29
(East Asia)

East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

  • Upload
    lemien

  • View
    234

  • Download
    3

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

(East Asia)

Page 2: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

เดิมชาวยุโรปเรียกว่า ตะวันออกไกล (Far East) เพราะห่างไกลยุโรปมาก มีพื้นที่กว้างขวางมากที่สุดของเอเชีย มีเนื้อที่รวม 11.7 ล้าน ตร.กม. หรือร้อยละ 8 ของภาคพื้นทวีปของโลก หรือ 26 % ของเนื้อที่ทวีปเอเชีย ทางใต้มีอาณาเขตติดต่อกับเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทางเหนือและตะวันตกติดต่อกับสหภาพโซเวียต ประกอบด้วย 6 ประเทศคือ จีน มองโกเลีย เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน และดินแดนภายใต้การปกครองคือ ฮ่องกง มาเก๊า มีประชากรรวม 1,300 กว่าล้านคน เป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ของโลกและเป็นดินแดนที่มีความส าคัญมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพราะเป็นที่ตั้งของมหาอ านาจทางการเมืองคือจีน และมหาอ านาจทางเศรษฐกิจคือญี่ปุ่น

Page 3: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

1.ขนาดที่ตั้งเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 21 องศาเหนือ ถึง 54 องศา

เหนือ ลองติจูดที่ 74 องศาตะวันออก ถึง 154 องศาตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 11,640,000 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 15 และ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดของทวีปเอเชีย นับเป็นภูมิภาคย่อยซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในทวีปเอเชีย ประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ ประเทศจีน มีพื้นที่ประมาณ 9,584,492 ตารางกิโลเมตร เอเชียตะวันออกมีประชากรมากกว่า 1,500 ล้านคน หรือประมาณร้อย-ละ 40 ของของชาวเอเชียทั้งหมด หรือประมาณ 1 ใน 4 ของประชากรโลกอาศัยอยู่ในภูมิภาค-เอเชียตะวันออก ท าให้ภูมิภาคนี้กลายเป็นภูมิภาคที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

Page 4: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน
Page 5: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

อัตราความหนาแน่นของประชากรในเอเชียตะวันออกอยู่ที่ 230 คนต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าอัตราความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของประชากรโลกถึง 5 เท่า ประเทศที่มีประชากรมากที่สุด คือ ประเทศจีน มีประชากรประมาณ 1,322,044,605 หรือร้อยละ 85 ของประชากรใน-ภูมิภาค ส่วนประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุด คือ ไต้หวัน ความหนาแน่นเฉลี่ย 626.7 คนต่อตารางกิโลเมตร

Page 6: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2.ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศของภูมิภาคเอเชียตะวันออก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ

สูงด้านตะวันตก แล้วค่อย ๆ ลาดต่ าลงไปในด้านตะวันออกและทางด้านตะวันออกจะมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มโดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณปากแม่น้ าสายต่างๆ จะเป็นที่ราบลุ่มที่ส าคัญของภูมิภาคนี้ส าหรับลักษณะภูมิประเทศที่ส าคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออก สามารถแบ่งได้ดังนี้

Page 7: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

1. เขตภูเขาและที่ราบสงูเขตภูเขาและที่ราบสูง ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้1.1 เขตที่ราบสูงทิเบตได้แก่บริเวณทางตะวันตกเฉียงใต้ของสาธารณารัฐประชาชนจีน มีที่ราบสูงกว้าง

ใหญ่ มีความสูงเฉลี่ยมากกว่า 4,600 เมตร จากระดับน้ าทะเล ส าหรับเนื้อที่ของที่ราบสูงทิเบตมีประมาณ 1.3 ล้านตารางกิโลเมตรเป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก ได้ชื่อว่า " หลังคาโลก" เขตที่ราบสูงทิเบตเป็นเขตที่ราบสูงที่มีภูเขาล้อมถึง 3 ด้าน คือทางทิศเหนือมีเทือกเขาคุนลุนทางทิศใต้มีเทือกเขาหิมาลัย และทางทิศตะวันตกมีเทือกเขาคาราโครัมบริเวณที่ราบสูงทิเบตเป็นบริเวณต้นก าเนิดแม่น้ าสายส าคัญของทวีปเอเชียเช่นแม่น้ าฮวงโห หรือแม่น้ าเหลือง หรือแม่น้ าหวงเหอ แม่น้ าแยงซีเกียง หรือแม่น้ าฉางเจียง แม่น้ าโขง แม่น้ าสาละวิน แม่น้ าสินธุ แม่น้ าพรหมบุตร เขตที่ราบสูงทิเบตเป็นเขตที่มีอากาศหนาวเย็น และแห้งแล้ง ทั้งนี้เนื่องจากบริเวณนี้มีเทือกเขาต่างๆ กั้นทิศทางของลมมรสุมไว้ท าให้ฝนตกในเขตนี้น้อยมาก บางแห่งจึงเป็นทะเลทราย

Page 8: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

1.2 เขตที่ราบสูงภาคตะวันตกเฉียงเหนือเขตที่ราบสูงภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเอเชียตะวันออก ได้แก่ บริเวณประเทศ

มองโกเลียและแคว้นซินเกียงของจีน เขตนี้มีภูเขาสูงอยู่หลายแนว แต่ความสูงน้อยกว่าเขตที่ราบสูงทิเบต ส าหรับเทือกเขาที่ส าคัญได้แก่ เทือกเขาอัลไต เทือกเขาเทียนชาน โดยมีแนวเทือกเขาคุนลุนเป็นแนวกั้นเขตแบ่งกับที่ราบสูงทิเบต เนื่องจากเขตนี้มีเทือกเขาอยู่หลายแนว จึงท าให้มีลักษณะภูมิประเทศเป็นแอ่งระหว่างเทือกเขาหลายแอ่ง เช่นแอ่งทาริม แอ่งซุงกาเรีย แอ่งโกเลีย

1.3 เขตที่ราบสูงบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือเขตนี้มีเทือกเขาที่ส าคัญ ได้แก่ เทือกเขาชิงกาน เทือกเขาซานซันโปในเกาหลี

บริเวณเขตนี้มีที่ราบสูงแมนจูเรีย เป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่และส าคัญที่สุดในเขตนี้

Page 9: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2. เขตที่ราบลุ่มแม่น้้าเขตที่ราบลุ่มแม่น้ าเป็นเขตที่ส าคัญที่สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เพราะเป็นเขตที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุด มีประชากรอาศัยอยู่หนาแนน่ที่สุด ส าหรับลุ่มแม่น้ าที่ส าคัญในเขตนี้ได้แก่

2.1 เขตที่ราบลุ่มแมน่้ าเลียวและแม่น้ าซุงการีได้แก่ บริเวณ แมนจูเรียของจีนและในเกาหลี

Page 10: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2.2เขตที่ราบลุ่มแม่น้ าฮวงโหแม่น้ าฮวงโหมีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น แม่น้ าหวงเหอ แม่น้ าเหลือง แม่น้ าวิปโยค

แม่น้ าฮวงโหเกิดจากที่ราบสูงด้านตะวันตกของประเทศจีนไหลผ่านทางตอนเหนือของจีน ไปทางตะวันออกสู่ทะเลเหลืองในมหาสมุทรแปซิฟิก แม่น้ าฮวงโหมีความยาวประมาณ 5,464 กิโลเมตร เป็นแม่น้ าที่ยาวเป็นอันดับ 2 ของจีนและมีความยาวเป็นอันดับ 6 ของโลก

ส าหรับสาเหตุที่ท าให้แม่น้ าฮวงโหมีชื่อเรียกหลายชื่อ เพราะปัจจัยหลายอย่าง เช่นที่เรียกว่า แม่น้ าเหลือง เพราะบริเวณที่แม่น้ านี้ไหลผ่านจะมีดินสีเหลืองเป็นลักษณะดินฝุ่นที่เรียกว่า " ดินเลิส์ส(Loess)เมื่อฝนตกหรือลมพัดดินเหล่านี้จะลงสู่แม่น้ าฮวงโห ท าให้น้ ามีสีเหลือง จึงเรียกว่า "แม่น้ าเหลือง" ส่วนที่เรียกว่า " แม่น้ าวิปโยค" เนื่องจากในช่วงที่ฝนตกมากๆของทุกปี แม่น้ านี้จะมีน้ าหลากท่วม ท าความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนที่อยู่ในบริเวณแม่น้ านี้

Page 11: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2.3 เขตที่ราบลุ่มแมน่้ าแยงซีเกียง ( Yangtze Kiang)แม่น้ าแยงซีเกียงมีชื่อตามภาษาท้องถิ่นว่าแม่น้ าฉางเจียง แม่น้ าสายนี้เกิดจากที่ราบ

สูงทิเบตไหลผ่านทางตอนกลางของจีนไปทางตะวันออกลงสู่ทะเลจีนตะวันออก มหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 6,300 กิโลเมตรเป็นแม่น้ าที่ยาวที่สุดของจีน และมีความยาวเป็นอันดับ 4 ของโลก เขตที่ราบลุ่มแม่น้ าแยงซีเกียงเป็นที่ราบกว้างใหญ่และส าคัญของจีนมีเมืองส าคัญหลายเมืองเช่น เมืองเซียงไฮ้ เมืองนานกิง เมืองจุงกิง เมืองวูฮั่น

2.4 เขตที่ราบลุ่มแมน่้ าซีเกียง ( SiKiang)แม่น้ าซีเกียงเกิดจากที่ราบสูงยูนนานไหลผ่านทางตอนใต้ของจีนลงสู่ทางทะเลจีน

ใต้ในมหาสมุทรแปซิฟิก มีความยาวประมาณ 1,900 กิโลเมตร เป็นแม่น้ าที่มีความยาวเป็นอันดับ 3 ของจีน บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ าซีเกียงเป็นเขตเพาะปลูกข้าวที่ส าคัญของจีน เมืองส าคัญในเขตนี้คือ กวางตุ้ง

Page 12: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

3. บริเวณที่เป็นหมู่เกาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกส่วนหนึ่งประกอบไปด้วยหมู่เกาะน้อยใหญ่นับพันเกาะ แต่เกาะ

ใหญ่ๆที่ส าคัญได้แก่ เกาะฮอกไกโด ฮอนชู ชิโกกุ คิวชู ทั้ง 4 เกาะเป็นของญี่ปุ่น เกาะไต้หวันหรือเกาะฟอโมซาเป็นที่ตั้งของประเทศไต้หวันหรือสาธารณรัฐจีน อยู่ห่างจากแผ่นดินใหญ่ประมาณ 160 กิโลเมตรและเกาะไหหล าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดกวางตุ้งของจีน ลักษณะภูมิประเทศของหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกที่ส าคัญคือ หมู่เกาะของญี่ปุ่น พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขามีที่ราบเพียงเล็กน้อยที่ราบที่ส าคัญของญี่ปุ่นได้แก่ ที่ราบคันโต ,ที่ราบโนบินและที่ราบคินกิ บริเวณที่ราบเหล่านี้จะเป็นเขตอุตสาหกรรมและเป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุดของญี่ปุ่น ส าหรับลักษณะภูมิประเทศที่เด่นอีกอย่างหนึ่งของญี่ปุ่นคือเป็นเขตแผ่นดินไหวและมีภูเขาไฟระเบิดซึ่งมีภูเขาอีกจ านวนมากพร้อมที่จะระเบิดได้ทุกเวลาภูเขาไฟที่เป็นสัญลักษณ์ของญี่ปุ่นและนับเป็นภูเขาไฟที่สวยงามมาลูกหนึ่งคือภูเขาไฟฟูจิยามา ( FUJIYAMA)มีความสูงประมาณ 3,800 เมตร (ประมาณ 12,388 ฟุต ) ตั้งอยู่บนเกาะฮอนชู ส่วนบริเวณเกาะอื่นๆประชาชนจะอาศัยอยู่หนาแน่นตามบริเวณที่ราบโดยเฉพาะบริเวณตามชายฝั่งและที่ราบที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ

Page 13: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

3.ภูมิอากาศภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีภูมิอากาศแบบมรสุมเขตหนาว เนื่องจากได้รับ

อิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดจากภายในทวีป เป็นลมหนาวและ แห้งแลง้ ท าให้มีอากาศหนาวจัดในฤดูหนาว ในฤดูร้อนได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรแปซิฟิค น าความ-ชื้นและฝนมาตกบริเวณนี้ลักษณะภูมิอากาศของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของลมประจ าปีและฤดูกาลดังนี้

Page 14: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

1.ในช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์เป็นลมที่พัดผ่านเกิดจากศูนย์กลางความกดอากาศสูงที่ไซบีเรีย ลมที่พัดออกจากแผ่นดินมีคุณสมบัติและทศิทางแตกต่างกัน ดังนี้ ลมตะวันตกเฉียงเหนือเป็นลมหนาวเย็น เมื่อพัดผ่านทางตอนเหนือของจีน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ จึงเป็นลมเย็นและแห้ง แต่เมื่อพัดผ่านทะเลญี่ปุ่นเข้าสู่เกาะญี่ปุ่นจะเป็นลมเย็นและชืน้ลมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมหนาวเย็น เมื่อพัดผ่านประเทศมองโกเลีย และดินแดนตอนในของจีนท าให้พื้นที่นี้หนาวเย็นและแห้งแล้ง

Page 15: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2.ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม อุณหภูมิของอากาศอุ่นขึ้น บริเวณพื้นที่ที่ตั้งอยู่เหนือเส้นขนานที่ 30 จะเป็นช่วงฤดูใบไม้ผลิ พบในประเทศจีนตอนบน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้และญี่ปุ่น ส่วนบริเวณที่ตั้งอยู่ใต้เส้นขนานที่ 30 จะมีอากาศร้อนและมีฝนตก เนื่องจากมีลมพัดเข้าชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีนและไต้หวัน

Page 16: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

3.ในช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคมแผ่นดินบริเวณทะเลทรายธาร์ในอินเดียเป็นหย่อมความกดอากาศต่ า ท าให้ลมเคลือ่นที่ผ่านญี่ปุ่น เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ ภาคตะวันออกและภาคใต้ของจีน รวมทั้งไต้หวัน พัดจากทะเลเข้าสู่แผ่นดินในทิศตะวันออกเฉียงใต้ ท าให้มีฝนตกชุก ส่วนมองโกเลียและบริเวณทิศตะวันตกของจีน ซึ่งห่างจากแผ่นดินมากจะมีฝนตกเล็กน้อยหรือไม่ตกเลย เนื่องจากความห่างไกลจากทะเลและมีแนวเขาขวางกั้นทิศทางลม ช่วงนี้ถึงเดือนพฤศจิกายนประเทศที่อยู่ด้านทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ ญี่ปุ่น เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ และจีน จะได้รับอิทธิพลของลมพายุหมุนเขตร้อนท าให้มีปริมาณน้ าฝนสูงขึ้น และเกิดน้ าท่วมเสมอ

Page 17: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

4.ในช่วงเดือนกันยายน-พฤศจิกายน เป็นช่วงที่ปริมาณฝนเริ่มลดลงจากลมตะวันออกเฉียงใต้ (ยกเว้นกรณีพายุหมุน) บริเวณที่ตั้งอยู่เหนือเส้นขนานที่ 30 จะเริ่ม หนาวเย็น ต้นไม้จะเริ่มทิ้งใบ เรียกว่า “ฤดูใบไม้ร่วง” บริเวณภาคเหนือของจีน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่นและมองโกเลีย ส่วนบริเวณที่อยู่ใต้เส้นขนานที่ 30 ก าลังเข้าสู่ฤดูหนาว มีอุณหภูมิไม่ต่ ามาก ใบไม้จึงไม่ร่วงเหมือนดินแดนที่อยู่เหนือเส้นขนานที่ 30

Page 18: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

4.เศรษฐกิจภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ค่อนข้างได้

สัดส่วน กันมีประเทศที่เป็นยักษ์ใหญ่ทางอุตสาหกรรมคือญี่ปุ่น และประเทศอุตสาหกรรมใหม่ได้แก่เกาหลีใต้ และไต้หวันส่วนประเทศที่มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจยังอยู่ที่ภาคเกษตรกรรมก็คือ จีน เกาหลีเหนือ และมองโกเลียลักษณะที่ส าคัญทางเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกได้แก่

Page 19: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

1.เกษตรกรรม1.1การเพาะปลูก พืชอาหารที่ส าคัญได้แก่ข้าวเจ้า ปลูกมากบริเวณภาคใต้ที่ลาบลุ่มชายฝั่งตะวันออกของประเทศจีน นอกจากนี้ก็ปลูกได้ทั่วประเทศญี่ปุ่นยกเว้นทางภาคเหนือ ไต้หวัน และเกาหลีใต้ เพราะมีฝนตกชุกและอากาศร้อน ส่วนข้าวสาลีข้าวฟ่าง เกาเหลียงถั่วเหลืองมันฝรั่งมีปลูกมากในเขตแมนจูเรีย เป็นต้น1.2การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ที่ท ากันมากในภูมิภาคตะวันออก ได้แก่การเลี้ยงสัตว์แบบเร่ร่อนไปตามบริเวณทุ่งหญ้าที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ สัตว์ที่เลี้ยงมากได้แก่โค ม้า แกะ แพะ ลา จามาลี อูฐ สามารถใช้ประโยชน์ จากสัตว์ได้แก่ใช้เนื้อนมเป็นอาหาร

Page 20: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2.การประมงเป็นอาชีพที่ส าคัญของชาวเอเชียตะวันออกมาตั้งแต่โบราณ ทั้งนี้มีการท าประมง

น้ าจืด คือ การเลี้ยงปลาในบริเวณแหล่งน้ าชลประทานกันอย่างแพร่หลาย แหล่งประมงน้ าจืดของจีน ได้แก่ ลุ่มแมน่้ าแยงซีเกียงตอนล่าง และทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณมณฑลฟูเกี้ยน และกวางตุ้ง ซึ่งมีแหล่งน้ าล าธาร หนอง บึง และทะเลสาบอยู่มากมาย นอกจากนี้ ก็มีการเลี้ยงปลาน้ าจืด กันอย่างประปราย ทั้งในเกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และไต้หวัน ส าหรับการท าประมงน้ าเค็ม ทุกประเทศในภูมิภาค (ยกเว้นประเทศมองโกเลีย) เป็นแหล่งประมงน้ าเค็มที่ส าคัญของโลก โดยเฉพาะญี่ปุ่นนั้นได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีการท าประมงมากที่สุดในโลก โดยเรือการประมงของญี่ปุ่นนอกจากจะท าการจับปลาในเขตน่านน้ าของตนแล้ว ยังแล่นเรือออกไปจับปลาในเขตน่านน้ าสากล และลงทุนท าประมงกับประเทศอื่นๆไปทั่วโลกอีกด้วย ทางด้านประเทศจีน ส่วนใหญ่จะเป็นประมงชายฝั่ง เพราะชาวจีนไม่นิยมออกเรือไปจับปลาไกลๆ แหล่งประมงส าคัญ ได้แก่ บริเวณชายฝั่งนับตั้งแต่อ่าวหางโจวทางตอนกลางของประเทศ

Page 21: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

3. การป่าไม้เป็นอาชีพที่ไม่มีความส าคัญมากนักต่อภูมิภาคนี้ เกี่ยวกับไม้สน และไม้ไผ่ที่ปลูก

เอง ส่วนประเทศจีนการท าป่าไม้จะมีอยู่บ้างในเขตบางจูเรียและมณฑลเสฉวน ปัจจุบันนี้ในประเทศญี่ปุ่นได้ไปลงทุนท าอุตสาหกรรมป่าไม้นอกประเทศ เช่น ที่เกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Page 22: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

4. การท้าอุตสาหกรรม เนื่องจากสินค้าอุตสาหกรรมของภูมิภาคนี้ถูกส่งออกไปจ าหน่ายตีตลาดไปทั่ว

โลก รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และเยอรมนี ซึ่งประเทศอุตสาหกรรมชั้นน า เช่นกัน 1 ญี่ปุ่น มีการอุตสาหกรรมทั่วทุกจังหวัดของประเทศ เขตอุตสาหกรรม ใหญ่ๆ ของญี่ปุ่นแบ่งออกเป็น 4 เขต คือ

Page 23: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

1. เขตโตเกียว-โยะโกะฮะมะ การผลิตเครื่องโลหะเคมีภัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า แก้ว กระดาษ การทอผ้า การผลิตอาหารส าเร็จรูป เป็นต้น2. เขตโคเบะ-โอซะกะ เช่น การถลุงเหล็ก ถลุงโลหะ ทอผ้า การต่อเรือ นอกจากนี้ ก็มีการผลิตเครื่องโลหะ เครื่องเหล็ก เครื่องไม้ การผลิตถ้วยชามและอุปกรณ์ไฟฟ้า3. เขตนะโงะยะ การผลิตกระดาษ ผลิตน้ ามันพืช เครื่องถ้วยชาม เคมีภัณฑ์ และยังมีอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องบิน เครื่องคอมพิวเตอร์ ผลิตรถยนต์4. เขตคีวชูตอนเหนือ เป็นเขตอุตสาหกรรมหนักของประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า อุตสาหกรรมเครื่องจักร ปูนซีเมนต์ การต่อเรือ เคมีภัณฑ์ และปิโตเคมี

Page 24: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

2 จีน เป็นประเทศที่มีวัตถุดิบมาก และในปัจจุบันเทคโนโลยีในการผลิตทันสมัย จึงท าให้อุตสาหกรรมของจีนเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยจีนสามารถผลิตผ้าฝ้ายได้มากที่สุดในโลก โรงงานอุตสาหกรรมหนักของจีนส่วนใหญ่ จะตั้งอยู่เขตแมนจูเรียและเมืองใหญ่ๆ เช่น ปักกิ่ง เทียนสิน เซี่ยงไฮ้ จุงกิง เป็นต้น

Page 25: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

3 เกาหลีใต้ เป็นประเทศที่สามารถพัฒนาอุตสาหกรรมได้เจริญรวดเร็วจนกลายเป็นผู้ส่งออก อันดับ 2 ของเอเชียรองจากญี่ปุ่น อุตสาหกรรมที่ส าคัญของเกาหลีใต้ ได้แก่ การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ รถยนต์ การต่อเรือ แผงวงจรไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ปูนซีเมนต์ เครื่องเหล็ก อุปการณ์โทรคมนาคม และเครื่องจักรต่างๆ

Page 26: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

4 ไต้หวัน เนื่องจากไต้หวันมีทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่อุดมสมบูรณ์ ดังนั้นอุตสาหกรรมของไต้หวันจึงเป็นอุตสาหกรรมเบาและการแปลรูปผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร เช่น การผลิตอาหารส าเร็จรูป การท า-อาหารกระป๋อง นอกจากนี้มีการผลิตอุปการณ์ไฟฟ้า เครื่องจักร เครื่องคอมพิวเตอร์ แผงวงจารอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม ของเล่นส าหรับเด็ก

Page 27: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

5. พานิชยกรรมกรุงโตเกียว (ญี่ปุ่น) และฮ่องกงของจีนได้ชื่อว่าเป็นศูนย์กลางของการคา้ที่ส าคัญที่สุดอีก

แห่ง หนึ่งของโลก ในขณะที่ไทเป (ไต้หวัน) โซล (เกาหลีใต้) สินค้าที่ส าคัญของภาคน้ีคือ

สินค้าอุตสาหกรรมชนิดต่างๆ ที่ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และจีน และในขณะที่สินค้าเข้า จะเป็นพวกวัตถุดิบต่างๆและอาหาร

Page 28: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

5.สังคม วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองเอเชียตะวันออกมีประชากรมากที่สุดคือ ประมาณ 1,300 กว่าล้านคนส่วนใหญ่มี เชื้อสายมองโกลอยด์ ประชากรหนาแน่นบริเวณที่ราบดินตะกอนทางชายฝั่งตะวันออกของจีน ที่ราบแคบๆของเกาะญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง เอเชียตะวันออกไม่มีความแตกต่างกันทางด้านวัฒนธรรมมากนัก ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน การนับถือศาสนา ขนบธรรมเนียม ต่างๆ ทั้งนี้เพราะได้รับอิทธิพลอารยธรรมเดียวกัน คืออารยธรรมจีน

Page 29: East Asia ...¸  ม ภาค ส วนประเทศท ม ความหนาแน นของประชากรมากท ส ด ค อ ไต หว น ความหนาแน

จัดท้าโดย1.ด.ช. กษิดิศ บุญมา ชั้น ม. 1/1 เลขที่ 12.ด.ช. ณัฐชนน ด่านทอง ชั้น ม. 1/1 เลขที่ 63.ด.ญ. กมลลักษณ์ เล้าอรุณ ชั้น ม. 1/1 เลขที่ 114.ด.ญ. ธันยพร อินทวงศ์ ชั้น ม. 1/1 เลขที่ 165.ด.ญ. ฬินดา อ้อเจริญ ชั้น ม. 1/1 เลขที่ 21