14
ปปปปปปปปปปปปปปปปปปปป Streptococcus agalactiae ปปปปปปปปปปปปป Streptococcosis ปปปปปปปปปปปปปปปปปปป ปปปปปปปปปปปปป EFFICACY OF STREPTOCOCCUS AGALACTIAE VACCINE AGAINST STREPTOCOCCOSIS DISEASE IN CHONBURI PROVINCE ปปปปปปปปปปป ปปปปปปปปปปป 1 ปปปปป ปปปปปปปปป 2 ปปปปปปปป ป ปปปปปปปป 1 * Jiadamloong , C. 1 , Taveekitjakan, P. 2 and Worananthakij , W. 1 * 1 ภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภ ภภภ. 10520 2 ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภ ภภภ. 10520 1 Department of Biology, Faculty of Science, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Chalongkrung Road, Ladkrabang District, Bangkok, 10520 2 Program in Fisherise Science, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Chalongkrung Road, Ladkrabang District, Bangkok, 10520 * Corresponding author: [email protected] ปปปปปปปป ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภ ภภภภภภภภ 4 ภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภ ภภภภภภภภ 2559 ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ 2 ภภภภภ ภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภ ภภภ 6-7 ภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ 2 ภภภภภ ภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ 1 ภภภภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภ (ภภ ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ, ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ, ภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภภ, ภภภภภภภภภภภภภ) ภภภภภภ ภภภภภภภภภภภ (ภภภภภภภภภภภภภภภภภภ, ภภภภภภภภภภภภภภภภภภ,

Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

ประสทิธภิาพของวคัซนี Streptococcus agalactiae ท่ีต้านต่อโรค Streptococcosis ในฟารม์เล้ียงปลานิล จงัหวดัชลบุร ี

EFFICACY OF STREPTOCOCCUS AGALACTIAE VACCINE AGAINST STREPTOCOCCOSIS

DISEASE IN CHONBURI PROVINCEเฉลิมศักด์ิ เจยีดำารงค์1 ปวณีา ทวกิีจการ 2 และวรกฤต วรนันทกิจ 1*

Jiadamloong , C.1, Taveekitjakan, P. 2 and Worananthakij , W.1*

1 ภาควชิาชวีวทิยา คณะวทิยาศาสตร ์สถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกล้าเจา้คณุทหารลาดกระบงั ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบงั กทม. 105202 ภาควชิาวทิยาศาสตรก์ารประมง คณะเทคโนโลยกีารเกษตร สถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกล้าเจา้คณุทหารลาดกระบงั ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบงั กทม. 105201Department of Biology, Faculty of Science, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Chalongkrung Road, Ladkrabang District, Bangkok, 105202 Program in Fisherise Science, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Chalongkrung Road, Ladkrabang District, Bangkok, 10520* Corresponding author: [email protected]

บทคัดยอ่ การศึกษาผลของวคัซนีเพื่อการป้องกันโรคสเตรปโตคอคโคซสิ ในฟารม์เล้ียง

ปลานิลของเกษตรกรในจงัหวดัชลบุร ีเป็นระยะเวลา 4 เดือน ตัง้แต่เดือนมนีาคม ถึง มถินุายน 2559 แบง่กลุ่มการทดลองเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลาท่ีได้รบัวคัซนีและกลุ่มปลาท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนี ท่ีขนาดเริม่ต้น 6-7 กรมั และเมื่อเล้ียงไปแล้ว 2 เดือน จงึเริม่ทำาการเก็บตัวอยา่งปลามาทำาการชัง่นำ้าหนัก วดัขนาดปลาและเจาะเลือดปลาเดือนละ 1 ครัง้ เพื่อศึกษาค่าโลหติ (ปรมิาณเซลล์เมด็เลือดแดง, ปรมิาณเซลล์เมด็เลือดขาว, ปรมิาณเมด็เลือดแดงอัดแน่น, ค่าฮีโมโกลบนิ) และค่าภมูคิุ้มกัน (ปรมิาณพลาสมาโปรตีน, ค่ากิจกรรมไลโซไซม์, ค่าอิมโมโนโกลบูลิน และค่าการตกตะกอนของแอนติบอดี้) ผลการศึกษาพบวา่นำ้าหนัก ความยาวของปลานิลท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีมคี่ามากกวา่กลุ่มที่ได้รบัวคัซนีอยา่งไมม่นีัยสำาคัญ และในชว่ง 2 เดือนแรกหลังจากปลาได้รบัวคัซนี ปรมิาณเมด็เลือดขาวของปลากลุ่มนี้จะมคี่าสงูกวา่กลุ่มที่ไมไ่ด้รบัวคัซนีอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05) สอดคล้องกับปรมิาณการตกตะกอนของแอนติบอด้ีในปลาก

Page 2: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

ลุ่มท่ีได้รบัวคัซนีที่มกีารเพิม่ขึ้นใน 2 เดือนแรกอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05) เป็นผลเนื่องมาจากวคัซนีท่ีปลาได้รบัเขา้ไปในรา่งกายกระตุ้นภมูคิุ้มกันใหม้ปีรมิาณสงูขึ้น สว่นค่าโลหติ ได้แก่ ปรมิาณเมด็เลือดแดง ปรมิาณเมด็เลือดแดงอัดแน่น และค่าฮีโมโกลบนิในปลานิลกลุ่มท่ีได้รบัวคัซนีมคี่าสงูกวา่กลุ่มท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนี โดย 2 ค่าสดุท้ายมีค่าแตกต่างอยา่งมนัียสำาคัญ (p<0.05) ตัง้แต่เดือนมนีาคม-มถินุายน สว่นค่าภมูคิุ้มกัน ได้แก่ ปรมิาณพลาสมาโปรตีนและค่ากิจกรรมไลโซไซมไ์มม่คีวามแตกต่างอยา่งมนีัยสำาคัญ (p>0.05) และเพื่อยนืยนัวา่วคัซนีมกีารกระตุ้นภมูคิุ้มกันภายในปลาเพิม่มากขึ้น จงึทดสอบการแสดงออกของยนี Interleukin 8 จากไต ด้วยวธิ ีRT-PCR พบวา่ปลานิลท่ีได้รบัวคัซนีมกีารแสดงออกของยนีนี้ทกุตัว แต่ในปลาท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีจะพบยนีดังกล่าวปรากฏขึ้นในปลาบางตัว ระหวา่งเดือนพฤษภาคมและมถินุายน บง่บอกวา่ปลานิลท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีตัวท่ีพบยนี IL8 มกีารติดเชื้อแบคทีเรยีเกิดขึ้น การศึกษาครัง้นี้สามารถนำาไปเป็นขอ้มูลพื้นฐานในการจดัการป้องกัน ควบคมุ และแก้ไขปัญหาโรคสเตรปโตคอคโคซสิที่เกิดขึ้นในฟารม์เล้ียงได้

คำาสำาคัญ: ปลานิล, โรคสเตรปโตคอคโคซสิ, ค่าโลหติวทิยา, ภมูคิุ้มกัน, Interleukin 8

ABSTRACT This research focused on the effects of vaccines for the

prevention of Streptococcosisdisease in the Oreochromis niloticus farm, Chonburi, Thailand for a period of 4 months; (March-June 2016). The study divided fish 2 groups including vaccinated and non-vaccinated fish. The Initial sizes of fish were 6-7 gram. Than, 2 months later, samples were collected for weighing, measuring the size and collecting fish blood to use in the hematological (red blood cells, white blood cell, percentage of hematocrit and total hemoglobin) and the immunological (plasma protein, lysozyme activity, immunoglobulin and antibody titer). The weight and length of non-vaccinated fish were increased more than vaccinated fish in each month as there was not significance. The first 2 months, vaccinated fish had white blood cell higher than non- vaccinated tilapia had quite similar with antibody titer were significant difference (p<0.05) because vaccines can boost immunity. Moreover, the hematological include red blood cells, percentage of hematocrit and total hemoglobin in vaccinated fish were higher than non-vaccinated fish and the last two factors were significantly difference (p<0.05) on March-May. The hematological level found that including

Page 3: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

plasma protein and lysozyme activity were not significant (p>0.05). To confirm immune activity of vaccinated fish the expression of the interleukine 8 from the kidney of was conducted by reverse transcriptase PCR (RT-PCR) method. The results show that all vaccinated fish were expressed but this gene was found in some non-vaccinated fish between May and June. It suggested that non-vaccinated fish with interleukine 8 were infected by bacteria. This research may use as data for prevent, control and solve Streptococcosis disease in the farm.

Keywords: Oreochromis niloticus, Streptococcosis disease, Hematological, Immunity, Interleukin 8

บทนำา ปลานิลเป็นปลาท่ีเล้ียงง่ายสามารถขยายพนัธุร์วดเรว็และเป็นปลานำ้าจดืท่ีมี

ความสำาคัญท่ีสดุทางเศรษฐกิจของประเทศไทย มคีวามต้องการของตลาดทัง้ในและต่างประเทศสงู ปัจจุบนัการเล้ียงปลานิลในเชงิพาณิชยไ์ด้พฒันามาเป็นการเล้ียงในพื้นท่ีจำากัดและต้องการได้ผลผลิตจำานวนมาก โดยปล่อยปลาลงสูบ่อ่ในอัตราความหนาแน่นสงู และการเล้ียงมกีารให้อาหารในปรมิาณมากเกินความต้องการของปลา อาหารท่ีเหลือจงึกลายเป็นของเสยีสะสมในระบบการเล้ียงท่ีสง่ผลใหค้ณุภาพนำ้าไมดี่ ปลาจงึเกิดความเครยีดขึ้น สาเหตุดังกล่าวมสีว่นทำาใหภ้มูคิุ้มกันของปลาลดลงและสง่ผลใหป้ลาได้รบัเชื้อก่อโรคง่ายขึ้น นำาไปสูก่ารป่วยเป็นโรค (Plumb 1997; Shoemaker et al., 2000) โรคระบาดท่ีสรา้งความเสยีหายในระบบการเล้ียงปลานิล คือ โรคสเตรปโตคอคโคซสิ ซึ่งเป็นโรคท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรยีในสกลุ Streptococcus sp. พบวา่สามารถระบาดได้ทัง้ในปลาท่ีอาศัยตามธรรมชาติและฟารม์เพาะเล้ียง (Suanyuk et al., 2008) โดยปลาแสดงอาการท้องบวม และเมื่อทำาการตรวจสอบความผิดปกติภายในชอ่งท้องพบวา่มีของเหลวสเีหลืองทะลักออกมา ตับมสีซีดี เกิดการตกเลือดและอักเสบ ถงุนำ้าดีและมา้มบวมโตมาก (Plumb, 1999) เกษตรกรสว่นมากจะทำาการควบคมุโรคโดยใชย้าปฏิชวีนะและผลิตภัณฑ์เคมเีพื่อยบัยัง้การเกิดโรค แต่เมื่อใชย้าเป็นระยะเวลานานในปรมิาณมากจะก่อใหเ้กิดการสะสมในตัวปลาและตกค้างในบอ่เล้ียง และผู้บรโิภคปลาจะได้รบัผลกระทบด้านสขุภาพ นอกจากนี้อาจก่อใหเ้กิดการด้ือยาในระบบการเล้ียงอีกด้วย (Evan and Klesius, 2004) เพื่อหลีกเล่ียงปัญหาดังกล่าว เกษตรกรจงึนำาวคัซนีมาใชท้ดแทนการใชย้าปฏิชวีนะในการป้องกันโรค งานวจิยันี้จงึมวีตัถปุระสงค์เพื่อศึกษาระดับภมูคิุ้มกันของปลานิลต่อวคัซนีเชื้อ Streptococcus sp.ในระดับฟารม์เล้ียง

Page 4: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

โดยทำาการศึกษาแบง่ปลาเป็น 2 กลุ่ม คือปลาท่ีได้รบัวคัซนีและไมไ่ด้รบัวคัซนี และทำาการการเก็บตัวอยา่งเลือดเพื่อวเิคราะหห์าความแตกต่างทางด้านโลหติวทิยา ค่าภมูคิุ้มกันแบบไมจ่ำาเพาะและค่าภมูคิุ้มกันแบบจำาเพาะ เพื่อเป็นแนวทางในการพฒันาวคัซนีเพื่อป้องกันโรคและการจดัการการเล้ียงปลานิลในฟารม์ของเกษตรกรเพื่อใหม้ีคณุภาพในอนาคตต่อไป

อุปกรณ์และวธิกีารสถานท่ีทำาการทดลองและตัวอยา่งปลานิล

ทำาการสุม่เก็บตัวอยา่งปลานิลจากฟารม์เกษตรกรในอำาเภอพานทอง จงัหวดัชลบุร ีหลังจากเกษตรกรปล่อยปลานิลขนาดเริม่ต้น 6 - 7 กรมั ในอัตรา 1,000 ตัว/ไร ่และเล้ียงปลาไปแล้ว 2 เดือน ในบอ่ดินขนาด 3 ไร ่จำานวน 4 ครัง้ ระหวา่งเดือนมนีาคม-มถินุายน 2559 จาก 2 บอ่คือ ปลาท่ีได้รบัวคัซนีและไมไ่ด้รบัวคัซนี เดือนละ 1 ครัง้ บอ่ละ 10 ตัว ทำาการชัง่วดัขนาดปลา และเก็บตัวอยา่งเลือดปลาจากบรเิวณโคนหาง ปรมิาตร 1 มลิลิลิตร เพื่อใชท้ดสอบค่าโลหติวทิยาภมูคิุ้มกัน และตรวจสอบค่าคณุภาพนำ้า (ค่าพเีอช อุณหภมู ิปรมิาณออกซเิจนท่ีละลายในนำ้า และปรมิาณแอมโมเนียรวม) ทกุครัง้ท่ีเขา้สุม่เก็บตัวอยา่งการศึกษาค่าโลหิตวทิยา

ค่าปรมิาณเมด็เลือดแดงอัดแน่น (%Hematocrit, Hct) ดัดแปลงมาจากวธิีของของจุไลวรรณ และสมพร (2551) การนับจำานวนเมด็เลือดแดงและเมด็เลือดขาว (Blood cell count) ดัดแปลงมาจากวธิขีอง กิจการ (2538) และการทดสอบหาค่าระดับฮีโมโกลบนิ (Total hemoglobin) ดัดแปลงมาจากวธิีของ Larsen and Snieszko (1961) การศึกษาระดับภมูคิุ้มกันวทิยา

ค่าภมูคิุ้มกันแบบไมจ่ำาเพาะ ได้แก่ การทดสอบหาค่าโปรตีนในพลาสมา (Plasma protein) ดัดแปลงมาจากวธิขีอง Lowrey et al. (1951) การทดสอบหาค่ากิจกรรมไลโซไซม ์(lysozyme activity) การทดสอบหาค่ากิจกรรมไลโซไซมดั์ดแปลงมาจากวธิขีอง Lie et al. (1989)

ค่าภมูคิุ้มกันแบบจำาเพาะ ได้แก่ การทดสอบหาค่าอิมโมโนโกลบูลิน (Immunoglobulin) ดัดแปลงมาจากวธิขีอง Al-Dohail et al. (2009) และการทดสอบหาค่าแอนติบอด้ีไตเตอร ์(Antibody titer) ดัดแปลงมาจากวธิกีารของ Biller et al. (2010)

Page 5: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

การทดสอบการแสดงออกของยนี Interleukin 8ทำาการสกัด total RNA ของปลานิล โดยใชน้ำายาทดสอบ GENEzol

Reagent ยีห่อ้ Geneaid, USA จากนัน้นำาตัวอยา่งท่ีได้มาทำา Reverse transcriptase-Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) เพื่อตรวจสอบยนี Interleukin 8 (IL8) ด้วย Primer IL8F และ IL8R (Gregorio et al. 2014) โดยใชชุ้ดทดสอบ my taq one-step RT-PCR kit ยีห่อ้ Bioline, UK และตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นด้วยเทคนิค gel มาตรฐานการวเิคราะห์ทางสถิติ

วเิคราะหค์่าโลหติ และค่าภมูคิุ้มกันโดยวธิ ีIndependent sample T-test ท่ีระดับความเชื่อมัน่ 95% (p<0.05)ด้วยโปรแกรม SPSS version 20

ผลการทดลองจากการเก็บตัวอยา่งนำ้ามาวเิคราะหพ์บวา่ค่าพเีอช อุณหภมู ิปรมิาณออกซเิจนท่ี

ละลายในนำ้า และปรมิาณแอมโมเนียรวม อยูใ่นระดับที่เหมาะสมกับการเล้ียงปลานิล โดยมคี่า8.42-9.34 , 27.5-35.9 องศาเซลเซยีส, 4.29-16.8 มลิลิกรมัต่อลิตร และ 0.45-0.84 มลิลิกรมัต่อลิตร ตามลำาดับ สำาหรบัการเก็บตัวอยา่งเลือดและนำามาวเิคราะหห์าค่าโลหติ และค่าภมูคิุ้มกันของปลากลุ่มที่ได้รบัวคัซนีและไมไ่ด้รบัวคัซนี แล้วนำาผลที่ได้มาวเิคราะหท์างสถิติโดยวธิ ีIndependent sample T-test พบวา่ค่านำ้าหนัก และค่าความยาวของปลาทัง้ 2 กลุ่มเพิม่ขึ้นอยา่งต่อเนื่องในทกุเดือนตลอดการทดลอง โดยปลาท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีมคี่ามากกวา่ปลาได้รบัวคัซนีอยา่งไมม่ีความสำาคัญทางสถิติ และในเดือนมนีาคม-เมษายน พบวา่ค่าการตกตะกอนของแอนติบอดี้และปรมิาณเซลล์เมด็เลือดขาวในปลาได้รบัวคัซนีเพิม่ขึ้นกวา่ปลาท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05) ในเดือนเมษายน-มถินุายน พบวา่ค่าเมด็เลือดแดงอัดแน่นและค่าฮีโมโกลบนิในปลากลุ่มท่ีได้รบัวคัซนีเพิม่สงูกวา่กลุ่มท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05)เชน่กัน สว่นปรมิาณเซลล์เมด็เลือดแดง ค่ากิจกรรมไลโซไซมแ์ละค่าอิมโมโนโกลบูลินไมม่คีวามแตกต่างอยา่งมนัียสำาคัญ (p>0.05) (Table 1)

เมื่อทดสอบการออกของยนี IL8 ระหวา่งปลาในกลุ่มที่ได้รบัวคัซนีและไมไ่ด้รบัวคัซนีจากไต พบวา่ปลาในกลุ่มได้รบัวคัซนีทกุตัวมกีารแสดงออกของยนี IL8 สว่นกลุ่มท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีจะมกีารแสดงออกของยนีดังกล่าวในปลาบางตัวระหวา่งเดือนพฤษภาคมและมถินุายน โดยมสีาเหตมุาจากปลาบางตัวในกลุ่มท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีมกีารติดเชื้อ S. agalactiae และเพื่อยนืยนัวา่ปลานิลทัง้ 2 กลุ่มมยีนีดังกล่าว จงึได้นำา β-actin ซึ่งเป็นยนีควบคมุภายในมาทำาการเปรยีบเทียบพบวา่ปลาทกุตัวมกีาร

Page 6: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

แสดงออกของยนีดังกล่าว (Figure 1)

วจิารณ์ หลังจากที่ปลาได้รบัวคัซนีเขา้ไป ระบบภมูคิุ้มกันจะสรา้งกลไกเพื่อต่อต้านเชื้อ

ก่อโรค โดยพบวา่ปลาในกลุ่มท่ีได้รบัวคัซนีจะมปีรมิาณแอนติบอด้ีเพิม่ขึ้นในชว่ง 2 เดือนแรก สอดคล้องกับการศึกษาของ Eillis (1988) ท่ีรายงานวา่การใหว้คัซนีแก่ปลานัน้จะใหผ้ลในการป้องกันโรคได้ยาวนานประมาณ 2-3 เดือนและประสทิธภิาพจะลดลงตามลำาดับ สอดคล้องกับ Urbinati et al. (2004) พบวา่ปรมิาณภมูคิุ้มกันของปลาที่ได้รบัวคัซนีมคี่าเพิม่สงูขึ้นในระยะเวลาหนึ่งและลดตำ่าลง แสดงใหเ้หน็วา่วคัซนีจะสามารถกระตุ้นภมูคิุ้มกันได้เพยีงระยะเวลาหนึ่งเท่านัน้ และพบวา่ค่าโลหติเป็นตัวบง่ชีต่้อการตอบสนองต่อความเครยีดของปลานิล เนื่องจากปลาไมส่ามารถปรบัสภาวะภายในรา่งกายได้ สอดคล้องกับ Collazos et al. (1993) ท่ีรายงานวา่ปลาเป็นสตัวเ์ลือดเยน็จงึมปีัจจยัหลายอยา่งที่มผีลต่อการเปล่ียนแปลงทางสรรีวทิยา เชน่ เพศ อายุ สภาพแวดล้อม คณุภาพนำ้า อาหาร และรูปแบบการเล้ียงท่ีต่างกันซึ่งสง่ผลต่อค่าโลหติและภมูคิุ้มกันของปลา การทดลองครัง้น้ีพบวา่ปัจจยัต่างๆในแต่ละกลุ่มการทดลองมคี่าเบีย่งเบนมาตรฐานค่อนขา้งสงูเป็นผลมาจากความเครยีดของปลาท่ีเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม เป็นสาเหตใุหภ้มูิต้านทานของปลาทำางานได้ไมเ่ต็มท่ี ทำาใหค้่าโลหติและภมูคิุ้มกันของปลาแต่ละตัวต่างกัน

เมื่อปลานิลมกีารติดเชื้อแบคทีเรยีจะมปีรมิาณเมด็เลือดขาวเพิม่มากขึ้น การท่ีพบปรมิาณเมด็เลือดขาวจำานวนมากนัน้เกิดจากการท่ีปลามกีารติดเชื้อเขา้สูร่า่งกาย กลไกทางด้านภมูคิุ้มกันแบบไมจ่ำาเพาะจงึมกีารสัง่การใหเ้มด็เลือดขาวมกีารตอบสนอง เพื่อเขา้ไปยบัยัง้และทำาลายสิง่แปลกปลอมเหล่านัน้ เริม่จากรา่งกายจะมกีารหลัง่สาร cytokine ออกมาเพื่อกระตุ้นใหเ้ซลล์ที่ทำาหน้าท่ีปกป้องรา่งกายเชน่ IL 8 เคล่ือนเขา้มายงัเซลล์หรอืเนื้อเยื่อท่ีติดเชื้อ S. agacactiae และกระตุ้นเซลล์เมด็เลือดขาวชนิดต่างๆเขา้มาทำาลายสิง่แปลกปลอมโดย IL 8 จะกระตุ้นใหเ้ซลล์เมด็เลือดขาวชนิด neutrophil เขา้มาทำาลายสิง่แปลกปลอมเป็นชนิดแรก และเมื่อ neutrophil เขา้มาทำาลายสิง่แปลกปลอมปลอมนัน้แล้ว จะม ีneutrophil บางสว่นและเซลล์สิง่แปลกปลอมท่ีถกูทำาลาย ดังนัน้ IL 8 จะหลัง่สารเคมอีีกครัง้เพื่อกระตุ้นเซลล์เมด็เลือดขาวชนิดอ่ืนใหเ้ขา้มาทำาลายสว่นท่ีตายแล้ว ดังนัน้จงึเกิดการอักเสบและเป็นหนองในบรเิวณท่ีมกีารพบเชื้อ อยา่งไรก็ตามปลาที่ได้รบัวคัซนีมกีารแสดงออกของภมูคิุ้มกันแบบจำาเพาะต่อเชื้อ S. agalactiae สงูกวา่กลุ่มท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนี แต่ระดับภมูคิุ้มกันแบบไมจ่ำาเพาะไมม่คีวามแตกต่างกัน ซึ่งหากในบอ่มกีารติดเชื้อแบคทีเรยีก่อโรคชนิด

Page 7: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

อ่ืน โอกาสเกิดโรคยงัคงไมแ่ตกต่างกัน แต่อาจลดความเสีย่งหรอืความรุนแรงในการเกิดโรคจากเชื้อ S. agalactiae ได้โดยเฉพาะชว่งแรกหลังจากได้รบัวคัซนี

Table 1 Analysis of hematological and immunological parameters comparison between vaccinated and non-vaccinated fish during March to June 2016

Parameter Type March April May June

Weight (g)Vaccine 115.61±4

.12*284.10±

7.73340.2±9.

36350.00±

13.26Non vaccine

122.11±21.86

286.80±9.07*

377.50±9.85*

399.00±15.43*

Length (cm)

Vaccine 19.95±34.06

23.10±0.22

25.31±0.34

25.20±0.32

Non vaccine

20.24±20.39*

24.37±0.26*

26.33±0.39*

26.55±0.24*

RBC

(x105 cell/mm3)

Vaccine 4.05±3.99

4.40±2.73

4.45±1.19

4.45±1.56

Non vaccine

3.45±2.05

5.35±2.64

3.35±1.58

3.30±1.12

WBC(x104 cell/mm3)

Vaccine 4.25±7.20*

3.90±0.21*

4.20±4.40*

6.25±4.51*

Non vaccine

3.55±17.85

2.80±1.04

5.30±6.55

4.40±3.35

Hematocrit (%)

Vaccine 39.24±5.92

34.50±1.60*

37.50±1.02*

39.00±0.90*

Non vaccine

27.90±2.13

33.94±0.76

30.15±0.63

33.95±1.62

Total hemoglobin (g/dl)

Vaccine 171.77±5.42

117.19±4.79*

133.46±3.19*

127.12±3.82*

Non vaccine

82.97±20.27

139.05±4.31

114.02±4.23

119.61±5.57

Plasma protein(mg/ml)

Vaccine 23.57±5.52

27.23±19.70

24.63±11.83

23.98±8.95

Non vaccine

34.61±2.39

24.78±13.61

26.93±12.01

24.45±12.32

Lysozyme activity

Vaccine 27.84±6.85

9.74±0.77

12.29±0.82

15.34±2.01

Non vaccine

9.91±27.18

12.22±0.84

14.36±1.30

12.77±1.57

Immunoglobulin(µg/ml)

Vaccine 155.83±3.86

140.60±23.72

159.73±11.59

99.47±9.88

Non vaccine

96.48±24.56

138.55±10.62

191.23±12.79

136.80±20.08

Antibody titer(%)

Vaccine 101.12±60.40*

73.77±6.65*

55.55±5.50

54.42±6.51

Non vaccine

93.00±22.28

68.43±8.59

22.78±6.51

19.78±2.29

Page 8: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

Non vaccineβ-actin

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 2nd (April)Vaccine Non vaccine β-actin

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 113th (May)Vaccine Non vaccineβ-actin

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

4th (June) Vaccine Non vaccineβ-actin

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

Figure 1 Interleukin 8 gene by RT-PCR method in vaccinated and non-vaccinated fish during March to June 2016 ; lane (1) DNA marker (100 bp) , (2) - (11) RT-PCR product of fish sample (Interleukin 8 ; 256 bp) and Internal control (β-actin ; 409 bp) in the Oreochromis niloticus

สรุป

Page 9: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

จากการทดลองพบวา่ในชว่ง 2 เดือนแรก ปลาในกลุ่มที่ได้รบัวคัซนีจะมปีรมิาณค่าการตกตะกอนของแอนติบอด้ีเพิม่ขึ้นอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05) ซึ่งสอดคล้องกับปรมิาณเซลล์เมด็เลือดขาวที่เพิม่ขึ้นในระยะเวลาดังกล่าวอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05) จงึกล่าวได้วา่รา่งกายของปลานิลมกีารสรา้งระบบภมูคิุ้มกันทัง้แบบจำาเพาะและไมจ่ำาเพาะขึ้นหลังจากปลาได้รบัการกระตุ้นด้วยวคัซนี สว่นค่าโลหติอ่ืนๆ ได้แก่ ปรมิาณเมด็เลือดแดง ปรมิาณเมด็เลือดแดงอัดแน่น และค่าฮีโมโกลบนิในปลานิลกลุ่มท่ีมกีารใหว้คัซนีมคี่าสงูกวา่กลุ่มท่ีไมไ่ด้รบัวคัซนีอยา่งมนีัยสำาคัญ (p<0.05) แสดงใหเ้หน็วา่วคัซนีมผีลในการกระตุ้นภูมคิุ้มกันแต่ไมส่ง่ผลต่อการเจรญิเติบโตของปลานิลในการทดสอบระดับฟารม์ และการศึกษาในครัง้นี้แสดงใหเ้หน็วา่ยนี Interleukin 8 ท่ีสกัดจากไต โดยวธิ ีRT-PCR มีการแสดงออกของยนีชดัเจนสงูสดุ อวยัวะดังกล่าวจงึมบีทบาทสำาคัญในการตอบสนองทางระบบภมูคิุ้มกันต่อการต้านทานเชื้อ S. agalactiae ท่ีเขา้สูร่า่งกายปลานิล

กิตติกรรมประกาศ งานวจิยันี้ได้รบัการสนับสนุนจากทนุอุดหนุนการวจิยัจากสำานักงานกองทนุ

สนับสนุนการวจิยั และคณะวทิยาศาสตร ์สถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกล้าเจา้คณุทหารลาดกระบงั

เอกสารอ้างอิง กิจการ ศุภมาตร.์ 2538. คู่มอืปฏิบติัการโรคและพยาธปิลา. สงขลา : ภาควชิาวารชิศาสตร ์คณะทรพัยากรธรรมชาติ มหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร.์จุไลวรรณ รุง่กำาเนิดวงศ์ และสมพร รุง่กำาเนิดวงศ์. 2551. การเปล่ียนแปลงองค์ประกอบเลือดและความต้านทานโรคใน ปลากะพงขาวต่อ Streptococcus sp. เชื้อตาย. กรมประมง. สำานักวจิยัและพฒันาประมงชายฝ่ัง. 639.3 จ 818 ก.Al-Dohail, M.A. R. Hashim, M. Aliyu-Paiko. 2009. Effects of the probiotics, Lactobacillus acidophilus, on the growth performance, haematology parameters and immunoglobulin concentration in African Catfish (Clarias gariepinus, Burchell 1822) fingerling. Aquac. Res. 40 : 1642-1652.Biller, B.J., A. Guth, J.H. Burton. and S.W. Dow. 2010. Decreased ratio of CD8+ T cells to regulatory T cells associated with decreased survival in dogs with osteosarcoma. Journal of Veterinary Internal

Page 10: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

Medicine/American College of Veterinary Internal Medicine.; 24:1118–1123.Collazos, M. E., C. Barriga, F. De-Sande. and E. Ortega. 1993. Seasonal variations and influence of gender on several haematological parameters in the cyprinid fish Tinca tinca. Actas del IV Congreso Nacional Acuicultura. Spain, 173-178.Ellis, A.E. 1988. Ontogeny of the immune system in teleost fish. pp. 20-31. In: A.E. Ellis (ed.) Fish Vaccination, Academic Press, London.Evan, J. J. and P. H. Klesius. 2004. Streptococcus agalactiae vaccination and infection stress in Nile tilapia, Oreochromis niloticus. Journal of Applied Aquaculture 16(3/4): 105-115.Gregorio, P., E. Itziar. and B.P.Laura. 2014.Interleukin gene expression is strongly modulated at the local level in a fish–parasite model. Fish & Shellfish Immunology. 37: 201Larsen, H. N. and S. F. Snieszko. 1961. Comparison of various methods of determination of hemoglobin in trout blood. Progve Fish Cult. 23: 8-17.Lie, O., E. Lied and G. Lambertsen. 1989. Haematological values and fatty acid composition of erythrocyte phospholipids in cod (Gadus morhua) fed at different water temparatures. Aquaculture. 79. 137-144.Lowrey, O. H., N. J. Rosebrough, A. L. Farr and K. J. Randall. 1951. Protein measurement with the folin phenol reagent . J. Biol. Chem. 193: 265 – 275.Plumb, J.A. 1997. Infectious diseases of tilapia. In: Costa-Pierce, B.A., Rakocy, J.E.

Page 11: Kasetsart University€¦ · Web viewทำการส มเก บต วอย างปลาน ลจากฟาร มเกษตรกรในอำเภอพานทอง

Eds.., Tilapia Aquaculture in the Americas vol. 1 World Aquaculture Society, Baton Rouge, LA, USA, pp. 212–218.Plumb, J.A. 1999. Health maintenance and microbial diseases of cultured fishes. Iowa State University Press, Ames, IA, USA.Shoemaker, C.A., J.J. Evans and P.H. Klesius. 2000. Density and dose: factors affecting mortality of Streptococcus iniae infected tilapia (Oreochromis niloticus). Aquaculture 188: 229-235.Suanyuk, N., F. Kong, D. Ko, G.L. Gilbert and K. Supamattaya. 2008. Occurrence of rare genotypes of Streptococcus agalactiae in cultured red tilapia (Oreochromis sp.) and Nile tilapia (O. niloticus) in Thailand Relationship to human isolates. Aquaculture. 284: 35-40.Urbinati, E.C., J.S. Abreu, A.C.S. Camargo. 2004. Loading and transport stress of juvenile matrinxa (Brycon cephalus, Characidae) at various densities. Aquaculture. 229, p.389-400.