of 11 /11
เคมีอ นทรีย์ (Organic Chemistry) ISOMER ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ กรดและเบสในเคมีอินทรีย์ .ดร.มพร กันแก้ว สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1 ไอโซเมอร์ ไอโซเมอร์เชิงสเตอริโอ ไอโซเมอร์เชิงสายโซ่คาร์บอน ไอโซเมอร์เชิงตําแหน่งของหมู ่ฟ งก์ชัน ไอโซเมอร์เชิงโครงสร้าง ไอโซเมอร์เชิงเรขาคณิต ไอโซเมอร์เชิงแสง ไอโซเมอร์เชิงชนิดของหมู ่ฟ งก์ชัน 2 1. ไอโซเมอร์เช งโครงสร้าง (Structural isomer) สารอินทรีย์ที ่มีสูตรโมเลกุล เหมือนกันแต่มีสูตรโครงสร้างต่างกัน แบ่งได้เป็น 1.1 ไอโซเมอร์เชิงสายโซ่คาร์บอน (skeleton isomer) 1.2 ไอโซเมอร์เชิงตําแหน่งของหมู ่ฟ งก์ชัน (positional isomer) 1.3 ไอโซเมอร์เชิงชนิดของหมู ่ฟ งก์ชัน (functional isomer) 2. ไอโซเมอร์เช งสเตอร โอ (Stereo isomer) เป็นไอโซเมอร์ที ่มีโครงแบบ (configuration) ต่างกันคือมีการจัดเรียงอะตอมในที ่ว่างต่างกัน (การจัด ตําแหน่งของอะตอมใน 3 มิติแตกต่างกัน) แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ 2.1 ไอโซเมอร์เชิงเรขาคณิต (geometrical isomer) 2.2 ไอโซเมอร์เชิงแสง (optical isomer) 3 1. ไอโซเมอร์เช งโครงสร้าง (Structural isomer) 1.1 ไอโซเมอร์เช งสายโซ คาร์บอน (skeleton isomer) ไอโซเมอร์ที ่มีการจัดเรียงตัวของคาร์บอนในโครงสร้างหลักต่างกัน คาร์บอนอะตอมอาจต่อกันเป็นเส้นตรงหรือเป็นแบบกิ่งสาขา จํานวนไอโซเมอร์จะเพิ่มขึ ้นเมื ่อจํานวนคาร์บอนเพิ่มขึ ้น เช่น C 5 H 12 มี 3 ไอโซเมอร์ C 6 H 14 มี 5 ไอโซเมอร์ C 7 H 16 มี 9 ไอโซเมอร์ C 8 H 18 มี 18 ไอโซเมอร์ C 9 H 20 มี 35 ไอโซเมอร์ C 10 H 22 มี 75 ไอโซเมอร์ สารที ่เป็นไอโซเมอร์เชิงโครงสร้างกันจะมีสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ต่างกัน 4

เคมีอินทรีย์ ไอโซเมอร์ 2011.ppt 2011/เคมี... · ไอโซเมอร์ชนิดโครงสร้างของ C5H12

  • Author
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Text of เคมีอินทรีย์ ไอโซเมอร์ 2011.ppt 2011/เคมี... ·...

  • เคมีอินทรีย ์(Organic Chemistry)

    ISOMERปฏิกริิยาเคมอีนิทรีย์

    กรดและเบสในเคมอีนิทรีย์อ.ดร.อุทุมพร กนัแก้ว

    สาขาวชิาเคม ีคณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลยัแม่โจ้1

    ไอโซเมอร์

    ไอโซเมอรเ์ชงิสเตอรโิอ

    ไอโซเมอรเ์ชงิสายโซ่คารบ์อน

    ไอโซเมอรเ์ชงิตาํแหน่งของหมูฟ่งักช์นั

    ไอโซเมอรเ์ชงิโครงสรา้ง

    ไอโซเมอรเ์ชงิเรขาคณติ ไอโซเมอรเ์ชงิแสง

    ไอโซเมอรเ์ชงิชนิดของหมูฟ่งักช์นั

    2

    1. ไอโซเมอรเ์ชิงโครงสร้าง (Structural isomer) สารอนิทรยีท์ีม่สีตูรโมเลกุลเหมอืนกนัแต่มสีตูรโครงสรา้งตา่งกนั แบง่ไดเ้ป็น1.1 ไอโซเมอรเ์ชงิสายโซ่คารบ์อน (skeleton isomer)1.2 ไอโซเมอรเ์ชงิตาํแหน่งของหมูฟ่งักช์นั (positional isomer)1.3 ไอโซเมอรเ์ชงิชนิดของหมูฟ่งักช์นั (functional isomer)

    2. ไอโซเมอรเ์ชิงสเตอริโอ (Stereo isomer) เป็นไอโซเมอรท์ีม่โีครงแบบ (configuration) ต่างกนัคอืมกีารจดัเรยีงอะตอมในทีว่า่งต่างกนั (การจดัตาํแหน่งของอะตอมใน 3 มติแิตกตา่งกนั) แบง่ไดเ้ป็น 2 ชนิด คอื2.1 ไอโซเมอรเ์ชงิเรขาคณติ (geometrical isomer)2.2 ไอโซเมอรเ์ชงิแสง (optical isomer)

    3

    1. ไอโซเมอรเ์ชิงโครงสร้าง (Structural isomer) 1.1 ไอโซเมอรเ์ชิงสายโซ่คารบ์อน (skeleton isomer)• ไอโซเมอรท์ีม่กีารจดัเรยีงตวัของคารบ์อนในโครงสรา้งหลกัต่างกนั • คารบ์อนอะตอมอาจตอ่กนัเป็นเสน้ตรงหรอืเป็นแบบกิง่สาขา• จาํนวนไอโซเมอรจ์ะเพิม่ขึน้เมือ่จาํนวนคารบ์อนเพิม่ขึน้ เชน่

    – C5H12 ม ี3 ไอโซเมอร ์ C6H14 ม ี5 ไอโซเมอร ์– C7H16 ม ี9 ไอโซเมอร ์ C8H18 ม ี18 ไอโซเมอร ์– C9H20 ม ี35 ไอโซเมอร ์ C10H22 ม ี75 ไอโซเมอร์

    • สารทีเ่ป็นไอโซเมอรเ์ชงิโครงสรา้งกนัจะมสีมบตัทิางกายภาพและทางเคมีต่างกนั

    4

  • ไอโซเมอรช์นิดโครงสร้างของ C5H12 และจดุเดือด

    5

    1.2 ไอโซเมอรเ์ชิงตาํแหน่งของหมู่ฟังกช์นั (positional isomer)• ไอโซเมอรท์ีเ่กดิจากหมูฟ่งักช์นันลัมาเกาะกบัอะตอมของคารบ์อนใน

    โครงสรา้งหลกัทีต่าํแหน่งต่างกนั • เชน่ C4H10O ม ีpositional isomer ทีเ่ป็นแอลกอโอล ์2 ไอโซเมอร์

    6

    1.3 ไอโซเมอรเ์ชิงชนิดของหมู่ฟังกช์นั (functional isomer)• ไอโซเมอรท์ีม่หีมูฟ่งักช์นันลัต่างกนั เป็นสารอนิทรยีต์่างชนิดกนัทีม่สีตูรโมเลกุล

    เหมอืนกนัแต่สตูรโครงสรา้งตา่งกนั• ตวัอยา่ง เชน่ แอลกอฮอล ์กบั อเีทอร ์ทีม่สีตูรโมเลกุล C2H6O เป็น functional

    isomer กนั

    • แอลดไีฮด ์กบั คโีตน ทีม่สีตูรโมเลกุล C3H6O เป็น functional isomer กนั

    O

    C CH2H CH3

    O

    C CH3H3C

    propanal propanone

    7

    2. ไอโซเมอรเ์ชิงสเตอริ (Stereo isomer)2.1 ไอโซเมอรเ์ชิงเรขาคณิต (geometrical isomer)• เป็นไอโซเมอรท์ีม่กีารจดัเรยีงของหมูแ่ทนทีใ่นโครงสรา้งทีเ่ป็นวงหรอืในพนัธะคู่

    ต่างกนั• เชน่ ไอโซเมอรแ์บบ ซสิ-ทรานส ์(cis-trans isomer) ซึง่เป็นการพจิารณาวา่ H

    หรอืหมูท่ีเ่หมอืนกนัอยูใ่นระนาบเดยีวกนัหรอืต่างระนาบกนั (ลา่งและบนระนาบของพนัธะคู)่

    C CCH3

    H

    H3C

    HC C

    H

    CH3

    H3C

    H

    cis- 2-butene trans-2-butene

    8

  • 2.2 ไอโซเมอรเ์ชิงแสง (optical isomer)• เป็นไอโซเมอรท์ีม่คีวามไวต่อการบดิระนาบแสงโพลาไรซ ์(polarized light) ทัง้นี้

    เนื่องจากความไมส่มมาตรหรอือสมมาตร (asymmetry) ในโมเลกุล• ถา้ C อะตอมใดต่อกบัอะตอมหรอืหมูอ่ะตอมทีแ่ตกตา่งกนัทัง้ 4 หมู ่เรยีกวา่

    คารบ์อนไครลั (chiral carbon)• ถา้ C อะตอมใดต่อกบัอะตอมหรอืหมูอ่ะตอมทีไ่มแ่ตกตา่งกนัทัง้ 4 หมู ่เรยีกวา่

    คารบ์อนอะไครลั (achiral carbon)

    CH

    Br

    Cl

    H3C

    CH

    Br

    H3C

    H3C

    *

    คารบ์อนไครลั คารบ์อนอะไครลั9

    โมเลกลุอะไครลั (Achiral molecule)• เมือ่ฉายแสงโพลาไรซผ์า่นสารละลายของโมเลกุลอะไครลั ระนาบของแสง

    โพลาไรซ ์(plane of polarized light) จะไมม่กีารเปลีย่นแปลง เพราะวา่โมเลกุลอะไครลัไมไ่ดห้มนุระนาบของแสงโพลาไรซ ์

    • โมเลกุลอะไครลัเป็นสารทีไ่มม่อีนัตรกริยิากบัแสง (optically inactive)

    10

    โมเลกลุไครลั (Chiral molecule)• แต่เมือ่ฉายแสงโพลาไรซผ์า่นสารละลายของโมเลกุลไครลั โมเลกุลเอไครลัจะมี

    การหมนุระนาบของแสงโพลาไรซ ์ซึง่อาจจะหมนุระนาบของแสงตามเขม็นาฬกิาหรอืทวนเขม็นาฬกิา

    • โมเลกุลไครลัเป็นสารทีเ่กดิอนัตรกริยิากบัแสงได ้(optically active)

    11 12

  • 13 14

    Enantiomers are different compounds:Same boiling point, melting point, densitySame refractive indexRotate plane polarized light in opposite directions (polarimetry)Different interaction with other chiral molecules

    Each enantiomer must have a unique name.

    15

    สารประกอบทีม่ ีไครัลคาร์บอน มากกว่า 1 ตาํแหน่ง

    โมเลกลุของสารทีม่ไีครัลมากกว่า 1 ตาํแหน่ง จะม ีจาํนวน สเตอริโอไอโซเมอร์ทีเ่พิม่ขึน้ โดยจาํนวนไอโซเมอร์ทีม่ไีด้มากทีสุ่ดจะเท่ากบั 2n โดย n คอื จาํนวนอะตอมทีเ่ป็นไครัล

    16

  • 17

    •ปฏิกิริยาที่มีการแตกพนัธะแบบโฮโมไลติก เรียกวา่ปฏิกิริยาแบบอนภุาคหรืออนมุลูอิสระ (radical or free-radical reaction)

    C + AC A

    18

    19

    • ปฏิกิริยาที่มีการแตกพนัธะแบบเฮเทอโรไลติก เรียกวา่ ปฏิกริิยาแบบไอออนิก

    (ionic reaction)

    20

  • C + AC A

    C + AC A

    carbanion

    (carbonium ion)carbocation

    heterolytic clevage

    heterolytic clevage

    +

    +

    21

    Intermediate

    หรือ

    C AC + A Homolytic Clevage

    Free radical

    C + A

    C + AHeterolyticClevageCarbonium ion

    or Carbocation

    Carbanion C A

    22

    ทฤษฏีของเบรินสเตดและลาวรีกรด – สารที่ให้ H+ แก่สารอื่น เบส – สารที่รับโปรตอนจากสารอื่น

    คูก่รด-เบสCH3COOH(aq) + H2O CH3COO-(aq) + H3O+(aq) กรด เบส เบส กรด

    คูก่รด-เบส

    กรด และ เบส

    ทฤษฏีของลวิอิสกรด – สารที่รับคูอ่ิเลก็ตรอน เบส - สารที่ให้คูอ่ิเลก็ตรอน

    23 24

  • ปฏกิริยิาระหวา่งกรดเบส มกัดาํเนินไปในทางทีใ่หก้รดออ่นกวา่ หรอืเบสออ่นกวา่ซึง่มกัอยูด่า้นเดยีวกนัของสมการ

    25 26

    กรดคารบ์อกซลิกิ

    ความเป็นกรดของสารอนิทรยี์

    27 28

  • ปจัจยัทีม่ผีลต่อความแรงของกรด

    ผลของ resonance

    29

    ผลของ hybridization

    30

    31

    Inductive effect

    32

  • 33

    ความเป็นเบสของสารอนิทรยี์

    34

    ประเภทของตวัเข้าทาํปฏิกิริยา1. นิวคลีโอไฟล ์(Nucleophile, Nu-) คอื อะตอมหรอืโมเลกุลทีส่ามารถให้

    อเิลก็ตรอนหนึ่งคูเ่พือ่ใชใ้นการสรา้งพนัธะ (เบสลวิอสิ = ชอบบวก อยากให้อเิลก็ตรอน) เชน่ I-, OH-, OR-, CN-, H2O, ROH, NH3

    2. อิเลก็โตรไฟล ์(Electrophile, E+) คอื อะตอมหรอืโมเลกุลทีส่ามารถสรา้งพนัธะใหม ่โดยการรบัอเิลก็ตรอนหนึ่งคู ่(กรดลวิอสิ = ชอบลบ อยากไดอ้เิลก็ตรอน) เชน่ H3O+, BF3, AlCl3, >C=O

    3. เรดิคลัอิสระ (Free Radical) คอื อะตอมหรอืหมูอ่ะตอมทีม่อีเิลก็ตรอนเดีย่ว (CH3)

    35

    substitution by an anionic nucleophile

    R—X + :Nu— R—Nu + :X—

    36

  • All nucleophiles, however, are Lewis bases.

    The nucleophiles described have been anions.

    ..

    ..HO:– ..

    ..CH3O:–..

    ..HS:– –

    CN: : etc.

    Not all nucleophiles are anions. Many are neutral.....HOH CH3OH..

    ..NH3: for example

    Nucleophiles

    37

    ..

    ..HOH CH3OH....

    for example

    Many of the solvents in which nucleophilic substitutions are carried out are themselvesnucleophiles.

    Nucleophiles

    38

    ความสามารถในการเป็นนิวคลีโอไฟลข์ึน้อยู่กบัแนวโน้มในการให้อิเลคตรอน

    ในแถวเดียวกนัในตารางธาต ุธาตทุี่มีค่า EN สงูจะมีแนงโน้มการเป็นนิวคลีโอไฟลท์ี่น้อยกว่าเช่นเดียวกบัความเป็นเบส

    อะตอมชนิดเดียวกนัที่มีความหนาแน่นของอิเลคตรอนมากกว่าเป็น นิวคลีโอไฟลท์ี่ดีกว่า

    ในหมู่เดียวกนัของตารางธาต ุความเป็นนิวคลีโอไฟลเ์พิ่มตาม polarization ซึ่งเพิ่มตามขนาดของอะตอม

    39

    •Rank Nucleophile Relativerate

    •strong I-, HS-, RS- >105

    •good Br-, HO-, 104

    • RO-, CN-, •fair NH3, Cl-, F-, - 103

    •weak H2O, ROH 1•very weak RCO2H 10-2

    Nucleophilicity

    40

  • ความแตกต่างระหวา่ง เบส และ นิวคลโีอไฟล์

    41