52
1 ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ เคมีอินทรีย์ พันธะของคาร์บอน หมู่ฟังก์ชัน สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอน สารประกอบ อินทรีย์ที่มี ธาตุ O เป็นองค์ประกอบ สารประกอบ อินทรีย์ที่มี ธาตุ N เป็นองค์ประกอบ สารประกอบ อินทรีย์ที่มี ธาตุ O และ N เป็นองค์ประกอบ

ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

1

ผงัมโนทศัน ์เรือ่ง เคมอีนิทรยี ์

เคมอีนิทรยี์

พันธะของคารบ์อน

หมู่ฟังกช์นั

สารประกอบไฮโดรคารบ์อน

สารประกอบอินทรยีท์ี่ม ี ธาตุ O

เป็นองคป์ระกอบ

สารประกอบอินทรยีท์ี่ม ี ธาตุ N

เป็นองคป์ระกอบ

สารประกอบอินทรยีท์ี่ม ี

ธาตุ O และ N เป็นองคป์ระกอบ

Page 2: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

2

สว่นประกอบของชดุกจิกรรมการเรยีนรู ้ ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาเคมี ว30224 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง เคมีอินทรีย์ ชุดที่ 1 พันธะของคาร์บอน มีรายละเอียดดังนี้

ค าแนะน าการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ส าหรับนักเรียน บทบาทของนักเรียน ค าชี้แจง ผังการจัดชั้นเรียน สื่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ผังมโนทัศน์ ขั้นตอนการท ากิจกรรม แบบทดสอบก่อนเรียน ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง พันธะของคาร์บอน ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง พันธะของคาร์บอน ใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ ใบความรู้ที่ 1.3 เรื่อง ไอโซเมอริซึม ใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง ไอโซเมอริซึม ใบกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์ แบบบันทึกกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์ ใบกิจกรรมเสริม “เกม My Address” แบบทดสอบหลังเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผล เอกสารอ้างอิง

Page 3: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

3

ค าแนะน าการใชช้ดุกจิกรรมการเรยีนรูส้ าหรบันกัเรยีน

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเคมี ว30224 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง เคมีอินทรีย์ ชุดที่ 1 พันธะของคาร์บอน ชุดนี้ ใช้เวลา จ านวน 3 ชั่วโมง 2. ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มมารับเอกสารจากครู ดังนี้ 2.1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเคมี ว30224 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง เคมีอินทรีย์ ชุดที่ 1 พันธะของคาร์บอน กลุ่มละ 1 ชุด เพื่อน าไปแจกให้นักเรียนในกลุ่ม คนละ 1 ฉบับ ซึ่งประกอบด้วย

แบบทดสอบก่อนเรียนและกระดาษค าตอบ จ านวน 6 ฉบับ ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง พันธะของคาร์บอน จ านวน 6 ฉบับ ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง พันธะของคาร์บอน จ านวน 6 ฉบับ ใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้าง จ านวน 6 ฉบับ ของสารประกอบอินทรีย์

ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้าง จ านวน 6 ฉบับ ของสารประกอบอินทรีย์

ใบความรู้ที่ 1.3 เรื่อง ไอโซเมอริซึม จ านวน 6 ฉบับ ใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง ไอโซเมอริซึม จ านวน 6 ฉบับ ใบกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การจัดเรียงอะตอม จ านวน 6 ฉบับ ของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์

แบบบันทึกกิจกรรมการทดลอง เรื่อง การจัดเรียง จ านวน 6 ฉบับ อะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์

ใบกิจกรรมเสริม “เกม My Address” จ านวน 6 ฉบับ แบบทดสอบหลังเรียนและกระดาษค าตอบ จ านวน 6 ฉบับ

2.2 แบบประเมินพฤติกรรมการท างานกลุ่ม จ านวน 1 ฉบับ 2.3 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติการทดลอง จ านวน 1 ฉบับ 2.4 แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน จ านวน 1 ฉบับ

Page 4: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

4

บทบาทของนกัเรยีน

1. เตรียมอุปกรณ์ เช่น เครื่องเขียน หนังสือเรียน สมุด

2. เตรียมตัวให้พร้อมในการเรียนรู้ ศึกษาผลการเรียนรู้ ผงัมโนทัศน์

3. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนการท ากิจกรรม

4. จัดเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ท ากิจกรรมเข้าที่เดิมให้เรียบร้อย

5. ท าใบกิจกรรม ตอบค าถาม อภิปรายกับเพื่อนๆ ภายในกลุ่ม

6. ตรวจค าตอบจากแนวการบันทึกกิจกรรมและเฉลยใบกิจกรรม

7. รวบรวมคะแนนส่งครู แล้วบันทึกความรู้ลงในสมุดบันทึก

นักเรียนควรทราบบทบาทของตนเองก่อน....นะคะ

Page 5: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

5

ค าชีแ้จง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 1 พันธะของคาร์บอน จัดท าขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา หาความรู้ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เคมีอินทรีย์ รายวิชาเคมี ว30224 ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับพันธะ ของคาร์บอน การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ และไอโซเมอริซึม ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์ รวมทั้งวัดผลการเรียนรู้และตรวจสอบผลการเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือการวัดและประเมินผลที่อยู่ภายในชุดกิจกรรมนี้ ได้ทันทีท่ีเรียนเสร็จแล้ว ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์ 2. อธิบายเหตุผลที่ท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมาก 3. เขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ลิวอิส แบบย่อ แบบผสม แบบใช้เส้นและมุม 4. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่างๆ 5. อธิบายความแตกต่างระหว่างซิสไอโซเมอร์กับทรานส์ไอโซเมอร์ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง 6. ท าการทดลอง รวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับการจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์ จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (Knowledge : K) 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์ 2. อธิบายการเกิดพันธะของธาตุคาร์บอนและธาตุชนิดอื่นในสารประกอบอินทรีย์ได้ 3. อธิบายเหตุผลที่ท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมากได้ 4. อธิบายความแตกต่างระหว่างไอโซเมอร์โครงสร้างกับไอโซเมอร์เรขาคณิตได้ 5. ระบุชนิดของไอโซเมอร์เรขาคณิตของสารประกอบแอลคีนได้ว่าเป็นแบบซิสหรือแบบทรานส์

Page 6: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

6

ด้านทักษะกระบวนการ (Process : P) 1. เขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ได้แก่ ลิวอิส แบบย่อ แบบผสม และแบบใช้เส้นและมุมของสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้ 2. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ได้ 3. ท าการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์ 4. กระบวนการกลุ่ม ด้านคุณลักษณะ (Attitude : A)

1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้

4. มุ่งมั่นในการท างาน สาระการเรียนรู้

1. พันธะของคาร์บอน 2. การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ 3. ไอโซเมอริซึม

Page 7: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

7

สาระส าคัญ สารอินทรีย์เป็นสารที่มีโครงสร้างที่เกิดจากคาร์บอนเป็นหลัก ซึ่งคาร์บอนเป็นธาตุหมู่ IVA มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 จึงสามารถใช้อิเล็กตรอนร่วมกับอะตอมอื่นอีก 4 อิเล็กตรอน เกิดเป็นพันธะโคเวเลนต์ได้ 4 พันธะ และมีอิเล็กตรอนครบ 8 ตามกฎออกเตต โดยพันธะโคเวเลนต์เกิดจากการเหลื่อมซ้อนกันของอะตอมมิกออร์บิทัล ซึ่งอะตอมมิกออร์บิทัลของคาร์บอนเป็นไฮบริดออร์บิทัลที่เกิดจาก 2s และ 2p ออร์บิทัล มีด้วยกัน 3 ชนิด คือ sp3 sp2 หรือ sp ไฮบริดออร์บิทัลแต่ละชนิด จะท าให้รูปร่างของโมเลกุลที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน ส่วนพันธะที่เกิดระหว่างอะตอมนั้นมี 2 ชนิด คือ พันธะซิกมาและพันธะไพ ท าให้เกิดเป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสามได้ ท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมาก และโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์เขียนแสดงได้หลายแบบ เช่น โครงสร้างลิวอิส โครงสร้างแบบย่อย แบบใช้เส้นและมุม ปรากฎการณ์ที่สารประกอบอินทรีย์ มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสมบัติแตกต่างกัน เรียกว่า ไอโซเมอริซึม และเรียกสารแต่ละชนิดว่า ไอโซเมอร์ โดยจ านวนไอโซเมอร์ของสารประกอบอินทรีย์จะเพิ่มขึ้นตามจ านวนอะตอมของคาร์บอน แบ่งได้ 2 ชนิด คือ ไอโซเมอร์โครงสร้าง ไอโซเมอร์เรขาคณิต เวลาที่ใช้ จ านวน 3 ชั่วโมง

Page 8: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

8

ผงัการจดัชัน้เรยีน

โตะ๊คร ู

กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3

กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 กลุ่ม 6

กลุ่ม 7 กลุ่ม 8 กลุ่ม 9

Organic chemistry

Page 9: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

9

สือ่ชดุกจิกรรมการเรยีนรู ้รายวชิาเคม ีว30224 ชัน้มธัยมศกึษาปทีี ่6

เรือ่ง เคมอีนิทรยี ์ชดุที ่1 พนัธะของคารบ์อน

Page 10: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

10

ผงัมโนทศัน ์

พันธะของคารบ์อน

ไอโซเมอรซิึม การเขยีนสตูรโครงสรา้งของสารประกอบอนิทรยี์

Page 11: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

11

ขัน้ตอนการท ากจิกรรม

1 • นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน

2 • นักเรียนแบ่งกลุ่มและนั่งเป็นกลุ่ม ตัวแทนรับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 1 จากครู

3 • ศึกษาใบความรู้ที่ 1.1 และปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง พันธะของคาร์บอน

4• ศึกษาใบความรู้ที่ 1.2 และปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้าง

ของสารประกอบอินทรีย์

5 • ศึกษาใบความรู้ที่ 1.3 และปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง ไอโซเมอริซึม

6• ศึกษาใบกิจกรรมการทดลอง และปฏิบัติแบบบันทึกกิจกรรมการทดลอง

เรื่อง การจัดเรียงอะตอมของคาร์บอนในสารประกอบอินทรีย์

7 • น าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน โดยจับฉลากกิจกรรมละ 2 กลุ่ม

8 • อภิปรายกลุ่ม สรุปความรู้แล้วบันทึกลงสมุดของตนเอง

9 • ท าใบกิจกรรมเสริม “เกม My Address”

10 • ตรวจค าตอบของกิจกรรมที่นักเรียนได้ปฏิบัติ โดยรับเฉลยจากครู

11 • นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน

12 • ประธานกลุ่มเก็บแบบประเมินต่างๆ ของชุดกิจกรรมส่งคืนครู

Page 12: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

12

แบบทดสอบกอ่นเรยีน จดุประสงคก์ารเรยีนรู ้ 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์ 2. อธิบายการเกิดพันธะของธาตุคาร์บอนและธาตุชนิดอื่นในสารประกอบอินทรีย์ได้ 3. อธิบายเหตุผลที่ท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมากได้ 4. เขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ได้แก่ ลิวอิส แบบย่อ แบบผสม และแบบใช้เส้นและมุมของสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้ 5. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ได้ 6. อธิบายความแตกต่างระหว่างไอโซเมอร์โครงสร้างกับไอโซเมอร์เรขาคณิตได้ 7. ระบุชนิดของไอโซเมอร์เรขาคณิตของสารประกอบแอลคีนได้ว่าเป็นแบบซิสหรือแบบทรานส์ ค าชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาทดสอบ 10 นาท ี 2. ให้นักเรียนอ่านแบบทดสอบด้วยความรอบคอบแล้วตอบค าถาม โดยเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วท าเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษค าตอบ 1. ขอ้ใดกลา่วเกีย่วกบัสารประกอบอนิทรยีไ์ดถ้กูตอ้ง ก. สารประกอบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต และสังเคราะห์ขึ้น มคีาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ข. สารประกอบที่มีคาร์บอน เป็นองค์ประกอบหลัก เกิดจากสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ค. สารที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น มีคาร์บอน และไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบ ง. สารประกอบที่คาร์บอน และไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบหลัก

Page 13: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

13

2. จากสตูรโครงสรา้งตอ่ไปนี ้

C C C N

O

H

H

H คาร์บอนอะตอมที่ต าแหน่ง 1 2 และ 3 ใช้ไฮบริดออร์บิทัลชนิดใดในการสร้างพันธะ ตามล าดับ ก. sp3 sp sp ข. sp2 sp2 sp ค. sp3 sp2 sp ง. sp3 sp2 sp2 3. สตูรโครงสร้างในขอ้ใดถกูตอ้งทีส่ดุ ก. ข. ค. ง. 4. ข้อใดเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุมของ (CH3)3CCH2CH(CH2CH3)2 ก. ข. ค. ง.

C C C C C

H

H

H

H

H H

H

H

H

H

N

H

C C C O O C

H

H

H

H

H

H

H

H

1 2 3

Page 14: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

14

5. ขอ้ใดไมถ่กูตอ้งเกีย่วกบัสาเหตทุีส่ารอนิทรยีม์จี านวนมาก ก. การเกิดปรากฏการณ์ไอโซเมอริซึมของสารประกอบอินทรีย์ ข. คาร์บอนหนึ่งอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์ชนิดพันธะเดี่ยวได้สูงสุด 3 พันธะ ค. คาร์บอนอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นโซ่ตรง โซ่กิ่ง เป็นวง หรือหลายวง ง. คาร์บอนอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม 6. ขอ้ใดไมม่ไีอโซเมอรเ์รขาคณติ ก. ข. ค. ง. 7. ขอ้ใดเขยีนสตูรโครงสรา้งแบบยอ่ไดถ้กูตอ้ง ก. (CH3)2CHCH2CH=CHCH3 ข. (CH3)2(CH2)2CH=CHCH3 ค. (CH3)2CHCH2CH=CH2CH3 ง. CH3CH2CH3CH2CH=CHCH3 8. สารในขอ้ใดเปน็ไอโซเมอรก์นั ก. CH2=CHCH2CH2CH3 กับ CH3CHCH2CH2=CH2 ข. กับ ค. CH2=CHCH2CHO กับ CH3CH2COCH3

ง. CH3CH2OCH2CH3 กับ

CH3CHCH2CH2OH

CH3

C C

CH2CH3

HH

CH3

C C

CH3

HCH2CH3

H

Page 15: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

15

9. สารในขอ้ใดใหซ้สิไอโซเมอร ์(Cis - isomer) ก. ข.

ค. ง. 10. วงแหวนเบนซีนมีสูตรโครงสร้างลิวอิส ดังนี้

ไฮโดรเจนอะตอมสามารถถูกแทนที่ด้วยธาตุอื่นๆ ได้ อยากทราบว่าถ้าโบรมีน 2 อะตอมแทนที่ไฮโดรเจน 2 อะตอม ในวงแหวนเบนซีนจะได้ไอโซเมอร์จ านวนกี่ไอโซเมอร์

ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

H

H

H

H

H

H

C C

H

H3C H

H

C C

H3C

H3C H

CH3

C C

H3C

H3C CH3

CH2CH3

C C

CH2CH3

CH3 CH3

CH2CH3

Page 16: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

16

กระดาษค าตอบแบบทดสอบกอ่นเรยีน

ชือ่-สกลุ ชัน้ เลขที ่

ค าชี้แจง ให้นักเรียนท าเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในช่องตัวเลือก ก ข ค ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวในกระดาษค าตอบ

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

คะแนนทีไ่ด ้

ผลการประเมิน ผ่าน ลงชื่อ ผู้ตรวจ ไม่ผ่าน ( )

ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

Page 17: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

17

ใบความรูท้ี ่1.1 เรือ่ง พนัธะของคารบ์อน

จดุประสงคก์ารเรยีนรู ้ 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์ 2. อธิบายการเกิดพันธะของธาตุคาร์บอนและธาตุชนิดอื่นในสารประกอบอินทรีย์ได้ 3. อธิบายเหตุผลที่ท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมากได้ เคมีอินทรีย์ เป็นวิชาที่ศึกษาสมบัติต่างๆ ของสารที่มีอะตอมของคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ในธรรมชาติมีสารต่างๆ หลายชนิด สารที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบมักเป็นสารที่ได้จากสิ่งมีชีวิต จึงมักเรียกสารเหล่านี้ว่า “สารอินทรีย์” ในปัจจุบันสารอินทรีย์มิได้หมายถึงเฉพาะสารที่ได้จากธรรมชาติเท่านั้น แต่ยังรวมทั้งสารที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นด้วย คาร์บอนเป็นธาตุที่อยู่ในหมู่ 4A คาบที่ 2 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2, 4 หรือ 1s2 2s2 2p2 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 4 ตัว

ดังนั้น เมื่อธาตุคาร์บอนรวมกับธาตุอื่นก็จะสร้างพันธะโคเวเลนต์ โดยใช้อิเล็กตรอนทั้งสี่ร่วมกับอะตอมของธาตุอื่น เพื่อให้มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8 ตามกฏออกเตต คาร์บอน 1 อะตอม จึงสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์เดี่ยวได้สูงสุด 4 พันธะ โดย C สามารถใช้อิเล็กตรอนร่วมกันได้ตั้งแต่ 1 คู่ 2 คู่ หรือ 3 คู่ เกิดเป็นพันธะเดี่ยว (single bond) พันธะคู่ (double bond) หรือพันธะสาม (triple bond) ตามล าดับ

C C

พันธะเดี่ยวทั้งหมด 4 พันธะ พันธะเดี่ยว 2 พันธะ และพันธะคู่ 1 พันธะ

C C พันธะคู่ 2 พันธะ พันธะเดี่ยว 1 พันธะ และพนัธะสาม 1 พันธะ

Page 18: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

18

การที่ธาตุคาร์บอนสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์ระหว่างคาร์บอนทั้งพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม และต่อกันเป็นโซ่ยาว หรือโซ่กิ่ง หรือต่อกันเป็นวง หรือต่อกันเป็นหลายวง อีกทั้งสร้างพันธะโคเวเลนต์กับอะตอมของธาตุอื่นๆ เช่น ไนโตรเจน ออกซิเจน ก ามะถัน และแฮโลเจน ด้วยเหตุนี้ จึงท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมาก ทฤษฎีไฮบริดไดเซชัน เป็นทฤษฎีที่ช่วยอธิบายการเกิดพันธะของสารประกอบอินทรีย์ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งสามารถอธิบายการเกิดรูปร่างของคาร์บอนได้ ชนิดของไฮบริดไดเซชันที่เกิดกับสารอินทรีย์ ได้แก่ sp3 sp2 และ sp ดังภาพ 1S 2S 2Px 2Py 2Pz

Ground State

+ Energy Excited State

1S 2S 2Px 2Py 2Pz

1S 2S 2Px 2Py 2Pz

1S 2S 2Px 2Py 2Pz

↑↓ ↑↓ ↑ ↑

↑↓ ↑ ↑ ↑ ↑ sp3

↑↓ ↑ ↑ ↑ ↑ sp2

↑↓ ↑ ↑ ↑ ↑ sp

Page 19: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

19

sp3 ไฮบริดไดเซชันเกิดจากการผสม อิเล็กตรอน ใน 2s จ านวน 1 ออร์บิทัล กับ 2p จ านวน 3 ออร์บิทัล ได้เป็น 4 ออร์บิทัลใหม่ มีลักษณะโครงสร้างเป็นทรงสี่หน้า (Tetrahedral) โดยออร์บิทัล ทั้ง 4 นี้จะสร้างพันธะเดี่ยวที่ เรียกว่า พันธะซิกมา (σ-bond) sp2 ไฮบริดไดเซชันเกิดจากการ ผสมอิเล็กตรอน ใน 2s จ านวน 1 ออร์บิทัล กับ 2p จ านวน 2 ออร์บิทัล ได้เป็น 3 ออร์บิทัลใหม่ มีลักษณะโครงสร้างเป็นทรงสามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal Planar) และมี อิเล็กตรอน เหลืออยู่ใน 2p ซึ่งมีพลังงานสูงกว่า อีก 1 ออร์บิทัล และสร้างพันธะไพ (¶-bond) sp ไฮบริดไดเซชันเกิดจาก การผสมอิเล็กตรอน ใน 2s จ านวน 1 ออร์บิทัล กับ 2p จ านวน 1 ออร์บิทัล ได้เป็น 2 ออร์บิทัลใหม่ มีลักษณะโครงสร้างเป็นเส้นตรง (Linear) และมี อิเล็กตรอน เหลืออยู่ใน 2p ซึ่งมีพลังงานสูงกว่า อีก 2 ออร์บิทลั และสร้างพันธะไพ (¶-bond) ส่วนออร์บิทัลลูกผสมจะสร้างพันธะซิกมา (σ-bond) ดังภาพ

พันธะเดี่ยวหรือพันธะซิกมา ใช้ sp3-ออร์บิทลั

รูปที ่1 แสดงการเกิดพันธะเดี่ยว

ทีม่า https://d2jmvrsizmvf4x.cloudfront.net/ulLoNm3NSjqMsoz2hQXy_CNX_Chem_08_02_ethane.jpg

พันธะคู่ ประกอบด้วย หนึ่งพันธะซิกมา ใช้ sp2-ออร์บิทลั และหนึ่งพันธะไพ ใช้ p-ออร์บิทลั

รูปที ่2 แสดงการเกิดพันธะคู่

ทีม่า https://opentextbc.ca/chemistry/wp-ontent/uploads/sites/150/2016/05/CNX_Chem_08_03_C2H4orbit.jpg

Page 20: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

20

พันธะสาม ประกอบด้วย หนึ่งพันธะซิกมา ใช้ sp-ออร์บิทลั และสองพันธะไพ ใช้ p-ออร์บิทลั

รูปที ่3 แสดงการเกิดพันธะสาม

ที่มา https://d2jmvrsizmvf4x.cloudfront.net/cV07hL8yT2OCFfRggnuU_CNX_Chem_08_03_C2H2.jpg ตัวอย่างเช่น

C C O H

O

H

H

H ใช้ sp3 ใช ้sp2 ใช้ sp3

C C C CH

HH

C H

HH ใช้ sp ใช้ sp3 ใช้ sp2

Page 21: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

21

ใบกจิกรรมที ่1.1 เรือ่ง พนัธะของคารบ์อน

ชือ่-สกลุ ชัน้ เลขที ่ ค าชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง พันธะของคาร์บอน แล้วตอบค าถามต่อไปนี้ 1. ระบุไฮบริดออร์บิทัลในการสร้างพันธะโคเวเลนต์ของอะตอมของธาตุจากสูตรโครงสร้าง ทีก่ าหนดให้ (5 คะแนน)

2. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด ถ้าถูกให้ท าเครื่องหมาย หน้าข้อความ และถ้าผิดให้ท าเครื่องหมาย หน้าข้อความ (5 คะแนน) 2.1 สารประกอบทุกชนิดที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบจัดเป็นสารอินทรีย์ 2.2 คาร์บอน 1 อะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์เดี่ยวได้สูงสุด 4 พันธะ 2.3 ทฤษฎีไฮบริดไดเซชันสามารถอธิบายการเกิดรูปร่างของคาร์บอนได้ 2.4 sp2 ไฮบริดไดเซชันมีลักษณะโครงสร้างเป็นทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 2.5 พันธะสาม ประกอบด้วย หนึ่งพันธะซิกมาและหนึ่งพันธะไพ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ คะแนน

ลงชื่อ ผู้ตรวจ ( )

C C C C C O C C

H

CH3

H

H

O CH3

CH

H

H

Page 22: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

22

ใบความรูท้ี ่1.2 เรือ่ง การเขยีนสตูรโครงสรา้งของสารประกอบอนิทรยี ์ จดุประสงคก์ารเรยีนรู ้ 1. เขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ได้แก่ ลิวอิส แบบย่อ แบบผสม และแบบใช้เส้นและมุมของสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้ โครงสร้างโมเลกุลของสารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์มีโครงสร้างหลายชนิด ดังนี้ 1. โครงสร้างแบบโซ่เปิด (Aliphatic) มี 2 ประเภทดังนี้ 1.1) โครงสร้างแบบโซ่ตรง (straight chain) ธาตุคาร์บอนสร้างพันธะต่อกันเป็นสายยาว ไม่มีโซ่กิ่ง เช่น CH3 - CH 2 - CH2 - CH2 - CH3 CH3 - CH2 - CH2 - CH = CH2 1.2) โครงสร้างแบบโซ่กิ่ง (branched chain) โครงสร้างที่หมู่อะตอมของคาร์บอนต่อแยกจากสายยาวเกิดเป็นกิ่งขึ้นโดยสายของคาร์บอนที่ยาวที่สุดเรียกว่า โซ่หลัก และคาร์บอนที่แยกออกไปเรียกว่า โซ่กิ่ง เช่น

CH3 CH CH2 CH3

CH3 2. โครงสร้างแบบโซ่ปิด (Alicyclic) มี 2 ประเภทดังนี้ 2.1) โครงสร้างแบบวง (Cyclic structural) ธาตุคาร์บอนสร้างพันธะโดยเวียนมาบรรจบกันเป็นวง เริ่มตั้งแต่คาร์บอน 3 อะตอมเป็นต้นไป อาจเป็นพันธะเดี่ยวหรือพันธะคู่ในวงก็ได้ เช่น

2.2) โครงสร้างแบบอะโรมาติก (Aromatic) เป็นโครงสร้างแบบวง ภายในวงมีคาร์บอน 6 อะตอมและมีพันธะคู่สลับกับพันธะเดี่ยว ดังตัวอย่าง โครงสร้างของวงเบนซีน และแนฟทาลีน ตามล าดับ

โซ่หลักมี C 4 อะตอม

โซ่กิง่ที่ C ต าแหน่งที่ 2

CH2

CH2 CH2

CH2

CHCH

CH2 CH

CHCH2

CH2CH2

CH2 CH2

CH2

CH2 CH2

CH2

CH

CHCH

CH

CHCH

CH

CHCH

CH

CHCH

CHCH

Page 23: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

23

สูตรที่ใช้ในการศึกษาสารประกอบอินทรีย์

1. สูตรโมเลกุล (Molecular formula) เขียนเพื่อแสดงจ านวนอะตอมของธาตุใน 1 โมเลกุล เช่น C2H6O, C4H10 , C6H12

2. สูตรโครงสร้าง (Structure formula) 2.1 สูตรโครงสร้างแบบลิวอิส (Lewis structure formula) เขียนเพื่อแสดงจ านวนอิเล็กตรอนที่แต่ละธาตุใช้สร้างพันธะร่วมกัน แบ่งเป็น 2 ประเภท - สูตรแบบจุด (dot structure) โดยเขียนจุด แทนเวเลนซ์อิ เล็กตรอนแสดงการใช้ คู่อิเล็กตรอนร่วมกันระหว่างสองอะตอม เช่น

- สูตรแบบเส้น (Line structure) แสดงพันธะด้วยเส้นตรงเชื่อมระหว่างอะตอม เส้นตรง แต่ละเส้นแทนอิเล็กตรอน 1 คู่ พันธะระหว่างอะตอมอาจเป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม เช่น

C C HH

H

H

H

H

H C O

H

H

H

2.2 สูตรโครงสร้างแบบย่อ (condensed structure formula) 1. ส าหรับสารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างแบบโซ่เปิด เขียนแสดงเฉพาะพันธะคู่หรือพันธะสามระหว่างอะตอมของคาร์บอน (พันธะเดี่ยว ไม่ต้องเขียน)

H C C C H

H

H H H

H C C C C

H

H H H

H

H

H เขียนย่อเป็น CH3HC=CH2 เขียนย่อเป็น CH3HC=CHCH3

Page 24: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

24

H C C C

H

H

C

C

H H

H H H

H

H H

H

อะตอมของธาตุอื่นที่สร้างพันธะกับอะตอมของคาร์บอนให้เขียนแดงเฉพาะอะตอมของธาตุเหล่านั้น โดยไม่ต้องแสดงพันธะและเขียนตัวเลขแสดงจ านวนอะตอมก ากับไว้

เขียนย่อเป็น CH3CH2Cl เขียนย่อเป็น CH3COOH หรือ CH3CO2H

ถ้ามีหมู่อะตอมที่ซ้ ากันและจับต่อเนื่องกันให้เขียนไว้ในวงเล็บ และระบุจ านวนหมู่อะตอมด้วยตัวเลข เขียนย่อเป็น CH3CH2CH2CH2CH2CH3 ซ้ ากัน 4 กลุ่ม หรือเขียนย่อสั้นๆ เป็น CH3(CH2)4CH3 ถ้ามีกลุ่มที่ซ้ ากันจับอยู่กับคาร์บอนอะตอมเดียวให้รวมกันได้ ซ้ ากัน เขียนย่อเป็น (CH3)2CHCH2CH3

H C C Cl

H

H H

H

H C C O

H

H

O

H

H C C C

H

H

H

C C C

H H H H

H H H H H

H

Page 25: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

25

2. ส าหรับสารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างแบบโซ่ปิด เขียนรูปเหลี่ยมแสดงพันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนในวง พันธะระหว่างอะตอมคาร์บอนอาจเป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรืออาจมีพันธะมากกว่า 1 ชนิดก็ได้ เขียนแสดงอะตอมของคาร์บอนในวงและไฮโดรเจนที่เกาะในวง และอะตอมของธาตุอืน่

C C

CC

C

H HH

HH

H

HH H

H เขียนย่อเป็น CH2 CH2

CH2

CH2CH2

C

CC

C

CC H

H

HH

H

H

HH

HH

เขียนย่อเป็น

CH2

CH2 CH2

CH

CHCH2

2.3 สูตรโครงสร้างแบบผสมหรือย่อบางส่วน (Partially Extended structure formula) เป็นสูตรที่ใช้แสดงหมู่ฟังก์ชัน (หมู่อะตอมที่แสดงสมบัติเฉพาะ เช่น -OH, -COOH, -NH2, -CHO, -CONH2) หรือโครงสร้างให้เด่นชัด โดยเขียนพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมหรือระหว่างคาร์บอนอะตอมกับหมู่ฟังก์ชัน ส่วนไฮโดรเจนเขียนรวมไว้ทางขวาของคาร์บอนหรือธาตุอื่น เช่น

CH3 CH2 CH2 CH3 CH3 CH2 C

O

OH

CH3 CH2 CH2 C

O

H CH3 CH2 C

O

NH2

Page 26: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

26

2.4 สูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม (bond - line structure formula) นิยมใช้กับสารอินทรีย์ ที่มีโครงสร้างแบบวงหรือมีโมเลกุลขนาดใหญ่ เนื่องจากเขียนได้สะดวกและรวดเร็วกว่าสูตรโครงสร้างแบบอื่นๆ โดยเขียนแสดงโครงสร้างตามลักษณะการจัดเรียงตัวของอะตอมใน 3 มิติ โดยไม่ต้องเขียนแสดงอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจนที่ต่อกับคาร์บอน มีหลักการเขียน ดังนี้

1. ใช้เส้นตรงแทนพันธะระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอน โดยที่ “ ” แทน พันธะเดี่ยวระหว่างอะตอมคาร์บอนที่มีไฮโดรเจนเกาะอยู่ “ ” แทน พันธะคู่ระหว่างอะตอมคาร์บอนที่มีไฮโดรเจนเกาะอยู่ “ ” แทน พันธะสามระหว่างอะตอมคาร์บอนที่มีไฮโดรเจนเกาะอยู่ 2. ถ้ามีคาร์บอนต่อกันมากกว่า 2 อะตอมให้ใช้เส้นต่อกันแบบซิกแซ็กแทนสายโซ่ของ

คาร์บอนที่ปลายเส้นตรงและแต่ละมุมของสายโซ่แทนอะตอมของคาร์บอนซึ่งต่ออยู่กับไฮโดรเจนจ านวนที่ท าให้คาร์บอนมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนครบ 8

3. ถ้ามีอะตอมหรือหมู่อะตอมต่อออกมาจากสายโซ่ ให้ลากเส้นตรงต่อออกมาจากสายโซ่ 4. ถ้ามีธาตุชนิดอื่นที่ไม่ใช่ธาตุคาร์บอนจะต้องระบุลงในโครงสร้างด้วย เช่น O, Cl, Br, N

C C C C CH

H

H H

H

H

H

H

H

H

H

H เขียนเป็น

CH CH

NHCH2

CH2

เขียนเป็น

NH

Br CH CH CH CH3

CH2 CH3

เขียนเป็น Br

CH3 CH2 CH CH2 C

O

OH

CH3

เขียนเป็น O

OH

Page 27: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

27

โมเลกุลที่มีพันธะสาม จะเขียนเป็นรูปเส้นตรงต่อกับพันธะที่อยู่ถัดไปโดยไม่หักมุมเป็น เส้นฟันปลาตรงต าแหน่งพันธะสาม เช่น เขียนเป็น การเขียนโครงสร้างแบบต่างๆ ดังที่กล่าวมาเป็นการแสดงการจัดเรียงตัวของอะตอม ที่ประกอบกันเป็นโมเลกุลในลักษณะ 2 มิติ แต่ความเป็นจริงอะตอมของธาตุในโมเลกุลจะมี การจัดเรียงตัวในลักษณะ 3 มิต ิดังตัวอย่าง

ชือ่สาร สตูรโมเลกลุ

สตูรโครงสร้าง

โครงสรา้งลวิอสิ

โครงสรา้ง 3 มติ ิ

บิวเทน

C4H10

C C

HC CH

H

H H

H

H

H

HH

โพรพีน

C3H6

C C CHH

H

HH

H

เอทานอล

C2H6O

C CH

HOH

H

H

H

เบนซนี

C6H6

CC C C

CCHH

H

HH

H

H3C C C CH3

Page 28: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

28

ใบกจิกรรมที ่1.2 เรือ่ง การเขยีนสตูรโครงสรา้งของสารประกอบอนิทรยี ์ ชือ่-สกลุ ชัน้ เลขที ่ ค าชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ แล้วตอบค าถามต่อไปนี้ 1. จงเติมช่องว่างให้สมบูรณ์ (10 คะแนน)

สตูรโครงสร้าง สตูรโครงสร้างลวิอสิ สตูรโครงสร้างแบบเสน้และมมุ สตูรโครงสร้างแบบยอ่

C C

O

H

H

H

H

HC CCH2CH(CH3)2

(CH3)2C C(CH3)CH2CH3

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ คะแนน

ลงชื่อ ผู้ตรวจ ( )

Page 29: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

29

ใบความรูท้ี ่1.3 เรือ่ง ไอโซเมอรซิมึ

จดุประสงคก์ารเรยีนรู ้ 1. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่างๆ 2. อธิบายความแตกต่างระหว่างไอโซเมอร์โครงสร้างกับไอโซเมอร์เรขาคณิตได้ 3. ระบุชนิดของไอโซเมอร์เรขาคณิตของสารประกอบแอลคีนได้ว่าเป็นแบบซิสหรือแบบทรานส์ ไอโซเมอริซมึ (Isomerism) หมายถึง ปรากฎการณ์ที่สารประกอบอินทรีย์มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีสมบัติแตกต่างกัน และเรียกสารประกอบแต่ละชนิดว่า ไอโซเมอร์ โดยจ านวนไอโซเมอร์ของสารประกอบอินทรีย์จะเพิ่มขึ้นตามจ านวนอะตอมของคาร์บอน แบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้ 1. ไอโซเมอร์โครงสร้าง คือ ไอโซเมอร์ที่มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันแต่มีการจัดเรียงตัว ของอะตอมในต าแหน่งที่ต่างกันหรือมีสูตรโครงสร้างต่างกัน เช่น สารที่มีสูตรโมเลกุล C4H10 มีสูตรโครงสร้าง 2 แบบ ดังนี้

สตูรโครงสร้าง โครงสรา้งของสารประกอบ

จดุหลอมเหลว

(0C)

จดุเดอืด (0C)

ความหนาแนน่ ที ่20 0C (g/cm3)

CH3

CH2 CH2

CH3

-138.4 -0.5 0.578

CH3

CHCH3

CH3

-159.6 -11.7 0.549

จะเห็นได้ว่า ไอโซเมอร์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการ เช่น มีจุดหลอมเหลว จุดเดือด และความหนาแน่นต่างกัน ดังนั้น ต้องถือว่าเป็นสารต่างชนิดกัน

Page 30: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

30

C C C C

H

H H

H

H

H

H

H

C C C

CH H

H

H

H

H

H

H

C C C

H

H

H

HC

H

H HH

C C C C

H H

H

H

H

H

H

H

2. ไอโซเมอร์เรขาคณิต คือ ไอโซเมอร์ที่มีสูตรโมเลกุลและสูตรโครงสร้างเหมือนกัน แต่มีการจัดเรียงตัวของอะตอมหรือหมู่อะตอมที่อยู่แต่ละด้านของพันธะคู่แตกต่างกัน แบ่งเป็น ไอโซเมอร์แบบซิสและไอโซเมอร์แบบทรานส์

ซิส - ไอโซเมอร์ ทรานส์ - ไอโซเมอร์ หลกัการเขยีนไอโซเมอรซิมึ 1. เริ่มจากไอโซเมอร์ที่มีคาร์บอนต่อกันเป็นสายยาวที่สุดก่อน 2. ค่อยๆ ลดจานวนคาร์บอนทีละอะตอม และน ามาต่อเป็นสาขาที่ต าแหน่งต่างๆ 3. ขณะเดียวกันต้องพิจารณาว่ารูปร่างโครงสร้างที่เขียนซ้ ากันหรือไม่ หมายเหต ุ: การเขียนก็ให้เขียนเฉพาะคาร์บอนอะตอมก่อนแล้วจึงเติมไฮโดรเจนทีหลัง การพจิารณาวา่สารคูห่นึง่เปน็ไอโซเมอรก์นั 1. ถ้าประกอบด้วยธาตุต่างชนิดกัน จะไม่เป็นไอโซเมอร์กัน 2. ถ้าประกอบด้วยธาตุชนิดเดียวกัน และจ านวนอะตอมเท่ากันจะต้องพิจารณาขั้นต่อไป ตวัอยา่ง สารที่มีสูตรโมเลกุลเป็น C4H8 จะมี 3 ไอโซเมอร์ ดังนี้

แบบท่ี 1 แบบท่ี 2 แบบท่ี 3

C C

H

CH3 CH3

H

C C

H

CH3 H

CH2CH3

Page 31: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

31

ใบกจิกรรมที ่1.3 เรือ่ง ไอโซเมอรซิมึ

ชือ่-สกลุ ชัน้ เลขที ่ ค าชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.3 เรื่อง ไอโซเมอริซึม แล้วตอบค าถามต่อไปนี้ 1. ให้เขียนระบุชนิดของโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์แต่ละคู่ต่อไปนี้ ว่าเป็นสารชนิดเดียวกันหรือไอโซเมอร์หรือสารต่างชนิดกัน ขอ้ Chemical structure Chemical structure ชนดิของสาร 1

C C CH

H

H

OH

CH3

H

H

H

C C CH

H

H

H

CH3

H

OH

H

2 CH2

CH2 CH2

3

CH CH

CH2

CH2CH2

4

5 C C

H3C

H CH3

H

2. ให้เขียนไอโซเมอร์ของสารที่มีสูตรโมเลกุลเป็น C3H8O

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ คะแนน ลงชื่อ ผู้ตรวจ

( )

Page 32: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

32

ใบกจิกรรมการทดลอง

เรือ่ง การจดัเรยีงอะตอมของคารบ์อนในสารประกอบอนิทรยี ์ จุดประสงค์การทดลอง 1. ต่อแบบจ าลองแสดงโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์แบบต่างๆ ตามจ านวนอะตอมของคาร์บอนและไฮโดรเจนที่ก าหนดได้ 2. เขียนโครงสร้างลิวอิสของแต่ละไอโซเมอร์ได้ 3. อธิบายการเกิดไอโซเมอร์และผลของการเกิดไอโซเมอร์ได้ สารเคมแีละอปุกรณ ์

รายการ จ านวนตอ่ 1 กลุม่ อปุกรณ ์

1. อะตอมคาร์บอน 2. อะตอมไฮโดรเจน 3. ก้านพลาสติก

5 ลูก 12 ลูก 16 ก้าน

อภิปรายกอ่นการทดลอง ในกรณีที่มีอะตอมไฮโดรเจนไม่เพียงพออาจไม่ต้องใช้ก็ได้ โดยให้ถือว่าปลายก้านพลาสติกด้านตรงข้ามกับอะตอมคาร์บอนแทนอะตอมของไฮโดรเจน วธิกีารทดลอง 1. ใช้แบบจ าลองอะตอมที่เป็นลูกพลาสติกกลม โดยให้ลูกพลาสติกกลมสีด าแทนอะตอมของคาร์บอน ลูกพลาสติกสีขาวแทนอะตอมของไฮโดรเจน แล้วใช้ก้านพลาสติกแทนพันธะ 2. น าอะตอมของคาร์บอนจ านวน 5 อะตอมมาต่อกันด้วยก้านพลาสติกให้เป็นสายโซ่ตรงเกิดเป็นพันธะเดี่ยว แล้วต่อด้วยอะตอมของไฮโดรเจนให้ครบทุกพันธะ บันทึกผลการทดลอง โดยเขียนโครงสร้างแบบลิวอิส 3. เปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลจากข้อ 2 ให้เป็นแบบโซ่กิ่ง โดยใช้ลูกพลาสติกกลม และก้านพลาสติกเท่าเดิม บันทึกผลการทดลองโดยเขียนโครงสร้างแบบลิวอิส

Page 33: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

33

แบบบนัทกึกจิกรรมการทดลอง

เรือ่ง การจดัเรยีงอะตอมของคารบ์อนในสารประกอบอนิทรยี ์ สมาชกิกลุม่ที ่ ชัน้

1. เลขที ่ 2. เลขที ่ 3. เลขที ่ 4. เลขที ่ 5. เลขที ่ 6. เลขที ่

ค าถามก่อนท ากิจกรรม 1. คาร์บอนมีเลขอะตอม 6 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอย่างไร และมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่าใด (1 คะแนน)

2. ธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์ตามกฎออกเตตได้กี่พันธะ (1 คะแนน)

Page 34: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

34

ตารางบนัทกึผลการทดลอง (3 คะแนน)

แบบที ่ แบบจ าลองโมเลกลุ 3 มติ ิ สตูรโครงสร้างลวิอสิ

1

2

3

ค าถามเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง 1. เมื่อต่อคาร์บอน 5 อะตอม ด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมดจะมีสูตรโมเลกุลอย่างไร และ จะมีได้กี่ไอโซเมอร์ แต่ละไอโซเมอร์มีโครงสร้างอย่างไร (1 คะแนน)

Page 35: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

35

2. ถ้าต่อแบบจ าลองโดยใช้คาร์บอน 5 อะตอมด้วยพันธะคู่ 1 พันธะจะมีสูตรโมเลกุลอย่างไร และจะมีได้กี่ไอโซเมอร์ แต่ละไอโซเมอร์มีโครงสร้างอย่างไร (1 คะแนน)

3. ถ้าต่อแบบจ าลองโดยใช้คาร์บอน 5 อะตอมด้วยโครงสร้างแบบวงจะมีสูตรโมเลกุลอย่างไร และจะมีได้กี่ไอโซเมอร์ แต่ละไอโซเมอร์มีโครงสร้างอย่างไร (1 คะแนน)

4. จากการทดลองสรุปผลได้ว่าอย่างไร (2 คะแนน)

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้ คะแนน ลงชื่อ ผู้ตรวจ ( )

Page 36: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

36

ใบกจิกรรมเสรมิ “เกม My Address”

ชือ่-สกลุ ชัน้ เลขที ่ ค าชี้แจง จงเลือกค าที่ก าหนดให้ต่อไปนี้ เติมลงไปในช่องว่างหมายเลขต่างๆ

สูตรโครงสร้าง ไอโซเมอริซึม แบบลิวอิส ไฮโดรเจน แบบย่อ แบบเส้น สูตรโมเลกุล ปรากฏการณ์ แบบเส้นและมุม คาร์บอน

พันธะของคาร์บอน

แบ่งเป็น แบ่งเป็น

การเขียนสูตรโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ 1. เช่น เช่น เช่น หมายถึง 2. 3. 4. 5. 8. แบบจุด จะไม่เขียน 6. 7. เหมือนกัน ต่างกัน

สัญลักษณ์ของธาตุ

คะแนนเต็ม 10 คะแนน 9. 10. . คะแนนที่ได้ คะแนน

ลงชื่อ ผู้ตรวจ ( )

Page 37: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

37

แบบทดสอบหลงัเรยีน

จดุประสงคก์ารเรยีนรู ้ 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์ 2. อธิบายการเกิดพันธะของธาตุคาร์บอนและธาตุชนิดอื่นในสารประกอบอินทรีย์ได้ 3. อธิบายเหตุผลที่ท าให้มีสารประกอบอินทรีย์เป็นจ านวนมากได้ 4. เขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ได้แก่ ลิวอิส แบบย่อ แบบผสม และแบบใช้เส้นและมุมของสารประกอบอินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้ 5. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ได้ 6. อธิบายความแตกต่างระหว่างไอโซเมอร์โครงสร้างกับไอโซเมอร์เรขาคณิตได้ 7. ระบุชนิดของไอโซเมอร์เรขาคณิตของสารประกอบแอลคีนได้ว่าเป็นแบบซิสหรือแบบทรานส์ ค าชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลาทดสอบ 10 นาท ี 2. ให้นักเรียนอ่านแบบทดสอบด้วยความรอบคอบแล้วตอบค าถาม โดยเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วท าเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษค าตอบ 1. ขอ้ใดกลา่วเกีย่วกบัสารประกอบอนิทรยีไ์ดถ้กูตอ้ง ก. สารประกอบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต และสังเคราะห์ขึ้น มคีาร์บอนเป็นองค์ประกอบ ข. สารประกอบที่มีคาร์บอน เป็นองค์ประกอบหลัก เกิดจากสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ค. สารที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเท่านั้น มีคาร์บอน และไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบ ง. สารประกอบที่คาร์บอน และไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบหลัก

Page 38: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

38

2. จากสตูรโครงสรา้งตอ่ไปนี ้

C C C N

O

H

H

H คาร์บอนอะตอมที่ต าแหน่ง 1 2 และ 3 ใช้ไฮบริดออร์บิทัลชนิดใดในการสร้างพันธะ ตามล าดับ ก. sp3 sp sp ข. sp2 sp2 sp ค. sp3 sp2 sp ง. sp3 sp2 sp2 3. สตูรโครงสร้างในขอ้ใดถกูตอ้งทีส่ดุ ก. ข. ค. ง. 4. ข้อใดเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุมของ (CH3)3CCH2CH(CH2CH3)2 ก. ข. ค. ง.

C C C C C

H

H

H

H

H H

H

H

H

H

N

H

C C C O O C

H

H

H

H

H

H

H

H

1 2 3

Page 39: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

39

5. ขอ้ใดไมถ่กูตอ้งเกีย่วกบัสาเหตทุีส่ารอนิทรยีม์จี านวนมาก ก. การเกิดปรากฏการณ์ไอโซเมอริซึมของสารประกอบอินทรีย์ ข. คาร์บอนหนึ่งอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์ชนิดพันธะเดี่ยวได้สูงสุด 3 พันธะ ค. คาร์บอนอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นโซ่ตรง โซ่กิ่ง เป็นวง หรือหลายวง ง. คาร์บอนอะตอมสามารถสร้างพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม 6. ขอ้ใดไมม่ไีอโซเมอรเ์รขาคณติ ก. ข. ค. ง. 7. ขอ้ใดเขยีนสตูรโครงสรา้งแบบยอ่ไดถ้กูตอ้ง ก. (CH3)2CHCH2CH=CHCH3 ข. (CH3)2(CH2)2CH=CHCH3 ค. (CH3)2CHCH2CH=CH2CH3 ง. CH3CH2CH3CH2CH=CHCH3 8. สารในขอ้ใดเปน็ไอโซเมอรก์นั ก. CH2=CHCH2CH2CH3 กับ CH3CHCH2CH2=CH2 ข. กับ ค. CH2=CHCH2CHO กับ CH3CH2COCH3

ง. CH3CH2OCH2CH3 กับ

CH3CHCH2CH2OH

CH3

C C

CH2CH3

HH

CH3

C C

CH3

HCH2CH3

H

Page 40: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

40

9. สารในขอ้ใดใหซ้สิไอโซเมอร ์(Cis - isomer) ก. ข.

ค. ง. 10. วงแหวนเบนซีนมีสูตรโครงสร้างลิวอิส ดังนี้

ไฮโดรเจนอะตอมสามารถถูกแทนที่ด้วยธาตุอื่นๆ ได้ อยากทราบว่าถ้าโบรมีน 2 อะตอมแทนที่ไฮโดรเจน 2 อะตอม ในวงแหวนเบนซีนจะได้ไอโซเมอร์จ านวนกี่ไอโซเมอร์

ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5

H

H

H

H

H

H

C C

H

H3C H

H

C C

H3C

H3C H

CH3

C C

H3C

H3C CH3

CH2CH3

C C

CH2CH3

CH3 CH3

CH2CH3

Page 41: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

41

กระดาษค าตอบแบบทดสอบหลงัเรยีน

ชือ่-สกลุ ชัน้ เลขที ่

ค าชี้แจง ให้นักเรียนท าเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในช่องตัวเลือก ก ข ค ง ที่เห็นว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวในกระดาษค าตอบ

คะแนนเตม็ 10 คะแนน

คะแนนทีไ่ด ้

ผลการประเมิน ผ่าน ลงชื่อ ผู้ตรวจ ไม่ผ่าน ( )

ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

Page 42: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

42

เครือ่งมอืทีใ่ชใ้นการวดัผลและประเมนิผล ชดุกจิกรรมการเรยีนรูร้ายวชิาเคม ีว30224 ชัน้มธัยมศกึษาปทีี ่6

เรือ่ง เคมอีนิทรยี ์ชดุที ่1 พนัธะของคารบ์อน

Page 43: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

43

แบบประเมนิพฤตกิรรมการท างานกลุม่

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ กิจกรรมที่ เรื่อง กลุ่มที ่ ชั้น ม. มีสมาชิกจ านวน คน ดังนี ้1. เลขที ่ 2. เลขที่ 3. เลขที ่ 4. เลขที่ 5. เลขที ่ 6. เลขที่ ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่มของนักเรียนแต่ละคน และบันทึกคะแนน ลงในช่องผลการประเมิน ให้ตรงกับสภาพจริงเพื่อน าผลการประเมินไปใช้พัฒนานักเรียนต่อไป

รายการประเมนิ คะแนนเตม็

ผลการประเมนินกัเรยีนในกลุม่ / คนที ่

1 2 3 4 5 6 1. การร่วมวางแผนและท างานอย่างมีระบบตามขั้นตอน 4 2. การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและให้ก าลังใจเพื่อน 4 3. ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย 4 4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และกระตือรือร้นในการท างาน 4 5. ยอมรับฟังและท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ 4

คะแนนรวม 20 สรุปผลการประเมนิ

ระดบัคณุภาพและเกณฑก์ารประเมนิ ระดบัการวดั

คะแนนเตม็ 20 คะแนน ระดบัคณุภาพ

เกณฑ ์การประเมนิ

ระดับ 4 18 - 20 ดีมาก ผ่าน (ผ) ระดับ 3 14 - 17 ด ี

ระดับ 2 10 - 13 ปานกลาง

ระดับ 1 6 - 9 ควรปรับปรุง ไม่ผ่าน

(มผ) 0 - 5 ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง

ลงชือ่ ( ) ผูป้ระเมนิ

ลงชือ่ ( นางสาวสุภัคฉว ีเอี่ยมส าอางค์ ) ครูประจ าวชิา / / .

Page 44: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

44

เกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบประเมนิพฤตกิรรมการท างานกลุม่

รายการประเมนิ ระดบัคะแนน

ดมีาก (4) ด ี(3) ปานกลาง (2) ปรบัปรงุ (1) 1. การร่วมวางแผน และท างานอย่าง มีระบบตามขั้นตอน

มีการร่วมวางแผนและท างานอย่างมีระบบตามขั้นตอน ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์

มีการร่วมวางแผนและท างานอย่างมีระบบตามขั้นตอน ครบถ้วน ถูกต้อง แต่ไม่สมบูรณ์

มีการร่วมวางแผนและท างานอย่างมีระบบตามขั้นตอน แต่ไม่สมบูรณ์

มีการวางแผน และท างาน แต่ไม่เป็นระบบ และมีข้อผิดพลาด

2. การให้ความ ร่วมมือ ช่วยเหลือ และให้ก าลังใจ เพื่อน

มีการให้ ความร่วมมือ ช่วยเหลือและ ให้ก าลังใจ เพื่อนร่วมกลุ่ม ในการท างานอย่างต่อเนื่อง ทุกครั้ง

มีการให้ ความร่วมมือ ช่วยเหลือและ ให้ก าลังใจ เพื่อนร่วมกลุ่ม ในการท างานบางครั้ง

มีการให้ ความร่วมมือ ช่วยเหลือ แต่ไม่ได้ให้ก าลังใจ เพื่อนร่วมกลุ่ม

มีการให้ ความร่วมมือ เป็นบางครั้ง แต่ไม่เคยช่วยเหลือและให้ก าลังใจ เพื่อนเลย

3. ความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติงาน ที่ได้รับมอบหมาย

มคีวามรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย จากกลุ่มดีมาก และปฏิบัติ อย่างสม่ าเสมอ

มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย จากกลุ่มบ้าง แต่ไม่ทุกครั้ง

มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย จากกลุ่มน้อยมากและบางครั้ง ไม่ปฏิบัติเลย

ไม่มี ความรับผิดชอบในการปฏิบัติ งานที่ได้รับมอบหมาย จากกลุ่มเลย

Page 45: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

45

เกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบประเมนิพฤตกิรรมการท างานกลุม่ (ตอ่)

รายการประเมนิ ระดบัคะแนน

ดมีาก (4) ด ี(3) ปานกลาง (2) ปรบัปรงุ (1) 4. ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และ กระตือรือร้น ในการท างาน

มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และกระตือรือร้น ในการท างาน ทุกครั้งที่มีการท างานเป็นกลุ่ม มีความคิดที่ดี แปลกใหม่อยู่เสมอ จนเพื่อนๆ ในกลุ่มยอมรับ

มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และกระตือรือร้น ในการท างาน ทุกครั้งที่มี การท างาน เป็นกลุ่ม

มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และกระตือรือร้น ในการท างาน เป็นบางครั้ง

มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ น้อยมาก และ ไม่กระตือรือร้น ในการท างานเลย

5. ยอมรับฟัง และท างานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างสร้างสรรค ์

ยอมรับฟังและท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ทุกครั้ง มีเหตุผล และน่าเชื่อถือ จนเพื่อนในกลุ่ม เห็นด้วยทุกครั้ง

ยอมรับฟังและท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์เป็นบางครั้ง มีเหตุผล และน่าเชื่อถือจนเพื่อนในกลุ่ม เห็นด้วย เป็นบางครั้ง

ยอมรับฟังและท างานร่วมกับผู้อื่นได้บ้าง แต่ยังให้ความคิดเห็น ของตนเอง เป็นใหญ่มากกว่า

ยอมรับฟัง แต่ ไม่ยอมรับและ ไม่สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้

Page 46: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

46

แบบประเมนิพฤตกิรรมการปฏบิตักิารทดลอง

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ กิจกรรมที่ เรื่อง กลุ่มที ่ ชั้น ม. มีสมาชิกจ านวน คน ดังนี ้1. เลขที ่ 2. เลขที่ 3. เลขที ่ 4. เลขที่ 5. เลขที ่ 6. เลขที่ ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่มของนักเรียนแต่ละคน และบันทึกคะแนน ลงในช่องผลการประเมิน ให้ตรงกับสภาพจริงเพื่อน าผลการประเมินไปใช้พัฒนานักเรียนต่อไป

รายการประเมนิ คะแนนเตม็

ผลการประเมนินกัเรยีนในกลุม่ / คนที ่

1 2 3 4 5 6 1. การวางแผนการทดลองมีระบบ มีขั้นตอน 4 2. การออกแบบการทดลองมีความสอดคล้องกัน 4 3. การด าเนินการทดลองเป็นไปตามแผนที่วางไว้ 4 4. การบันทึกผลและสรุปผลการทดลอง 4 5. การน าเสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียน 4

คะแนนรวม 20 สรุปผลการประเมนิ

ระดบัคณุภาพและเกณฑก์ารประเมนิ ระดบัการวดั

คะแนนเตม็ 20 คะแนน ระดบัคณุภาพ

เกณฑ ์การประเมนิ

ระดับ 4 18 - 20 ดีมาก ผ่าน (ผ) ระดับ 3 14 - 17 ด ี

ระดับ 2 10 - 13 ปานกลาง

ระดับ 1 6 - 9 ควรปรับปรุง ไม่ผ่าน

(มผ) 0 - 5 ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง

ลงชือ่ ( ) ผูป้ระเมนิ

ลงชือ่ ( นางสาวสุภัคฉว ีเอี่ยมส าอางค์ ) ครูประจ าวชิา / / .

Page 47: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

47

เกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบประเมนิพฤตกิรรมการปฏบิตักิารทดลอง

รายการประเมนิ ระดบัคะแนน

ดมีาก (4) ด ี(3) ปานกลาง (2) ปรบัปรงุ (1) 1. การวางแผน การทดลอง มีระบบ มีขั้นตอน

มีการร่วมกัน วางแผน การทดลอง อย่างมีระบบ มีขั้นตอน ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ ์

มีการร่วมกัน วางแผน การทดลอง อย่างมีระบบ มีขั้นตอน ครบถ้วน แต่ไม่ถูกต้อง

มีการร่วมกัน วางแผน การทดลอง อย่างมีระบบ แต่มีขั้นตอนสลับกัน และ ไม่ครบถ้วน

มีการร่วมกัน วางแผน การทดลอง แต่ ไม่เป็นระบบ และมีข้อผิดพลาดมาก

2. การออกแบบ การทดลอง มีความ สอดคล้องกัน

มีการออกแบบการทดลองที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหา มีการตั้งสมมติฐาน ได้ถูกต้องทุกครั้ง

มีการออกแบบการทดลองที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหา มีการตั้งสมมติฐาน ได้ถูกต้องบางครั้ง

มีการออกแบบการทดลองที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหา แต่ตั้งสมมติฐาน ไม่ถูกต้อง

มีการออกแบบการทดลอง แต่ไม่มี ความสอดคล้องกับเนื้อหา และตั้งสมมติฐาน ไม่ถูกต้องเลย

3. การด าเนิน การทดลอง เป็นไปตาม แผนที่วางไว ้

มีการด าเนิน การทดลอง เป็นไปตามแผน ที่วางไว้ ทุกขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ถูกวิธีทุกครั้ง

มีการด าเนิน การทดลอง เป็นไปตามแผน ที่วางไว้ ทุกขั้นตอน และใช้อุปกรณ์ ผิดบ้างบางครั้ง

มีการด าเนิน การทดลอง เป็นไปตามแผน ที่วางไว้ ทุกขั้นตอน แต่ใช้อุปกรณ์ผิด

มีการด าเนิน การทดลอง เป็นไปตามแผน แต่ผิดล าดับขั้นตอนบ้าง และใช้อุปกรณ์ผิด

Page 48: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

48

เกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบประเมนิพฤตกิรรมการปฏบิตักิารทดลอง (ตอ่)

รายการประเมนิ ระดบัคะแนน

ดมีาก (4) ด ี(3) ปานกลาง (2) ปรบัปรงุ (1) 4. การบันทึกผล และสรุปผล การทดลอง

มีการบันทึกผลและสรุปผล การทดลอง ได้ถูกต้อง สอดคล้องกับจุดประสงค์ และสมมติฐานการทดลอง อีกทั้งเข้าใจง่าย และชัดเจน

มีการบันทึกผลและสรุปผล การทดลอง ได้ถูกต้อง สอดคล้อง กับจุดประสงค์ และสมมติฐานการทดลอง

มีการบันทึกผลถูกต้อง แต่สรุปผล การทดลอง ไม่ถูกต้อง และไม่สอดคล้อง กับจุดประสงค์ การทดลอง

มีการบันทึกผลและสรุปผล การทดลอง แต่ไม่ถูกต้อง และไม่สอดคล้อง กับจุดประสงค์ การทดลองเลย

5. การน าเสนอ ผลการทดลอง หน้าชั้นเรียน

มีการน าเสนอ ผลการทดลองหน้าชั้นเรียน โดยใช้วิธีการน าเสนอที่เข้าใจง่าย ครบถ้วน สมบูรณ์ และตอบค าถามของเพื่อน ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน มีไหวพริบปฏิภาณด ี

มีการน าเสนอ ผลการทดลองหน้าชั้นเรียน โดยใช้วิธีการน าเสนอที่เข้าใจง่าย ครบถ้วน สมบูรณ์ แต่ตอบค าถามของเพื่อน ไม่ได้

มีการน าเสนอ ผลการทดลองหน้าชั้นเรียน โดยใช้วิธีการน าเสนอเข้าใจง่าย แต่ไม่ครบถ้วน ไม่สมบูรณ์ และตอบค าถามของเพื่อนไม่ได้

มีการน าเสนอ ผลการทดลองหน้าชั้นเรียน โดยใช้วิธีการน าเสนอที่เข้าใจยาก ไม่ครบถ้วน และตอบค าถามของเพื่อนไม่ได้เลย

Page 49: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

49

แบบสงัเกตพฤตกิรรมการเรยีนรูข้องนกัเรยีน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ กิจกรรมที่ เรื่อง กลุ่มที ่ ชั้น ม. มีสมาชิกจ านวน คน ดังนี ้1. เลขที ่ 2. เลขที่ 3. เลขที ่ 4. เลขที่ 5. เลขที ่ 6. เลขที่ ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่มของนักเรียนแต่ละคน และบันทึกคะแนน ลงในช่องผลการประเมิน ให้ตรงกับสภาพจริงเพื่อน าผลการประเมินไปใช้พัฒนานักเรียนต่อไป

รายการประเมนิ คะแนนเตม็

ผลการประเมนินกัเรยีนในกลุม่ / คนที ่

1 2 3 4 5 6 1. ความสนใจใฝ่รู้ และกระตอืรือร้นในการเรียนรู้ 4 2. มุ่งมั่น อดทนปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างมีระบบ ระเบียบ 4 3. ความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติกิจกรรม 4 4. ความซื่อสัตย์ ประหยัด และรับผิดชอบในหน้าท่ี 4 5. มีเหตุผล ยอมรับฟังความคิดเห็นและท างานกับผู้อื่นได้ 4

คะแนนรวม 20 สรุปผลการประเมนิ

ระดบัคณุภาพและเกณฑก์ารประเมนิ ระดบัการวดั

คะแนนเตม็ 20 คะแนน ระดบัคณุภาพ

เกณฑ ์การประเมนิ

ระดับ 4 18 - 20 ดีมาก ผ่าน (ผ) ระดับ 3 14 - 17 ด ี

ระดับ 2 10 - 13 ปานกลาง

ระดับ 1 6 - 9 ควรปรับปรุง ไม่ผ่าน

(มผ) 0 - 5 ควรปรับปรุงอย่างยิ่ง

ลงชือ่ ( ) ผูป้ระเมนิ

ลงชือ่ ( นางสาวสุภัคฉว ีเอี่ยมส าอางค์ ) ครูประจ าวชิา / / .

Page 50: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

50

เกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบสงัเกตพฤตกิรรมการเรยีนรูข้องนกัเรยีน

รายการประเมนิ ระดบัคะแนน

ดมีาก (4) ด ี(3) ปานกลาง (2) ปรบัปรงุ (1) 1. ความสนใจ ใฝ่รู ้และ กระตือรือร้น ในการเรยีนรู้

มีความสนใจ ใฝ่รู้และกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ ทุกครั้ง เป็นผู้น าชวนเพื่อนให้เกิดความอยากรู้ อยากเรียนเสมอ

มีความสนใจ ใฝ่รู้และกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ ทุกครั้ง

มีความสนใจ ใฝ่รู้และกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ เป็นบางครั้ง

ไม่สนใจ ใฝ่รู้และ ไม่กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ จะเกิดบ้าง ก็ต่อเมื่อมีผู้อื่นกระตุ้นเท่านั้น

2. มุ่งมั่น อดทน ปฏิบัติกิจกรรม ได้อย่างมีระบบ ระเบียบ

มีความมุ่งมั่น อดทน ปฏิบัต ิ กิจกรรมได้อย่าง มีระบบระเบียบทุกครั้ง และมีขั้นตอนปฏิบัติงานชัดเจน ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์

มีความมุ่งมั่น อดทน ปฏิบัติ กิจกรรมได้อย่าง มีระบบระเบียบทุกครั้ง และมีขั้นตอนปฏิบัติงาน แต่ไม่ชัดเจน

มีความมุ่งมั่น อดทน ปฏิบัต ิ กิจกรรมได้อย่าง มีระบบระเบียบ เป็นบางครั้งและมีขั้นตอนปฏิบัติงาน แต่ไม่ชัดเจน

มีความมุ่งมั่น อดทน ปฏิบัต ิ กิจกรรมได้ แต่ยังขาดระบบ ระเบียบ และไม่มีขั้นตอนปฏิบัติงาน

3. ความละเอียด รอบคอบ ในการปฏิบัติ กิจกรรม

มีความละเอียด ประณีต สะอาด รอบคอบ ในการปฏิบัติ กิจกรรมทุกครั้ง เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเพื่อน และตรวจสอบงานก่อนส่งทุกครั้ง

มีความละเอียด รอบคอบ ในการปฏิบัติ กิจกรรมทุกครั้ง โดยไม่ต้องให้ครูหรือเพื่อนก าชับ ตักเตือน และตรวจสอบงานก่อนส่งบางครั้ง

มีความละเอียด รอบคอบ ในการปฏิบัติ กิจกรรม โดยต้องให้ครูหรือเพือ่นก าชับ ตักเตือน เป็นบางครั้ง

ไม่มีความละเอียด รอบคอบ ในการปฏิบัติ กิจกรรม ไม่ตรวจสอบงาน ต้องมีครูหรือเพื่อนก าชับ ตักเตือนทุกครั้ง

Page 51: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

51

เกณฑก์ารใหค้ะแนนแบบสงัเกตพฤตกิรรมการเรยีนรูข้องนกัเรยีน (ตอ่)

รายการประเมนิ ระดบัคะแนน

ดมีาก (4) ด ี(3) ปานกลาง (2) ปรบัปรงุ (1) 4. ความซื่อสัตย์ ประหยัด และรับผิดชอบ ในหน้าท่ี

มีความซื่อสัตย์ประหยัดและ มีความรับผิดชอบทุกครั้งสม่ าเสมอ จนเพื่อนยอมรับ และเป็นแบบอย่างได้

มีความซื่อสัตย์ประหยัดและ มีความรับผิดชอบสม่ าเสมอ จนเพื่อนยอมรับ

มีความซื่อสัตย์ประหยัดและ มีความรับผิดชอบเป็นบางครั้ง

มีความซื่อสัตย์ประหยัดและ มีความรับผิดชอบ น้อย จนเพื่อนต้องตักเตือน

5. มีเหตุผล ยอมรับฟัง ความคิดเห็น และท างาน กับผู้อื่นได ้

มีเหตุผลและสามารถท างานกับผู้อื่นได้ เป็นที่เชื่อถือ ของเพื่อน สามารถท าให้เพือ่นในกลุ่ม รักและสามัคคีกัน ร่วมมือกันท างานจนประสบผลส าเร็จได้

มีเหตุผลและสามารถท างานกับผู้อื่นได้ สามารถท าให้เพื่อนในกลุ่ม ร่วมมือกันท างานจนประสบผลส าเร็จได้

มีเหตุผลและสามารถท างานกับผู้อื่นได้เป็นบางครั้ง

ไม่ค่อยมีเหตุผลแต่ยังสามารถ ท างานกับผู้อื่นได้เป็นบางครั้ง เมื่อมีคนอื่น เป็นผู้น า

Page 52: ผังมโนทัศน์ เรื่อง เคมีอินทรีย์ · 1. อธิบายความหมายของสารประกอบอินทรีย์และเคมีอินทรีย์

52

เอกสารอา้งองิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). หนงัสอืเรยีนรายวชิาเพิม่เตมิเคม ีเลม่ 5 ชัน้มัธยมศกึษาปทีี ่4-6. กรุงเทพฯ

: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). คูม่อืครรูายวชิาเพิม่เตมิเคม ีเลม่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 1 ; กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. รศ.ดร.นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์, รศ.คณิตา ตังคณานุรักษ์, (2554). Compact เคม ีม.6 เลม่ 5. กรุงเทพฯ : แม็ค. สุนันทา วิบูลย์จันทร์. (2554). เคมอีนิทรยี.์ พิมพ์ครั้งที่ 10 ; นนทบุรี : เอ็นดับบลิว มีเดีย จ ากัด.