาชนจังหวัดสระบุรี” ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย อายุอยูระหวาง41–60 ป มีการศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษา/ปวช./ปวส. มีรายไดอยูในชวงตํ่ากวา–10,000 บาทสวนใหญตองการสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่มีอายุระหวาง 35-55 ป ขอมูลปจจัยเกี่ยวกับผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จํานวน 4 ดาน ดานตัวผูสมัคร กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด ในประเด็นคําถามทานตัดสินใจเลือก ส.ส.ที่เชื่อวาเขาเปนผูมีความซื่อสัตยสุจริต ดานนโยบายของพรรค กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุดในประเด็นคําถามทานตัดสินใจเลือก ส.ส.ที่นโยบายดานการสงเสริมอาชีพและรายได ดานการรณรงคหาเสียง กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด ในประเด็นคําถาม ทานตัดสินใจเลือก ส.ส.จากขอมูลที่ไดรับจากรถโฆษณาหาเสียงดานสื่อบุคคล กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด สวนรายไดของกลุมตัวอยางที่แตกตางกันไมมีผลตอการตัดสินใจในการเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แตกตางกันความแตกตางระหวางความคิดเห็นในปจจัยเกี่ยวกับผูสมั ครสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จํานวน 4 ดาน คือ ดานตัวผูสมัคร ดานนโยบายของพรรค ดานการรณรงคหาเสียง ดานสื่อบุคคลความคิดเห็นในแตละดานลวนมีความสัมพันธกันในทุกดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01 การทดสอบสมมติฐานพบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษามีความสัมพันธตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสระบุรี สวนอาชีพและรายได ไมมีความสัมพันธตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิก สภาผูแทนราษฎรจังหวัดสระบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

20วิชา อยูหลํา. “ปจจัยที่มีผลตอการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีประชาชนจังหวัดสระบุรี.”สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

Page 40: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

27

มงคล รัตนพันธ21 ศึกษาเร่ือง “ปจจัยที่ใชในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณี ผูมีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 3 จังหวัดประจวบคีรีขันธ” ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 31–45 ป จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว มีรายไดระหวาง 10,001–15,000 บาท และไปใชสิทธิเลือกต้ังทุกคร้ัง ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่ใชในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ ในภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาสื่อในการรณรงคหาเสียง (สื่อบุคคล) มากที่สุด รองลงมาคือ ดานพรรคการเมือง สื่อในการรณรงคหาเสียงของผูสมัคร ความสําคัญของปจจัยตางๆ และคุณสมบัติของผูสมัคร ความคิดเห็นดานพรรคการเมืองที่ผูสมัครสังกัดอยูในระดับมาก สามารถเรียงลําดับไดดังน้ี นโยบาย รองลงมาคือ ตัวบุคคลที่พรรคจะเลือกเปนรัฐมนตรี ความเชื่อมั่นในระบบพรรค หัวหนาพรรค ชื่อเสียงของพรรคและอ่ืนๆความคิดเห็นดานคุณสมบัติของผูสมัครอยูในระดับมาก สามารถเรียงลําดับได ดังน้ี ความซื่อสัตยสุจริต รองลงมาคือ นําความเจริญสูทองถิ่น มนุษยสัมพันธที่ดี ออกพบปะประชาชนอยางสม่ําเสมอความรูความสามารถผลงานในอดีตมีชื่อเสียงเปนที่รูจัก การศึกษาสูงกวาผูอ่ืน รูจักเปนการสวนตัวเคยพึ่งพาอาศัยกันและขออ่ืนๆ ความคิดเห็นดานสื่อในการรณรงคหาเสียงของผูสมัคร อยูในระดับมาก สามารถเรียงลําดับไดดังน้ี รถแหหาเสียงของผูสมัคร รองลงมาคือ ขาวสารทางวิทยุชุมชนขาวสารจากปายคัทเอาท /ปายโปสเตอร ขาวสารทางหนังสือพิมพทองถิ่น ขาวสารจากการประชาสัมพันธ การเลือกต้ังของ กกต. และขาวสารจากแผนพับใบปลิว ความคิดเห็นดานความสําคัญของปจจัยตางๆ ที่อยูในระดับมาก สามารถนํามาเรียงลําดับไดดังน้ี คุณสมบัติของผูสมัครรับเลือกต้ัง รองลงมาคือ พรรคการเมืองที่ผูสมัครสังกัด สื่อบุคคลของผูสมัครรับเลือกต้ังและสื่อในการรณรงคหาเสียงของผูสมัครรับเลือกต้ัง

ศิริจันทร วงศศิริ22 ศึกษาเร่ือง “ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกผูแทนระดับชาติและระดับทองถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลนํ้ายืน อําเภอนํ้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี” ผลการศึกษาพบวา ศิริจันทร วงศศิริ “ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกผูแทนระดับชาติและระดับทองถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลนํ้ายืน อําเภอนํ้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี" ประชาชนที่มีสิทธิเลือกต้ัง

21มงคล รัตนพันธ. “ปจจัยที่ใชในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีผูมีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 3 จังหวัดประจวบคีรีขันธ.” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2554.

22ศิริจันทร วงศศิริ. “ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกผูแทนระดับชาติและระดับทองถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลน้ํา ยืน อําเภอน้ํายืน จังหวัดอุบลราชธานี.” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 2549.

Page 41: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

28

ที่อาศัยอยูในเขตเทศบาลตําบลนํ้ายืน อําเภอนํ้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี มี ความคิดเห็นในการพิจารณาปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกผูแทนทางการเมืองระดับชาติ ในดานภาพลักษณสวนตัวของผูสมัคร ดานภาพลักษณของพรรคที่สังกัด ดานปฏิบัติการทางการเมืองของผูสมัคร และดานปจจัยแวดลอมอ่ืนๆ เฉลี่ยอยูในระดับปานกลางปจจัยที่สงผลตอการตั ดสินใจเลือกผูแทนทางการเมืองระดับทองถิ่น คือ สมาชิกเทศบาล (สท.) ในดานภาพลักษณสวนตัวของผูสมัคร ดานตระกูล/เครือขาย ดานปฏิบัติการทางการเมืองของผูสมัคร และดานปจจัยแวดลอมอ่ืนๆ โดยเฉลี่ยอยูในระดับปานกลางดานอุปสรรคปญหาที่พบในการตัดสินใจเลือกผูแทน ระดับชาติและระดับทองถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลนํ้ายืน อําเภอนํ้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี คือ ในการสมัครรับเลือกต้ัง ผูสมัครที่มาใหเลือกไมมีความหลากหลายทั้งอาชีพ วิสัยทัศน รวมทั้งนโยบายใหมๆ และผูสมัครที่มาสมัครสวนใหญมีแตหนาเดิมๆ ทําใหในการตัดสินใจจึ งตองขึ้นอยูกับภาพลักษณสวนตัวของผูสมัครที่ไดรับขาวสารมาและหัวคะแนนที่เขามาโดยการขอใหเลือก

สกนธ กรกฎ23 ศึกษาเร่ือง “พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง : ศึกษากรณีเลือกต้ังทั่วไปเมื่อวันที่ 6 มกราคม2554 เขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดพัทลุง”ผลการศึกษาพบวา1) ผูมีสิทธิเลือกต้ังสวนใหญ ไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 2) ผูไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ังสวนใหญเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกต้ัง โดยคํานึงถึงทั้งผูสมัครและพรรคการเมือง 3) ผูไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ังสวนใหญเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อโดยคํานึงถึงผูสมัครและพรรคการเมือง 4) ผูไปลงคะแนนเสียงเลือกต้ังสวนใหญเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทั้ง 2 แบบ พรรคเดียวกัน 5) ประชาชนสวนใหญมีความคิดเห็นในเชิงเปนกลางคอนขางไปในทางที่ดีตอพรรคการเมือง นโยบายของพรรคการเมือง หัวหนาพรรคการเมือง ผูสมัครแบบระบบบัญชีรายชื่อ และผูสมัครแบบแบงเขตเลือกต้ัง 6) ปจจัยทางดานเศรษฐกิจและสังคมไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง 7) ความคิดเห็นที่มีตอพรรคการเมือง นโยบายพรรคการเมืองหัวหนาพรรคการเมืองผูสมัครแบบระบบบัญชีรายชื่อ และผูสมัครแบบแบงเขตเลือกต้ัง ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง

ดาวเรืองนาคสวัสด์ิ 24 ไดศึกษาเร่ือง“ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย” ในหวงเวลาป พ.ศ.2559” พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย

23สกนธ กรกฏ. “พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง: ศึกษากรณีเลือกต้ังทั่วไป เม่ือวันที่ 6 มกราคม 2544 เขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดพัทลุง.” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง,2544.

24ดาวเรือง นาคสวัสด์ิ. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย.สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

Page 42: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

29

มีอายุระหวาง 26-35 ป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี รายไดตอเดือนตํ่า10,000 บาท และประกอบอาชีพรับจางตามลําดับ ชาวสุโขทัยมีการเปดสื่อทั่วไปโดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา เปดสื่อโทรทัศนมากที่สุดเปดสื่ออินเทอรเน็ตสื่อวิทยุและสื่อหนังสือพิมพอยูในระดับมากชาวสุโขทัยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรโดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับมากที่สุด คือปจจัยดานพรรคการเมืองที่สังกัดและปจจัยดานคุณลักษณะของผูสมัครรับเลือกต้ัง ไดแก มีความซื่อสัตย สุจริต มีผลงานดีอยางตอเน่ือง มีความเสียสละ ชวยเหลือประชาชนอยางเต็มใจ ลงพื้นที่พบปะประชาชนอยางสม่ําเสมอเปนกันเอง เขาพบไดงาย และมีความสามารถในการสื่อสารพูดจา ปราศรัยดีมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก คือ ปจจัยดานนโยบายของผูสมัครปจจัยดานการรณรงคหาเสียงเลือกต้ังและปจจัยดานสื่อบุคคลที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ ผลการทดสอบสม ม ติฐา นพ บ ว า เพ ศ ไ มมีค วา ม สัม พันธกับ ป จ จัย ที่ มี ผล ตอก า รตัดสินใ จก า ร เลือก ต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย อายุมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย เมื่อทดสอบเปนรายคู พบความแตกตาง 1 คู ไดแก ชาวสุโขทัยที่มีอายุระหวาง 18–25 ป กับชาวสุโขทัย ที่มีอายุระหวาง 36–45 ป ระดับการศึกษา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย เมื่อทดสอบเปนรายคู พบความแตกตาง 2คู ไดแก ชาวสุโขทัยที่มีการศึกษาระดับ ประถมศึกษากับชาวสุโขทัยที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีและชาวสุโขทัยที่มีการศึกษาระดับ ประถมศึกษากับชาวสุโขทัยที่มีระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี รายได มีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย เมื่อทดสอบเปนรายคู พบความแตกตาง 3 คู ไดแก ชาวจังหวัดสุโขทัยที่มีรายไดตํ่ากวา 10,000 บาท กับชาวจังหวัดสุโขทัยที่มีรายได 10,001-15,000 บาท ชาวสุโขทัยที่มีรายไดตํ่ากวา 10,000 บาท กับชาวสุโขทัยที่มีรายได 15,001-20,000 บาท และชาวสุโขทัยที่มีรายไดตํ่ากวา 10,000 บาท กับชาวสุโขทัยที่มีรายได 30,001 บาทขึ้นไป อาชีพมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัยเมื่อทดสอบเปนรายคู พบความแตกตาง 1 คู ไดแก ชาวจังหวัดสุโขทัยที่ประกอบอาชีพเกษตรกรกับชาวจังหวัดสุโขทัยที่ประกอบอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจการเปดรับสื่อมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรจังหวัดสุโขทัย เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาการเปดรับสื่อโทรทัศนสื่อวิทยุ สื่อหนังสือพิมพ และ สื่ออินเตอรเน็ตมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย

Page 43: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

30

ไพบูลย บุตรเลียบ25 ศึกษาเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร : ศึกษาในหวงเวลาป 2557” ผลการศึกษาพบวาพฤติกรรมการเปดรับสื่อทางการเมืองของกลุมตัวอยาง ที่เปนประชาชนในจังหวัดสมุทรสาครพบวา ระดับพฤติกรรมการเปดรับสื่อทางการเมืองของกลุมตัวอยางมีความสําคัญปานกลาง โดยกลุมตัวอยางมีระดับพฤติกรรมการเปดรับสื่อทางการเมืองจากโทรทัศน มีความสําคัญมากที่สุด ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกต้ังของประชาชนของกลุมตัวอยาง ที่เปนประชาชนในจังหวัดสมุทรสาครพบวา มีความแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับปจจัย ดานคุณสมบัติของผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบายของผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานคุณสมบัติของสื่อบุคคลของผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานรูปแบบการหาเสียงของผูสมัครรับเลือกต้ังดานพรรคการเมืองของผูสมัครรับเลือกต้ัง และดานการอุปถัมภของผูสมัครรับเลือกต้ังในจังหวัดสมุทรสาคร

จากการทดสอบสมมติฐานที่ 1 ลักษณะทางประชากรศาสตรมีความสัมพันธตอการตัดสินใจเลือกต้ัง กลาวไดวา เพศ ระดับการศึกษา รายได อายุ อาชีพที่ตางกันการตัดสินใจเลือกต้ังแตกตางกัน สวนสมมติฐานที่ 2 พฤติกรรมการเปดรับสื่อทางการเมืองมีความสัมพันธตอการตัดสินใจในการเลือกต้ังพบวา พฤติกรรมการเปดรับสื่อทางการเมืองจากสื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ สื่อหนังสือพิมพสื่ออินเทอรเน็ต และเสียงตามสายในชุมชน มีสหสัมพันธเชิงบวกกับการตัดสินใจเลือกต้ัง

พงศสุรวัฒน วงษสารัมยและคณะ26 ศึกษาเร่ือง "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการเลือกต้ังทั่วไป ป พ.ศ.2554 : ศึกษากรณีจังหวัดบุรีรัมย" ผลการศึกษาพบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 18-30 ป จบการศึกษาระดับปริญญาตรีประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายไดตํ่ากวา 10,000 บาท ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง ในภาพรวม อยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังน้ี ดานนโยบายการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง รองลงมาคือ ดานกิจกรรมการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง ดานพรรคการเมืองที่ผูสมัครรับเลือกต้ังสังกัด ดานคุณสมบัติผูลงสมัครรับเลือกต้ัง ดานสื่อการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง และดานสื่อบุคคล และเมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางประชากรศาสตรกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของชาวจังหวัดบุรีรัมย พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษาอาชีพ และรายไดตอเดือน มีความสัมพันธ

25ไพบูลย บุตรเลียบ. "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร: ศึกษาในหวงเวลาป 2557." สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

26พงศสุรวัฒน วงษสารัมย และคณะ."ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการเลือกต้ังทั่วไปปพ.ศ.2554: ศึกษากรณีจังหวัดบุรีรัมย.” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก,2555.

Page 44: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

31

กับปจจัยในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการเลือกต้ังทั่วไป ป พ .ศ.2554 ของชาวจังหวัดบุรีรัมย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

นภาพร หมื่นจง27 ไดศึกษา “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง”ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่เปนประชาชนในจังหวัดระยองสวนใหญเปนเพศหญิง สวน ใหญมีอายุระหวาง 31-40 ป สวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี สวนใหญมีอาชีพรับจางทั่วไป สวนใหญมีรายได ตอเดือน 10,001–15,000 บาท สวนปจจัยในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง โดยรวมอยูในระดับมากที่สุด มาก และปานกลาง ซึ่งสามารถเรียงตามละดับไดดังน้ี ดานนโยบาย ดานตัวผูสมัครอยูในระดับมากที่สุด ไดแก ใหความชวยเหลือประชาชนอยางสม่ําเสมอ เปนผูมีความซื่อสัตยสุจริต และเปนผูที่ทําประโยชนใหกับชุมชนหรือทองถิ่น ดานพรรคการเมือง ดานการรณรงค และดานสื่อบุคคล ดานผลการทดสอบสมมติฐานที่ 1 พบวาเพศอายุ และรายไดตอเดือนของกลุมตัวอยาง โดย ภาพรวมไมมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง สวนระดับ การศึกษาและอาชีพของกลุมตัวอยาง โดยภาพรวมมีความสัมพันธกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเปนไปตาม สมมติฐานที่วางไว ผลการทดสอบสมมติฐานที่ 2 พบวา การเปดรับสื่อกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง ไมมีความสัมพันธกัน จึงไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

ณิชาภา เหมะธุลิน28 ศึกษาเร่ือง "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรศึกษากรณี : ผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ." ผลการศึกษาพบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย อายุระหวาง 46-55 ป การศึกษาระดับมัธยมศึกษาประกอบอาชีพเกษตรกร รายไดตอเดือนตํ่ากวา 10,000 บาท ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ โดยรวมอยูในระดับมากเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังน้ี ดานนโยบาย รองลงมาคือ ดานคุณสมบัติของผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานสื่อในการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง และดานสื่อบุคคลตามลําดับ การทดสอบสมมติฐาน พบวา เพศ อายุ ระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ สวน อาชีพ และรายได มีความสัมพันธตอการ

27นภาพร หม่ืนจง. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง.สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

28ณิชาภา เหมะธุลิน. "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ". สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก,2556.

Page 45: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

32

ตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

อดิศักด์ิ จันทรวิทัน29 ไดศึกษาเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ : ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ.2559.” พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชายมีอายุระหวาง 46–55 ป และ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายไดมากกวา 30,001 บาทขึ้นไป และมีอาชีพคาขาย มีพฤติกรรม การเปดรับสื่อ ภาพรวมเฉลี่ยอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแตละสื่อพบวากลุมตัวอยางที่มีระดับ พฤติกรรมการเปดรับสื่อมาก ไดแกสื่อวิทยุ รองลงมาคือ สื่อหนังสือพิมพ สื่อโทรทัศน และสื่ออินเทอรเน็ต ตามลําดับ ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชน จังหวัดประจวบคีรีขันธ : ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ.2559 ในภาพรวมอยูในคาเฉลี่ยระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานนโยบายของผูสมัคร และรองลงมาดานคุณลักษณะของผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานการรณรงค หาเสียงเลือกต้ังและอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 5 ขอ ไดแก เปดเวทีปราศรัยตามชุมชนบอยๆ ติดต้ังปายหาเสียงขนาดใหญตามชุมชนหาเสียงทางรถแหหาเสียง โดยการเคาะประตูบานและแจกบัตรย้ําเบอรอยางทั่วถึง ดานพรรคที่สังกัดและดานอิทธิพลของสื่อบุคคล การทดสอบสมมติฐานพบวาประชาชนชาวจังหวัดประจวบคีรีขันธที่มี เพศ อายุ ระดับ การศึกษา และรายไดตอเดือนที่แตกตางกันมีการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 สวนดานอาชีพที่แตกตางกันและพฤติกรรมการเปดรับสื่อของชาวจังหวัดประจวบคีรีขันธมีความสัมพันธเชิงบวกกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ

จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของไมพบวามีงานวิจัยที่ศึกษาเร่ืองปจจัยมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ศึกษาในหวงเวลาป 2561 ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษางานวิจัยดังกลาวเพื่อเปนประโยชนตอวิชาการสื่อสารทางการเมืองตอไป

2.4 กรอบแนวคิดการวิจัยการศึกษาคร้ังน้ี เปนการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในชวงเวลา ป พ.ศ.2561 ผูศึกษาไดกําหนดกรอบแนวคิดจากแนวคิด ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมือง นํามาประยุกตเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัย ดังน้ี

29อดิศักด์ิ จันทรวิทัน. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ:ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ.2559. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

Page 46: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

33

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ลักษณะทางประชากรศาสตร- เพศ- อายุ- ระดับการศึกษา- รายไดตอเดือน- อาชีพ

การตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

- ดานคุณลักษณะของผูสมัคร- ดานนโยบายของผูสมัคร- ดานพรรคการเมือง- ดานการรณรงคหาเสียง- ดานอิทธิพลของสื่อบุคคล

การเปดรับสื่อ

Page 47: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

บทที่ 3ระเบียบวิธีวิจัย

การศึกษาเร่ือง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในหวงเวลา พ.ศ.2561” น้ี เปนงานวิจัยเชิงปริมาณซึ่งผูวิจัยไดกําหนดวิธีดําเนินการวิจัยอันประกอบดวยกลุมประชากร เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย วิธีรวบรวมขอมูล และสถิติที่ใชในการวิจัยดังตอไปน้ี

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.2 เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา3.3 การตรวจสอบความเที่ยงของเคร่ืองมือ (reliability)3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล3.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางกลุมประชากรเปาหมายในคร้ังน้ี เปนผูมีสิทธิเลือกต้ังอายุ 18 ปขึ้นไปตามบัญชีรายชื่อผูมี

สิทธิ์เลือกต้ังในเขตการปกครองทั้ง7 เขตของจังหวัดนนทบุรี ตามบัญชีผูมีสิทธิเลือกต้ังจํานวน 956,834คน1

การกําหนดขนาดตัวอยางจะใชหลักการคํานวณของทาโร ยามาเน2 ในกรณีทราบจํานวนประชากรแนนอน โดยใชสูตรในการคํานวณ ดังน้ี

สูตร n =21 Ne

N

เมื่อ n แทนขนาดของกลุมตัวอยางN แทนขนาดของกลุมประชากรผูมีสิทธิเลือกต้ัง = 956,834e แทนความคลาดเคลื่อนของกลุมตัวอยางที่ยอมรับได

ซึ่งกําหนดไวที่ = 0.05แทนคา n = 956,834

1 + 956,834 (0.05)2

= 399.84 ราย

1สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจําจังหวัดนนทบุรี. ขอมูล ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2559.2 Taro Yamane. Statistic: An Introductory Analysis. 3rded. New York: Harper and Row, 1973.

Page 48: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

35

ดังน้ัน จะไดขนาดกลุมตัวอยางประมาณ 400 ตัวอยางการสุมตัวอยางเปนแบบหลายชั้น (Multi-Level) โดยเร่ิมจากการสุมตัวอยางอยางงาย ดวย

การจับสลาก โดยนํารายชื่ออําเภอทั้ง 7 อําเภอของจังหวัดนนทบุรี มาจับฉลาก 4 อําเภอ ซึ่งไดแก อําเภอเมืองนนทบุรี อําเภอบางบัวทอง อําเภอปากเกร็ด อําเภอบางใหญ จากน้ันจึงทําการสุมแบบบังเอิญใน4 อําเภอ ดังกลาว โดยกําหนดตามโควตาอําเภอละ 100 ตัวอยาง รวมทั้งสิ้น 400 ตัวอยาง โดยสุมแบบบังเอิญ กระจายตามแหลงชุมชนไดแกศูนยการคา ตลาด สวนสาธารณะ สถานที่ราชการ เปนตน

3.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถามปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของประชาชน

ในการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ที่ผูวิจัยสรางขึ้นโดยแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น แบงออกเปน 3 ตอน มีรายละเอียดดังน้ี

ตอนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับประชากรศาสตร มีลักษณะเปนแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน อาชีพ ผูวิจัยนําเสนอขอมูลที่ไดมาในลักษณะของการแจกแจงความถี่และหาคารอยละ

ตอนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับการเปดรับสื่อที่มีผลตอการตัดสินใจของประชาชนในการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี อันประกอบไปดวย สื่อโทรทัศน วิทยุชุมชนหนังสือพิมพและเว็บไซด

ตอนที่ 3 เปนคําถามที่มีผลตอการตัดสินใจของประชาชนในการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ซึ่งลักษณะเปนแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) และเปนแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) ไดแก

1) ดานคุณสมบัติของผูสมัครรับเลือกต้ัง2) ดานนโยบายของผูสมัคร3) คุณสมบัติของสื่อบุคคลของผูสมัครรับเลือกต้ัง4) ดานพรรคการเมืองของผูสมัครรับเลือกต้ัง5) ดานสื่อบุคคลของผูสมัครรับเลือกต้ัง

Page 49: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

36

ระดับความคิดเห็นจะแบงออกเปนมากที่สุด คะแนนเทากับ 5มาก คะแนนเทากับ 4ปานกลาง คะแนนเทากับ 3นอย คะแนนเทากับ 2นอยที่สุด คะแนนเทากับ 1

เกณฑการแปลความหมายคะแนนเฉลี่ยของคําถามในแตละขอ โดยอาศัยการเปรียบเทียบระดับคะแนนเฉลี่ยกับเกณฑที่แบง โดยมีความกวางแตละอันตรภาคชั้นที่เทากัน ซึ่งคํานวณไดดังน้ี

(คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุด) = 80.05

15

จํานวนชั้น

ระดับมากที่สุด คะแนน 4.21 - 5.00ระดับมาก คะแนน 3.41 - 4.20ระดับปานกลาง คะแนน 2.61 - 3.41ระดับนอย คะแนน 1.81 - 2.60ระดับนอยที่สุด คะแนน 1.00 - 1.80

โดยคะแนนเฉลี่ยในแตละชวงหมายถึง ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของประชาชนในการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีอยูในระดับมากที่สุดระดับมากระดับปานกลางระดับนอยและระดับนอยที่สุด

3.3 การตรวจสอบความเท่ียงของเคร่ืองมือ (reliability)การหาความเที่ยงตรงของแบบสอบถามโดยใช Cronbach’s Alpha การทดสอบความ

เชื่อมั่นของขอมูล (Reliability test) ของแบบสอบถามโดยใชคาสัมประสิทธิ์ ของ Cronbach(Cronbach’s Alpha) หากคาที่ไดจากการวิเคราะหมีคาต้ังแต 0.7 ขึ้นไป แสดงวาแบบสอบถามที่จัดขึ้นน้ัน มีความนาเชื่อถือสามารถนํา ไปทดสอบสมมติฐานและนําไปใชในกระบวนการวิจัยตอไปได

Page 50: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

37

พฤติกรรมการเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีสื่อโทรทัศน ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.922สื่อวิทยุ ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.919สื่อหนังสือพิมพ ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.924สื่ออินเทอรเน็ต ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.924

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรดานคุณลักษณะของผูสมัคร ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.923ดานนโยบายของผูสมัคร ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.914ดานพรรคการเมือง ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.917ดานการรณรงคหาเสียง ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.913ดานอิทธิพลสื่อบุคคล ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.912

เมื่อผูวิ จัยทําการทดสอบคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามตนแบบรวมกัน จะไดคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach ไดคาความนาเชื่อถือ เทากับ 0.919 แสดงวาแบบสอบถามที่จัดขึ้นน้ัน มีความนาเชื่อถือสามารถนําไปทดสอบสมมติฐานและนําไปใชในกระบวนการวิจัยตอไปได

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล1. ขอมูลปฐมภูมิ เปนขอมูลที่รวบรวมไดจากแบบสอบถาม โดยการสรางแบบสอบถามเพื่อ

ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการเดินทางไปพบกลุมตัวอยางเพื่ อแจกแบบสอบถาม ใหกลุมตัวอยางกรอก/ตอบ หลังจากน้ัน นําแบบสอบถามกลับมาตรวจทานความถูกตอง กอนจะนํามาลงรหัสเพื่อการประมวลและวิเคราะหขอมูล

2. ขอมูลทุติยภูมิ เปนขอมูลที่ เก็บรวบรวมจากหนังสื อ ตํารา บทความจากวารสารผลงานวิจัย และเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใชประกอบการคนควากําหนดเปนแนวคิดในการศึกษาและใชอางอิงในการเขียนรายงานผลการศึกษา

3.5 การวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลประมวลผลขอมูลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ ดวยสถิติดังตอไปน้ี1. คารอยละ (Percentage) ใชในการอธิบายลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง

Page 51: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

38

2. คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: SD) ใชอธิบายการตัดสินใจเลือกต้ัง

3. คา t-test independent, One Way Anova (F-test) ใชทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวแปรในการวิจัย และหาคาความแตกตางรายคูดวยวิธี Sheaffe Method

4. Pearson’s product moment correlation coefficient ใชหาคาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการเปดรับสื่อและปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีโดยกําหนดนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีเกณฑการวัดระดับความสัมพันธ (Correlation) ซึ่งไดใชกับทิศทางบวกและทิศทางลบ ดังน้ี

ตารางท่ี 3.1 เกณฑการวัดระดับความสัมพันธ

ความสัมพันธทางตรง ความสัมพันธเชิงผกผัน การแปรความหมาย1.00 -1.00 สมบูรณมาก

0.80 ถึง 0.99 -0.80 ถึง -0.99 สูงมาก0.60 ถึง 0.79 -0.60 ถึง -0.79 สูง0.40 ถึง 0.59 -0.40 ถึง -0.59 ปานกลาง0.20 ถึง 0.39 -0.20 ถึง -0.39 ตํ่า0.10 ถึง 0.19 -0.10 ถึง -0.19 ตํ่ามาก0.00 ถึง 0.09 -0.00 ถึง -0.09 ไมมีนัยสําคัญ

Page 52: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

บทท่ี 4ผลการวิจัย

การศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี ศึกษาในหวงเวลาป 2561 ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ซึ่งในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล และการแปลผลการวิเคราะหขอมูลของการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหและดําเนินการเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้

4.1 ขอมูลสวนบุคคล4.2 พฤติกรรมการเปดรับสื่อของประชาชนจังหวัดนนทบุรี4.3 ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฏรจังหวัดนนทบุรี4.4 การทดสอบสมมติฐาน e0ในการวิเคราะหผลปรากฏดังนี้

4.1 ขอมูลสวนบุคคล

ตารางท่ี 4.1 ขอมูลสวนบุคคล จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละชาย 169 42.25หญิง 231 57.75

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 231 คน คิดเปนรอยละ 57.75 รองลงมาเปนเพศชาย จํานวน 169 คน คิดเปนรอยละ 42.25

Page 53: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

40

ตารางท่ี 4.2 ขอมูลสวนบุคคลจําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน (คน) รอยละ18-30 ป 105 26.2531-40 ป 123 30.7541-50 ป 105 26.2551-60 ป 56 14.060 ปขึ้นไป 11 2.75

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอายุระหวาง 31-40 ป จํานวน 123 คนคิดเปนรอยละ 30.75 รองลงมาอายุระหวาง 18-30 ป และอายุระหวาง 41-50 ป จํานวน 105 คนคิดเปนรอยละ 26.25 อายุระหวาง 51-60 ป จํานวน 56 คน คิดเปนรอยละ 14.0 และอายุ 60 ปขึ้นไปจํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 2.75 ตามลําดับ

ตารางท่ี 4.3 ขอมูลสวนบุคคลจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละประถมศึกษา 3 0.75มัธยมศึกษา 58 14.5ปวส./อนุปริญญาหรือเทียบเทา 121 30.25ปริญญาตรี 195 48.75สูงกวาปริญญาตรี 23 5.75

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.3 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีระดับการศึกษาปริญญาตรีจํานวน 195 คน คิดเปนรอยละ 48.75 รองลงมาระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญาหรือเทียบเทาจํานวน 121 คน คิดเปนรอยละ 30.25 ระดับการศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ19.5 ระดับ และระดับสูงกวาปริญญาตรี จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 5.75 และระดับการศึกษาประถมศึกษาจํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 0.75 ตามลําดับ

Page 54: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

41

ตารางท่ี 4.4 ขอมูลสวนบุคคล จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ จํานวน (คน) รอยละรับราชการ 73 18.25เกษตรกร 3 0.75พนักงานบริษัทเอกชน 181 45.25ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 27.0อาชีพอิสระ(โปรดระบุ) 10 2.5อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) 25 6.25

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.4 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนจํานวน 181 คน คิดเปนรอยละ 45.25 รองลงมาประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย จํานวน 108 คนคิดเปนรอยละ 27.0 รับราชการ จํานวน 73 คน คิดเปนรอยละ 18.25 อ่ืนๆ (โปรดระบุ) จํานวน 25 คนคิดเปนรอยละ 6.25 อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 2.5 และเกษตรกรจํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 0.75 ตามลําดับ

Page 55: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

42

ตารางท่ี 4.5 ขอมูลสวนบุคคลจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน จํานวน (คน) รอยละตํ่ากวา 10,000 บาท 10 2.510,001-20,000 บาท 76 19.020,001-30,000 บาท 129 32.2530,001-40,000 บาท 118 29.540,001-50,000 บาท 66 16.550,001 บาทขึ้นไป 1 0.25

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.5พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000บาทจํานวน 129 คน คิดเปนรอยละ 32.25 รองลงมารายไดตอเดือนระหวาง 30,001-40,000 บาทจํานวน 118 คน คิดเปนรอยละ 29.5 รายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท จํานวน 76 คนคิดเปนรอยละ 19.0 รายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท จํานวน 66 คน คิดเปนรอยละ16.5 รายไดตอเดือนตํ่ากวา 10,000 บาท จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 2.5 และรายไดตอเดือน50,001 บาทขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.25 ตามลําดับ

Page 56: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

43

4.2 การเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

ตารางท่ี 4.6 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรี ตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

การเปดรับสื่อ X S.D. การแปลผล1. สื่อโทรทัศน 4.49 0.697 มากที่สุด2. สื่อวิทยุ 1.24 0.614 นอยที่สุด3. สื่อหนังสือพิมพ 1.24 0.616 นอยที่สุด4. สื่ออินเทอรเน็ต 3.86 1.703 มาก

เฉลี่ยรวม 2.75 0.478 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะหการเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พบวา ภาพรวมอยูในระดับปานกลางมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.75 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.478 และเมื่อพิจารณาในแตละสื่อแลว พบวาเปดรับสื่ออยูในระดับมากที่สุด จํานวน 1 ขอ อยูในระดับมาก จํานวน 1 ขอ และอยูในระดับนอยที่สุดเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ สื่อโทรทัศน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.49 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.697 รองลงมาคือ สื่ออินเทอรเน็ต มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.86 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน1.703 และสื่อวิทยุสื่อหนังสือพิมพ มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.24 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.614 และ0.616 ตามลําดับ

Page 57: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

44

4.3 ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

ตารางท่ี 4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยภาพรวม

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

X SD การแปลผล

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร 4.56 0.325 มากที่สุดดานนโยบายของผูสมัคร 4.71 0.336 มากที่สุดดานพรรคการเมือง 4.54 0.407 มากที่สุดดานการรณรงคหาเสียง 4.05 0.585 มากดานอิทธิพลสื่อบุคคล 3.61 0.533 มาก

ภาพรวม 4.29 0.279 มาก

จากตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยภาพรวมพบวาอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.29 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.279 เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 3 ขอและอยูในระดับมาก จํานวน 2 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอยไดดังนี้ ดานนโยบายของผูสมัครมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.71 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.336 รองลงมา คือ ดานคุณลักษณะของผูสมัครมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.56 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.325 ดานพรรคการเมือง มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.54สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.407 ดานการรณรงคหาเสียง มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.05 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน0.585 และดานอิทธิพลสื่อบุคคล มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.61 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.533 ตามลําดับ

Page 58: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

45

ตารางท่ี 4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร X S.D. การแปลผล1. สําเร็จการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรี 4.54 0.514 มากที่สุด2. มีบุคลิกภาพดี และมีความสามารถในการสื่อสาร 4.38 0.571 มากที่สุด3. มีความสื่อสัตย สุจริต โปรงใส 4.77 0.440 มากที่สุด4. เคยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมา

กอน4.28 0.704 มากที่สุด

5. มีความเปนกันเองเขาพบไดงาย 4.51 0.548 มากที่สุด6. มีผลงานในอดีตมากอน และทําตอเนื่อง 4.41 0.634 มากที่สุด7. เอาใจใส ทุกข สุขของประชาชน ชวยเหลือ

ประชาชน4.79 0.429 มากที่สุด

8. มีอุดมการณทางการเมืองชัดเจน 4.79 0.423 มากที่สุดภาพรวม 4.23 0.519 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.8 ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัครพบวาอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.23 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.519 เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวาอยูในระดับมากที่สุด ทุกขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ เอาใจใส ทุกข สุขของประชาชนชวยเหลือประชาชนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.79 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.429 รองลงมา คือ มีอุดมการณทางการเมืองชัดเจนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.79 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.423 มีความซื่อสัตยสุจริตโปรงใสมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.77 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.440 สําเร็จการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.54 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.514 มีความเปนกันเองเขาพบไดงายมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.51 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.548 มีผลงานในอดีตมากอน และทําตอเนื่องมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.41 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.634 มีบุคลิกภาพดี และมีความสามารถในการสื่อสารมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.38 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.571 และเคยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมากอนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.28 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.704 ตามลําดับ

Page 59: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

46

ตารางท่ี 4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานนโยบายของผูสมัคร

ดานนโยบายของผูสมัคร X S.D. การแปลผล1. ชวยเหลือประชาชนที่มีรายไดนอย 4.70 0.459 มากที่สุด2. จัดสวัสดิการใหแกผูดอยโอกาส 4.89 0.326 มากที่สุด3. ประกันราคาผลผลิตการเกษตร 4.57 0.553 มากที่สุด4. เพิ่มคาแรงขั้นตํ่าและเพิ่มเงินเดือนขาราชการและ

พนักงานเอกชน4.70 0.535 มากที่สุด

5. สงเสริมการตลาดใหแกผลิตภัณฑทองถิ่น (OTOP) 4.63 0.518 มากที่สุด6. ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจัง 4.92 0.286 มากที่สุด7. เพิ่มเงินเดือนผูสูงอายุ 4.63 0.508 มากที่สุด8. จัดใหมีการรักษาพยาบาลฟรีอยางมีคุณภาพ 4.63 0.527 มากที่สุด

ภาพรวม 4.71 0.336 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.9 ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานนโยบายของผูสมัครพบวาอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ4.71 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.336 เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวาอยูในระดับมากที่สุดทุกขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยได ดังนี้ ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจังมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.92สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.286 รองลงมาคือ จัดสวัสดิการใหแกผูดอยโอกาสมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.89สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.326 เพิ่มคาแรงขั้นตํ่า และเพิ่มเงินเดือนขาราชการและพนักงานเอกชนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.70 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.535 ชวยเหลือประชาชนที่มีรายไดนอยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.70 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.459 สงเสริมการตลาดใหแกผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP)จัดใหมีการรักษาพยาบาลฟรีอยางมีคุณภาพเพิ่มเงินเดือนผูสูงอายุมีคาเฉลี่ยเทากัน คือ 4.63สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.518, 0.527 และ0.508 และประกันราคาผลผลิตการเกษตรคาเฉลี่ยเทากับ 4.57 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.553 ตามลําดับ

Page 60: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

47

ตารางท่ี 4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง

ดานพรรคการเมือง X S.D. การแปลผล1. เปนพรรคการเมืองที่เคยเปนรัฐบาลมากอน 4.23 0.635 มากที่สุด2. เปนพรรคการเมืองที่หัวหนาพรรคมีภาพลักษณดี 4.30 0.558 มากที่สุด3. เปนพรรคการเมืองเกาแก มีประสบการณ 4.25 0.647 มากที่สุด4. เปนพรรคที่ยึดมั่นในอุดมการณ 4.53 0.529 มากที่สุด5. ผูบริหารพรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน 4.56 0.517 มากที่สุด6. เปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายชัดเจนปฏิบัติไดจริง 4.79 0.879 มากที่สุด7. เปนพรรคการเมืองที่มีผลงานชัดเจนเปนรูปธรรม 4.74 0.461 มากที่สุด8. เปนพรรคการเมืองที่ทํางานเปนทีมอยางมี

ประสิทธิภาพ4.90 2.151 มากที่สุด

ภาพรวม 4.54 0.407 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.10 ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง พบวา อยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.54สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.407 เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับมากที่สุดทุกขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยได ดังนี้ เปนพรรคการเมืองที่ทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.90 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.151 รองลงมาคือ เปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายชัดเจนปฏิบัติไดจริงมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.79 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.879 เปนพรรคการเมืองที่มีผลงานชัดเจนเปนรูปธรรมมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.74 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.461 ผูบริหารพรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.56 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.517 เปนพรรคที่ยึดมั่นในอุดมการณมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.53 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.529 เปนพรรคการเมืองที่หัวหนาพรรคมีภาพลักษณดีมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.30 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.558 เปนพรรคการเมืองเกาแกมีประสบการณมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.25 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.647 และเปนพรรคการเมืองที่เคยเปนรัฐบาลมากอนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.23 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.635 ตามลําดับ

Page 61: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

48

ตารางท่ี 4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียง

ดานการรณรงคหาเสียง X S.D. การแปลผล1. จัดปราศรัยหาเสียงดวยเนื้อหาที่มีประโยชน 4.84 2.705 มากที่สุด2. ออกเดินหาเสียง โดยเคาะตามประตูบานอยาง

ทั่วถึง3.65 0.759 มาก

3. ปายหาเสียง ขนาดใหญ โดดเดน สะดุดตา 3.62 1.778 มาก4. จัดกิจกรรมพิเศษหาเสียงดวยรูปแบบแปลกใหม 4.19 0.557 มาก5. หาเสียงผานสื่อใหมเปน Facebook, Line 4.11 0.589 มาก6. รถแหกระจายเสียงทั่วพื้นที่ 3.75 0.838 มาก7. ใบปลิว/แผนพับ/บัตรแนะนําตัวสวยงามชัดเจน 3.80 0.853 มาก8. ใชสื่อกระแสหลัก เชน โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพ

ในการโฆษณาหาเสียง4.41 0.779 มากที่สุด

ภาพรวม 4.05 0.585 มาก

จากตารางที่ 4.11 ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงพบวาอยู ในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.05สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.585 เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับมากที่สุด จํานวน2 ขอ และระดับมาก จํานวน 6 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้จัดปราศรัยหาเสียงดวยเนื้อหาที่มีประโยชนมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.84 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.705 รองลงมาคือ ใชสื่อกระแสหลัก เชน โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพในการโฆษณาหาเสียงมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.41 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.779 จัดกิจกรรมพิเศษหาเสียงดวยรูปแบบแปลกใหมมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.19สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.557 หาเสียงผานสื่อใหมเปน Facebook, Line มีคาเฉลี่ยเทากันคือ 4.11สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.589 ใบปลิว/แผนพับ/บัตรแนะนําตัวสวยงามชัดเจนมีคาเฉลี่ยเทากับ3.80 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.853 รถแหกระจายเสียงทั่วพื้นที่คาเฉลี่ยเทากับ 3.75 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.838 ออกเดินหาเสียง โดยเคาะตามประตูบานอยางทั่วถึงมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.759 และปายหาเสียง ขนาดใหญ โดดเดน สะดุดตามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.62 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.778 ตามลําดับ

Page 62: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

49

ตารางท่ี 4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคล

ดานอิทธิพลสื่อบุคคล X S.D. การแปลผล1. สมาชิกครอบครัว (พอ/แม/สามี/ภรรยา/พี่/นอง) 4.43 0.641 มาก2. เพื่อนรวมงาน 3.99 0.731 มาก3. ผูนําชุมชนในพื้นที่ เชน กํานัน ผูใหญบาน 3.81 0.752 มาก4. นายจาง/ผูบังคับบัญชา 3.36 0.742 ปานกลาง5. บุคคลที่นับถือ (อาจารย/พระ) 3.41 0.677 มาก6. เพื่อนบาน 3.46 0.777 มาก7. เพื่อนรวมชั้นเรียน 3.15 0.806 ปานกลาง8. ผูมีอิทธิพลในพื้นที่ 3.24 0.855 ปานกลาง

ภาพรวม 3.61 0.533 มาก

จากตารางที่ 4.12 ผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลพบวาอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.61สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.533 เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวาอยูในระดับมาก 5 ขอ และอยูในระดับปานกลาง 3 ขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้สมาชิกครอบครัว (พอ/แม/สามี/ภรรยา/พี่/นอง)มีคาเฉลี่ยเทากันคือ 4.43 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทากันคือ 0.641 รองลงมาคือเพื่อนรวมงานมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.99 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.731 ผูนําชุมชนในพื้นที่ เชน กํานันผูใหญบานมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.81 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.752 เพื่อนบานมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.46สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.777 บุคคลที่นับถือ (อาจารย/พระ)มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.41 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.677 นายจาง/ผูบังคับบัญชามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.36 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.742ผูมีอิทธิพลในพื้นที่มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.24 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.855 และเพื่อนรวมชั้นเรียนมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.15 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.806 ตามลําดับ

Page 63: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

50

4.4 การทดสอบสมมติฐานตารางท่ี 4.13การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามเพศ

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ของจังหวัดนนทบุรีเพศ n X S.D. t Sig.

ชาย 169 4.21 .390ดานคุณลักษณะของผูสมัครหญิง 231 4.25 0.396

0.874 0.350

ชาย 169 3.96 0.500ดานนโยบายของผูสมัครหญิง 231 3.98 0.482

0.092 0.762

ชาย 169 4.22 0.454 0.074ดานพรรคการเมืองหญิง 231 4.24 0.568

0.786

ชาย 169 3.73 0.657 0.598 0.440ดานการรณรงคหาเสียงหญิง 231 3.68 0.672ชาย 169 3.72 0.742 0.923 0.337ดานอิทธิพลสื่อบุคคลหญิง 231 3.65 0.743ชาย 169 3.97 0.378

โดยรวมหญิง 231 3.96 0.389

0.088 0.767

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.13 พบวาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม จําแนกตามเพศ มีคา Sig. เทากับ 0.767 ซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือประชาชนที่มีเพศตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวมไมแตกตางกัน เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผลดังนี้

ดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานพรรคการเมือง ดานนโยบาย ดานการรณรงคหาเสียงเลือกต้ังและดานสื่อบุคคลพบวามีคา Sig. เทากับ 0.350, 0.762, 0.786, 0.440 และ 0.337 ตามลําดับซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีเพศตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานพรรคการเมือง ดานนโยบาย ดานการรณรงคหาเสียงเลือกต้ังและดานสื่อบุคคลไมแตกตางกัน

Page 64: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

51

ตารางท่ี 4.14 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามอายุ

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ของจังหวัดนนทบุรีอายุ n X S.D. F Sig.

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร 18-30 ป 105 4.21 0.390 0.892 0.48631-40 ป 123 4.25 0.39641-50 ป 105 3.96 0.50051-60 ป 56 3.98 0.482

60 ปขึ้นไป 11 4.22 0.454รวม 400 4.24 0.568

ดานนโยบายของผูสมัคร 18-30 ป 105 3.73 0.657 1.132 0.34231-40 ป 123 3.68 0.67241-50 ป 105 3.72 0.74251-60 ป 56 3.65 0.743

60 ปขึ้นไป 11 3.97 0.378รวม 400 3.96 0.389

ดานพรรคการเมือง 18-30 ป 105 4.29 0.373 2.508 0.030*31-40 ป 123 4.31 0.38141-50 ป 105 4.23 0.39351-60 ป 56 3.97 0.575

60 ปขึ้นไป 11 3.84 0.448รวม 400 3.88 0.473

Page 65: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

52

ตารางท่ี 4.14 (ตอ)

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

อายุ n X S.D. F Sig.

ดานการรณรงคหาเสียง 18-30 ป 105 3.99 0.502 7.043 0.07031-40 ป 123 4.25 0.39141-50 ป 105 3.97 0.48951-60 ป 56 4.08 0.503

60 ปขึ้นไป 11 4.17 0.465รวม 400 4.18 0.374

ดานอิทธิพลสื่อบุคคล 18-30 ป 105 4.30 0.665 6.702 0.10031-40 ป 123 4.28 0.35441-50 ป 105 4.23 0.51951-60 ป 56 3.45 0.892

60 ปขึ้นไป 11 3.39 0.663รวม 400 3.68 0.606

โดยรวม 18-30 ป 105 4.02 0.380 2.742 0.11931-40 ป 123 4.22 0.26041-50 ป 105 3.96 0.38451-60 ป 56 4.04 0.459

60 ปขึ้นไป 11 4.18 0.411รวม 400 4.19 0.373

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.14 พบวา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม จําแนกตามอายุ มีคา Sig. เทากับ 0.119 ซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผลดังนี้

Page 66: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

53

ดานคุณลักษณะของผูสมัครดานนโยบายของผูสมัครดานการรณรงคหาเสียงดานอิทธิพลสื่อบุคคลและโดยรวมพบวามีคา Sig. เทากับ 0.486,0.342,0.070, 0.100 และ 0.119 ตามลําดับซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานคุณลักษณะของผูสมัครดานนโยบายของผูสมัครดานการรณรงคหาเสียงดานอิทธิพลสื่อบุคคลและโดยรวมไมแตกตางกัน

ดานพรรคการเมืองพบวามีคา Sig. เทากับ 0.030 ตามลําดับ ซึ่งมีคานอยกวา 0.05 นั่นคือปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานพรรคการเมืองแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เมื่อพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผูวิจัยจึงทําการทดสอบ Post Hoc หากกลุมอายุที่มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานพรรคการเมืองแตกตางจากกลุมอ่ืนๆ ผลการทดสอบมีรายละเอียดดังตารางที่ 15

ตารางท่ี 4.15 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมืองจําแนกตามอายุ

อายุ

X 1 2 3 4 5อายุ4.29 4.31 4.23 4.10 4.23

1. 18-30 ป 4.29 - 0.035 0.122 0.235 0.098- (1.000) (0.866) (0.221) (0.970)

2. 31-40 ป 4.31 - - 0.086(0.952)

0.200(0.299)

0.062(0.995)

3. 41-50 ป 4.23 - - - 0.113(0.805)

-0.024(1.000)

4. 51-60 ป 3.97 - - - - -0.137(0.805)

5. 60 ปขึ้นไป 3.84 - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 67: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

54

จากตารางที่ 4.15 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานพรรคการเมือง จําแนกตามอายุ เปนรายคู ไมพบความแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.16 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามระดับการศึกษา

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

ของจังหวัดนนทบุรีระดับการศึกษา n X S.D. F Sig.

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ประถมศึกษา 3 4.04 0.459 3.641 0.006*มัธยมศึกษา 78 4.18 0.411ปวส./อนุปริญญา 121 4.19 0.373ปริญญาตรี 195 4.29 0.373สูงกวาปริญญาตรี 3 4.31 0.381

รวม 400 4.23 0.393ดานนโยบายของผูสมัคร ประถมศึกษา 3 3.97 0.575 7.603 0.000*

มัธยมศึกษา 78 3.84 0.448ปวส./อนุปริญญา 121 3.88 0.473ปริญญาตรี 195 3.99 0.502สูงกวาปริญญาตรี 3 4.25 0.391

รวม 400 3.97 0.489ดานพรรคการเมือง ประถมศึกษา 3 4.08 0.503 1.810 0.126

มัธยมศึกษา 78 4.17 0.465ปวส./อนุปริญญา 121 4.18 0.374ปริญญาตรี 195 4.30 0.665สูงกวาปริญญาตรี 3 4.28 0.354

รวม 400 4.23 0.519

Page 68: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

55

ตารางท่ี 4.16 (ตอ)

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

ระดับการศึกษา n X S.D. F Sig.

ดานการรณรงคหาเสียง ประถมศึกษา 3 3.45 0.892 13.183 0.000*มัธยมศึกษา 78 3.39 0.663ปวส./อนุปริญญา 121 3.68 0.606ปริญญาตรี 195 3.78 0.619สูงกวาปริญญาตรี 3 4.12 0.486

รวม 400 3.70 0.665ดานอิทธิพลสื่อบุคคล ประถมศึกษา 3 3.47 0.979 11.322 0.000*

มัธยมศึกษา 78 3.37 0.802ปวส./อนุปริญญา 121 3.69 0.652ปริญญาตรี 195 3.73 0.719สูงกวาปริญญาตรี 3 4.14 0.424

รวม 400 3.68 0.743โดยรวม ประถมศึกษา 3 3.80 0.511 14.829 0.000*

มัธยมศึกษา 78 3.79 0.391ปวส./อนุปริญญา 21 3.92 0.298ปริญญาตรี 195 4.02 0.380สูงกวาปริญญาตรี 3 4.22 0.260

รวม 400 3.96 0.384* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.16 พบวา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม จําแนกตามระดับการศึกษา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งมีคานอยกวา0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล ดังนี้

Page 69: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

56

ดานพรรคการเมืองพบวามีคา Sig. เทากับ 0.126 ซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมืองไมแตกตางกัน

ดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคลพบวามีคา Sig. เทากับ 0.006, 0.000, 0.000 และ 0.000 ตามลําดับ ซึ่งมีคานอยกวา 0.05นั่นคือ ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียงและดานอิทธิพลสื่อบุคคลแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เมื่อพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผูวิจัยจึงทําการทดสอบ Post Hoc หากกลุมระดับการศึกษาที่มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง ดานอิทธิพลสื่อบุคคลและโดยรวม แตกตางจากกลุมอ่ืนๆ ผลการทดสอบมีรายละเอียดดังตารางที่ 4.20-4.24

Page 70: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

57

ตารางท่ี 4.17 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานผูสมัครรับเลือกต้ังจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา1 2 3 4 5ระดับการศึกษา

X 4.04 4.18 4.19 4.29 4.311. ประถมศึกษา 4.04 - -0.139

(0.660)-0.156(0.544)

-0.254(0.068)

-0.276(0.074)

2. มัธยมศึกษา 4.18 - - -0.017(0.999)

-0.115(0.318)

-0.136(0.362)

3. ปวส./อนุปริญญา 4.19 - - - -0.097(0.484)

-0.119(0.502)

4. ปริญญาตรี 4.29 - - - - -0.021(0.998)

5. สูงกวาปริญญาตรี 4.31 - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.17 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานผูสมัครรับเลือกต้ัง จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู ไมพบความแตกตางกัน

Page 71: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

58

ตารางท่ี 4.18 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานนโยบายของผูสมัครจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา1 2 3 4 5ระดับการศึกษา

X 3.97 3.84 3.88 3.99 4.251. ประถมศึกษา 3.97 - 0.138

(0.810)0.093

(0.946)-0.014(1.000)

-0.272(0.232)

2. มัธยมศึกษา 3.84 - - -0.044(0.984)

-0.153(0.235)

-0.410*(0.000)

3. ปวส./อนุปริญญา 3.88 - - - -0.108(0.578)

-0.366*(0.000)

4. ปริญญาตรี 3.99 - - - - -0.257*(0.017)

5. สูงกวาปริญญาตรี 4.25 - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.18 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานนโยบายของผูสมัคร จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษา (X= 3.84) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.25) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัคร นอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.410

2. ประชาชนที่ระดับการศึกษา ปวส./อนุปริญญา (X= 3.88) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.25) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง

Page 72: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

59

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัครนอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.366

3. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรี (X= 3.99) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.25) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.017 ซึ่งนอยกวา0.05 หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรีมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัคร นอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.257 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.19 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา1 2 3 4 5ระดับการศึกษา

X 3.45 3.39 3.68 3.78 4.121. ประถมศึกษา 3.45 - 0.060

(0.996)-0.225(0.657)

-0.323(0.247)

-0.663*(0.001)

2. มัธยมศึกษา 3.39 - - -0.285(0.060)

-0.384*(0.001)

-0.724*(0.000)

3. ปวส./อนุปริญญา 3.68 - - - -0.098(0.852)

-0.438*(0.002)

4. ปริญญาตรี 3.78 - - - - -0.339*(0.017)

5. สูงกวาปริญญาตรี 4.12 - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.19 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียง จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

Page 73: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

60

1. ประชาชนที่ระดับการศึกษาประถมศึกษา (X= 3.45) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.12) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.001 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาประถมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.663

2. ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษา (X= 3.39) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.12) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.724

3. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา (X= 3.68) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.12) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.002 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.438

4. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรี (X= 3.78) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.12) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.017 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรีมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.339 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

Page 74: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

61

ตารางท่ี 4.20 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา1 2 3 4 5ระดับการศึกษา

X 3.47 3.37 3.69 3.73 4.141. ประถมศึกษา 3.47 - 0.104

(0.981)-0.216(0.778)

-0.255(0.616)

-0.674*(0.004)

2. มัธยมศึกษา 3.37 - - -0.321(0.061)

-0.359*(0.008)

-0.779*(0.000)

3. ปวส./อนุปริญญา 3.69 - - - -0.038(0.997)

-0.458*(0.005)

4. ปริญญาตรี 3.73 - - - - -0.419*(0.006)

5. สูงกวาปริญญาตรี 4.14 - - - - -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.20 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคล จําแนกตามระดับการศึกษาเปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่ระดับการศึกษาประถมศึกษา (X= 3.47) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.14) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.004 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษาประถมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.674

2. ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษา (X= 3.37) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.14) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน

Page 75: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

62

ราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานอิทธิพลสื่อบุคคลนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.779

3. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา (X= 3.69) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.14) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.005 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.458

4. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรี (X= 3.73) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.14) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.006 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรีมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลนอยกวาประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.419 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.21 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา1 2 3 4 5ระดับการศึกษา

X 3.80 3.79 3.92 4.02 4.221. ประถมศึกษา 3.80 - 0.013

(1.000)-0.121(0.708)

-0.214(0.123)

-0.416*(0.000)

2. มัธยมศึกษา 3.79 - - -0.135(0.185)

-0.228*(0.000)

-0.430*(0.000)

3. ปวส./อนุปริญญา 3.92 - - - -0.093(0.449)

-0.298*(0.000)

4. ปริญญาตรี 4.02 - - - - -0.201*(0.012)

5. สูงกวาปริญญาตรี 4.22 - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 76: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

63

จากตารางที่ 4.21 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวม จําแนกตามระดับการศึกษา เปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่ระดับการศึกษาประถมศึกษา (X= 3.80) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.22) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาประถมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมนอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.416

2. ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษา (X= 3.79) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.22) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษามัธยมศึกษามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม นอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.430

3. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา (X= 3.92) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.22) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญามีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม นอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.298

4. ประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรี (X= 4.02) กับประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี (X= 4.22) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.012 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวาประชาชนที่ระดับการศึกษาปริญญาตรีมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม นอยกวา ประชาชนที่ระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.210 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

Page 77: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

64

ตารางท่ี 4.22 การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามอาชีพ

ปจจัยที่มีผลตอการตดัสนิใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวดันนทบุรี

อาชีพ n X S.D. F Sig.

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร รับราชการ 73 4.26 0.422 1.170 0.323เกษตรกร 3 4.10 0.465พนักงานบริษัทเอกชน 181 4.24 0.421ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 4.25 0.336

อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) 10 4.25 0.394อื่น ๆ (โปรดระบุ) 25 4.25 0.344รวม 400 4.23 0.393

ดานนโยบายของผูสมัคร รับราชการ 73 4.01 0.471 1.419 0.216เกษตรกร 3 3.85 0.643พนักงานบริษัทเอกชน 181 3.92 0.462ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 4.00 0.457

อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) 10 4.01 0.483อื่น ๆ (โปรดระบุ) 25 3.69 0.439รวม 400 3.97 0.489

Page 78: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

65

ตารางท่ี 4.22 (ตอ)

ปจจัยที่มีผลตอการตดัสนิใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวดันนทบุรี

อาชีพ n X S.D. F Sig.

ดานพรรคการเมือง รับราชการ 73 4.27 0.404 0.332 0.894เกษตรกร 3 4.21 0.562พนักงานบริษัทเอกชน 181 4.22 0.356ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 4.20 0.673

อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) 10 4.26 0.411อื่น ๆ (โปรดระบุ) 25 4.38 0.346

รวม 400 4.23 0.519ดานการรณรงคหาเสียง รับราชการ 73 3.79 0.674 4.773 0.000*

เกษตรกร 3 3.27 0.926พนักงานบริษัทเอกชน 181 3.83 0.546ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 3.72 0.547

อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) 10 3.74 0.705อื่น ๆ (โปรดระบุ) 25 3.48 0.630

รวม 400 3.70 0.665ดานอิทธิพลส่ือบุคคล รับราชการ 73 3.70 0.585 3.438 0.005*

เกษตรกร 3 3.26 1.072พนักงานบริษัทเอกชน 181 3.82 0.674ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 3.71 0.679

อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) 10 3.73 0.758อื่น ๆ (โปรดระบุ) 25 3.70 0.547

รวม 400 3.68 0.743

Page 79: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

66

ตารางท่ี 4.22 (ตอ)

ปจจัยที่มีผลตอการตดัสนิใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวดันนทบุรี

อาชีพ n X S.D. F Sig.

โดยรวม รับราชการ 73 4.00 0.333 3.589 0.003*เกษตรกร 3 3.74 0.578พนักงานบริษัทเอกชน 181 4.00 0.335ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 108 3.98 0.348

อาชีพอิสระ(โปรดระบุ) 10 4.00 0.368อื่น ๆ (โปรดระบุ) 25 3.90 0.209รวม 400 3.96 0.384

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 22 พบวา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามอาชีพ มีคา Sig. เทากับ 0.003 ซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผลดังนี้

ดานคุณลักษณะของผูสมัครดานนโยบายของผูสมัคร และดานพรรคการเมืองพบวามีคาSig. เทากับ 0.323, 0.216 และ 0.894 ตามลําดับ ซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานคุณลักษณะของผูสมัครดานนโยบายของผูสมัคร และดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน

ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคลพบวามีคา Sig. เทากับ 0.000 และ0.005ซึ่งมีคานอยกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคลแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เมื่อพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผูวิจัยจึงทําการทดสอบ Post Hoc หากกลุมอาชีพที่มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

Page 80: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

67

ดานการรณรงคหาเสียง ดานอิทธิพลสื่อบุคคลและโดยรวม แตกตางจากกลุมอ่ืนๆ ผลการทดสอบมีรายละเอียดดังตารางที่ 23-24

ตารางท่ี 4.23 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงจําแนกตามอาชีพ

อาชีพ1 2 3 4 5 6อาชีพ

X 3.79 3.27 3.83 3.72 3.74 3.481. รบัราชการ 3.79 - 0.513*

(0.009)-0.046(0.999)

0.067(0.994)

0.048(0.999)

0.306(0.943)

2. เกษตรกร 3.27 - - -0.559*(0.001)

-0.446*(0.010)

-0.465*(0.015)

-0.206(0.991)

3. พนักงานบริษัทเอกชน 3.83 - - - 0.113(0.914)

0.094(0.975)

0.353(0.896)

4. ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย

3.72 - - - - -0.018(1.000)

0.239(0.978)

5. อาชีพอิสระ(โปรดระบุ) 3.74 - - - - - 0.258(0.971)

6. อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) 3.48 - - - - - -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.23 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานการรณรงคหาเสียง เปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่ประกอบอาชีพรับราชการ (X= 3.79) กับประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร(X= 3.27) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.009 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวาประชาชนที่ประกอบอาชีพรับราชการมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียง นอยกวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.513

Page 81: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

68

2. ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร (X= 3.27) กับประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (X= 3.83) ประชาชนที่ประกอบอาชีพประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย (X= 3. 72)และประชาชนที่ประกอบอาชีพอิสระ (X= 3.74) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.001,0.010 และ 0.015 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงนอยกวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขายและอาชีพอิสระมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.559, 0.446 และ 0.465 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.24 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานอิทธิพลสื่อบุคคลจําแนกตามอาชีพ

อาชีพ1 2 3 4 5 6อาชีพ

X 3.70 3.26 3.82 3.71 3.73 3.701. รบัราชการ 3.70 - 0.433

(0.121)-0.120(0.970)

-0.009(1.000)

-0.033(1.000)

0.003(1.000)

2. เกษตรกร 3.26 - - 0.553*(0.008)

-0.442*(0.038)

-0.466*(0.047)

-0.430(0.873)

3. พนักงานบริษัทเอกชน

3.82 - - - 0.110(0.952)

0.086(0.990)

0.123(0.999)

4. ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย

3.71 - - - - -0.024(1.000)

0.012(1.000)

5. อาชีพอิสระ 3.73 - - - - - 0.036(1.000)

6. อ่ืนๆ 3.70 - - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 82: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

69

จากตารางที่ 4.24 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคล จําแนกตามอาชีพ เปนรายคูพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร (X= 3.26) กับประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (X= 3.82) ประชาชนที่ประกอบอาชีพประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย (X= 3. 71)และประชาชนที่ประกอบอาชีพอิสระ (X= 3.73) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.008,0.038 และ 0.047 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลนอยกวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนประกอบธุรกิจสวนตัว /คาขายและประกอบอาชีพอิสระมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ0.553, 0.442 และ 0.466 สวนคูอ่ืน ๆไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.25 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามอาชีพ

อาชีพ1 2 3 4 5 6อาชีพ

X 4.00 3.74 4.00 3.98 4.00 3.901. รบัราชการ 4.00 - 0.266*

(0.031)-0.000(1.000)

0.027(0.999)

0.005(1.000)

0.107(0.994)

2. เกษตรกร 3.74 - - -0.266*(0.019)

-0.238*(0.025)

-0.260*(0.023)

-0.159(0.968)

3. พนักงานบริษัทเอกชน

4.00 - - - 0.027(0.998)

0.006(1.000)

0.107(0.994)

4. ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย

3.98 - - - - -0.021(0.999)

0.079(0.998)

5. อาชีพอิสระ 4.00 - - - - - 0.101(0.995)

6. อ่ืนๆ 3.90 - - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 83: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

70

จากตารางที่ 4.25 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามอาชีพเปนรายคูพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่ประกอบอาชีพรับราชการ (X= 4.00) กับประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร(X= 3.74) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.031 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวาประชาชนที่ประกอบอาชีพรับราชการมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวม นอยกวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.266

2. ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร (X= 3.74) กับประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (X= 4.00)ประชาชนที่ประกอบอาชีพประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย (X= 3.98) และประชาชนที่ประกอบอาชีพอิสระ (X= 4.00) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.019, 0.025และ 0.023 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพเกษตรกรมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม นอยกวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขายและประกอบอาชีพอิสระมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.266, 238 และ 260 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

Page 84: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

71

ตารางท่ี 4.26การทดสอบความแตกตางของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามรายไดตอเดือน

ปจจัยที่มีผลตอการตดัสนิใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวดันนทบุรี

รายไดตอเดือน n X S.D. F Sig.

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ต่ํากวา 10,000 บาท 10 4.13 0.412 5.034 0.000*10,001-20,000 บาท 176 4.12 0.45120,001-30,000 บาท 129 4.24 0.37530,001-40,000 บาท 68 4.33 0.35740,001-50,000 บาท 16 4.26 0.32450,001 บาทขึ้นไป 1 4.57 0.197

รวม 400 4.23 0.393ดานนโยบายของผูสมัคร ต่ํากวา 10,000 บาท 10 4.00 0.541 4.790 0.000*

10,001-20,000 บาท 176 3.79 0.45220,001-30,000 บาท 129 3.94 0.45930,001-40,000 บาท 68 4.02 0.46540,001-50,000 บาท 16 4.16 0.52850,001 บาทขึ้นไป 1 4.03 0.340

รวม 400 3.97 0.489ดานพรรคการเมือง ต่ํากวา 10,000 บาท 10 4.15 0.459 1.299 0.263

10,001-20,000 บาท 176 4.16 0.46520,001-30,000 บาท 129 4.21 0.41430,001-40,000 บาท 68 4.31 0.72840,001-50,000 บาท 16 4.26 0.32750,001 บาทขึ้นไป 1 4.40 0.402

รวม 400 .23 0.519

Page 85: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

72

ตารางท่ี 4.26 (ตอ)

ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

รายไดตอเดือน n X S.D. F Sig.

ดานการรณรงคหาเสียง ตํ่ากวา 10,000 บาท 10 3.65 0.832 6.953 0.000*10,001-20,000 บาท 176 3.40 0.69820,001-30,000 บาท 129 3.73 0.61330,001-40,000 บาท 68 3.78 0.54540,001-50,000 บาท 16 4.00 0.55850,001 บาทขึ้นไป 1 3.78 0.674

รวม 400 3.70 0.665ดานอิทธิพลสื่อบุคคล ตํ่ากวา 10,000 บาท 10 3.48 0.855 10.776 0.000*

10,001-20,000 บาท 176 3.31 0.76120,001-30,000 บาท 129 3.70 0.70530,001-40,000 บาท 68 3.86 0.61340,001-50,000 บาท 16 4.05 0.58450,001 บาทขึ้นไป 1 3.96 0.764

รวม 400 3.68 0.743โดยรวม ตํ่ากวา 10,000 บาท 10 3.88 0.467 11.341 0.000*

10,001-20,000 บาท 176 3.76 0.30220,001-30,000 บาท 129 3.96 0.34530,001-40,000 บาท 68 4.06 0.31240,001-50,000 บาท 16 4.14 0.32750,001 บาทขึ้นไป 1 4.14 0.259

รวม 400 3.96 0.384* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 86: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

73

จากตารางที่ 4.26 พบวา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามรายไดตอเดือน มีคา Sig. เทากับ 0.000 ซึ่งมีคานอยกวา0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผลดังนี้

ดานพรรคการเมืองพบวามีคา Sig. เทากับ 0.263 ซึ่งมีคามากกวา 0.05 นั่นคือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน

ดานคุณลักษณะของผูสมัครดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคลพบวามีคา Sig. เทากับ 0.000, 0.000, 0.000 และ 0.000 ซึ่งมีคานอยกวา 0.05นั่นคือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียงและดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

เมื่อพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผูวิจัยจึงทําการทดสอบ Post Hoc หากกลุมรายไดตอเดือนที่มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง ดานอิทธิพลสื่อบุคคล และโดยรวม แตกตางจากกลุมอ่ืนๆ ผลการทดสอบมีรายละเอียดดังตารางที่ 4.27-4.31

Page 87: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

74

ตารางท่ี 4.27 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัครจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน1 2 3 4 5 6รายไดตอเดือน

X 4.13 4.12 4.24 4.33 4.26 4.571. ตํ่ากวา 10,000 บาท 4.13 - 0.006

(1.000)-0.113(0.740)

-0.198(0.120)

-0.127(0.703)

-0.442(0.053)

2. 10,001-20,000 บาท 4.12 - - -0.119(0.505)

-0.204*(0.020)

-0.134(0.497)

-0.448*(0.033)

3. 20,001-30,000 บาท 4.24 - - - -0.085(0.801)

0.014(1.000)

-0.329(0.255)

4. 30,001-40,000 บาท 4.33 - - - - 0.070(0.938)

-0.244(0.597)

5. 40,001-50,000 บาท 4.26 - - - - - -0.314(0.334)

6. 50,001 บาทขึ้นไป 4.57 - - - - - -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 27 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร จําแนกตามรายไดตอเดือน เปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท (X= 4.12) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 30,001-40,000 บาท (X= 4.33) และประชาชนที่มีรายไดตอเดือน 50,001 บาทขึ้นไป (X= 4.57) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.020และ 0.033 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาทมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี นอยกวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาทและรายไดตอเดือน 50,001 บาทขึ้นไปมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.204 และ 0.448 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

Page 88: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

75

ตารางท่ี 4.28 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัครจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน1 2 3 4 5 6รายไดตอเดือน

X 4.00 3.79 3.94 4.02 4.16 4.031. ตํ่ากวา 10,000 บาท 4.00 - 0.210

(0.294)0.057

(0.993)-0.022(1.000)

-0.157(0.711)

-0.029(1.000)

2. 10,001-20,000 บาท 3.79 - - -0.153(0.471)

-0.233*(0.046)

-0.368*(0.001)

-0.240(0.809)

3. 20,001-30,000 บาท 3.94 - - - -0.080(0.930)

-0.215(0.205)

-0.087(0.998)

4. 30,001-40,000 บาท 4.02 - - - - -0.134(0.699)

-0.007(1.000)

5. 40,001-50,000 บาท 4.16 - - - - - 0.127(0.987)

6. 50,001 บาทขึ้นไป 4.03 - - - - - -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.28 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีดานนโยบายของผูสมัคร จําแนกตามรายไดตอเดือนเปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท (X= 3.79) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 30,001-40,000 บาท (X= 4.02) และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง40,001-50,000 บาท (X= 4.16) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.046 และ 0.001 ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานนโยบายของผูสมัครนอยกวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 30,001-40,000 บาทและรายไดตอเดือนระหวาง40,001-50,000 บาท มีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.233 และ 0.368 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

Page 89: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

76

ตารางท่ี 4.29การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียงจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน1 2 3 4 5 6รายไดตอเดือน

X 3.65 3.40 3.73 3.78 4.00 3.781. ตํ่ากวา 10,000 บาท 3.65 - 0.249

(0.444)-0.079(0.992)

-0.128(0.933)

-0.349(0.159)

-0.122(0.998)

2. 10,001-20,000 บาท 3.40 - - -0.329*(0.040)

-0.377*(0.006)

-0.598*(0.000)

-0.372(0.696)

3. 20,001-30,000 บาท 3.73 - - - -0.482(0.998)

-0.269(0.279)

-0.042(1.000)

4. 30,001-40,000 บาท 3.78 - - - - -0.221(0.482)

0.005(1.000)

5. 40,001-50,000 บาท 4.00 - - - - - 0.226(0.957)

6. 50,001 บาทขึ้นไป 3.78 - - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 29 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียง จําแนกตามรายไดตอเดือนเปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท (X= 3.40) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท (X= 3.73) ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง30,001-40,000 บาท (X= 3.78) และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท(X= 4.00) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.040, 0.006 และ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาทมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานการรณรงคหาเสียง นอยกวาประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง

Page 90: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

77

30,001-40,000 บาท และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท มีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.329, 0.377และ 0.598 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.30 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคลจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน1 2 3 4 5 6รายไดตอเดือน

X 3.48 3.31 3.70 3.86 4.05 3.961. ตํ่ากวา 10,000 บาท 3.48 - 0.170

(0.867)-0.217(0.694)

-0.377(0.091)

-0.570*(0.004)

-0.474(0.580)

2. 10,001-20,000 บาท 3.31 - - -0.387*(0.019)

-0.547*(0.000)

-0.741*(0.000)

-0.644(0.183)

3. 20,001-30,000 บาท 3.70 - - - -0.159(0.783)

-0.353(0.108)

-0.256(0.944)

4. 30,001-40,000 บาท 3.86 - - - - -0.193(0.717)

-0.097(0.999)

5. 40,001-50,000 บาท 4.05 - - - - - 0.096(0.999)

6. 50,001 บาทขึ้นไป 3.96 - - - - - -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.30 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคล จําแนกตามรายไดตอเดือนเปนรายคู พบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตํ่ากวา 10,000 บาท (X= 3.48) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท (X= 4.05) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.004ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตํ่ากวา 10,000 บาท มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคล นอย

Page 91: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

78

กวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท มีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ0.570

2. ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท (X= 3.31) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท (X= 3.70) ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง30,001-40,000 บาท (X= 3.86) และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท(X= 4.05) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.019, 0.000 และ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานอิทธิพลสื่อบุคคล นอยกวาประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง30,001-40,000 บาท และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท มีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.387, 0.547 และ 0.741 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

Page 92: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

79

ตารางท่ี 4.31 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน1 2 3 4 5 6รายไดตอเดือน

X 3.88 3.76 3.96 4.06 4.14 4.141. ตํ่ากวา 10,000 บาท 3.88 - 0.125

(0.576)-0.082(0.895)

-0.177(0.162)

-0.262*(0.015)

-0.262(0.497)

2. 10,001-20,000 บาท 3.76 - - -0.207*(0.012)

-0.302*(0.000)

-0.388*(0.000)

-0.387(0.068)

3. 20,001-30,000 บาท 3.96 - - - -0.094(0.661)

-0.180(0.116)

-0.179(0.816)

4. 30,001-40,000 บาท 4.06 - - - - -0.085(0.833)

-0.085(0.992)

5. 40,001-50,000 บาท 4.14 - - - - - 0.000(1.000)

6. 50,001 บาทขึ้นไป 4.14 - - - - - -* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.31 ผลการทดสอบการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมจําแนกตามรายไดตอเดือนเปนรายคูพบความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนี้

1. ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตํ่ากวา 10,000 บาท (X= 3.88) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 25,001-30,000 บาท (X= 4.14) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.015ซึ่งนอยกวา 0.05 หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตํ่ากวา 10,000 บาท มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมนอยกวาประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 25,001-30,000 บาท มีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.262

2. ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท (X= 3.76) กับประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท (X= 3.96) ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง30,001-40,000 บาท (X= 4.06) และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาท

Page 93: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

80

(X= 4.14) จากการวิเคราะหพบวา มีคา Sig. เทากับ 0.012, 0.000 และ 0.000 ซึ่งนอยกวา 0.05หมายความวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 10,001-20,000 บาท มีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมนอยกวา ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 บาท ประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 30,001-40,000 บาท และประชาชนที่มีรายไดตอเดือนระหวาง 40,001-50,000 บาทมีคาเฉลี่ยความแตกตางเทากับ 0.207, 0.302 และ 0.388 สวนคูอ่ืนๆ ไมแตกตางกัน

ตารางท่ี 4.32 ผลการวิเคราะหสหสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

n = 400ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัด

นนทบุรีการเปดรับสื่อ

r Sig.1. สื่อโทรทัศน 0.101 0.003*2. สื่อวิทยุ -0.073 0.011*3. สื่อหนังสือพิมพ 0.055 0.016*4. สื่ออินเทอรเน็ต 0.021 0.005*

เฉลี่ยรวม 0.113 0.000** นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.32 เมื่อวิเคราะหสหสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี พบวาการเปดรับสื่อมีสหสัมพันธเชิงบวกกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไวเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาการเปดรับสื่อจากโทรทัศน สื่อวิทยุหนังสือพิมพและสื่ออินเทอรเน็ตมีสหสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

Page 94: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

บทท่ี 5สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี : ศึกษาในหวงเวลา พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีในชวงเวลาป 2561 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางคุณลักษณะประชากรกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีในชวงเวลาป 2561 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีในชวงเวลาป 2560 กลุมตัวอยาง ไดแก ผูมีสิทธิเลือกต้ังอาศัยอยูในจังหวัดนนทบุรี จํานวน 400 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือ ในการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนา (descriptivestatistics) เพื่อบรรยายลักษณะเก่ียวกับตัวแปรตางๆ คาแจกแจงความถ่ี คารอยละ คาเฉลี่ย ( X )และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (standard deviation: S.D.) และสถิติเชิงอนุมาน ดวยคาสถิติ t-test,F-test สามารถนํามาวิเคราะหไดดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย5.1.1 ขอมูลสวนบุคคลผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 231 คน รองลงมาเปนเพศชาย

จํานวน 169 คนผูตอบแบบสอบถามสวนใหญอายุระหวาง 31-40 ป จํานวน 123 คน รองลงมาอายุ

ระหวาง 18-30 ป และอายุระหวาง 41-50 ป จํานวน 105 คน อายุระหวาง 51-60 ป จํานวน 56 คนและอายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 11 คน ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีระดับการศึกษาปริญญาตรี จํานวน 195 คน คิดเปนรอยละ 48.75 รองลงมาระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญาหรือเทียบเทา จํานวน 121 คน คิดเปนรอยละ 30.25 ระดับการศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ 19.5 ระดับและระดับสูง

Page 95: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

82

กวาปริญญาตรี จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 5.75 และระดับการศึกษาประถมศึกษา จํานวน 3 คนคิดเปนรอยละ 0.75 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จํานวน 181 คนรองลงมาประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย จํานวน 108 คน รับราชการ จํานวน 73 คน อ่ืนๆ (โปรดระบุ)จํานวน 25 คน อาชีพอิสระ (โปรดระบุ) จํานวน 10 คน และเกษตรกร จํานวน 3 คน ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีรายไดตอเดือนระหวาง 20,001-30,000 จํานวน 129 คนคิดเปนรอยละ 32.25 รองลงมารายไดตอเดือนระหวาง 30,001-40,000 บาท จํานวน 118 คนคิดเปนรอยละ 29.5 รายไดตอเดือน ระหวาง 10,001-20,000 บาท จํานวน 76 คน คิดเปนรอยละ19.0 รายไดตอเดือน ระหวาง 40,001-50,000 บาท จํานวน 66 คน คิดเปนรอยละ 16.5 รายไดตอเดือน ตํ่ากวา 10,000 บาท จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 2.5 และรายไดตอเดือน 50,001 บาทขึ้นไปจํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.25 ตามลําดับ

5.1.2 การเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

การเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พบวา ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาในแตละสื่อแลวพบวา เปดรับสื่ออยูในระดับมากที่สุด จํานวน 1 ขอ อยูในระดับมาก จํานวน 1 ขอ และอยูในระดับนอยที่สุดเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ สื่อโทรทัศน รองลงมาคือ สื่ออินเทอรเน็ตและสื่อวิทยุ สื่อหนังสือพิมพ ตามลําดับ

5.1.3ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดย

ภาพรวมพบวา อยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา อ ยูในระดับมากที่สุดจํานวน 3 ขอ และอยูในระดับมาก จํานวน 2 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอยไดดังนี้ ดานนโยบายของผูสมัคร รองลงมาคือ ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานพรรคการเมือง ดานการรณรงคหาเสียง มี และดานอิทธิพลสื่อบุคคล ตามลําดับ

ดานคุณลักษณะของผูสมัครพบวาอยูในระดับมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด ทุกขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ เอาใจใส ทุกข สุขของประชาชน ชวยเหลือประชาชน รองลงมาคือ มีอุดมการณทางการเมืองชัดเจนมีความสื่อสัตยสุจริต โปรงใสสําเร็จการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีมีความเปนกันเองเขาพบไดงายมีผลงานในอดีตมากอน และทําตอเนื่องมีบุคลิกภาพดี และมีความสามารถในการสื่อสาร และเคยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมากอนตามลําดับ

Page 96: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

83

ดานนโยบายของผูสมัคร พบวา อยูในระดับมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจัง รองลงมาคือ จัดสวัสดิการใหแกผูดอยโอกาส เพิ่มคาแรงขั้นตํ่า และเพิ่มเงินเดือนขาราชการและพนักงานเอกชน ชวยเหลือประชาชนที่มีรายไดนอย สงเสริมการตลาดใหแกผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP) จัดใหมีการรักษาพยาบาลฟรีอยางมีคุณภาพ เพิ่มเงินเดือนผูสูงอายุและประกันราคาผลผลิตการเกษตร ตามลําดับ

ดานพรรคการเมือง พบวา อยูในระดับมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวาอยูในระดับมากที่สุดทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้เปนพรรคการเมืองที่ทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพ รองลงมาคือ เปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายชัดเจนปฏิบัติไดจริงเปนพรรคการเมืองที่มีผลงานชัดเจนเปนรูปธรรมผูบริหารพรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศนเปนพรรคที่ยึดมั่นในอุดมการณเปนพรรคการเมืองที่หัวหนาพรรคมีภาพลักษณดี เปนพรรคการเมืองเกาแก มีประสบการณและเปนพรรคการเมืองที่เคยเปนรัฐบาลมากอนตามลําดับ

ดานการรณรงคหาเสียงพบวาอยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับมากที่สุดจํานวน 2 ขอ และระดับมาก จํานวน 6 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้จัดปราศรัยหาเสียงดวยเนื้อหาที่มีประโยชนรองลงมาคือ ใชสื่อกระแสหลัก เชน โทรทัศน วิทยุหนังสือพิมพในการโฆษณาหาเสียงจัดกิจกรรมพิเศษหาเสียงดวยรูปแบบแปลกใหมหาเสียงผานสื่อใหมเปน Facebook, Line ใบปลิว/แผนพับ/บัตรแนะนําตัวสวยงามชัดเจนรถแหกระจายเสียงทั่วพื้นที่ออกเดินหาเสียง โดยเคาะตามประตูบานอยางทั่วถึงและปายหาเสียง ขนาดใหญ โดดเดนสะดุดตาตามลําดับ

ดานอิทธิพลสื่อบุคคล พบวา อยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับมาก 5 ขอ และอยูในระดับปานกลาง 3 ขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้สมาชิกครอบครัว (พอ/แม/สามี/ภรรยา/พี่/นอง) รองลงมาคือ เพื่อนรวมงาน ผูนําชุมชนในพื้นที่ เชนกํานัน ผูใหญบาน เพื่อนบาน บุคคลที่นับถือ (อาจารย/พระ) นายจาง/ผูบังคับบัญชา ผูมีอิทธิพลในพื้นที่ และ เพื่อนรวมชั้นเรียน ตามลําดับ

Page 97: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

84

5.1.4 การทดสอบสมมติฐานเพศ ไมมีความสัมพันธกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้ง กลาวคือ

ประชาชนที่มีเพศตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวมและรายดาน ไมแตกตางกัน

อายุ ไมมีความสัมพันธกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้ง กลาวคือ ประชาชนที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีโดยรวม ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผลคือประชาชนที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง ดานอิทธิพลสื่อบุคคล และ โดยรวม ไมแตกตางกัน แต ดานพรรคการเมือง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ระดับการศึกษา มีความสัมพันธกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งกลาวคือ ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน แต ดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

อาชีพ มีความสัมพันธกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้ง กลาวคือประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร และดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน แต ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

รายไดมีความสัมพันธกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้ง กลาวคือประชาชนที่มีรายไดตอเดือนตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกันแตดาน

Page 98: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

85

คุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

การเปดรับสื่ อมีสหสัมพันธ เชิ งบวกกับปจจัยที่มี ผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี พบวา การเปดรับสื่อมีสหสัมพันธเชิงบวกกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การเปดรับสื่อจากโทรทัศน สื่อวิทยุ หนังสือพิมพ และสื่ออินเทอรเน็ตมีสหสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

5.2 อภิปรายผลจากการศึกษาวิจัยเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

จังหวัดนนทบุรี: ศึกษาในหวงเวลา พ.ศ.2561” สามารถอภิปรายผลไดดังนี้5.2.1ปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

โดยภาพรวม พบวา อยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับมากที่สุดจํานวน 3 ขอ และอยูในระดับมาก จํานวน 2 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอยไดดังนี้ ดานนโยบายของผูสมัคร รองลงมาคือ ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานพรรคการเมือง ดานการรณรงคหาเสียง มี และดานอิทธิพลสื่อบุคคล ตามลําดับ

ดานคุณลักษณะของผูสมัคร พบวา อยูในระดับมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับมากที่สุด ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ เอาใจใส ทุกข สุขของประชาชน ชวยเหลือประชาชน รองลงมาคือ มีอุดมการณทางการเมืองชัดเจน มีความสื่อสัตยสุจริต โปรงใส สําเร็จการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรี มีความเปนกันเองเขาพบไดงาย มีผลงานในอดีตมากอน และทําตอเนื่อง มีบุคลิกภาพดี และมีความสามารถในการสื่อสาร และเคยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมากอน ตามลําดับ สอดคลองกับงานวิจัยของนภาพร หมื่นจง1

ไดศึกษา “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง” พบวาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภา ผูแทนราษฎรจังหวัดระยองดานตัวผูสมัครอยูในระดับมากที่สุด ไดแก ใหความชวยเหลือประชาชนอยางสม่ําเสมอ เปนผูมีความซื่อสัตยสุจริต และ

1นภาพร หม่ืนจง. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

Page 99: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

86

เปนผูที่ทําประโยชนใหกับชุมชนหรือทองถ่ิน และสอดคลองกับงานวิจัยของ ดาวเรือง นาคสวัสด์ิ 2

ไดศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย” ในหวงเวลาป พ.ศ.2559” พบวา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย ดานคุณลักษณะของผูสมัครรับเลือกต้ัง อยูในระดับมากที่สุด ไดแก มีความซื่อสัตย สุจริต มีผลงานดีอยางตอเนื่อง มีความเสียสละ ชวยเหลือประชาชนอยางเต็มใจ ลงพื้นที่พบปะประชาชนอยางสม่ําเสมอเปนกันเอง เขาพบไดงาย และมีความสามารถในการสื่อสารพูดจาปราศรัยดี

เหตุเพราะวาสมาชิกสภาผูเทนราษฎรที่ลงสมัครรับเลือกต้ังเปนนักการเมืองทองถ่ินในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี เปนผูที่มีชื่อเสียง เขาใจปญหาของประชาชนไดอยางแทจริง และมีผลงานเปนที่ยอมรับ

ดานนโยบายของผูสมัคร พบวา อยูในระดับมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจัง รองลงมาคือ จัดสวัสดิการใหแกผูดอยโอกาส เพิ่มคาแรงขั้นตํ่า และเพิ่มเงินเดือนขาราชการและพนักงานเอกชน ชวยเหลือประชาชนที่มีรายไดนอย สงเสริมการตลาดใหแกผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP) จัดใหมีการรักษาพยาบาลฟรีอยางมีคุณภาพ เพิ่มเงินเดือนผูสูงอายุและประกันราคาผลผลิตการเกษตร ตามลําดับ สอดคลองกับงานวิจัยของ วิชา อยูหลํา3ไดศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณี ประชาชนจังหวัดสระบุรี”พบวา ปจจัยที่ใชในการตัดสินใจเก่ียวกับผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรดานนโยบายพรรคอยูในระดับเห็นดวยมากที่สุด จํานวน 5 ขอ ไดแก นโยบายดานปราบปรามยาเสพติดนโยบาย ดานการศึกษา นโยบายปราบปรามอาชญากรรม และนโยบายดานสาธารณาสุข นโยบายดานการสงเสริมอาชีพและรายได

เหตุเพราะวาประชาชนมีการติดตามการทํางานของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการปฏิบัติงานวาสามารถทําไดจริง จึงทําใหประชาชนไวใจ และเชื่อมั่นวานโยบายทุกนโยบายจะสามารถปฏิบัติไดจริง โดยมีปญหาเรงดวนที่สามารถจัดการไดทันที

2ดาวเรือง นาคสวัสด์ิ. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย .สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

3วิชา อยูหลํา. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรศึกษากรณี: ผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

Page 100: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

87

ดานพรรคการเมือง พบวา อยูในระดับมากที่สุด เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวาอยูในระดับมากที่สุดทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ เปนพรรคการเมืองที่ทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพ รองลงมาคือ เปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายชัดเจนปฏิบัติไดจริง เปนพรรคการเมืองที่มีผลงานชัดเจนเปนรูปธรรม ผูบริหารพรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน เปนพรรคที่ยึดมั่นในอุดมการณ เปนพรรคการเมืองที่หัวหนาพรรคมีภาพลักษณดี เปนพรรคการเมืองเกาแก มีประสบการณ และเปนพรรคการเมืองที่เคยเปนรัฐบาลมากอน ตามลําดับ สอดคลองกับงานวิจัยของ ณิชาภา เหมะธุลิน4ไดศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรศึกษากรณี: ผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ” ผลการศึกษาพบวาประชาชนมีความคิดเห็นเก่ียวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ ดานพรรคการเมือง อยูในระดับมากที่สุดทุกดาน ไดแก พรรคการเมืองที่มีนโยบายที่ดี พรรคการเมืองที่มีแนวโนมจะเขาไปเปนฝายรัฐบาล สังกัดพรรคการเมืองที่มีชื่อเสียง และสังกัดพรรคการเมืองที่มีขนาดใหญ

เหตุผลเพราะวาพรรคการเมืองที่มีผลงานสามารถประสานงาน ทํางานเปนทีมได ไดจริง ชัดเจน และเหมาะสมตรงใจของประชาชน พรรคการเมืองมีการคัดเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทีมงานที่มีประสบการณในการทํางาน และเปนบุคคลที่สามารถปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ

ดานการรณรงคหาเสียง พบวา อยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวาอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 2 ขอ และระดับมาก จํานวน 6 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้ จัดปราศรัยหาเสียงดวยเนื้อหาที่มีประโยชน รองลงมาคือ ใชสื่อกระแสหลัก เชน โทรทัศนวิทยุ หนังสือพิมพในการโฆษณาหาเสียง จัดกิจกรรมพิเศษหาเสียงดวยรูปแบบแปลกใหม หาเสียงผานสื่อใหมเปน Facebook, Line ใบปลิว/แผนพับ/บัตรแนะนําตัวสวยงามชัดเจน รถแหกระจายเสียงทั่วพื้นที่ ออกเดินหาเสียง โดยเคาะตามประตูบานอยางทั่วถึง และปายหาเสียง ขนาดใหญโดดเดน สะดุดตา ตามลําดับ สอดคลองกับงานวิจัยของ อดิศักด์ิ จันทรวิทัน5 ไดศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ :ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ. 2559”พบวา ปจจัยทีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน

4ณิชาภา เหมะธุลิน. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรศึกษากรณี: ผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

5อดิศักด์ิ จันทรวิทัน. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ: ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ.2559. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก,2559.

Page 101: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

88

ราษฎรของประชาชนจังหวัดประจวบคีรีขันธ ปจจัยดานการรณรงคหาเสียงเลือกต้ังในภาพรวมอยูในระดับมาก และอยูในระดับมากที่สุด จํานวน 5 ขอ ไดแก เปดเวทีปราศรัยตามชุมชนบอยๆติดต้ังปายหาเสียงขนาดใหญตามชุมชนหาเสียงทางรถแหหาเสียงโดยการเคาะประตูบาน และแจกบัตรยํ้าเบอรอยางทั่วถึง

เหตุผลเพราะวากิจกรรมการปราศรัยของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรทําใหประชาชนมีสวนรวมในการทํากิจกรรมทางการเมือง ทําใหประชาชนเขาถึงไดงาย และสื่อโทรทัศนมีชองเคเบ้ิลทีวี ที่ทําใหประชาชนสามารถติดตามสถานการณ ของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดโดยสะดวก

ดานอิทธิพลสื่อบุคคล พบวา อยูในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับมาก 5 ขอ และอยูในระดับปานกลาง 3 ขอโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอยไดดังนี้สมาชิกครอบครัว (พอ/แม/สามี/ภรรยา/พี่/นอง) รองลงมาคือ เพื่อนรวมงาน ผูนําชุมชนในพื้นที่ เชนกํานัน ผูใหญบาน เพื่อนบาน บุคคลที่นับถือ (อาจารย/พระ) นายจาง/ผูบังคับบัญชา ผูมีอิทธิพลในพื้นที่ และ เพื่อนรวมชั้นเรียน ตามลําดับสอดคลองกับงานวิจัยของ พงศสุรวัฒน วงษสารัมยและคณะ6 ไดศึกษาเรื่อง "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการเลือกต้ังทั่วไป ป พ.ศ.2554: ศึกษากรณีจังหวัดบุรีรัมย" พบวา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ัง ดานสื่อบุคคล ไดแก ญาติ สมาชิกภายในครอบครัว และผูนําชุมชน ,บุคคลที่เปนที่ยอมรับนับถือ

เหตุผลเพราะวาสมาชิกภายในครอบครัว เปนบุคคลที่เปนที่ประชาชนใหการยอมรับนับถือ และเชื่อใจ สามารถแลกเปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติ และคานิยม ไดงายที่สุดจึงทําใหมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ

5.2.3 การทดสอบสมมติฐานประชาชนที่มีเพศตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน สอดคลองกับงานวิจัยของดาวเรืองนาคสวัสด์ิ 7 ไดศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย” ในหวงเวลาป พ.ศ.2559” ผลการศึกษาพบวา เพศไมมีความสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรจังหวัดสุโขทัย

6พงศสุรวัฒน วงษสารัมย และคณะ. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการเลือกต้ังทั่วไปป พ.ศ.2554: ศึกษากรณีจังหวัดบุรีรัมย. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก,2555.

7ดาวเรือง นาคสวัสด์ิ .ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัยสารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

Page 102: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

89

ประชาชนที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร

ดานการรณรงคหาเสียง ดานอิทธิพลสื่อบุคคล และโดยรวมไมแตกตางกัน แตดานพรรคการเมือง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลองกับงานวิจัยของ ณิชาภาเหมะธุลิน8 ศึกษาเรื่อง "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรศึกษากรณี:ผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1จังหวัดบึงกาฬ" ผลการศึกษาพบวา ประชาชนผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ ที่มีอายุตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในเขตเลือกต้ังที่ 1จังหวัดบึงกาฬ ดานนโยบาย ดานคุณสมบัติของผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานสื่อในการรณรงคหาเสียงเลือกต้ัง และดานสื่อบุคคลไมแตกตางกัน

ประชาชนที่มี ระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีระดับการศึกษาตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน แตดานผูสมัครรับเลือกต้ัง ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลองกับงานวิจัยของไพบูลย บุตรเลียบ9ศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร: ศึกษาในหวงเวลาป 2557" ผลการศึกษาพบวา ประชาชนในจังหวัดสมุทรสาครที่มีระดับการศึกษาตางกันการตัดสินใจเลือกต้ังแตกตางกัน

ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีอาชีพตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบาย

8ณิชาภา เหมะธุลิน. "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีผูมีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ". สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

9ไพบูลย บุตรเลียบ. "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร: ศึกษาในหวงเวลาป 2557". วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารการเมือง วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

Page 103: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

90

ของผูสมัคร และดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน แตดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลองกับงานวิจัยของ ไพบูลยบุตรเลียบ10 ศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร: ศึกษาในหวงเวลาป 2557" ผลการศึกษาพบวา ประชาชนในจังหวัดสมุทรสาครที่มีอาชีพตางกันการตัดสินใจเลือกต้ังแตกตางกัน

ประชาชนที่มี รายไดตอเ ดือนตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี โดยรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดานปรากฏผล คือ ประชาชนที่มีรายไดตางกันมีปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี ดานพรรคการเมือง ไมแตกตางกัน แต ดานคุณลักษณะของผูสมัคร ดานนโยบายของผูสมัคร ดานการรณรงคหาเสียง และดานอิทธิพลสื่อบุคคล แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลองกับงานวิจัยของวิชา อยูหลํา11 ศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีประชาชนจังหวัดสระบุรี” ผลการศึกษาพบวา ประชาชนในจังหวัดสระบุรีที่มีรายไดที่แตกตางกันการตัดสินใจในการเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แตกตางกัน

การเปดรับสื่อมีสหสัมพันธ เชิงบวกกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี พบวา การเปดรับสื่อมีสหสัมพันธเชิงบวกกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การเปดรับสื่อจากโทรทัศน สื่อวิทยุ หนังสือพิมพ และสื่ออินเทอรเน็ตมีสหสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

10ไพบูลย บุตรเลียบ. "ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร: ศึกษาในหวงเวลาป 2557" วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารการเมือง วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

11วิชา อยูหลํา. “ปจจัยที่มีผลตอการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีประชาชนจังหวัดสระบุรี”.วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารการเมือง วิทยาลัยส่ือสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

Page 104: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

91

5.3 ขอเสนอแนะ5.3.1 ขอเสนอแนะจากการวิจัย

1. ผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีควรมุงเนนนโยบายดานการปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจังและในการรณรงคหาเสียงเลือกต้ังตองจัดปราศรัยดวยเนื้อหาที่มีประโยชนที่เหมาะสมกับประชาชนผูมีสิทธิ์เลือกต้ังในจังหวัดนนทบุรี

2. ผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรีควรเลือกสังกัดพรรคการเมืองที่มีการทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพและเอาใจใส ทุกข สุขของประชาชน ชวยเหลือประชาชนอยางซื่อสัตย สุจริต โปรงใสในการทํางาน

5.3.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป1. การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงปริมาณโดยใชแบบสอบถามซึ่งคําตอบที่ไดรับ

อาจไมเจาะจงปญหาทั้งหมด ดังนั้นในการศึกษาครั้งตอไปจึงควรทําการศึกษาเชิงคุณภาพควบคูกันไปเพื่อใหไดคําตอบและรายละเอียดเชิงลึกมากย่ิงขึ้น

2. ในการศึกษาครั้งตอไปควรศึกษาความคิดเห็นของประชาชนผูมีสิทธิ์เลือกต้ังในจังหวัดนนทบุรีในคุณสมบัติของผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

Page 105: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

ภาคผนวก

Page 106: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

93

แบบสอบถามเร่ือง ปจจัยท่ีมีผลตอการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

: ศึกษาในหวงเวลา พ.ศ. 2561

คําชี้แจงการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1)เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทน

ราษฎรของชาวจังหวัดนนทบุรีในหวงเวลาพ.ศ.2561 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางลักษณะทางประชากรกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของชาวจังหวัดนนทบุรีในหวงเวลา พ.ศ.2561 และ3) เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธระหวางการเปดรับสื่อกับการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรชาวจังหวัดนนทบุรี โดยแบบสอบถามแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามสวนที่ 2 พฤติกรรมการเปดรับสื่อของชาวจังหวัดนนทบุรีสวนที่ 3 ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาพผูแทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี

Page 107: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

94

สวนท่ี 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง ใหทานใสเครื่องหมาย √ลงใน หนาขอความที่ตรงกับความเปนจริงของทานมาก

ที่สุด

1. เพศ 1) ชาย 2) หญิง

2. อายุ 1) 18-30 ป 2) 31-40 ป 3) 41-50 ป 4) 51-60 ป 5) 60 ปขึ้นไป

3. ระดับการศึกษา 1) ประถมศึกษา 2) มัธยมศึกษา 3) ปวส./อนุปริญญาหรือเทียบเทา 4) ปริญญาตรี 5) สูงกวาปริญญาตรี

4. อาชีพ 1) รับราชการ 2) เกษตรกร 3) พนักงานบริษัทเอกชน 4) ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย 5) อาชีพอิสระ(โปรดระบุ) 6) อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) ................

5. รายไดตอเดือน 1) ตํ่ากวา 10,000 บาท 2) 10,001-20,000 บาท 3) 20,001-30,000 บาท 4)30,001-40,000 บาท 5) 40,001-50,000 บาท 6) 50,001 บาทขึ้นไป

Page 108: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

95

สวนท่ี 2 เปนคําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการเปดรับสื่อของประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีคําชี้แจง กรุณาทําเครื่องหมาย √ ลงในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

โดยมีระดับการเปดรับสื่อดังนี้มากที่สุด หมายถึง เปดรับทุกวันๆ ละ 4-5 ชั่วโมงมาก หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 5-6 วันๆ ละ 3-4ชั่วโมงปานกลาง หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 3-4 วันๆ ละ 2-3 ชั่วโมงนอย หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 1-2 วันๆ ละ 1-2 ชั่วโมงนอยที่สุด หมายถึง เปดรับสัปดาหละ 1 วันๆ ละไมเกิน 1 ชั่วโมง

ระดับการเปดรับสื่อพฤติกรรมการเปดรับสื่อ

มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

1. สื่อโทรทัศน

2. สื่อวิทยุ

3. สื่อหนังสือพิมพ

4. สื่ออินเทอรเน็ต

Page 109: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

96

สวนท่ี 3 เปนคําถามเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดนนทบุรี

คําชี้แจง กรุณาทําเครื่องหมายลงในชองที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็นปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มาก

ท่ีสุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ท่ีสุดดานคุณลักษณะของผูสมัคร1 สําเร็จการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรี2 มีบุคลิกภาพดี และมีความสามารถในการสื่อสาร3 มีความสื่อสัตย สุจริต โปรงใส4 เคยดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผูแทนราษฎรมากอน5 มีความเปนกันเองเขาพบไดงาย6 มีผลงานในอดีตมากอน และทําตอเนื่อง7 เอาใจใส ทุกข สุข ของประชาชน ชวยเหลือ

ประชาชน8 มีอุดมการณทางการเมืองชัดเจน

ดานนโยบายของผูสมัคร1 ชวยเหลือประชาชนที่มีรายไดนอย2 จัดสวัสดิการใหแกผูดอยโอกาส3 ประกันราคาผลผลิตการเกษตร4 เพิ่มคาแรงขั้นตํ่า และเพิ่มเงินเดือนขาราชการและ

พนักงานเอกชน5 สงเสริมการตลาดใหแกผลิตภัณฑทองถิ่น (OTOP)6 ปราบปรามยาเสพติดอยางจริงจัง7 เพิ่มเงินเดือนผูสูงอายุ8 จัดใหมีการรักษาพยาบาลฟรีอยางมีคุณภาพ

Page 110: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

97

ระดับความคิดเห็นปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มาก

ท่ีสุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ท่ีสุดดานพรรคการเมือง

1 เปนพรรคการเมืองที่เคยเปนรัฐบาลมากอน2 เปนพรรคการเมืองที่หัวหนาพรรคมีภาพลักษณดี3 เปนพรรคการเมืองเกาแก มีประสบการณ4 เปนพรรคทีย่ึดม่ันในอุดมการณ5 ผูบริหารพรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน6 เปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายชัดเจนปฏิบัติไดจริง7 เปนพรรคการเมืองที่มีผลงานชดัเจนเปนรูปธรรม8 เปนพรรคการเมืองที่ทํางานเปนทีมอยางมี

ประสิทธิภาพดานการรณรงคหาเสียง

1 จัดปราศรัยหาเสียงดวยเนื้อหาที่มีประโยชน2 ออกเดินหาเสียง โดยเคาะตามประตูบานอยางทั่วถึง3 ปายหาเสียง ขนาดใหญ โดดเดน สะดุดตา4 จัดกิจกรรมพิเศษหาเสียงดวยรูปแบบแปลกใหม5 หาเสียงผานสื่อใหมเปน Facebook, Line6 รถแหกระจายเสียงทั่วพื้นที่7 ใบปลิว/แผนพับ/บัตรแนะนําตัวสวยงามชัดเจน8 ใชสื่อกระแสหลัก เชน โทรทัศน วิทยุ หนังสือพิมพใน

การโฆษณาหาเสียง

Page 111: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

98

ระดับความคิดเห็นปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มาก

ท่ีสุดมาก ปาน

กลางนอย นอย

ท่ีสุดดานพรรคการเมือง1 เปนพรรคการเมืองที่เคยเปนรัฐบาลมากอน2 เปนพรรคการเมืองที่หัวหนาพรรคมีภาพลักษณดี3 เปนพรรคการเมืองเกาแก มีประสบการณ4 เปนพรรคทีย่ึดม่ันในอุดมการณ5 ผูบริหารพรรคการเมืองที่มีวิสัยทัศน6 เปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายชัดเจนปฏิบัติไดจริง7 เปนพรรคการเมืองที่มีผลงานชดัเจนเปนรูปธรรม8 เปนพรรคการเมืองที่ทํางานเปนทีมอยางมี

ประสิทธิภาพดานการรณรงคหาเสียง

1 จัดปราศรัยหาเสียงดวยเนื้อหาที่มีประโยชน2 ออกเดินหาเสียง โดยเคาะตามประตูบานอยาง

ทั่วถึง3 ปายหาเสียง ขนาดใหญ โดดเดน สะดุดตา4 จัดกิจกรรมพิเศษหาเสียงดวยรูปแบบแปลกใหม5 หาเสียงผานสื่อใหมเปน Facebook, Line6 รถแหกระจายเสียงทั่วพื้นที่7 ใบปลิว/แผนพับ/บัตรแนะนําตัวสวยงามชัดเจน8 ใชสื่อกระแสหลัก เชน โทรทศัน วิทยุ หนังสือพิมพใน

การโฆษณาหาเสียงดานอิทธิพลสื่อบุคคล

1 สมาชิกครอบครัว (พอ/แม/สามี/ภรรยา/พี่/นอง)2 เพื่อนรวมงาน3 ผูนําชุมชนในพื้นที่ เชน กํานัน ผูใหญบาน4 นายจาง/ผูบังคับบัญชา5 บุคคลที่นับถือ (อาจารย/พระ)

Page 112: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

99

ระดับความคิดเห็นปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร มาก

ท่ีสุดมากท่ีสุด

มากท่ีสุด

ดานอิทธิพลสื่อบุคคล6 เพื่อนบาน7 เพื่อนรวมชั้นเรียน8 ผูมีอิทธิพลในพื้นที่

ขอเสนอแนะอ่ืน

ขอขอบพระคุณทุกทานที่กรุณาตอบแบบสอบถาม

Page 113: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(100)

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือกรองแกว อยูสุข. พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537.นันทนา นันทวโรภาส. สื่อสารการเมือง:ทฤษฎีและการประยุกตใช. กรุงเทพมหานคร: แมสมีเดีย,

2557.ปรมะ สตะเวทิน. หลักและทฤษฎีการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

2528.พรศักด์ิ ผองแผว. ขาวสารการเมืองของคนไทย. กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ, 2526.พรศักด์ิ ผองแผว และสุจิต บุญบงการ. พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังของคนไทย.

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2527.มานิตย นวลลออ. การเมืองไทยยุคสัญลักษณรัฐไทย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คณะสังคมศาสตร ภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร, 2540.วิชัย โถสุวรรณจินดา. ความลับขององคการ: พฤติกรรมองคการสมัยใหม. กรุงเทพฯ: ธรรมนิติ,

2535.อรนุช เลิศจรรยารักษและดาราวรรณ สุขุมาลชาติ. ทฤษฎีการสื่อสารเบ้ืองตน. พิมพครั้งที่ 7.

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2535.

งานวิจัยและเอกสารอื่นๆคณะกรรมการการเลือกต้ังจังหวัดนนทบุรี. กรกฎาคม, 2554.คณะกรรมการการเลือกต้ังจังหวัดนนทบุรี. ธันวาคม, 2550.ณิชาภา เหมะธุลิน. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีผู

มีสิทธิเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดบึงกาฬ.” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิตวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

ดาวเรือง นาคสวัสด์ิ. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย.” .สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

นภาพร หมื่นจง. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดระยอง.”สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

Page 114: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

101

พงศสุรวัฒน วงษสารัมย และคณะ.”ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในการเลือกต้ังทั่วไปปพ.ศ.2554: ศึกษากรณีจังหวัดบุรีรัมย.” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2555.

ไพบูลย บุตรเลียบ. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของจังหวัดสมุทรสาคร: ศึกษาในหวงเวลาป 2557.” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

มงคล รัตนพันธ. “ปจจัยที่ใชในการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีผูมีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังในเขตเลือกต้ังที่ 3 จังหวัดประจวบคีรีขันธ .” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2554.

วิชา อยูหลํา.”ปจจัยที่มีผลตอการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร: ศึกษากรณีประชาชนจังหวัดสระบุร.ี” สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารการเมือง วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

วิชาญ รอดไพบูลย. “ปจจัยที่มีความสัมพันธตอการตัดสินใจไปใชสิทธิเลือกต้ังนายกองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี ” หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2549.

ศิริจันทร วงศศิริ. “ปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกผูแทนระดับชาติและระดับทองถ่ินของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลน้ํา ยืน อําเภอน้ํายืน จังหวัดอุบลราชธานี.” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 2549.

ศิวะพร ปญจมาลา. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชน:ศึกษากรณี การเลือกต้ังซอมสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดนครพนม เขต 1 พ.ศ.2537.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. รัฐศาสตร (การปกครอง) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2538.

สกนธ กรกฏ. “พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้ัง: ศึกษากรณีเลือกต้ังทั่วไป เมื่อวันที่ 6มกราคม 2544 เขตเลือกต้ังที่ 1 จังหวัดพัทลุง.” สารนิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2544.

สมบัติ จันทรวงศ. การเมืองเรื่องการเลือกต้ัง: ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกต้ังทั่วไป พ.ศ.2529.กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา, 2530.

สัมฤทธิ์ ราชสมณะ. “กระบวนการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2530.

Page 115: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

102

สํานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังประจําจังหวัดนนทบุรี, ขอมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559อดิศักด์ิ จันทรวิทัน. “ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎรของประชาชน

จังหวัดประจวบคีรีขันธ: ศึกษาในหวงเวลาป พ.ศ.2559.”. สารนิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิตวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, 2559.

BooksAlmond Gabriel and Bingham G. Powell, Jr.Comparative Politics:System, Process, and

Policy. 2nd edition. Boston:Little Brown, 1978 .Brian McNair. An introduction to political communication.First published .London

:Routledge, 1995.David K. Berlo. The Process of Communication. New York: Rinehart Press, 1960.Gabriel A. Almond and G. Bingham Powell Jr.Comparative politics:System, process and

policy. 2nd edition.Boston: Little Brown, 1978.Karl Deutsch , Political Community and North Atlantic Area.Westport, Connecticut

:Greenwood Press, 1969.Klapper, Joseph T. The Effects of Mass Communication.New York:The free Press, 1960.Martin Harrop& William L. Miller.Elections and Voters:A ComparativeIntroduction.

London:Macmillan Education, 1987.Wilbur Schramm. “The Mass Media as Source of Public Affairs, Science and Health

Knowledge”.Public Opinion Quarterly 33, 1969.

Page 116: ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/PCC/2561/F_GUNT...ป จจ ยท ม ผลต อการต ดส

(103)

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล นายกันต อัจฉริยะพิทักษวัน/เดือน/ปเกิด 6 กันยายน 2528ประวัติการศึกษา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครประวัติการทํางาน พ.ศ.2559 ตําแหนงที่ปรึกษาการขาย บริษัทวีกรุปฮอนดาคารส จํากัด พ.ศ.2561 สํานักงานกอสรางขนาดกลางที่ 11

กองพัฒนาแหลงน้ําขนาดกลาง กรมชลประทาน