9
การเพาะพันธุปูทะเล Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng นางสิริวรรณ หนูเซง นักวิชาการประมง ระดับชํานาญการ งานเพาะพันธุปู ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี

การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

การเพาะพันธุปูทะเล

Siriwan Nooseng

Siriwan Nooseng

นางสิริวรรณ หนูเซง นักวิชาการประมง ระดับชํานาญการ

งานเพาะพันธุปู ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี

Page 2: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

Siriwan Nooseng

ระยะตางๆ ของลูกปูทะเลวัยออน

1. ระยะซูเอีย้ (Zoea) มี 5 ระยะยอย คือ ซูเอี้ย 1 – ซูเอี้ย 5 มีการลอกคราบ 5 คร้ัง 2. ระยะเมกาโลปา (Megalopa) มี 1 ระยะ มีการลอกคราบ 1 คร้ัง 3. ระยะเหมือนตัวเต็มวยั (Young crab)

วงจรชีวิตปูทะเล

adultBerried female

Young crab

megalopa

zoea(five stages)

Siriwan Nooseng

Page 3: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

การผลิตแมพนัธุปูทะเลไขแกใหมีไขนอกกระดอง

การรวบรวมแมพันธุปูทะเลไขแก การรวบรวมแมพันธุจะรวบรวมจากแพรับซื้อพันธุปู ซ่ึงแพรับซื้อปูจะรวบรวมพนัธุปูมาจากทะเลและจากเกษตรกรที่เล้ียงในบอธรรมชาติ ซ่ึงมีน้ําหนกัตั้งแต 300 กรัม ขนาดความกวางกระดองตั้งแต 10 เซนติเมตรขึ้นไป แมพันธุปทูี่รวบรวมมาจะเปนแมพันธุปูที่ไดรับการผสมน้ําเชื้อจากตัวผูแลว และมีไขแกในกระดอง ระยะที่ 3, 4

Siriwan Nooseng

แมพันธุปูทะเลไขแก ไขในกระดอง การขุนเลี้ยงแมพันธุปูทะเลใหมีไขนอกกระดองในบอซีเมนต

นําแมปูไขแกในกระดองที่มคีวามสมบูรณแข็งแรง ปลอยเล้ียงในบอซีเมนตขนาดพื้นที ่ 10 ตารางเมตร ในอัตรา 1 ตัวตอตารางเมตร ใสน้ําทะเลความเค็ม 30-35 ppt ระดับน้ําลึก 30 เซนติเมตร ในบอปูพื้นทราย 3 ใน 4 สวนของพืน้บอ ใหหอยแครง (20-30%ของน้ําหนกัตัวป)ู หรือปลาหลังเขียว (7-10%ของน้ําหนกัตัวป)ู เปนอาหารวนัละมื้อในตอนเย็น ใชระบบปดในการเลี้ยง โดยการหมุนเวยีนน้ําตลอดและน้ําที่ใชแลวจะหมนุเวยีนโดยใชระบบยกน้ํา (air lift) ไปบําบัดในบอบําบดัน้ํา โดยน้ําจากบอเล้ียงจะผานการกรองดวยช้ันใยกรอง ทราย ซากเปลือกหอยและปะการัง ถาน และหนิเกล็ด และมีลูกบอลดักจับแบคทีเรีย(bio ball) จากนั้นผานระบบ protein skimmer และบําบัดดวยสาหรายผมนางและสาหรายขนนก กอนนําน้ําไปหมุนเวียนใชโดยใชระบบยกน้ําขามบอ(air lift) ใชเวลาขนุเลี้ยงนาน 3 สัปดาห - 3 เดือน แมปูก็จะมีไขนอกกระดอง

Page 4: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

บอซิเมนตขุนเลี้ยงแมพันธุปูทะเล ระบบบําบัดน้ํา

การฟกไขปูทะเล

เมื่อแมปูปลอยไขออกนอกกระดอง ทําการแยกแมปูมาฟกในถังขนาด 150 ลิตร ใชน้ําทะเลทีผ่านการฆาเชื้อดวยคลอรีน ความเค็มน้ําทะเล 30 ppt ใหอากาศแบบหวัทรายตลอดเวลา ใน 1-3 วันแรก ทําการฆาเชื้อโรคที่อาจติดมากับแมปแูละไขปู ดวย formalin ความเขมขน 50 ppm โดยเปลีย่นถายน้ําทกุวนั หลังจากวันที่ 4 - 12 จะทําการดดูตะกอนและไขเสียที่แมปูเขีย่ทิ้ง จะถายน้ําในกรณีที่สภาพน้าํไมด ีใชเวลาบมฟกไข 9 - 12 วัน ไขจะฟกออกเปนลูกปูวยัออนระยะซูเอีย้ โดยแมปูทะเลที่มนี้ําหนกัตั้งแต 300 กรัมขึ้นไป จะฟกเปนตัวออน ประมาณ 500,000 – 5,000,000 ตัว/แม (ขึ้นอยูกับความสมบูรณ ของไขและแมพนัธุป)ู

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

แมปูทะเลไขนอกกระดอง ถังใสแมปูที่มีไขนอกกระดอง

การอนุบาลลูกปูทะเลวัยออน

คุณสมบัตนิ้ําท่ีใชอนุบาล ความเค็มของน้ํา 25 – 32 ppt อุณหภูม ิ28 – 32 องศาเซลเซียส pH 6.5 – 8.5 น้ําทะเลฆาเชือ้ดวยคลอรีนในอัตราความเขมขน 30 ppm (30 กรัม/น้ํา 1ตัน)

Page 5: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

การเตรียมอาหารสําหรับใชในการอนุบาล การเตรียมแพลงคตอนพืช(น้ําเขียว)

แพลงคตอนพชื ที่ใชมีอยู 2 ชนิด คือ Chlorella sp. และ Tetraselmis sp. นําหวัเชื้อน้ําเขียวจากหองปฏิบัติการมาขยายในถังไฟเบอรขนาด 500 ลิตร และขยายตอในบอซิเมนต ขนาด 20 ตัน ทีผ่านการลางทําความสะอาดและฆาเชื้อดวยคลอรีนแลว ใชน้ําทะเลทีฆ่าเชื้อแลวความเค็ม 15 – 20 ppt ใสปุยยูเรีย(46-0-0) 15 กรัม ปุยนา(16-20-0) 15 กรัม ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต(21-0-0) 100 กรัม ตอน้ํา 1 ตัน ใหอากาศแบบหวัทราย และมีแสงสองถึง ประมาณ 3-5 วนั แพลงคตอนจะขยายเพิ่มจํานวนจนสีน้าํเปนสีเขียว เตรียมไวเพื่อเปนอาหารของโรติเฟอรและเติมในบออนบุาลลูกปูเพื่อควบคุมสีน้ํา

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

แพลงคตอนพืช ถังเพาะแพลงคตอนพืช ขนาด 500 ลิตร การเตรียมโรตเิฟอร

บอซิเมนตขนาด 20 ตัน ซ่ึงผานการทําความสะอาด และฆาเชื้อดวยคลอรีนแลว สูบน้ําเขียวที่เตรยีมไวใสในบอ นําหัวเชื้อโรติเฟอรมาใส โรติเฟอรเปนแพลงคตอนสัตวซ่ึงกินน้ําเขียวหรือแพลงคตอนพืชเปนอาหาร ทําการเติมน้ําเขียวเมือ่สีน้ําเขียวจางลงหรือทุกครั้งหลังเก็บเกีย่วโรติเฟอร การเก็บเกีย่วโรติเฟอรไปใช กรองดวยถุงกรองที่มีขนาดตาผากรอง 60 ไมครอน การเตรียมไรน้ําเค็ม(อารทีเมีย) อารทีเมียเตรียมไดจากไขอารทีเมียโดยฟกไขอารทีเมียในถังกรวยขนาด 1 ตัน ใชน้ําทะเลความเค็ม 25-30 ppt อัตราไขอารทีเมีย 1 – 2 กรัม/น้ํา 1 ลิตร ใหอากาศอยางแรง ใชเวลา 18 - 24 ช่ัวโมง ไขอารทีเมียจะฟกเปนตวัทําการกรองเกบ็ตัวออนอารทีเมียโดยหยดุใหอากาศ ทิ้งไว 15 – 20 นาที เปลือกไขอารทีเมียจะลอยอยูผิวน้ํา ทําการแยกเอาเฉพาะตวัออนอารทีเมียไวใชอนุบาลลูกปู โดยข้ึนอยูกับขนาดและระยะของลูกปู ถาเปนลูกปูเล็กระยะซูเอี้ย 1, 2 กใ็ชเวลาในการฟกประมาณ 18 – 20 ช่ัวโมง กอนนําไปใชเปนอาหารลูกปูวยัออน ใสฟอรมาลิน 50 – 100 ppm (50 – 100 ซีซี/น้ํา 1 ตัน) เพื่อฆาเชื้อโรคที่อาจติดมากับตวัออนอารทีเมีย

Page 6: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

อารทีเมีย ถังฟกอารทีเมีย การปลอยลูกปทูะเลวัยออนระยะซูเอ้ียลงอนุบาล อนุบาลลูกปูในบอซีเมนต ขนาดตั้งแต 3 ตัน ปลอยลูกปูวัยออนระยะซูเอี้ยในอัตราความหนาแนน 50,000 – 100,000 ตัว/น้ํา 1 ตัน ใหอากาศแบบหวัทรายใหทั่วถึงทั้งบอ

Siriwan Nooseng

บออนุบาลลูกปูทะเลวยัออน

การอนุบาล อาหารและการจัดการดานตางๆ

ลูกปูทะเลวัยออนระยะ Zoea ใชน้ําทะเลที่ผานการฆาเชื้อดวยคลอรีน ความเค็มน้ํา 28 - 32 ppt เติมแพลงคตอนพืช (Chlorella sp.,

Tetraselmis sp.) ที่เตรยีมไวในบออนุบาลเพื่อเปนตัวควบคุมความโปรงใสของน้ํา ในวันที่ 1-4 ของการอนุบาลใหโรติเฟอร และวนัที่ 3 - ลูกปูวยัออนระยะZoea 5 ใหอารทีเมีย เปนอาหารโดยทําการดดูตะกอนกนบอคร้ังแรก เมื่อลูกปูอายุได 4 วัน จากนัน้จะเปลีย่นถายน้ํา 1 วัน เวน 2 วัน ประมาณ 20% สลับกับการดูด

Page 7: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

ตะกอน ลูกปวูยัออนระยะ Zoea จะพัฒนาโดยการลอกคราบเขาสูระยะ Megalopa ใชเวลาประมาณ 14 – 18 วัน ลูกปูทะเลวัยออนระยะ Megalopa

ใชน้ําทะเลฆาเชื้อความเค็ม 23 – 25 ppt ใสวัสดุสําหรับใหลูกปูเกาะและหลบซอนตัว เชน กิ่งสนทะเล, อวน ฯลฯ ใหอาหารทั้งมีชีวิต เชน อารทีเมียตัวเตม็วัย และอาหารไมมีชีวิต เชน อารทีเมียตวัเต็มวัยแชแข็ง, ปลาสดบด, เนื้อหอยสับ ทําการดูดตะกอนและเศษอาหารเหลือทุกวันเนื่องจากใหอาหารสด ระยะนี้ใชเวลาประมาณ 7 - 9 วัน ก็จะพัฒนาเขาสูระยะ Young crab ลูกปูทะเลวัยออนระยะ Young crab

เมื่อลูกปูทะเลที่อนุบาลในบอซีเมนตมีขนาดประมาณ 0.5 - 1 เซนติเมตร จะจําหนายใหกับเกษตรกรหรือนําไปเลี้ยงตอในบอดิน ดวยอัตรา 2 – 3 ตัว/ตร.ม. ใหปลาสดสับเปนอาหาร (7–10% ของน้ําหนักตวัป)ู ใชเวลาประมาณ 2 เดือน จะไดลูกปูขนาด 5 – 6 เซนติเมตร

Siriwan Nooseng

โรติเฟอร อารทีเมีย

อาหารสําหรับอนุบาลลูกปูทะเลวยัออนระยะ Zoea

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

ปลาหลังเขียวบด อารทีเมียตัวเต็มวยั อาหารสําหรับอนุบาลลูกปูทะเลวยัออนระยะ Megalopa

Page 8: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

ปลาหลังเขียว อาหารสําหรับอนุบาลลูกปูทะเลวยัออนระยะ Young crab

Siriwan Nooseng Siriwan Nooseng

ลูกพันธุปูทะเลขนาด 0.5 - 1 ซม. ที่จําหนายใหกับเกษตรกร

ประสบความสําเร็จในการฟกไขปูทะเลโดยวิธีการหักจับปง

เนื่องจากในการขุนเลี้ยงแมพนัธุปูทะเลใหมีไขนอกกระดอง เมื่อแมพนัธุปูทะเลออกไขนอกกระดองแลวจะทําการยายแมพันธุปทูะเลจากบอเล้ียงมาใสไวในถังพลาสติก ขนาด 150 ลิตร โดยใชน้ําทะเล ความเค็ม 30-35 ppt ซ่ึงน้ําผานการฆาเชื้อดวยคลอรีน 30 ppm เรียบรอยแลว หลังจากนัน้ไขปูทะเลจะพัฒนาจากสีเหลือง-สม-น้ําตาล-ดํา ใชเวลา 9-12 วัน ไขจะฟกเปนตวัออนระยะซเูอี้ย แตในบางครั้งอาจจะประสบปญหาแมพันธุปูทะเลไขนอกกระดองตายในถังกอนที่ไขจะฟกออกมาเปนซเูอี้ย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ความออนแอของแมพันธุปู, อุณหภูมิน้ําต่ํา(ในบางฤดกูาล) หรือจากหลายๆ สาเหตุ ที่ตองมีการทําการศึกษาตอไป ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี ไดพยายามนาํแมพนัธุปูทะเลไขนอกกระดองที่ตายมาหักเอาเฉพาะจับปง มากระจายไขและฟกตอเพื่อใหไดลูกปูทะเลวัยออนระยะซเูอี้ย และประสบผลสําเร็จ ขณะนี้มีอัตราการฟกเปนตัวออนระยะซูเอี้ยประมาณ 30 - 80 เปอรเซ็นต

Page 9: การเพาะพัุ ปนธูทะเล...ความเค มของน า 25 – 32 ppt อ ณหภ ม 28 – 32 องศาเซลเซ pH 6.5 – 8.5

ฟกไขจากจับปงไขนอกกระดองใหเปนลูกปูทะเลวยัออนระยะซูเอี้ย แบบมหมวล

Siriwan Nooseng

งานทดลอง การฟกไขปูทะเล Scylla paramamosian Estampador, 1949 จากจับปงทีห่กัจากแมปูไขนอกกระดอง