74
ความสมบูรณทางใจอันเปนที่มาแหงความสุข โดย นางสาวลําพู กันเสนาะ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณฑ 2553 - · PDF fileMENTAL PERFECTION BRINGS US TRUE HAPPINESS By Lampu Kansanoh A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF

  • Upload
    vudang

  • View
    215

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

ความสมบูรณทางใจอันเปนท่ีมาแหงความสุข

โดย นางสาวลําพู กันเสนาะ

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ความสมบูรณทางใจอันเปนท่ีมาแหงความสุข

โดย นางสาวลําพู กันเสนาะ

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม ภาควิชาจิตรกรรม

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553

ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

MENTAL PERFECTION BRINGS US TRUE HAPPINESS

By Lampu Kansanoh

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF FINE ARTS

Department of Painting Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2010

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนมัุติใหวิทยานพินธเร่ือง “ ความสมบูรณทางใจอันเปนท่ีมาแหงความสุข ” เสนอโดย นางสาวลําพู กันเสนาะ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม

……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันท่ี..........เดอืน.................... พ.ศ...........

อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ ศาสตราจารยอิทธิพล ตั้งโฉลก คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยไพโรจน วังบอน) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยพิชิต ตัง้เจริญ) (ผูชวยศาสตราจารยนาวิน เบียดกลาง) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยทรงไชย บัวชุม) (ศาสตราจารยอิทธิพล ตั้งโฉลก) ............/......................../.............. ............/......................../..............

50001207 : สาขาวิชาจิตรกรรม คําสําคัญ : ความสุข/ยืด ยอ หด ขยาย/ชนช้ันรากหญา/การตูนลอเลียน ลําพู กันเสนาะ : ความสมบูรณทางใจอันเปนท่ีมาแหงความสุข. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานพินธ : ศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก. 63 หนา.

คําตอบของความสุข ไมไดข้ึนอยูท่ีเรามีอะไร มากนอยแคไหน แตอยูท่ีเราพอใจกับส่ิงท่ีเปน และส่ิงท่ีไดรับเพียงใด หลายคนเลือกท่ีจะหลีกเล่ียงความทุกข ไมกลายอมรับและเผชิญหนา แตตอใหหลีกไปที่ใด หรือไกลแคไหนก็ไมอาจหนีความทุกขไปได เพราะความทุกขอยูกับเราทุกท่ีทุกเวลา เพียงแตเราพอใจ เขาใจยอมรับในสภาพที่ปฎิเสธไมได เราจะพบวาความสุขท่ีแทจริงก็สามารถอยูกับเราทุกท่ีไดเชนกัน ภาควิชาจติรกรรม บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 ลายมือช่ือนักศึกษา........................................ ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ ........................................

50001207 : MAJOR : PAINTING KEY WORD : CARICATURE/ EXAGGERATE / GRASS ROOTS / HAPPINESS LAMPU KANSANOH : MENTAL PERFECTION BRINGS US TRUE HAPPINESS. THESIS ADVISOR : PROF.ITHIPOL THANGCHALOK An answer of happiness does not always depend on what we have and how much we own. It depends on how much we have satisfaction of what we are being and what we have got. Many people prefer avoiding sufferings. They fear to accept and face it. However, no matter where or how far you get away, you cannot run away from sufferings. It is inside us all the times. If we understand and recognize the undeniable circumstance, we will reach true happiness that is able to be with us finally. Department of Painting Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010 Student's signature ........................................ Thesis Advisors' signature...........................................

  ฉ

กิตติกรรมประกาศ  ขาพเจาขอนอมรําลึกถึงผูมีพระคุณอันประเสริฐยิ่ง อันไดแก บิดา มารดา ของขาพเจาท่ีเล้ียงดูและคอยสนับสนุนใหขาพเจาไดใชชีวิตในเสนทางศิลปะ อาจารยวิทยาลัยชางศิลปลาดกระบังทุกทาน คณาจารยคณะจิตกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยภาควิชาจิตรกรรม ศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก ผศ.นาวิน เบียดกลาง อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารยทรงไชย บัวชุม มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ท่ีไดมอบทุนสรางสรรควิทยานิพนธ ดร.ชุมพล พรประภา ท่ีไดใหโอกาสในการศึกษาดูงานศิลปะมากมายในตางประเทศ ขอขอบคุณ คุณ ชฎิล ชัยกูล ผูเปนท่ีรักและแรงบันดาลใจ บุคคลผูเปนตนแบบท่ีปรากฏในผลงานศิลปะของขาพเจาทุกช้ิน เพื่อนรุน59 รวมถึง รุนพี่รุนนองในคณะจิตกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร และทายท่ีสุดขอขอบคุณศิลปะท่ีทําใหขาพเจามีสุนทรียภาพทางใจ

สารบัญ หนา 

บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ฉ สารบัญภาพ .............................................................................................................................. ฌ บทท่ี  1 บทนํา............................................................................................................................. 1 ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ ........................................................... 1 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการสรางสรรค ............................................. 2 สมมุติฐานของการการสรางสรรค ........................................................................ 2 ขอบเขตการการสรางสรรค .................................................................................. 2 ข้ันตอนของการการสรางสรรค ............................................................................ 2 วิธีการสรางสรรค ................................................................................................. 3 แหลงขอมูล .......................................................................................................... 3 อุปกรณท่ีใชในการสรางสรรค ............................................................................. 4

2 ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการสรางสรรคผลงาน..................................................................... 8 ทัศนคติเกี่ยวกับการสรางสรรค ............................................................................. 8 อิทธิพลจากความบันดาลใจในสังคมปจจุบัน ........................................................ 9 อิทธิพลและความบันดาลใจจากพระพุทธศาสนา .................................................. 9 อิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ....................................................... 10 อิทธิพลและความบันดาลใจจากปายโฆษณาภาพยนตร......................................... 10 อิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพลอ(CARICATURE) .................................... 11 อิทธิพลและความบันดาลใจในศิลปกรรม ............................................................. 12 3 การกําหนดรูปแบบและวิธีการในการสรางสรรค........................................................... 18 วิธีการสรางสรรคผลงาน ....................................................................................... 18 การกําหนดรูปแบบผานจิตรกรรมสองมิติ ............................................................. 18 การกําหนดแนวเร่ืองและรูปแบบในงานจิตรกรรม................................................ 18

เทคนิคและวิธีการสรางสรรคผลงาน ..................................................................... 19

บทท่ี หนา

4 การดําเนินการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ................................................................ 23 การสรางสรรคและการพฒันาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 ........................ 23

การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2........................ 34 การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ..................................................................... 45 ผลงานวิทยานพินธช้ินที่ 1 .................................................................................. 45 ผลงานวิทยานพินธช้ินที่ 2 .................................................................................. 46 ผลงานวิทยานพินธช้ินที่ 3 .................................................................................. 46 ผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4 .................................................................................. 46 ผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 5 .................................................................................. 47 ผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 6 .................................................................................. 47 ผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 7 .................................................................................. 47

5 บทสรุป........................................................................................................................... 55

บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 56 ภาคผนวก ............................................................................................................................... 57 ประวัติผูวจิัย ........................................................................................................................... 61

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา 1 ภาพแหลงขอมูล................................................................................................. 5  2 ภาพแหลงขอมูล................................................................................................. 5 3 ภาพแหลงขอมูล................................................................................................. 6 4 ภาพแหลงขอมูล................................................................................................. 6 5 ภาพอุปกรณในการสรางสรรค .......................................................................... 7 6 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ............................................ 13 7 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ............................................ 13 8 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ............................................ 14 9 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ............................................ 14 10 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากปายโฆษณาภาพยนตร ............................. 15 11 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากปายโฆษณาภาพยนตร ............................. 15 12 ภาพของ Otto Dix ,Portrait of the Royal Hugo Simons,1929 ........................... 16 13 ภาพของ Otto Dix ,Mister Mayer-Hermann,1926............................................. 16 14 ภาพของ Edgar Degas, Dancer on stage, 1876.................................................. 17 15 ภาพของ Mary Cassatt, Margot in blue, 1902 ................................................... 17 16 ภาพการกําหนดภาพรางระยะท่ี 1 ...................................................................... 20 17 ภาพการกําหนดภาพรางระยะท่ี 2 ...................................................................... 20 18 ภาพการกําหนดภาพรางระยะท่ี 3 ...................................................................... 21 19 ภาพรางผลงานจริงบนผาใบ............................................................................... 21 20 ภาพการเขียนสีน้ํามันบนผาใบ ........................................................................... 22 21 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 1 ระยะท่ี 1.................................................... 24 22 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 2 ระยะท่ี 1.................................................... 25 23 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 3 ระยะท่ี 1.................................................... 26 24 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 4 ระยะท่ี 1.................................................... 27 25 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 5 ระยะท่ี 1.................................................... 28 26 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 6 ระยะท่ี 1.................................................... 29

ภาพท่ี หนา 27 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 7 ระยะท่ี 1 ........................................................... 30 28 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 8 ระยะท่ี 1 ........................................................... 31 29 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 9 ระยะท่ี 1 ........................................................... 32 30 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 10 ระยะท่ี 1 ......................................................... 33 31 ภาพตัวอยางภาพท่ีถายจาก “เลนสตาปลา” (Fisheyes)............................................... 34 32 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 1 ระยะท่ี 2 ........................................................... 35 33 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 2 ระยะท่ี 2 ........................................................... 36 34 ภาพผลงานกอนวิทยานพินธช้ินที่ 3 ระยะท่ี 2 ........................................................... 37 35 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ระยะท่ี 2 ........................................................... 38 36 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 5 ระยะท่ี 2 .......................................................... 39 37 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 6 ระยะท่ี 2 ........................................................... 40 38 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 7 ระยะท่ี 2 ........................................................... 41 39 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 8 ระยะท่ี 2 ........................................................... 42 40 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 9 ระยะท่ี 2 ........................................................... 43 41 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 10 ระยะท่ี 2 ......................................................... 44 42 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 1 .................................................................................. 48 43 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 2 .................................................................................. 49 44 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 3 .................................................................................. 50 45 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 4 .................................................................................. 51 46 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 5 .................................................................................. 52 47 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 6 .................................................................................. 53 48 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินท่ี 7 .................................................................................. 54

 

1

บทท่ี 1

บทนํา

มีคนเคยกลาวไววามนุษยสามารถกําหนดชีวิตตนเองได แตมีบางอยาง ส่ิงท่ีเราเองก็ไมอาจหลีกเล่ียงและเปล่ียนแปลงมันได ซ่ึงเปนส่ิงท่ีเกิดมาพรอมกับเรา ไมวาจะเปน หนาตา พอ แม หรือฐานะ ชาติตระกูลก็ตาม แตส่ิงเหลานั้นก็ไมไดเปนตัวกําหนด ทุกข สุข ของคนไดท้ังหมด เพราะทุกคนลวนหาส่ิงเหลานั้นไดจากภายใน ภายในท่ีวานั้นคือ จิตใจ ท่ีเขาใจกับส่ิงตางๆท่ีไดรับ ฉะนั้นไมวาคนเหลานี้จะอยูท่ีไหน ไดรับสภาพจากโชคชะตาอยางไร พวกเคาสามารถอยูกันอยางไมเดือดรอนใจ เพียงแคเขาใจในกฎเกณฑของธรรมชาติและความไมแนนอนของชีวิต วิทยานิพนธหัวขอ “ความสมบูรณทางใจ อันเปนท่ีมาแหงความสุข” ฉบับนี้ ตองการแสดงถึงเร่ืองราวท่ีใครหลายคนอาจเคยประสบ เปนเร่ืองธรรมดาของคนธรรมดาท่ีมองเผินๆมีความขาดตกบกพรองในชีวิต และคลายจะเปนความทุกขดวยซํ้า แตส่ิงเหลานี้เองกลับทําใหคนท่ีมีคุณธรรม ความคิดท่ีดี และทําความเขาใจกับส่ิงเหลานั้นกลับเปนตัวแสดงใหเห็นถึงความสมบูรณทางใจท่ีทําใหใครหลายคนอยูกับส่ิงเหลานั้นอยางเปนสุข

ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ

ขาพเจาเคยไปงานบวชงานหนึ่งเปนงานแบบชนบท เม่ือไปถึงก็พบวามีผูสูงอายุมากมายท้ังชายหญิงมารวมตัวกันพรอมวงดุริยางคแบบชาวบาน เลนกันเอง สนุกกันเอง คนชราแตละคนแตงตัวราวกับนัดกันมา บางก็นุงกระโปรงส้ันคลายสาวรําวง บางก็มีเคร่ืองประดับเต็มตัว บางคนใสถุงเทาถึงเขาก็มี ท้ังหมดลวนมีความขาดๆเกินๆไปบาง แตทุกคนกลับมีใบหนา ทาทางท่ียิ้มแยม สีหนาไมแสดงอาการเคอะเขินแตอยางใด แมงานบวชคร้ังนี้จะเปนงานเล็กๆ ไมไดใหญโตโออาก็ตาม แตละเม็ดเหงื่อท่ีไหลมาเปอนใบหนาท่ีเต็มไปดวยรอยยิ้มนั้นแสดงใหเห็นถึงความสุขภายในของผูสูงวัยเหลานี้ไดไมยาก ขณะนั้นเองขาพเจาก็นึกคิดไปวา เร่ืองเพียงเล็กนอยนั้นกลับทําใหผูคนมีความสุขไดเพียงนี้ ท้ังๆท่ีมันเปนเพียงขนบธรรมเนียมท่ีปฏิบัติสืบตอกันมา และเม่ือขาพเจามองในอีกแงมุมหนึ่งก็พบวาการปฏิบัติตามประเพณีทางศาสนาไมมีความสําคัญเทากับการที่ลูกหลานมีความกตัญู ตอ

1

 

2

บิดา มารดา และผูมีพระคุณ และไมวาการบวชในครั้งนี้จะมีใครไดบุญหรือไม แตส่ิงหนึ่งท่ีคนเฒาคนแกเหลานี้รูดีคือ นี่เปนการทดแทนบุญคุณผูมีพระคุณอีกทางหนึ่งนั่นเอง

ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการสรางสรรค

ขาพเจาตองการนําเร่ืองราวของผูคนหลากหลายชีวิต ท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับรสชาติของความทุกข ความสุข ท่ีมีควบคูกันไป ภายใตรูปแบบของความเกินจริง มุงเนนใหผูชมไดรับความสนุกสนาน และแรงประทะท่ีเกิดจากสุนทรียภาพท่ีผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริง ใหผูชมรับรูถึงความเคล่ือนไหวในผลงานจิตรกรรมของขาพเจา

สมมุติฐานของการสรางสรรค ขาพเจาตองการเลาเร่ืองราวของความสุขในมุมมองเล็กๆท่ีแฝงอยูในความทุกข เพื่อนําสายตาของผูชมงานศิลปะใหเปดรับ มุมมองใหมๆ และเปล่ียนสภาพจิตใจท่ีหดหู ตึงเครียดจากเร่ืองราวความทุกข มาสูความรูสึกที่ผอนคลาย ขบขัน และลงเอยท่ีความสุขของผูชม

ขอบเขตของการสรางสรรค ขาพเจามีขอบเขตของเนื้อหาท่ีเลาถึงความทุกขของทุกชีวิตท่ีสามารถเปล่ียนใหเปน

ความสุขได โดยยอมรับ และเขาใจในสภาพความทุกขตางๆท่ีเกิดข้ึน มีรูปแบบเปนงานจิตรกรรม 2มิติ ท่ีสรางดวยเทคนิคสีน้ํามันบนผาใบ

ขั้นตอนของการสรางสรรค 1. หาแรงบันดาลใจจากขาวสาร ส่ือตางๆ จากอินเตอรเน็ท เร่ืองราวท่ีใกลตัวจากคนรอบขางและประสบการณตรงจากตนเอง 2. เม่ือขาพเจาไดขอมูลจากสื่อตางๆขางตนแลวก็นํามาเปล่ียนเปนความคิดและรูปแบบท่ีจะนําเสนอเปนเร่ืองราวตางๆ โดยใชความคิดท่ีวา จะทําอยางไรใหคนดูมีประสบการณรวมกับเหตุการณและความคิดท่ีขาพเจาตองการนําเสนอ ตัวอยางเชน ตองมีคนในภาพส่ีคนจะวางองคประกอบอยางไร เสนอมุมมองท่ีจะนําสายตาไปในลักษณะใด และรวมไปถึงการกําหนดขนาดความกวาง ยาว เพื่อใหเกิดความเหมาะสมดวย

 

3

3. ลงมือวาดแบบรางคราวๆในกระดาษ A4 โดยมีการจัดองคประกอบของภาพ ตําแหนงบุคคลในภาพ ทิศทางของแสงและเวลาในภาพ 4. เม่ือไดเร่ืองราวและองคประกอบท้ังหมดแลว จึงมีการคิดคํานึงถึงการสอดแทรกความตลกขบขัน และคุณธรรมบางอยางลงไปในผลงาน 5. ออกนอกสถานท่ีเพ่ือตามหาหมูบาน ผูคน และเร่ืองราวท่ีสอดคลองกับความตองการของขาพเจา แลวรวบรวมเปนขอมูลในการสรางสรรค มีการถายภาพบุคคลและสถานท่ีนั้นๆไวเปนจํานวนมากพอสมควรเพ่ือนําไปเลือกใชเปนตนแบบของสวนประกอบในงานจิตรกรรม 6. นํารูปถายท้ังหมดท่ีถายไวมาคัดเลือกใหไดภาพท่ีตรงกับความตองการแลวรางภาพลงบนกระดาษ A4 อีกคร้ังจากขอมูลท่ีสมจริงท้ังหมด 7. นําแบบราง A4 มาขยายใหญโดยใชเทคนิค เกรยองบนกระดาษปรูฟ ซ่ึงมีการลงแสงเงาเพื่อแสดงความสมจริงกอนท่ีจะเขียนลงบนเฟรม 8. เม่ือมีแบบรางท่ีชัดเจนแลวจึงลงมือรางดวยสีน้ํามันลงบนผาใบ และคอยๆลงสีน้ํามันในทีละสวนเร่ือยไปจนเสร็จท้ังภาพ ซ่ึงบางช้ินงานขาพเจาใชวิธีลงสีโดยรวมท้ังภาพเพื่อหาระยะของผลงานในรอบแรก จากนั้นเก็บรายละเอียดและความสมบูรณของผลงานในรอบท่ีสอง

วิธีการสรางสรรค จากขอมูลหรือภาพตนแบบที่เปนแรงบันดาลใจ ในการจะสรางสรรคนั้นขาพเจานํามาจัดวางองคประกอบในงานดวยวิธีการยืด ยอ หด ขยายคน วัตถุ หรือส่ิงแวดลอมโดยมีการสรางขนาดของสัดสวนท่ีตองการใหเกินจริง ไมใหมากหรือนอยจนเกินไป นกจากนี้ยังตองคํานึงถึงท่ีวาง ระยะความสัมพันธของคน วัตถุ ส่ิงแวดลอม และอารมณตลกขบขัน ท่ีจะทําใหเกิดความสมจริงเปนหลักอีกท้ังยังตองสรางน้ําหนักแสงเงา สีสันของภาพ โดยมีการใชฝแปรงขนาดเล็กบาง ใหญบาง ใหมีความรูสึกหนักแนน และแผวเบาไปพรอมกับอารมณความรูสึกของขาพเจาอีกดวย

แหลงขอมูล หมูบานตางๆในจังหวัดใกลเคียง งานวัด,เทศกาล,งานแตงงาน,งานบวช

 

4

อินเตอรเน็ท,ขาวโทรทัศน,รายการคนคนคน เร่ืองราวจากคนรอบตัว

อุปกรณท่ีใชในการสรางสรรค สีน้ํามัน,พูกัน,น้ํายาลางพูกัน จานสี,น้ํามันผสมสี,ผาเช็ดสี โครงไมส่ีเหล่ียม,ผาใบ เกาอ้ีไฟฟา,กระปองใสน้ํายาลางพูกัน คีมดึงผาใบ,เคร่ืองเย็บกระดาษ,ลวดเย็บกระดาษ

 

5

ภาพท่ี 1 ภาพแหลงขอมูล

ภาพท่ี 2 ภาพแหลงขอมูล

 

6

ภาพท่ี 3 ภาพแหลงขอมูล

ภาพท่ี 4 ภาพแหลงขอมูล

 

7

ภาพท่ี 5 ภาพอุปกรณในการสรางสรรค

 

 

 

8

บทท่ี 2

ขอมูลท่ีเก่ียวของกับการสรางสรรคผลงาน

เนื่องจากขาพเจาเช่ือวาความคิดริเร่ิมสรางสรรคนั้น มักเกิดข้ึนจากการไดพูดคุยโตตอบ และการปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน ส่ิงเหลานี้เองท่ีเปนสวนสําคัญ และเปนจุดเร่ิมแรกของแรงบันดาลใจในการสรางสรรคงานแตละช้ิน ซ่ึงเร่ืองไรสาระหลายๆเร่ืองกลับใหประโยชนตอขาพเจาในแงของจินตนาการเปนอยางดี อยางการพูดคุยสับเพเหระ ของบุคคลในแตละคร้ัง ผูฟงมักมีจินตนาการตามเร่ืองราวน้ันเสมอ แตแมวาจะเปนเร่ืองเดียวกัน มโนภาพของผูคนแตละคนกลับแตกตางกันออกไป ยิ่งเม่ือผูฟงแตละคนกลับแตกตางกันออกไป ยิ่งเม่ือผูฟงแตละคนคอยเพ่ิมจินตนาการของตนเองเขาไป มีการหยอกลอ กระเซาเยาแหย กันตามประสาคนสนิทชิดเช้ือแลวนั้น ยิ่งทําใหจุดเร่ิมในการสรางสรรคของขาพเจายิ่งชัดเจนข้ึน หรือจะเรียกการสรางสรรคเชนนี้วาเปนการสรางสรรคตอยอดจากความคิดริเร่ิมของผูอ่ืนก็วาได ดังนั้นในผลงานแตละช้ินของขาพเจามักจะเกี่ยวกับเร่ืองราวใกลตัว บุคคลใกลตัวหรือแมแตเร่ืองธรรมดาของชีวิตธรรมดาท่ีคนสวนใหญเคยมีประสบการณรวมดวยอยางหลีกเล่ียงไมได

นั่นเอง

ทัศนคติเก่ียวกับการสรางสรรค

ทาน ว.วชิรเมธี ไดกลาวไวในหนังสือ “ความทุกขมาโปรด ความสุขโปรยปราย “ไววาแทจริงความทุกขคือรูปแบบหนึ่งของความสุข เพราะความทุกขและความสุขลวนพึ่งพาอาศัยกันและกัน เขาอยูมาต้ังแตตน เรามองไมเห็นเอง ถาเราเห็นดวยปญญา เราจะขอบคุณความทุกข” ส่ิงเหลานี้แสดงใหเห็นวาไมวาจะอยูในสถานะไหน ทุกคนลวนมีความทุกขดวยกันท้ังนั้น หากแตเรากาวผานมันไปได วันหนึ่งเม่ือเรามองยอนกลับไป “เราจะขอบคุณความทุกข” ท่ีทําใหเราไดรูจักกับความสุข ขาพเจาจึงนําวิธีคิดเหลานี้มาเปล่ียนเปนกระบวนการสรางสรรคโดยมีการนําตนเองเขา

ไปแลกเปล่ียนประสบการณเร่ืองราวความทุกขจากหลากหลายผูคน หลากหลายชีวิต บางก็ไดฟงคํา

8

 

 

9

บอกเลาจากผูอ่ืน บางก็เห็นมาดวยตนเอง ทําใหมองเห็นความทุกขท่ีสามารถเปล่ียนเปนความสุขในอีกหลายแงมุมของมนุษย

อิทธิพลจากความบันดาลใจในสังคมปจจุบัน สังคมไทยในปจจุบันเปนสังคมพัฒนา เราไดกาวขามการพัฒนาทางวัตถุอยางไมหยุดยั้ง มีเทคโนโลยีการติดตอท่ีทันสมัย มีอินเตอรเน็ทความเร็วสูงท่ีเรียกกันวา 3G โดยสามารถคุยกันผานกลองของโทรศัพทมือถือ หรือคอมพิวเตอรไดอยางรวดเร็ว ยิ่งโลกพัฒนาไปมากเทาใด จิตใจคนกลับไมไดพัฒนาตามไปดวย หากมองยอนกลับไปในยุค 10-20 ปกอน จะเห็นไดวาการมีโทรศัพทมือถือซักเคร่ืองเปนเร่ืองท่ียากสําหรับคนท่ัวไป เนื่องจากเทคโนโลยียังไมแพรหลาย โทรศัพทมือถือจึงมีราคาสูงมากในยุคนั้น แมจะมีโทรศัพทบานอยางแพรหลายก็ตาม ผูคนก็ยังคงนิยมเขียนจดหมายถึงกันโดยผานวิธีการคิดไตรตรองกอนท่ีจะเขียนลงไป ท้ังอีกฝายยังตองใชเวลาในการรอคอยจดหมายของอีกฝายอีกดวย ผิดกับปจจุบันท่ีสามารถสงตัวอักษรไปยังผูรับ และมีการโตตอบกันไดอยางฉับพลัน อีกท้ังยังลบและแกไขขอมูลท่ีสงไปแลวไดอยางไมยากเย็น หากตองการสนทนาในรูปแบบของเสียงก็สามารถกดแคปุมเพียงไมกี่ปุม ดังนั้นการโกหกหรือหลอกลวงจึงเปนเร่ืองงายในโลกไซเบอร เกิดการแตกแยกในครอบครัว บางก็โดนลอลวง หรือแมแตการฆาตกรรม ส่ิงเหลานี้เกิดข้ึนจากการใชเทคโนโลยีในทางท่ีผิด ขาพเจาก็เปนผูหนึ่งท่ีไมสามารถปฏิเสธไดวาตองใชชีวิตอยูทามกลางเทคโนโลยีเหลานี้ หากตองวิ่งตามความเจริญกาวหนาใหทันเราก็คงตองวิ่งไปเร่ือยๆไมมีวันจบ ดังนั้นเราควรหยุดคิดและพิจารณา วาเราไดรับสุข-ทุกข ในแงไหนบางจากสังคมปจจุบัน

อิทธิพลและความบันดาลใจจากพุทธศาสนา “ในแวดวงผูเจริญวิปสสนากรรมฐาน ถาเกิดความทุกขข้ึนมา เราจะเรียกความทุกขวาเปนครูใหญของเรา ถาเรานั่งสมาธินานๆแลวรูสึกปวดแทบลมประดาตาย” 1 “เรามัวแตเปนทุกข เราจึงไมเห็นทุกข ฉะน้ันเม่ือไรก็ตามท่ีเราทุกขแลวเราเจริญสต

                                                            

1พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี [ว.วชิรเมธี]. ความทุกขมาโปรด ความสุขโปรยปราย. กรุงเทพฯ : ปราณ พับลิชช่ิง, 2553.

 

 

10

จนกระท่ังสติมันสาดแสงเขาไป สวางโพลงข้ึนมาเม่ือไหร ความทุกขจะเปล่ียนคุณภาพข้ึนมาเปนความสุขเม่ือนั้น” 2 ขาพเจาเองก็เปนผูหนึ่งท่ีเจริญวิปสสนาและไดแรงบันดาลใจสวนหนึ่งมาจากความทุกข

ท่ีเกิดระหวางการปฏิบัติ ระหวางท่ีเกิดความทุกขอันแสนเจ็บปวดดั่งรางจะแตกสลายนั้น หากเรามีสติกําหนดและรูเทาทัน ความทุกขเหลานั้นก็จะเกิดเปล่ียนแปลงไป เพราะไมวาความทุกขหรือความสุข ก็ลวนเปนอนิจจัง คือไมมีอะไรคงอยูแนนอนตลอดไป ส่ิงเหลานี้เองทําใหขาพเจามองเห็นความทุกขในสรรพส่ิงวาหากเราเขาใจในความทุกข ไมวาจะเปนทุกขในรูปแบบใด เราจะพบความสุขท่ีเกิดจากความเขาใจในสภาพของความทุกขนั้นๆได

อิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ หนังสือการตูนเลมเกากลายเปนของสะสมของครอบครัวขาพเจา ภาพทุกภาพในหนังสือท่ีคุนตา และเปนท่ีจดจําของขาพเจามาถึงปจจุบัน ส่ิงเหลานี้คอยๆซึมแทรกและหลอหลอมจนแปรเปล่ียนมาเปนกระบวนการในการสรางสรรคของขาพเจาดวยลักษณะการลอเลียนเสียดสี ชวนขบขัน ของวิธีการเขียนภาพประกอบหรือตัวการตูนท่ีมีใบหนา ทาทาง สัดสวนตางๆของภาพราวกับผานการดัดแปลง ยืด ยอ ใหดูสนุกสนานมากข้ึน แมส่ิงเหลานี้จะเคยผานตามาต้ังแตคร้ังเยาววัย ก็ไมอาจปฏิเสธไดวาจินตนาการเหลานั้นในหนังสือ ยังคงฝงแนนและชัดเจนในมโนภาพของขาพเจา

อิทธิพลและความบันดาลใจจากปายโฆษณาภาพยนตร ขาพเจาอาจไมไดเติบโตมาในยุคทองของสมัยท่ีปายโฆษณาภาพยนตร หรือเรียกกันวา “โปสเตอรหนัง”ท่ีมีจิตรกรฝมือดีใชทักษะระดับสูงสรางส่ิงเหลานี้ข้ึนมา โปสเตอรเหลานี้แฝงไปดวยความคลาสสิคและมีคุณคา ดวยตัวงานท่ีมีลักษณะความถูกตองตามหลักการสรางสรรคงานศิลปะ (ACADEMIC) มีความแมนยําของการใชสีอยางเช่ียวชาญของศิลปน ไมวาจะเปนน้ําหนักของแสงเงา ฝแปรงในการปดปายอยางฉับพลัน ภาพเหลานี้แมจะดูหยาบในมุมใกล แตเม่ือนําไปติดต้ังเปนโปสเตอรท่ีมองเห็นในระยะไกลแลว สีสัน สีแปรงท่ีดูหยาบเหลานั้น กลับประสานกันได

                                                            

2เร่ืองเดียวกัน

 

 

11

อยางนุมนวลและกลมกลืน นับเปนโชคดีของขาพเจาท่ีเติบโตมาในตางจังหวัดจึงยังคงเห็นโปสเตอรหนังเหลานี้อยูบาง โปสเตอรหนัง ก็ยังเปนอีกหนึ่งความประทับใจ ในฝแปรงท่ีมีลักษณะฉับพลัน ในจิตรกรรมขนาดใหญของชางเขียนในยุคน้ัน

อิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพลอ(CARICATURE) ภาพลอ (caricature) คือ ภาพคนท่ีวาดใหเกินจริงเพ่ือแสดงถึงความสําคัญของคนและมีจุดท่ีทําใหจําไดงาย แมปจจุบันภาพลอจะออกมาในรูปศิลปการตูน แตภาพลอก็มีประวัติมายาวนานทีเดียว จากการจุดคนซากเมืองปอมเปอี ของโรมัน นักโบราณคดีไดคนพบรูปภาพดิบๆ วาดบนผนังในอาคารซ่ึงคลายกับภาพลอมาก อยางนอยก็สามารถบอกไดวาจุดมุงหมายของการวาดภาพดังกลาวนั้นก็คลายๆ กับภาพลอในปจจุบัน คําวา “caricature” เปนคํากริยา มาจากภาษาอิตาเล่ียนท่ีหมายความวา “ใส หรือบรรทุก” จุดมุงหมายท่ีแทจริงของคํานี้ก็คือ การใสภาพคนเพื่อใหมีความหมายใหมากท่ีสุดเทาท่ีจะมากได ตัวอยางภาพท่ีเก็บไวในชวงแรกๆ มาจากงานของ ลิโอนาโด ดา วิน ชี(Leonardo da Vinci) ซ่ึงวาดภาพคนตางๆ ใหภาพผิดเพ้ียนไปจากความเปนจริง ในศตวรรษท่ี 17 ภาพลอปรากฏออกมาใน

รูปแบบของศิลปะท่ีแตกตางจากเดิมดวยงานของศิลปนชาวอิตาเล่ียนท่ีช่ือ แอนนิเบลล คาราสซ่ี แนวคิดของคาราสซ่ีถูกเรียกวาเปนการ “ขัดแยงกับความงาม” แทนที่จะทําตามรูปแบบศิลปนคนอ่ืนๆ ท่ีเนนความงามในการวาดภาพของยุคนั้น แตศิลปนกลับต้ังใจผลิตผลงานเปนภาพคนซ่ึงใสความหมายตางๆ ลงไปมากมาย ศิลปนช้ันครูในยุคตนๆ อีกคนไดแก กิอาน ลอเรนโซ เบอรนินี่ ซ่ึงกลาวกันวาสามารถผลิตผลงานภาพคนท่ีใชแปรงวาดเพียงไมกี่ทีเทานั้น รูปแบบของภาพลอในยุคตนๆ คือภาพของคนรวยท่ีตองการภาพไวเพื่อความเพลิดเพลินเทานั้น ศิลปะลักษณะน้ีเขาไปในในประเทศอังกฤษเม่ือกลางศตวรรษท่ี 18 และในระยะแรกๆ สรางความสนุกสนานใหกับคนช้ันสูง พอถึงศตวรรษท่ี 19 การพิมพดวยเคร่ืองจักรและ

หนังสือพิมพเพิ่มยอดจําวนข้ึนอยางมากมาย ภาพลอก็เ ร่ิมเขาไปมีบทบาทใหมมากข้ึนดวยจุดมุงหมายตางๆ กัน มีภาพลอการตูนทางการเมือง ภาพลอมุงเปาไปที่บรรดาผูนําของประเทศ ในสหรัฐเองในชวงหลังสงครามโลกคร้ังท่ีหนึ่ง ภาพลอกลายเปนยุคทอง แมการตูนภาพลอการเมืองจะยังคงไดรับความนิยม รูปแบบของศิลปะยังคงกลายเปนสีสัน สนุกสนาน ภาพลอไมใชแคการบอกเลาเร่ืองราวในแงลบในแตละยุค แตภาพลอกลายเปนท่ีนิยมและตองการของบรรดานิตยสารคนดังมากกวาภาพถายจริงๆ เสียอีก

 

 

12

ปจจุบันภาพลอยังอยูในรูปของการตูนลอการเมืองและในนิตยสารคนดัง แตกลายเปนศิลปะอีกรูปแบบหนึ่งของคนในฐานะศิลปนท่ีหากินตามทองถนนและตามตลาดนัดเพ่ือผลิตผลงาน

ภาพลอหนาตาย้ิมแยมในราคาท่ีไมแพงมาก ซ่ึงขาพเจาไดนําเทคนิคนี้มาใชในงาน แตไมไดมีจุดประสงคเพื่อตอบสนองความตองการของผูใด หรือเสียดสีบุคคลที่มีช่ือเสียง แตเปนการนําเอาวิ ธีการเขียนภาพลอ (caricature)มาใชภายใตลักษณะท่ีผิดเพี้ยนมีความตลกขบขัน เพื่อดึงลักษณะเฉพาะของคนในภาพ การถายทอดอารมณความรูสึก ความสุขในความทุกขของชนช้ันกรรมชีพและชาวรากหญาท่ีหาเชากินคํ่า และใหศิลปะเปนตัวแทนของพวกเขาไดมายืนในโลกศิลปะแหงนี้อยางสงาผาเผย

อิทธิพลและความบันดาลใจในศิลปกรรม “ลักษณะงาน “อิมเพรสชั่นนิสม” คือการใชพูกันตวัดอยางเขมๆ ใชสีสวางๆ มีองคประกอบของภาพท่ีไมถูกบีบ เนนไปยังคุณภาพท่ีแปรผันของแสง (มักจะเนนไปยังผลลัพธท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงของเวลา) เนื้อหาของภาพเปนเร่ือง ธรรมดาๆและมีมุมมองพิเศษ”3 “ภาพวาดอิมเพรสชั่นนิสม ประกอบดวยพูกันแบบเปนเสนส้ันๆของสีซ่ึงไมไดผสมหรือแยกเปนสีใดสีหนึ่ง ทําใหภาพท่ีเกิดตามธรรมชาติมีชีวิตชีวา พื้นผิวของภาพวาดนั้น มักจะเกิดการระบายสีแบบหนาๆ”4 ลักษณะดังกลาว ไดสงผลตองานจิตรกรรมของขาพเจาดวยเชนกัน ในการสรางฝแปรงท่ีฉับพลัน โดยการใชสีทับซอนกันตามทิศทางของแสง และเงาซ่ึงนอกจากจะทําใหภาพเกิดความเคล่ือนไหวแลว ความหนาของสียังสรางพ้ืนผิวท่ีนาสนใจใหแกผลงานอีกดวย

                                                            

3 วิกพิีเดยี , ศิลปะอิมเพรสชันนิสม[ออนไลน] , เขาถึงเม่ือ 30 มกราคม 2554 เขาถึงไดจาก http://th.wikipedia.org/wiki/

4 เร่ืองเดียวกนั.

 

 

13

ภาพท่ี 6 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ ท่ีมา: วาทิน ปนเฉลียว, ตวย’ตูน 21,5 ( มกราคม 2535) :1.

ภาพท่ี 7 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ ท่ีมา: วาทิน ปนเฉลียว, ตวย’ตูน 21, 9 ( พฤษภาคม 2535) :1.

 

 

14

ภาพท่ี 8 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ ท่ีมา : เตรียม ชาชุมพร, เพื่อน (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพตนออ , 2531) , 1.

ภาพท่ี 9 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากภาพประกอบ ท่ีมา : เตรียม ชาชุมพร. มานะ มานี ปติ ชูใจ [ออนไลน], เขาถึงเม่ือ 30 มกราคม 2554 เขาถึงไดจาก http://www.vichanum.net/viewthread.php?tid=792

 

 

15

ภาพท่ี 10 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากปายโฆษณาภาพยนตร ท่ีมา : เปยก โปสเตอร. ชางเขียนภาพในโลกภาพยนตร [ออนไลน], เขาถึงเม่ือ 31 มกราคม 2554 เขาถึงไดจาก http://fotoyokee.multiply.com/journal/31

ภาพท่ี 11 ภาพอิทธิพลและความบันดาลใจจากปายโฆษณาภาพยนตร ท่ีมา : พระครูสุวรรณวุฒาจารย วัดดอนไร ศิษยหลวงพอมุย. มายอนอดติกันดกีวากับภาพโปสเตอร หนังไทย สมัยกอน [ออนไลน] , เขาถึงเม่ือ 31 มกราคม 2554 เขาถึงไดจาก http://www.sittloungpormhui.com/board/index.php?topic=24922.0

 

 

16

ภาพท่ี 12 ภาพของ Otto Dix ,Portrait of the Royal Hugo Simons,1929 ท่ีมา : Otto Dix, Daily Dose Pick: Otto Dix [Online] , accessed 31 January 2011. Available from http://flavorwire.com/78899

ภาพท่ี 13 ภาพของ Otto Dix ,Mister Mayer-Hermann,1926 ท่ีมา : Otto Dix, Daily Dose Pick: Otto Dix [Online] , accessed 31 January 2011. Available from http://flavorwire.com/78899

 

 

17

ภาพท่ี 14 ภาพของ Edgar Degas, Dancer on stage,1876 ท่ีมา : Otto Dix, Daily Dose Pick: Otto Dix [Online] , accessed 31 January 2011. Available from http://flavorwire.com/78899

ภาพท่ี 15 ภาพของ Mary Cassatt, Margot in blue, 1902 ท่ีมา : Otto Dix, Daily Dose Pick: Otto Dix [Online] , accessed 31 January 2011. Available from http://flavorwire.com/78899

 

 

18

บทท่ี 3

การกําหนดรูปแบบและวิธีการสรางสรรค

ส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดในการกําหนดรูปแบบและวิธีการสรางสรรคคือเร่ืองราวที่แนชัดท่ี

แสดงออกและตองการนําเสนอ การกําหนดแงคิดใหผูชมไดรับ และวิธีการตางๆในการสรางสรรคนั้นสอดคลองกับเร่ืองราวท่ีตองการนําเสนอหรือไม ท้ังหมดนี้ตองผานกระบวนการความคิดอยางละเอียดถ่ีถวน กอนจะลงมือสรางสรรคงาน

วิธีการสรางสรรคผลงาน ขาพเจาไดนําขอมูลเบ้ืองตนจากภาพถายมาเปล่ียนเปนความคิดสรางสรรคโดยการคิดตอ คิดเพิ่ม และคิดใหมีความสุข การคิดตอคือการใชจินตนาการตอจากขอมูลท่ีไดรับ การคิดเพิ่มคือ การบวกจินตนาการของตนเองตอเนื่องจากเหตุการณเดิมเขาไป สุดทาย คิดใหมีความสุข คือการสรางภาพอยางไรใหมีความขบขันและสงความสุขไปยังผูชม ท้ังหมดท่ีกลาวมานี้ตองผานกระบวนการตางๆดังตอไปนี้

การกําหนดรูปแบบผานจิตรกรรมสองมิติ การกําหนดรูปแบบคือการกําหนดองคประกอบของภาพโดยวางทัศนะธาตุตางๆลงไป รวมไปถึงมุมมองท่ีจะนําสายตาผูชมใหรูสึกราวกับวา มองจากทางดานบน มองเสยขึ้นจากทางดานลาง หรือกําหนดใหอยูระดับเดียวกับผูชม รวมไปถึงการยืดยอ หดขยาย สวนตางๆของรางกาย วัตถุและส่ิงแวดลอม ใหสอดคลองกับองคประกอบท้ังภาพ เพ่ือใหเกิดความกลมกลืนของภาพมากข้ึน

การกําหนดแนวเร่ืองและรูปแบบในงานจิตรกรรม เร่ืองราวตางๆท่ีขาพเจาสรางสรรคนั้นสวนใหญเปนเร่ืองราวธรรมดาท่ีพบเห็นไดท่ัวไป หรือแมแตใครหลายคนเคยมีประสบการณรวมท้ังส้ิน ซ่ึงเร่ืองธรรมดาเหลานี้มักเขาถึงผูชมไดงายเม่ือประกอบกับรูปแบบที่มีสองมิติโดยผานเทคนิคสีน้ํามันบนผาใบท่ีมีขนาดใหญ มีการขยายสวนตางๆโดยเฉพาะใบหนาใหใหญกวาปกติ เพื่อใหเกิดแรงประทะระหวางผลงานกับผูชม

18

 

 

19

เทคนิคและวิธีการสรางสรรคผลงาน ดวยเทคนิคสีน้ํามันบนผาใบ การขยายใบหนาของบุคคลในภาพใหมีขนาดใหญกวาปกตินั้นในข้ันตอนการลงสี ยังคงตองอาศัยแปรงที่มีขนาดใหญ เพื่อสรางมิติลวงตาและความเคล่ือนไหวท่ีเกิดจากทีแปรงตามขนาดของพ้ืนท่ี วิธีการเขียนสีน้ํามันของขาพเจาโดยรวมมีสองวิธี โดยวิธีการแรกมักจะเขียนจากระยะหนา ไปหาระยะหลัง คอยๆเขียนจนเสร็จส้ินท้ังภาพ วิธีการนี้มีขอดีคือจะควบคุมความมันวาวของสีน้ํามันใหเสมอกันไปไดท้ังภาพ แตยากตอการกําหนดระยะของภาพ วิธีการท่ีสอง ขาพเจาสรางสรรคดวยการเขียนทับกันสองรอบโดยรอบแรกจะมีการลงสีกําหนดน้ําหนัก ระยะโดยรวมของภาพเสียกอนแลวจึงมาเก็บรายละเอียดและความสมบูรณของภาพในรอบที่สอง วิธีการนี้มีขอเสียคือ การเขียนในรอบที่สอง สีน้ํามันของรอบแรกจะดูดซับความมันวาวในรอบท่ีสองลง เม่ือภาพเสร็จสมบูรณจะทําใหเห็นวาภาพมีความมันวาวและความดาน ไมสมํ่าเสมอกันท้ังภาพ แตขอดีก็คือ เราสามารถกําหนดระยะและแกไข ในสวนตางๆของภาพไดแมนยํากวาวิธีการแรก

 

 

20

ภาพท่ี 16 ภาพการกําหนดภาพรางระยะท่ี 1

ภาพท่ี 17 ภาพการกําหนดภาพรางระยะท่ี 2

 

 

21

ภาพท่ี 18 ภาพการกําหนดภาพรางระยะท่ี 3

ภาพท่ี 19 ภาพรางผลงานจริงบนผาใบ

 

 

22

ภาพท่ี 20 ภาพการเขียนสีน้ํามันบนผาใบ

 

 

23

บทท่ี 4

การดําเนินการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ

การสรางผลงานวิทยานิพนธหัวขอ “ความสมบูรณทางใจอันเปนท่ีมาแหงความสุข” เปนการดําเนินงานตอเนื่องมาจากผลงานกอนวิทยานิพนธ ระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2 มีการพัฒนามาจากเร่ืองราวความสุข ในความทุกขของคนใกลตัว คนท่ัวไป และชาวบานระดับรากหญาอันแสดงถึงสภาวะความสุขท่ีมาจากความสมบูรณของจิตใจท่ียอมรับและเขาใจสภาพความทุกขท่ีเกิดข้ึน ผลงานท่ีจะนําเสนอในวิทยานิพนธเลมนี้มีท้ังหมดสามชวงเวลาดวยกัน แบงไดเปนชวงเวลาดังตอไปนี้

การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธ ระยะท่ี 1 ผลงานชุดนี้ผานการสรางสรรคดวยการมองคุณคาของชีวิตชนบทของชาวบานระดับราก

หญา ชาวกรรมาชีพที่หาเชากินคํ่า ท่ีพอใจกับความสุขเพียงช่ัวคร้ังคราว แมจะเปนความสุขเพียงส้ันๆ บางตองพึ่งพาสุราเมรัย และไมใชสุขท่ีแทจริงในทางพุทธศาสนา แตนี่ก็อาจเรียกไดวาเปนสุขจอมปลอมบนความเต็มใจของผูท่ีเหนื่อยยาก ก็เปนได ขาพเจาถายทอดผานมุมมองประชดประชันแตทําใหใครหลายคนสัมผัสไดถึงความสุข

เม่ือไดเห็น โดยสอดแทรกคุณธรรม และขอคิดบางอยางของคนเหลานี้ไวในหลายแงมุม เปรียบกับเหรียญยังมีสองดาน คุณคาเหลานี้อาจมองเปนเร่ืองไรสาระ เพียงแคยอนกลับมาสํารวจตนเองจะพบวา นอกจากชีวิตท่ีตองการปจจัยส่ีแลว อาจยังตองการชมรายการตลกซักเร่ืองท่ีใหความบันเทิง แมจะดัรับความสุขเพียงช่ังขณะก็ตาม ส่ิงเหลานี้เองแสดงใหเห็นวาส่ิงไรสาระก็สามารถเติมเต็มจิตใจใหสมบูรณไดไมมากก็นอย

23

 

 

24

ภาพท่ี 21 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 1 ระยะท่ี 1

 

 

25

ภาพท่ี 22 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 2 ระยะท่ี 1

 

 

26

ภาพท่ี 23 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 3 ระยะท่ี 1

 

 

27

ภาพท่ี 24 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ระยะท่ี 1

 

 

28

ภาพท่ี 25 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 5 ระยะท่ี 1

 

 

29

ภาพท่ี 26 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 6 ระยะท่ี 1

 

 

30

ภาพท่ี 27 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 7 ระยะท่ี 1

 

 

31

ภาพท่ี 28 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 8 ระยะท่ี 1

 

 

32

ภาพท่ี 29 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 9 ระยะท่ี 1

 

 

33

ภาพท่ี 30 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 10 ระยะท่ี 1

 

 

34

การสรางสรรคและการพัฒนาผลงานกอนวิทยานิพนธ ระยะท่ี 2 ผลงานระยะนี้มีการพัฒนามาจาก ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ีหนึ่ง โดยยังคงเสนอเร่ืองราวเนื้อหาในหลากหลายกิจกรรม ท่ีเปนชีวิตของบุคคลในชลชั้นรากหญา มีมุมมองความสุขแบบงายๆ ท่ีสามารถพบเจอไดท่ัวไป เชนงานบวช งานรับปริญญา หรือแมแตกิจกรรมเล็กๆภายในครอบครัว เปนตน มีการสอดแทรกคุณธรรม อารมณขบขัน บุคลิกเฉพาะของบุคคลในภาพ และมีวิธีการสรางความเกินจริงดวยการยืด ยอ หด ขยายสวนตางๆใหผิดเพ้ียนไปจากความเปนจริง โดยบางช้ินยังนํามุมมองแบบ “เลนสตาปลา” (Fish eye) เขามาใชในงานดวย “เลนสตาปลา” (Fish eye)เปนช่ือเรียกของเลนสถายภาพท่ีมีลักษณะโคงนูนคลายคร่ึงวงกลม เม่ือนําไปถายภาพแลวจะทําใหภาพท่ีไดมีมิติท่ีนูนโคงผิดไปจากเลนสปกติท่ัวไป คลายดวงตาของปลาท่ีมีลักษณะกลมนูน ผลงานท่ีสรางเรียนแบบการมองจาก“เลนสตาปลา” (Fish eye)ของขาพเจาจึงมีลักษณะการลวงตาแบบโคงนูนดวยเชนกัน

ภาพท่ี 31 ภาพตัวอยางภาพที่ถายจาก “เลนสตาปลา” (Fish eye) ท่ีมา : นายหัวท่ัวไทย, นายหวัทัวรไทย เท่ียวสิงหบุรี [ออนไลน] , เขาถึงเม่ือ 30 มกราคม 2554 เขาถึงไดจาก http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=skinhead&month=05-2010&date=15&group=3&gblog=20

 

 

35

ภาพท่ี 32 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 1 ระยะท่ี 2

 

 

36

ภาพท่ี 33 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 2 ระยะท่ี 2

 

 

37

ภาพท่ี 34 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 3 ระยะท่ี 2

 

 

38

ภาพท่ี 35 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 4 ระยะท่ี 2

 

 

39

ภาพท่ี 36 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 5 ระยะท่ี 2

 

 

40

ภาพท่ี 37 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 6 ระยะท่ี 2

 

 

41

ภาพท่ี 38 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 7 ระยะท่ี 2

 

 

42

ภาพท่ี 39 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 8 ระยะท่ี 2

 

 

43

ภาพท่ี 40 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 9 ระยะท่ี 2

 

 

44

ภาพท่ี 41 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินที่ 10 ระยะท่ี 2

 

 

45

การสรางสรรควิทยานิพนธ

ผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ขาพเจายังคงเสนอเร่ืองราวธรรมดาของผูคน มีท้ังเร่ืองกิจกรรมภายในครอบครัว เทศกาลตางๆ รวมไปถึงเหตุการณภัยรายแรงของอุทกภัย ท่ีทําใหบานเรือนผูคนตองเดือดรอน ในชวงเวลาท่ีผานมา

ส่ิงท่ีขาพเจาตองการถายทอดขาพเจาไมไดตองการนําเสนอความทุกขรอนแตอยางใด แตตองการนําเสนอมุมมองความสุขของการยอมรับสภาพท่ีเกิดข้ึนในสภาพท่ีขาดตกบกพรองของชีวิต

ท่ีไมสมบูรณนัก

จากขอมูลตางๆท่ีขาพเจาไดรับในการสรางสรรค ท้ังในทางท่ีขาพเจาเดินทางไปตามจังหวัดตางๆที่ประสบภัยน้ําทวม บนพื้นท่ีท่ีผูคนเดือดรอนและตองสูญเสียท่ีทางทํามาหากินแหงนี้ แมจะทําใหผูคนไดรับความเดือดเนื้อรอนใจเปนอยางมาก แตในความเดือดรอนเหลานี้ยังทําใหเห็นวายังมีคนไทยจํานวนไมนอยท่ีมีน้ําใจไมตรีและคอยหยิบยื่นความชวยเหลือแกกันและกันอยางเต็ม

ใจ แมแตบานใกลเรือนเคียงท่ีเคยผิดใจกันมากอนก็ยังมีเมตตาตอกันในยามสภาวะเลวรายเชนนี้ หลายครอบครัวไมเคยมีโอกาสอยูกันพรอมหนาแตดวยสภาพท่ีไมสามารถไปไหนไดสะดวก

เหมือนเคย จึงกลายเปนเร่ืองท่ีทําใหครอบครัวไดอยูดวยกันและมีเวลาใหกันมาข้ึน แมสภาพท่ีกลาวมานั้นอาจดูขาดตกบกพรองไปบางแตสภาพของจิตใจของเคาเหลานั้นอาจเต็มไปดวยความสมบูรณ

ทางความสุขก็เปนได

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 1

ขาพเจาแสดงเร่ืองราวของครอบครัวหนึ่งท่ีมานั่งรวมกันหนาพัดลมเพ่ือหวังจะคลายรอน ดวยสภาพของพัดลมและจํานวนคนท่ีมีมากเกินลมจะพัดใหท่ัวถึงไดนั้นก็ไมอาจทําใหพวกเขา

เหลานั้นคลายรอนลงไดเลย แตมีส่ิงหนึ่งท่ีทําใหพวกเขาลืมความรอนของสภาพอากาศนั้นไปได อาจเปนเพราะกิจกรรมท่ีทํารวมกัน ความรักความอบอุนท่ีความครัวไดมาอยูกันอยางพรอมหนาพรอมตานั่นเอง ผลงานช้ินนี้มีการนําเสนอมุมมองแบบ“เลนสตาปลา” (Fish eye)ซ่ึงจะนําสายตาไมยังผูชมใหรูสึกถึงความโคงเวา และเปนการเนนใหระยะหนาดูนูนออกมาผิดจากความเปนจริงในการเห็นโดยปกติมากข้ึน

 

 

46

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 2

ผลงานช้ินนี้ขาพเจาบอกเลาเร่ืองราวของครอบครัว ครอบครัวหนึ่ง ท่ีอาจดูไมสมบูรณทางกายภาพ มีกิจกรรมภายในครอบครัวเปนงานวันเกิดของคุณยายดานหนามีขนมเคกซ่ึงเปนเคกท่ีสามารถบอกถึงสถานะและรสนิยมของคนท่ีไมไดรํ่ารวยนัก มีหลานๆท่ีนารักมารอเพื่อจะเปาเคกอยูทางดานหนาดวย ภาพเหลานี้อาจเปนท่ีคุนตาของใครหลายคน ระยะหลังของภาพแสดงถึงสภาพของท่ีอยูอาศัยของคนกลุมนี้ ส่ิงท่ีขาพเจาตองการจะบอกเลาในผลงานคือเร่ืองราวความสุข ความอบอุนของครอบครัวในมุมมองธรรมดา ของคนธรรมดาเหลานี้นั่นเอง

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 3 ขาพเจาตองการบอกเลาถึงเหตุการณน้ําทวมท่ีเกิดข้ึนอยางหลีกเล่ียงไมไดของจังหวัด

หนึ่ง มีกิจกรรมในครอบครัวท่ีอาจไมเคยเกิดข้ึนเลยในยามท่ีเปนชวงเวลาท่ีมีความปกติสุข ระยะหนาสุดของภาพมีเด็ดหญิงกําลังเลนน้ําและมีสีหนายิ้มแยมอยางไมเปนเดือดเปนรอนตอเหตุการณท่ี

เกิดข้ึน อีกท้ังยังสงรอยยิ้มมายังผูชม เบ้ืองหลังเปนกิจกรรมของครอบครัวท่ีมีใหเห็นในทุกบาน คือการทําอาหาร แตเปล่ียนจากในครัวท่ีเคยคุนตา เปนบนน้ําท่ีเออลน ทําใหเกิดมิติมุมมองขึ้นใหมภายในภาพ

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 4 ผลงานช้ินนี้เปนภาพเก่ียวกับเหตุการณประสบภัยน้ําทวมเชนกัน ขาพเจานําเสนอเร่ืองราวของผูคนท่ีจําตองอยูในสภาพนี้ไมวาจะตองใชชีวิตเพราะความชินชาหรือการยอมรับใน

สภาพอยางเขาใจก็ตาม แตก็ทําใหขาพเจาไดนึกและรูสึกยินดีกับกับผูคนเหลานี้ท่ีรูทันความทุกข ภายในภาพมีเร่ืองราวของคนแกและเด็กท่ีตองหนีน้ําจนตองอาศัยและใชชีวิตประจําวันในสวนท่ี

เปนหลังคาบาน มีผูคนพายเรือผานไปมา ทักทายกันราวกับเร่ืองเหลานี้เปนเร่ืองท่ีปกติ ขางหลังสุดของภาพมีเด็กกําลังนั่งยองๆหันหลังใหกับคนดูคลายเปนอาการท่ีกําลังปลดทุกข เปนการเพ่ิมมุขตลก ความสุขและจินตนาการสงตอไปยังผูดู

 

 

47

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 5

ขาพเจานําเสนอเร่ืองราวความสุขของการเปล่ียนวิกฤติใหเปนโอกาส ซ่ึงวิกฤติในท่ีนี้หมายถึงภัยน้ําทวมท่ีสงผลใหผูคนในหลายจังหวัดตองเดือดรอน และโอกาสท่ีกลาวมาคือ โอกาสที่พวกเคาจะเปล่ียนสภาพท่ีทุกขรอนน้ีและเขาใจและยอมรับอยางเปนสุข ขาพเจานําสายตาผูคนไปยังมุมมองท่ีเรียกวา “มุมมองตานก”(Bird Eye View) มุมมองลักษณะนี้แสดงใหเห็นถึงพื้นน้าํท่ีทวมจนแทบมิดหลังคาบาน มีกิจกรรมท่ีท้ังเด็ก ผูใหญและสุนัขทํารวมกันอยางสนุกสนาน อยางในยามท่ีน้าํลดอาจไมเคยเกิดข้ึนมากอนก็เปนได

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 6

เปนผลงานอีกหนึ่งช้ินท่ีขาพเจาเลาเร่ืองราวอุทกภัยท่ีเกิดข้ึน อันเปนสถานการณใหครอบครัวบางครอบครัวไดอยูดวยกันและมีกิจกรรมท่ีนารักเกิดข้ึน ภายในภาพเปนหลานสาวที่กําลังสระผมใหคุณยายกลางนํ้าท่ีเจิ่งนองบริเวณหนาบาน บรรยากาศของภาพแสดงถึงตอนกลางวันท่ีมีแสงแดดมากระทบผิวกาย ทําใหภาพดูสดใสมีชีวิตชีวา เม่ือมองออกไปในระยะหลงัจะเหน็วามีสุนัขข้ึนอืด กําลังมุงหนามายังคุณยายและหลานสาว มีการกระโดดนํ้าเลนของเด็กชายอยางสนุกสนาน สรางความตลกขบขันและจินตนาการเพิ่มใหผูชมอีกดวย

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 7

ผลงานช้ินนี้เปนผลงานวิทยานิพนธช้ินสุดทาย มีเร่ืองราวท่ีแสดงถึงวันสงกรานตหรือเรียกอีกอยางวาวันปใหมของไทย วัฒนธรรมเหลานี้แมจะเปล่ียนและผิดเพ้ียนไปบาง วิธีการสาดน้ําก็รุนแรงข้ึนเร่ือยๆ แตขาพเจาก็ยังคงแสดงใหเห็นในมุมมองหนึ่งของคนท่ียังคงรักษาประเพณีอันดีงามของวันสงการณเอาไวดวย เชนประเพณีการรดน้ําดําหัวของลูกหลานท่ีปฏิบัติตอคนเฒาคนแก ซ่ึงซอนความสุขและความประทับใจเล็กๆเหลานี้ไวในงานอีกดวย

 

 

48

ภาพท่ี 42 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 1

 

 

49

ภาพท่ี 43 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 2

 

 

50

ภาพท่ี 44 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 3

 

 

51

ภาพท่ี 45 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 4

 

 

52

ภาพท่ี 46 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 5

 

 

53

ภาพท่ี 47 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 6

 

 

54

ภาพท่ี 48 ภาพผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 7

 

1

บทท่ี5

บทสรุป

วิทยานิพนธหัวขอ “ความสมบูรณทางใจอันเปนท่ีมาแหงความสุข”เลมนี้ ขาพเจาไดผานกระบวนการทางความคิดและสรางสรรคท่ีกลาวถึงความสุขของมนุษยในหลายๆมุมมองซ่ึงมี

เร่ืองราว เนื้อหา ท่ีเปนเร่ืองธรรมดาสามัญ ผลงานทั้งหมดจึงเขาถึงผูชมไดอยางไมยากนัก ภายใตเนื้อหาท่ีเขาใจงายบวกกับเทคนิคจิตรกรรมสีน้ํามันแบบดั้งเดิม ท่ีมีการตวัดปดปายฝแปรงตางๆ ตามจังหวะของการเคล่ือนไหวในกิจกรรมและแสงเงาภายในภาพ กอใหเกิดสุนทรียภาพแบบใหม ท่ีสามารถตอบสนองความตองการของขาพเจาผานไปยังผูดูโดยใหความสุข สนุกสนานภายในผลงานเปนตัวเช่ือม เพื่อเปนการสรางความสุขใหกับผูชมอีกทอดหน่ึง

ท้ังนี้ส่ิงท่ีขาพเจากลาวมาขางตนถือเปนสวนหน่ึงท่ีทําใหผลงานของขาพเจาสําเร็จลุลวง

ไปไดดวยดี

และทายท่ีสุดขาพเจาหวังวาวิทยานิพนธเลมนี้จะเปนประโยชนตอนักเรียนนักศึกษาท่ี

กําลังคนควาดานวิชาการทางศิลปะแขนงตางๆไมมากก็นอย

 

55

56

บรรณานุกรม

เปยก โปสเตอร. ชางเขียนภาพในโลกภาพยนตร [ออนไลน] , เขาถึงเม่ือ 31 มกราคม 2554 เขาถึงได จาก http://fotoyokee.multiply.com/journal/31 เตรียม ชาชุมพร. มานะ มานี ปติ ชูใจ [ออนไลน] , เขาถึงเม่ือ 30 มกราคม 2554 เขาถึง ไดจาก http://www.vichanum.net/viewthread.php?tid=792 _________. เพื่อน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพตนออ, 2531. พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี [ว.วชิรเมธี]. ความทุกขมาโปรด ความสุขโปรยปราย. กรุงเทพฯ : ปราณ

พับลิชช่ิง, 2553. วาทิน ปนเฉลียว. ตวย’ตูน 21, 5 ( มกราคม 2535) :1. _________. ตวย’ตูน 21, 9 ( พฤษภาคม 2535) :1. พระครูสุวรรณวุฒาจารยวัดดอนไร ศิษยหลวงพอมุย. มายอนอดีตกันดีกวากับภาพโปสเตอร

หนังไทย สมัยกอน [ออนไลน] , เขาถึงเม่ือ 31 มกราคม 2554 เขาถึงไดจาก http://www.sittloungpormhui.com/board/index.php?topic=24922.0

Otto Dix . Daily Dose Pick: Otto Dix [Online] . Accessed 31 January 2011. Available from http://flavorwire.com/78899

ภาคผนวก

58

รายระเอียดผลงานการสรางสรรค

ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 1 1. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 1 ช่ือผลงาน “ ชีวิตท่ีแสนสุข ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200x200 เซนติเมตร พ.ศ. 2550. 2. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 2 ช่ือผลงาน “ สุขสําราญบานหทัย ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2550. 3. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 3 ช่ือผลงาน “ เม่ือเราหมุนรอบตัวเอง ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด180 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2550. 4. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 4 ช่ือผลงาน “ หยาดเยิ้ม ” เทคนิค สีสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2550. 5. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ชิ้นที่ 5 ช่ือผลงาน “ ผูนําครอบครัว ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 200เซนติเมตรพ.ศ. 2550. 6. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 6 ช่ือผลงาน “ วัยรุนhi5 ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 7. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 7 ช่ือผลงาน “ มิติท่ีหก ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค เกรยองบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 8. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 1 ช้ินที่ 8 ช่ือผลงาน “ แววตาท่ีโรแมนติก ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 9. กอนวิทยานิพนธผลงานระยะท่ี 1 ช้ินที่ 9 ช่ือผลงาน “ ชีวิตท่ีผาดโผน ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551.

59

10. กอนวิทยานิพนธผลงานระยะท่ี 1 ช้ินที่ 10 ช่ือผลงาน “ โอชะบุญ ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 150 X 150 เซนติเมตร พ.ศ. 2551.

ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2

1. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 1 ช่ือผลงาน “ วันวานยังหวานอยู ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 2. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 2 ช่ือผลงาน “ผลงานช้ินโบวแดงของวงศตระกูล ”เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 3. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 3 ช่ือผลงาน “เหง่ือไหลไคลยอย ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 4. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 4 ช่ือผลงาน “ ความสุขของวัยชรา ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 150 X 150 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 5. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 5 ช่ือผลงาน “ ยักยาย สายสะโพก ” เทคนิค สีน้ํามัน สีอะคริลิค เกรยองบนผาใบ ขนาด 160 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 6. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 6 ช่ือผลงาน “ ช่ืนใจยาย ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 230 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 7. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 7 ช่ือผลงาน “ อุมโยน ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 8. ผลงานกอนวทิยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 8 ช่ือผลงาน “ บูม บูม ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 180 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551.

60

9. ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 9 ช่ือผลงาน “ บีบใหยาย ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2551. 10. ผลงานกอนวิทยานิพนธระยะท่ี 2 ช้ินที่ 10 ช่ือผลงาน “ อาหยอย ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 250 เซนติเมตร พ.ศ. 2552.

ผลงานวิทยานิพนธ

1. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน “ ฤดูรอนป2553 ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 250 X 300 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 2. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน “ ยายจะเปา” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 250 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 3. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน “ น้ําทวมนองวาดีกวาฝนแลง ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 180 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 4. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน “ พี่วาน้ําแหงใหฝนแลงเสียยังดีกวา ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X 200 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 5. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 5 ช่ือผลงาน “ น้ําทวมปนี้ทุกบานลวนมีแตคราบน้ําตา ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 250 X 300 เซนติเมตร พ.ศ. 2553. 6. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 6 ช่ือผลงาน “ เหงือกแหง ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 200 X200 เซนติเมตร พ.ศ. 2554. 7. ผลงานวิทยานพินธ ช้ินท่ี 7 ช่ือผลงาน “ สาดดดด ” เทคนิค สีน้ํามันบนผาใบ ขนาด 250 X 400 เซนติเมตร พ.ศ. 2554.

61

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ‐สกุล นางสาวลําพู กันเสนาะ เกิด 17 ตุลาตม 2526 สมุทรสงคราม ท่ีอยู 6/1 หมู 14 ต. สวนหลวง อ. อัมพวา จ. สมุทรสงคราม 75110 โทร 085-1837857 E-mail [email protected] ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2538 ประถมศึกษา โรงเรียนเมืองสมุทรสงคราม พ.ศ. 2541 มัธยมศึกษา โรงเรียนศรัทธาสมุทร จังหวัดสมุทรสงคราม พ.ศ. 2545 ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันกลาง วิทยาลัยชางศิลป กรมศิลปากร

พ.ศ. 2550 ศิลปบัณฑิต ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพมิพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ. 2554 ศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

การแสดงผลงาน พ.ศ. 2548 แสดงผลงานในนิทรรศการศิลปกรรม ปตท.คร้ังท่ี 20

แสดงผลงานในนิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัย พานาโซนิค คร้ังท่ี 7 พ.ศ. 2549 แสดงผลงานในนิทรรศการศิลปกรรม ปตท.คร้ังท่ี 21

แสดงผลงานในนิทรรศการศิลปกรรม รุนเยาว คร้ังท่ี 23 นิทรรศการกลุมในชื่อชุด “ลายศิลปและสันสี ดวยภักดี...องคภูมินทร” ณ ฟอรจูนเ แกเลอร่ี โรงแรมฟอรจูน จัดโดย สโมสรโรตาร่ีดอนเมือง นิทรรศการกลุม wiz women work ณ playground นิทรรศการศิลปะนิพนธของนักศึกษาปริญญาตรี คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ศ. 2550 แสดงผลงานในนิทรรศการจิตรกรรมรวมสมัย พานาโซนิค คร้ังท่ี 9 แสดงผลงานในนิทรรศการศิลปกรรม ปตท.คร้ังท่ี 22 แสดงผลงานในนิทรรศการศิลปกรรม รุนเยาว คร้ังท่ี 24 นิทรรศการกลุมในนิทรรศการ drak and light ณ เท่ียวน้ําฟาแกเลอร่ี

62

พ.ศ. 2551 นิทรรศการกลุมในนิทรรศการศิลปะเพื่อสุนัขชุด My friend เซ็นทรัลเวอร พ.ศ. 2552 นิทรรศการเดี่ยว ช่ือชุด “ไรสาระ สูสาระ” ณ หอศิลปรวมสมัยอารเดล

นิทรรศการ the way to artโดนนักศึกษาศิลปะมหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร

นิทรรศการ“Young Female Artists Of The Year 2009”โดยบานและสวน นิทรรศการ The 4th Fukuoka Asian Art Triennale 2009 ณ ประเทศญ่ีปุน

พ.ศ. 2553 นิทรรศการ “the colors of Beijing” ณ.หอศิลปกรุงไทยสาขาราชวงศ

ประวัติทุนการศึกษา พ.ศ. 2543 ทุนการศึกษา “ ทุนพระพิฆเนศ ” วิทยาลัยชางศิลป กรมศิลปากร พ.ศ. 2549 ทุนมูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอก เปรม ติณสูลานนท

พ.ศ. 2550 ทุนศึกษาดูงานและสรางสรรคผลงานศิลปกรรม ประเทศ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ณ มณฑลกวางสี โดย ดร.ชุมพล พรประภา พ.ศ. 2552 ทุนศึกษาดูงานและสรางสรรคผลงานศิลปกรรม ประเทศ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ณ กรุงปกกิ่ง โดย ดร.ชุมพล พรประภา

เกียรติประวัติ พ.ศ. 2548 รางวัลดีเดนในการประกวดศิลปกรรม ปตท.คร้ังท่ี 20 รางวัลดีเดนในการประกวดศิลปกรรม นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต โดยบริษัทโตชิบา

แหงประเทศไทยจํากัด คร้ังท่ี 17 พ.ศ. 2549 รางวัลเกียรตินิยมเหรียญเงิน ศิลป พีระศรี ในการประกวดศิลปกรรม รุนเยาว คร้ังท่ี 23

รางวัลพิเศษในการประกวดศิลปกรรม นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต โดยบริษัทโตชิบาแหงประเทศไทยจํากัด คร้ังท่ี 18

รางวัลดีเดนในการประกวดศิลปกรรม ปตท.คร้ังท่ี 21 รางวัลยอดเยี่ยมสาขาศิลปะสองมิติ ในการประกวดYoung Thai Artist Award โดยมูลนิธิซีเมนตไทย คร้ังท่ี 3

พ.ศ. 2550 รางวัลดีเดนในการประกวดศิลปกรรม นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต โดยบริษัทโตชิบา แหงประเทศไทยจํากัด คร้ังท่ี 19

63

รางวัลยอดเยี่ยม เกียรตินิยมเหรียญทอง ศิลป พีระศรี ในการประกวด ศิลปกรรม รุนเยาว คร้ังท่ี 24

รางวัลสนับสนุนโดยธนาคารกรุงไทยรางวัลท่ี 2 ในการประกวดศิลปกรรมแหงชาติคร้ังท่ี 53

พ.ศ. 2551 รางวัลดีเดนในการประกวดจิตรกรรมรวมสมัย พานาโซนิค คร้ังท่ี 10 รางวัลประกาศนียบัตรเกียรตินิยม อันดับ3 เหรียญทองแดง ประเภทจิตรกรรม ในการประกวดศิลปกรรมแหงชาติคร้ังท่ี 54 รางวัลยอดเยี่ยมในการประกวดศิลปกรรม นําส่ิงท่ีดีสูชีวิต โดยบริษัทโตชิบาแหงประเทศไทยจํากัด คร้ังท่ี 20

พ.ศ. 2552 ไดรับทุนศึกษาดูงานและสรางสรรคผลงานศิลปกรรม ประเทศสาธารณประชาชนจีน ณ กรุงปกกิ่ง โดย ดร.ชุมพล พรประภา