12
รายงานผลการดาเนินงาน โครงการบริการวิชาการ ประจาปี 2555 โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ตาบลท่าสาป อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีการศึกษา 2555

รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

รายงานผลการด าเนินงาน โครงการบริการวิชาการ ประจ าปี 2555

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย ์

ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ปีการศึกษา 2555

Page 2: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 2

รายงานผลการด าเนินงาน โครงการบริการวิชาการ ประจ าปี พ.ศ. 2555

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จงัหวัดยะลา

จัดท าโดย

ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย ์

ได้รับงบประมาณสนับสนุนการจัดท าโครงการบริการวิชาการจาก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ปีการศึกษา 2555

Page 3: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 3

บทสรุปผู้บริหาร

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา เป็นส่วนหนึ่งของ

โครงการบริการวิชาการหนึ่งคณะหนึ่งพื้นที่ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยบูรณา

การวิชาการกับการเรียนการสอนในวิชาการบริหารจัดการชั้นเรียน และได้บูรณาการวิชาการกับการ

วิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบห้องสมุดมีชีวิต ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยมี

กลุ่มเป้าหมาย คือ บรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า จ านวน 7 คน ได้แก่ บรรณารักษ์

ห้องสมุดโรงเรียนบ้านท่าสาป โรงเรียนบ้านจือนือแร โรงเรียนบ้านบุดี โรงเรียนบ้านรั้วตะวัน โรงเรียน

บ้านบูเกะคละ โรงเรียนบ้านสาคอ และโรงเรียนบ้านลิมุด และนักเรียนช่วยงานห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน

ร่มเกล้า จ านวน 14 คน มีการด าเนินการ เป็น 3 ระยะ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ

รูปแบบการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต ระหว่างวันที่ 18-19 มิถุนายน 2555 ณ ห้องประชุมโรงเรียน

บ้านท่าสาป และในวันที่ 19 มิถุนายน 2555 และน าผู้เข้ารับการอบรมไปศึกษาดูงาน ณ ศูนย์บรรณ

สารสนเทศ ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (2) การติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรม

ห้องสมุดมีชีวิตกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า ทั้ง 7 แห่ง ระหว่างวันที่ 18-30 กรกฎาคม 2555 และ (3) การ

จัดนิทรรศการวิชาการห้องสมุดมีชีวิต ในวันที่ 7 กันยายน 2555 ณ บริเวณห้องประชุม ชั้น 3 อาคาร

เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา

ด าเนินการภายใต้ยุทธศาสตร ์: การพัฒนาท้องถิ่น

กลยุทธ์ : พัฒนาเครือข่ายการวิจัย บริการวิชาการและท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมการใช้

ประโยชน์ฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนา และตามพันธกิจพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรเพ่ือเป็นแหล่ง

พ่ึงพิงทางวิชาการ และสร้างความปรองดองและความสมานฉันท์ของคนในพื้นที่

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพ่ือพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้มีชีวิต

2. เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการให้บริการห้องสมุดมีชีวิต

Page 4: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 4

3. เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า

4. เพ่ือพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยอินเทอร์เน็ตและน าความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิด

ประโยชน์ในการเรียนการสอนและการด ารงชีวิตในปัจจุบัน

วิธีด าเนินการ

1. ศึกษาความข้อมูลเบื้องต้นและเข้าไปส ารวจสภาพบริบทเกี่ยวกับการด าเนินการห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า เพ่ือวางแผนในการด าเนินกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องกา รของกลุ่มเป้าหมาย ด าเนินงานตามนโยบายและพันธกิจของมหาวิทยาลัย สามารถตอบตัวชี้วัดด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของ สมศ. สกอ. และมรย. ได้ชัดเจน

2. ก าหนดกิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพ่ือปรับความรู้และสร้างความรู้ใหม่น าไปสู่การพัฒนาห้องสมุดให้มีชีวิตตามความต้องการของบรรณารักษ์ห้องสมุดและนักเรียนช่วยงานห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า 3. จัดท าเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมสื่อ และอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้อง 4. ประสานวิทยากรด้านบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มี 2 ท่าน คือ อาจารย์ นูรีดา จะปะกยีา และ ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ 5. ประสานสถานที่อบรม คือ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านท่าสาป ศูนย์บรรณสารสนเทศ ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 6. แจ้งก าหนดการอบรมให้บรรณารักษ์ห้องสมุดและนักเรียนช่วยงานห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า เพ่ือเข้ารับการอบรม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ บรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า จ านวน 7 คน ได้แก่ บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนบ้านท่าสาป โรงเรียนบ้านจือนือแร โรงเรียนบ้านบุดี โรงเรียนบ้านรั้วตะวัน โรงเรียนบ้านบูเกะคละ โรงเรียนบ้านสาคอ และโรงเรียนบ้านลิมุด และนักเรียนช่วยงานห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า จ านวน 14 คน 7. ด าเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การรูปแบบการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต ระหว่างวันที่ 18-19 มิถุนายน 2555 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านท่าสาป และในวันที่ 19 มิถุนายน 2555 น าผู้เข้ารับการอบรมไปศึกษาดูงาน ณ ศูนย์บรรณสารสนเทศ ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 8. ประเมินความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการ 9. ติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิตกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า ทั้ง 7 แห่ง ระหว่างวันที่ 18-30 กรกฎาคม 2555 10.จัดนิทรรศการวิชาการห้องสมุดมีชีวิต ในวันที่ 7 กันยายน 2555 ณ บริเวณห้องประชุม ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา

Page 5: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 5

โดยจัดในโครงการหนึ่งคณะหนึ่งพ้ืนที่คณะครุศาสตร์ มีกิจกรรมประกวดห้องสมุดมีชีวิต และแข่งขันการคัดลายมือ 11.ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าชมนิทรรศการห้องสมุดมีชีวิต 11.สรุปผลการด าเนินโครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตฯ

ผลการด าเนินงาน

1. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการรูปแบบการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต : จัดอบรมบรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า จ านวน 7 คน ได้แก่ บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนบ้าน ท่าสาป โรงเรียนบ้านจือนือแร โรงเรียนบ้านบุดี โรงเรียนบ้านรั้วตะวัน โรงเรียนบ้านบูเกะคละ โรงเรียนบ้านสาคอ และโรงเรียนบ้านลิมุด และนักเรียนช่วยงานห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า จ านวน 14 คน ระหว่างวันที่ 18-19 มิถุนายน 2555 ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านท่าสาป ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การอบรมให้ความรู้ การจัดเวทีระดมสมอง สนทนากลุ่มย่อย และการศึกษาดูงานการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ตและรูปแบบการให้บริการห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ณ ศูนย์บรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วันที่ 20 มิถุนายน 2555 ผลการประเมินความ พึงพอใจการเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ อยู่ในระดับมากทุกด้าน คิดเป็นร้อยละ 89.20 โดยเรียงล าดับได้ดังนี้ คือ ด้านคุณภาพการให้ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 92.80 รองลงมา ได้แก่ ด้าน สิ่งอ านวยความสะดวก คิดเป็นร้อยละ 89.60 และด้านวิทยากรผู้ให้ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 88.40 ตามล าดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านกระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 86.20

2. การติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต : ผลการติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิตกลุ่มโรงเรียนร่มเกล้า ทั้ง 7 แห่ง ระหว่างวันที่ 7-30 กรกฎาคม 2555 ห้องสมุดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินห้องสมุดมีชีวิต ระดับดีมาก มี 2 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนบ้านท่าสาป และห้องสมุดโรงเรียนบ้านจือนือแร ส่วนห้องสมุดที่ผ่านเกณฑ์การประเมินห้องสมุดมีชีวิต ระดับดี มี 5 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนบ้านบุดี ห้องสมุดโรงเรียนบ้านรั้วตะวัน ห้องสมุดโรงเรียนบ้านบูเกะคละ ห้องสมุดโรงเรียนบ้านสาคอ และห้องสมุดโรงเรียนบ้านลิมุด

3. จัดนิทรรศการวิชาการห้องสมุดมีชีวิต: การจัดนิทรรศการห้องสมุดมีชีวิต วันที่ 7 กันยายน 2555 ณ บริเวณห้องประชุม ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จังหวัดยะลา ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การจัดนิทรรศการห้องสมุด ประกาศ ผลประกวดห้องสมุดมีชีวิต และการแข่งขันคัดลายมือภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษามลายูกลาง

Page 6: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 6

4. การส ารวจความพึงพอใจของผู้เข้ารับร่วมนิทรรศการโครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา โดยการใช้แบบสอบถาม เก็บจากผู้เข้าชมนิทรรศการห้องสมุดมีชีวิต จ านวน 153 คน ประกอบด้วย บรรณารักษ์ห้องสมุด 7 คน ครูผู้สอน 24 คน ผู้บริหาร 4 คน นักเรียนช่วยงานห้องสมุด 19 คน นักเรียน 85 คน และบุคคลทั่วไป 14 คน ซึ่งมีผลการส ารวจความพึงพอใจในการจัดนิทรรศการ พบว่า ผู้เข้าชมนิทรรศการที่ตอบแบบสอบถาม มีระดับความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 87.00 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดในด้านคุณภาพความรู้ คิดเป็นร้อยละ 88.80 ส่วนอีกสามด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงล าดับได้ดังนี้ คือ ด้านความรู้ความเข้าใจ คิดเป็นร้อยละ 86.80 รองลงมา ได้แก่ ด้านสถานที่และสิ่งอ านวยความสะดวก คิดเป็นร้อยละ 86.60 และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ ด้านกระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 85.80

5. ผลกระทบที่ได้รับจากการจัดโครงการ คือ นักเรียนกล้าแสดงออกและเกิดความเชื่อมั่นในตนเองในการเข้าร่วมกิจกรรมของห้องสมุดและกิจกรรมอ่ืนๆ บรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน ร่มเกล้าสร้างเครือข่ายการพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้มีชีวิตกับศูนย์บรรณสารสนเทศ ส านักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และผู้บริหารสถานศึกษาให้ความส าคัญของการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต ด้วยการสนับสนุนอย่างเต็มที่ทั้งด้านงบประมาณและด้านอ่ืนๆเพ่ือพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้มีชีวิต

ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์ 15 พฤศจิกายน 2555

Page 7: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 7

รายงานผลการด าเนินงาน โครงการบริการวิชาการประจ าปี พ.ศ. 2555

ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

ยุทธศาสตร ์ : การพัฒนาการศึกษาทุกระดับท้ังในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตลอดชีวิต

สังคมและวัฒนธรรม

กลยุทธ์ : พัฒนาเครือข่ายการวิจัย บริการ วิชาการและท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม

พัฒนาศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นเพื่อใช้ประโยชน์ในการด าเนินงานตามพันธกิจ พัฒนาขีดความสามารถขององค์กรเพ่ือเป็นแหล่งพึ่งพิงทางวิชาการ

ผลผลิต : ผลงานการให้บริการวิชาการ

ตอบตัวชี้วัด

สกอ.: ตัวบ่งชี้ท่ี 5.1 ระบบและกลไกการบริการวิชาการแก่สังคม เกณฑ์มาตรฐาน : มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการ สอนใน กลุ่มสาระ วิชาต่างๆ ของสถานศึกษา (ข้อ1, ข้อ2, ข้อ3)

ตัวบ่งชี้ท่ี 5.2 กระบวนการบริการวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกณฑ์มาตรฐาน : มีการน าผลการประเมิน ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการ

ให้บริการทางวิชาการของห้องสมุด (ข้อ1, ข้อ2, ข้อ3, ข้อ4)

สมศ.: ตัวบ่งชี้ท่ี 8 ผลการน าความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย

ตัวบ่งชี้ท่ี 9 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ประเด็นการพิจารณา : มีผลกระทบที่เกิดประโยชนส์ร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/สถานศึกษา

มีความเข้มแข็งด้านวิชาการ จากการใช้ห้องสมุดอย่างคุ้มค่า

Page 8: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 8

มรย.: เครือข่ายมีชีวิต ตัวช้ีวัด : มีการจัดประชุม/สัมมนาวิชาการร่วมกับเครือข่ายระดับท้องถิ่น

การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล ตัวช้ีวัด : มีการน าข้อมูลจากฐานข้อมูลงานวิจัย บริการวิชาการ และหรือท านุบ ารุง ศิลปวัฒนธรรม

ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม แหล่งพึ่งพิงทางวิชาการ

ตัวช้ีวัด : ผู้รับบริการวิชาการ หรือผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจร้อยละ 80

ผู้รับผิดชอบโครงการ (ดร.เนาวรัตน์ ตรีไพบูลย์)

ผู้ตรวจสอบโครงการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกสรี ลัดเลีย)

คณบดีคณะครุศาสตร์

ผู้ตรวจสอบโครงการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมภพ เภาทอง)

รองผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต้ รับผิดชอบพันธกิจด้านการบริการวิชาการ

Page 9: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 9

สารบัญ

เร่ือง หน้า บทสรุปส าหรับผู้บริหาร ..................................................................... ............................... ก

ค าน า ..................................................................................... .................................... จ

สารบัญ ..................................................................................... .................................... ฉ

สารบัญตาราง ..................................................................................... .............................. ฌ

บทที่ 1 บทน า ........................................................................ ..................................... 1

ความเป็นมาและความส าคัญ .......................................................................... 1

วัตถุประสงค์ของโครงการ ............................................................................... 2

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ......................................................................... 2

เป้าหมาย .............................................................. ........................................... 3

ผลส าเร็จ .................................................................. ........................................ 3

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง .......................................................................................... 4

ห้องสมุดโรงเรียน.................................................................. ............................ 4

บทบาทของบุคคลส าคัญที่เก่ียวข้องกับห้องสมุด ............................................. 9

มาตรฐานขั้นต่ าห้องสมุดในโรงเรียน ................................................................ 11

ห้องสมุดมีชีวิต ................................................................................................. 17

การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้เป็นฐาน ....................................... 22

บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน ............................................................................................ 26

วัตถุประสงค์....................................................................................................... 26

กลุ่มเป้าหมาย..................................................................................................... 26

เครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินงาน ......................................................................... 27

การเก็บรวบรวมข้อมูล ......................................................................................... 29

การิเคราะห์ข้อมูล ................................................................................................ 30

Page 10: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 10

สารบัญ(ต่อ)

เร่ือง หน้า บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน ............................................................................................. 31

วัตถุประสงค์........................................................................................................ 31

กลุ่มเป้าหมาย...................................................................................................... 31

ผลการด าเนินงาน ............................................................................................... 32

1. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการรูปแบบการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต ........... 32

2. การติดตามและประเมินผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต ...................... 41

3. การจัดนิทรรศการวิชาการห้องสมุดมีชีวิต ................................................. 41

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ................................. 46

วัตถุประสงค์................................................................................................... ..... 46 สรุปผล ......................................................................................... ...................... 46

1. การพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้มีชีวิต .......................................... 46 2. การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการให้บริการห้องสมุดมีชีวิต .............. 47 3. การกระตุ้นให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่านและการศึกษาค้นคว้า .................. 50 4. การพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยอินเทอร์เน็ตและน าความรู้ที่ได้

ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนการสอนและการด ารงชีวิตในปัจจุบัน

51

5. การบูรณาการงานบริการวิชาการแก่ชุมชนกับการจัดการเรียนการสอน และงานวิจัย......................................................................................... ....

51

6. ผลการศึกษาความพึงพอใจการให้บริการ ................................................ 53 7. ผลกระทบจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของห้องสมุดมีชีวิต ........... 54 อภิปรายผล ........................................................................................................... 56 ปัญหาอุปสรรค ...................................................................................................... 57 ข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ............................................................................ 58

บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 59

Page 11: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 11

สารบัญ(ต่อ)

เร่ือง หน้า ภาคผนวก 60

ภาคผนวก ก โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตฯ.................................................. ภาคผนวก ข ค าสั่ง............................................................................................

ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ.................................... ภาคผนวก ง แบบประเมินความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการ................... ภาคผนวก จ แบบประเมินความพึงพอใจนิทรรศการ....................................... ภาคผนวก ฉ ภาพประกอบการจัดกิจกรรม......................................................

ภาคผนวก ช เกียรติบัตรกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต.............................................. ผู้จัดท า ..........................................................................................................................

Page 12: รายงานผลการด าเนินงานedu.yru.ac.th/depfoundation/images/stories/files... · 2015-05-20 · รายงานผลการด าเนินงาน

โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวีิต ต าบลท่าสาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา

หน้า 12

สารบัญตาราง

ตาราง หน้า

1 สภาพปัญหา ความต้องการ และแนวทางแก้ไขห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต ….. 34

2 สถานะและเพศของผู้เข้ารับการอบรม …………………………………………………………... 37

3 ระดับความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการรูปแบบการจัดกิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต 38

4 ความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการ จ าแนกตามด้านกระบวนการ ………………… 38

5 ความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการ จ าแนกตามด้านวิทยากรผู้ให้ความรู้ ………. 39

6 ความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการ จ าแนกตามด้านสิ่งอ านวยความสะดวก ….. 40

7 ความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบัติการ จ าแนกตามด้านคุณภาพการให้ความรู้ ……. 40

8 สถานะและเพศของผู้เข้าชมนิทรรศการ ………………………………………………………… 42

9 ระดับความพึงพอใจนิทรรศการห้องสมุดมีชีวิต ……………………………………………… 43

10 ความพึงพอใจนิทรรศการห้องสมุด จ าแนกตามด้านกระบวนการ ……………………… 43

11 ความพึงพอใจนิทรรศการ จ าแนกตามด้านความรู้ความเข้าใจ ………………………….. 44

12 ความพึงพอใจนิทรรศการ จ าแนกตามด้านด้านสถานที่และสิ่งอ านวยความสะดวก 44

13 ความพึงพอใจนิทรรศการ จ าแนกตามด้านคุณภาพความรู้ ……………………………… 45