Transcript
  • การประยกุตใ์ชก้ารเรยีนการสอนสือ่อเิลคทรอนิกส ์Application of E-Learning

    วชิยาภรณ์ ระจติร Wichayaporn Rajit

    สารนิพนธน์ี้เป็นสว่นหนึ่งของการศกึษา หลกัสตูรวทิยาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวชิาเทคโนโลยสีารสนเทศ

    คณะวทิยาการและเทคโนโลยสีารสนเทศ มหาวทิยาลยัเทคโนโลยมีหานคร

    ปีการศกึษา 2557

  • I

    หวัข้อโครงงาน การประยกุตใ์ชก้ารเรยีนการสอนผ่านสื่ออเิลค็ทรอนิกส์ ช่ือนักศึกษา นางวชิยาภรณ์ ระจติร รหสันักศึกษา 5617680010 หลกัสตูร วทิยาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาเทคโนโลยสีารสนเทศ ปีการศึกษา 2557 อาจารยผ์ูป้รึกษา ผศ.ดร.พนม เพชรจตุพร อาจารยท่ี์ปรึกษาร่วม อาจารย ์สบืทศัน์ ลิม่สายหัว้

    บทคดัย่อ

    การออกแบบการเรยีนการสอนดว้ยระบบ E-Learning เพื่อพฒันาผูเ้รยีนนัน้ เป็นสิง่ทีม่ ีความส าคญัเป็นอย่างยิง่ส าหรบัโลกยุคไอทใีนปจัจุบนั เพราะ E-Learning สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรยีนและผูส้อนไดเ้ป็นอย่างด ีอกีทัง้ยงัช่วยลดขอ้จ ากดัหลายอย่างของการเรยีนการสอน ผูเ้รยีนสามารถสบืคน้ขอ้มลูเพิม่เตมิบนเครอืขา่ยอนิเทอรเ์น็ตไดม้ากขึน้ ดว้ยเหตุผลดงักล่าว จงึมกีารออกแบบการเรยีนการสอนดว้ยระบบ E-Learning ขึน้มาโดยใชเ้ครอืขา่ยอนิเทอรเ์น็ตในการสื่อสารมผีูส้อนท าหน้าทีใ่นการออกแบบบทเรยีนของรายวชิา โดยน าสื่ออิเลคทรอนิกส์มาผสมผสานและใช้ความมสี่วนร่วมในการสอนโดยผู้สอนและผู้เรยีนสามารถเรยีนรูด้ว้ยตนเอง ทีไ่หนเมือ่ไรกไ็ด ้ ไม่จ าเป็นต้องรอส่งงานผ่านอาจารยโ์ดยตรง ท าให้ประหยดัค่าใช้จ่ายและเวลา อกีทัง้ยงัเป็นการให้ผู้สอนได้น าเทคโนโลยสีารสนเทศมาใช้ในการสนบัสนุนการเรยีนการสอนใหม้ปีระสทิธภิาพขึน้

  • II

    กิตติกรรมประกาศ

    สารนิพนธ์ฉบับนี้จกัส าเร็จมิได้ หากปราศจากแนวความคิดและค าแนะน าถึงแนวทางการด าเนินโครงงาน และองคค์วามรูต่้าง ๆ จาก ผศ.ดร.พนม เพชรจตุพร ซึง่เป็นอาจารยท์ี่ปรึกษา และ อาจารย์สืบทัศน์ ลิ่มสายหัว้ ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ผู้ซึ่งให้ค าปรึกษาทางดา้นเทคนิคในการออกแบบฐานขอ้มลู ตลอดจนองคค์วามรูเ้ฉพาะทางทีจ่ าเป็นอย่างมากต่อการท าโครงงานนี้ อกีทัง้ยงัมเีพื่อนในคณะ ทีค่อยช่วยเหลอืในการใหค้ าปรกึษาส าหรบัการจดัท าโครงงานในครัง้นี้ ขา้พเจา้ขอบพระคุณอาจารยเ์ป็นอย่างสูง และขอขอบคุณเพื่อน ๆ ทุกๆ คน มา ณ ทีน่ี้

    วชิยาภรณ์ ระจติร พฤษภาคม 2558

  • III

    สารบญั หน้า

    บทคดัยอ่ภาษาไทย I กติตกิรรมประกาศ II สารบญั III สารบญัรปู V สารบญัตาราง VI บทที ่1 บทน า 1

    1.1 กล่าวน า 1 1.2 กรณศีกึษา 1 1.3 ความส าคญัของปญัหา 2 1.4 แนวทางการปญัหา 2 1.5 วตัถุประสงคข์องการโครงงาน 3 1.6 ขอบเขตของงาน 3 1.7 ประโยชน์ทีไ่ดร้บั 3 1.8 สรปุเนื้อหาในสารนิพนธ ์ 4

    บทที ่2 ทฤษฎแีละหลกัการทีเ่กีย่วขอ้ง 6 2.1 กล่าวน า 6 2.2 การเรยีนรู ้แบบ E-Learning[1] 6 2.3 ความหมายของการเรยีนรูแ้บบ E-Learning 8 2.4 ระบบบรหิาร และจดัการบทเรยีน E-Learning 9 2.5 ระบบบรหิาร และจดัการบทเรยีน Learning Management System : LMS 12

    บทที ่3 การวเิคราะหแ์ละออกแบบเพื่อใชง้าน 23 3.1 กล่าวน า 23 3.2 ขัน้ตอนการพฒันาโดยใช ้ADDIE MODEL 23

    3.2.1 ขัน้การวเิคราะห ์(Analysis) 23 3.2.2 ออกแบบ (Design) 30 3.2.3 ขัน้การพฒันา (Development) 39 3.2.4 ขัน้การน าไปใช ้(Implementation) 40 3.2.5 ขัน้การประเมนิผล (Evaluation) 49

  • IV

    สารบญั (ต่อ) หน้า

    บทที ่4 ขัน้ตอนในการด าเนินโครงงาน 51

    4.1 กล่าวน า 51 4.2 การทดสอบใชโ้ปรแกรม ClassStart 51 4.3 ผลการประเมนิการใชง้านระบบ E-Learning 58

    บทที ่5 สรปุผลและวจิารณ์ 65 5.1 สรปุผลการด าเนินโครงการ 65 5.2 ประโยชน์ของบทเรยีน E-Learning 66 5.3 แนวทางการจดัการเพื่อประยกุตใ์ช ้ 66 5.4 การพฒันาบทเรยีน E-learning 66

    เอกสารอา้งองิ 77 ภาคผนวก ก. การประเมนิผลสมัฤทธิท์างการเรยีนและความพงึพอใจ ก-1

  • V

    สารบญัรปู หน้า

    รปูที ่1.1 ClassStart.org (ระบบการจดัการชัน้เรยีนออนไลน์) 2 รปูที ่2.1 การเรยีนรู ้แบบ E-Learning 7 รปูที ่2.2 โครงสรา้งของ E-Learning 10 รปูที ่3.1 ขัน้ตอนส่วนของผูเ้รยีน 25 รปูที ่3.2 ขัน้ตอนส่วนของผูส้อน 27 รปูที ่3.3 ขัน้ตอนส่วนของผูด้แูลระบบ 28 รปูที ่3.4 learning pyramid 43 รปูที ่4.1 หน้าจอการสมคัรสมาชกิ 51 รปูที ่4.2 หน้าจอสมคัรสมาชกิ 52 รปูที ่4.3 หน้าจอขัน้ตอนการยนืยนัการสมคัรสมาชกิ 52 รปูที ่4.4 หน้าจอแสดงการยนืยนัการสมคัรสมาชกิ 53 รปูที ่4.5 ประวตัสิมาชกิ 54 รปูที ่4.6 การเขา้สู่บทเรยีน 54 รปูที ่4.7 หน้าจอการ Login เขา้ระบบการสอนผ่านอนิเตอรเ์น็ต 55 รปูที ่4.8 ผลการตอบรบัของผูใ้ชร้ะบบของการเรยีนการสอนผ่านอนิเตอรเ์น็ต 55 รปูที ่4.9 หน้าจอหลกัของอาจารยป์ระจ า วชิาเทคโนโลยสีารสนเทศ 56 รปูที ่4.10 หน้าจอหลกัของการ เพิม่ ลบ แกไ้ข บทเรยีน 56 รปูที ่4.11 หน้าจอหลกัของการ ตรวจขอ้สอบ หรอืแบบทดสอบก่อน –หลงัเรยีน 57 รปูที ่4.12 หน้าจอหลกัของ นกัเรยีน 57 รปูที ่4.13 หน้าจอหลกัของ Admin (ผูด้แูลระบบ) 58 รปูที ่ก.1 shows a web page. ก-11 รปูที ่ก.2 shows some important buttons. ก-11 รปูที ่ก.3 shows some parts of web page. ก-12 รปูที ่ก.4 shows some important buttons. ก-12 รปูที ่ก.5 shows the connectivity from literally everywhere. ก-16 รปูที ่ก.6 shows the web page. ก-17 รปูที ่ก.7 shows URL. ก-17 รปูที ่ก.8 shows what’s on the web page. ก-18

  • VI

    สารบญัตาราง หน้า

    ตารางที ่3.1 วเิคราะหผ์ูเ้กีย่วขอ้งในโครงการ (Stakeholder Analysis) 34 ตารางที ่3.2 ระยะเวลาด าเนินโครงการ 37 ตารางที ่3.3 งบประมาณและระยะเวลา 38 ตารางที ่3.4 การเปรยีบเทยีบระหว่างหอ้งเรยีนแบบเดมิ กบัหอ้งเรยีนกลบัทาง Classstart 42 ตารางที ่3.5 การตดิตามและประเมนิผล 48 ตารางที ่4.1 การประมวลผลสมัฤทธิก์ารเรยีนของนกัเรยีน มธัยมศกึษาปีที ่2 60 ตารางที ่4.2: ผลการวเิคราะหค์วามรูแ้ละความเขา้ใจ 61 ตารางที ่4.3 : ผลการวเิคราะหค์วามพงึพอใจ 63 ตารางที ่4.4 การแสดงผลสมัฤทธิท์างการเรยีนของนกัเรยีนกลุ่มสาระการอาชพีและ 64 เทคโนโลยฯีของโรงเรยีนวรราชาทนิดัดามาตุวทิยา ปีการศกึษา 2557

  • 1

    บทท่ี 1 บทน า

    1.1 กล่าวน า การน าเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการศึกษาเป็นแนวทางหนึ่งที่จะสามารถเพิ่มคุณภาพการศกึษาทัง้ในระบบ นอกระบบ ตามอธัยาศยั รวมทัง้ตอบสนองปรชัญาการศกึษาตลอดชพี และแก้ปญัหาบางประการ ของกระบวนการจดัการเรยีนการสอนได้ แต่อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยทีี่น ามาใช้นัน้ต้องสามารถท าให้เกิดผลสมัฤทธิ ์ ทางการเรยีนหรอืสมรรถนะในเนื้อหาวิชาที่มีแนวโน้มต้องการให้เป็นแบบบูรณาการที่น ามาใช้ส าหรบัการเรียนการสอนประกอบกบัการน าเทคนิควธิกีารใช้เทคโนโลยทีีเ่หมาะสมกบัเนื้อหาวชิานัน้ดว้ยการศกึษาเพื่อหาประสทิธภิาพ และประสทิธผิลของการน าเทคโนโลยมีาใชจ้งึเป็นประเดน็ปญัหาทีย่งัต้องการค าตอบอกีมาก ถงึแมว้่าดว้ยตวัของเทคโนโลยเีองจะมคีวามสมบูรณ์ และมคีวามพรอ้มส าหรบัการน ามาใช้เพยีงใดก็ตาม แต่วธิกีารของการน ามาใช้ยงัเป็นตวัแปรส าคญัที่ยงัต้องการองค์ความรูอ้กีมากส าหรบัการตอบค าถามว่า จะน ามาใชอ้ย่างไร จงึจะไดป้ระสทิธภิาพประสทิธผิลสูงสุดนัน้หมายถึง การมคีุณภาพของการน าเทคโนโลยมีาใช้เป็นฐานของการเรยีนการสอนโดยเฉพาะอย่างยิง่ในเนื้อหาที่เป็นแบบบูรณาการหรอืมเีนื้อหาจากศาสตรต่์างๆ มารวมไว้ในรายวชิาเดยีวหลกัสตูร สาขาวชิาเทคโนโลยสีารสนเทศ และการสื่อสาร(EP) ของ เป็นหลกัสูตรที่มรีายวชิาบรูณาการเนื้อหาวชิาใหส้าขาวชิาต่างๆ เขา้ดว้ยกนั และรายวชิาทีใ่ชส้ าหรบัการศกึษาครัง้นี้ คอื

    รายวชิา ง.22203 English for Computer and Information Technology หรอื ภาษาองักฤษส าหรบัคอมพวิเตอร ์และเทคโนโลยสีารสนเทศ ซึง่เป็นการบูรณาการ เนื้อหาวชิาทางภาษาองักฤษ และเนื้อหาวชิาทางดา้นคอมพวิเตอร ์และเทคโนโลยสีารสนเทศ โดยผูเ้รยีนในระดบัมธัยมศึกษาตอนต้น ต้องมคีวามสามารถทางภาษาองักฤษเป็นพื้นฐานที่ส าคญักลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้มีความหลากหลายในพื้นฐานการศึกษา มีความสามารถหรือสมรรถนะทางคอมพวิเตอร ์และเทคโนโลยสีารสนเทศ รวมทัง้มพีื้นฐานความรูภ้าษาองักฤษแตกต่างกนัเช่นกนัแต่สมรรถนะทัง้สองดา้นมคีวามจ าเป็นส าหรบัการเรยีน 1.2 กรณีศึกษา เนื่องจากการศกึษาดา้นหลกัสตูรภาษาองักฤษของเดก็นักเรยีนโรงเรยีนวรราชาทนิัดดามาตุวิทยา ยงัไม่มปีระสทิธภิาพเท่าที่ควร และไม่สามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ต่างๆจากโลกภายนอกทีม่กัอยู่ในรปูภาษาองักฤษได ้จงึจ าเป็นจดัท าการศกึษาดา้นหลกัสูตรภาษาองักฤษในลกัษณะสื่อนวตักรรมออนไลน์เพื่อใหน้กัเรยีนไดศ้กึษาทัง้ใน และนอกเวลาเรยีน

  • 2

    1.3 ความส าคญัของปัญหา เนื่องจาก การเรยีนการสอนเพื่อการเพิ่มศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใชภ้าษาองักฤษเป็นฐานการสอน จ าเป็นมาก ทางดา้นการเรยีนวชิาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ที่ก้าวยุคที่ เด็กไทยก้าวสู่มาตรฐานอาเซีย น และ การใช้ภาษาองักฤษการสื่อสาร ท าใหส้ามารถแลกเปลีย่นวฒันธรรมไดท้ัว่โลก อนิเทอรเ์น็ตท าใหส้งัคมเปลีย่นไปเป็นสงัคมสารสนเทศ โลกจะถูกหลอมรวมกนัเป็นหนึ่งเดยีวแบบไรพ้รมแดน กจิกรรมทุกสิง่จะถูกเชื่อมโยงเขา้ถงึกนัประโยชน์ทีจ่ะเกดิขึน้ดา้นการศกึษากค็อืก่อใหเ้กดิกระแสข่าวสารขอ้มลู ความรูก้ารแสวงหาความรู้ การกระจายข่าวสารขอ้มลู ท าใหก้ารเรยีนรูม้คีวามสะดวก ง่าย และรวดเรว็ในหลายรปูแบบ ผู้เรยีนสามารถเรยีนได้ทุกที่ และทุกเวลาโดยผ่านสญัญาณแบบไรส้าย ผูเ้รยีน และผูส้อนใชอุ้ปกรณ์ประเภทเคลื่อนทีไ่ดท้ีม่คีวามสามารถในการเชื่อมต่อกบัระบบเครอืข่าย คอมพวิเตอรแ์บบไรส้าย (Wireless LAN) ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer, PDA/PAD Phone, Tablet PC, Cell Phones /Cellular Phone ในการด าเนินการจดักจิกรรมการเรยีนการสอนหรอืการเขา้ถงึขอ้มลูเพื่อการเรยีนรูด้ว้ยผูเ้รยีนเอง

    รปูท่ี 1.1 ClassStart.org (ระบบการจดัการชัน้เรยีนออนไลน์ ) 1.4 แนวทางการปัญหา จดัการเรียนการสอนให้โรงเรียนวรราชาทินัดดามาตุวิทยาโดยการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ตโดยใช้โปรแกรมทางด้าน E-Learning เป็นการเรยีนที่ใช้เทคโนโลยีที่ท าให้ด าเนินการเรยีนการสอนไปได้โดยไม่จ ากดัเวลา และสถานที ่โดยใชเ้ครื่องมอืทีส่ าคญัทีม่อียู่ในอนิเทอรเ์น็ต เครือ่งมอืเหล่านี้ท าใหเ้กดิการเรยีนไม่พรอ้มกนัได ้(Asynchronous Learning) การสรา้งความรูน้ัน้การมปีฏสิมัพนัธ ์เป็นส่วนส าคญัส่วนหนึ่งของกระบวนการเรยีนรูจ้ะเกดิขึน้ได้ดีหากผู้เรยีนได้มโีอกาสถามอธบิาย สงัเกต รบัฟงั สะท้อนความคดิ และตรวจสอบความคดิกบั

    http://www.classstart.org/users/sign_up

  • 3

    ผูอ้ื่นการเรยีนไม่พรอ้มกนั จงึช่วยใหม้กีารเรยีนรูอ้ย่างมปีฏสิมัพนัธ ์(Interactive Learning) และการเรยีนรูร้่วมกนั (Collaborative Learning) โดยใช้แหล่งทรพัยากรที่อยู่ห่างไกล (Remote Resource )ทีส่ามารถเขา้ถงึได ้ตามเวลา วาระ และสถานทีท่ีผู่เ้รยีนมคีวามสะดวก หรอืต้องการ เป็นการเรยีนที่เกี่ยวขอ้งกบัการใช้เทคโนโลยกีารสื่อสารทางไกล เพื่อขยายการเรยีนการสอนออกไปนอกเหนือจากชัน้เรยีนหรอืในหอ้งเรยีนและไม่ต้องพบกันโดยตรง(Mayadas, 2000) การเรยีนรูร้ว่มกนัอยา่งมปีฏสิมัพนัธ ์และการเรยีนรูร้ว่มกนั 1.5 วตัถปุระสงคข์องการโครงงาน ส าหรบัวตัถุประสงคข์องโครงการพฒันาระบบการเรยีนการสอนผ่านระบบอนิเตอรเ์น็ตโดยใชโ้ปรแกรมทางดา้น E-Learning ซึง่สามารถสรปุไดด้งัต่อไปนี้

    1.5.1 ระบบสารสนเทศสามารถเรยีนผ่านระบบออนไลน์ได ้ 1.5.2 ระบบสารสนเทศสามารถรวบรวม ค าศพัท ์จดัหมวดหมู ่และสบืคน้บทเรยีนได ้ 1.5.3 ระบบสามารถนัดเวลาสนทนาระหว่างครู-นักเรยีน แสดงขอ้ความ และแสดง

    ความคดิเหน็ได ้ 1.5.4 ระบบสามารถประชาสมัพนัธ์ข่าวสารของสานักงานประสานงานโครงการฯ

    เกีย่วกบัการเรยีนการสอนผ่านระบบได ้ 1.5.5 ระบบสามารถประเมนิความรูข้องนกัเรยีนดว้ยตวัเองได้

    1.6 ขอบเขตของงาน ขอบเขตของสารนิพนธส์ามารถสรุปไดด้งันี้ 1.6.1 ศกึษาขอ้ด ี ข้อเสยีของ E- Learning และขอ้จ ากดัทางด้านเทคนิคที่มใีน

    ปจัจบุนั 1.6.2 บทเรยีนที่ผ่านการศึกษาเนื้อหา และน ามาสรุปแล้วสงัเคราะห์ในแต่ละหน่วย

    การเรยีนรูเ้ปลี่ยนเป็นภาพเคลื่อนไหว และเสยีงในรูปแบบ Multimedia โดยบทเรยีนเน้นการเรยีนรูท้ีก่ระตุน้ใหผู้เ้รยีนเกดิมโนทศัน์ในการเรยีน ท าใหส้ามารถเขา้ใจในบทเรยีนไดง้า่ย 1.7 ประโยชน์ท่ีได้รบั

    หลงัจากน าระบบการเรยีนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เน็ตโดยใช้โปรแกรมทางด้าน E-Learning ไปใชง้าน คาดว่าจะก่อใหเ้กดิประโยชน์ดงันี้

    1.7.1 ผู้สอนสามารถพฒันาสื่อการสอนและวธิกีารสอนได้อย่างหลากหลายขึ้น โดยผ่านระบบเครอืขา่ยอนิเทอรเ์น็ต

    1.7.2 ผู้เรยีนสามารถศึกษาหาความรู้ได้จากระบบและใช้เทคโนโลยใีนการศึกษาคน้ควา้ไดอ้ยา่งถูกตอ้ง

    1.7.3 เป็นระบบทีใ่ชใ้นการแลกเปลีย่นเรยีนรูแ้บบสองทาง

  • 4

    1.7.4 เพื่อเพิม่ผลสมัฤทธิท์างการเรยีนของนกัเรยีน 1.7.5 เพื่อใหน้กัเรยีนมเีจตคตทิีด่ต่ีอวชิา เทคโนโลยสีารสนเทศ

    1.8 สรปุเน้ือหาในสารนิพนธ์

    ในสารนิพนธฉ์บบัน้ีไดแ้บ่งเนื้อหาออกเป็น 5 บท พอสรปุเนื้อของแต่ละบทไดด้งันี้ บทที ่1 บทน าเป็นการกล่าวถึงแรงจงูใจทีท่ าใหเ้กดิการพฒันาระบบเพื่อแก้ปญัหาทีพ่บ

    ในการด าเนินงานในปจัจุบนั อธบิายถงึขอบเขตในการด าเนินงานและประโยชน์ทีไ่ดร้บัจากการพฒันาระบบ E-Learning โดยใช้เครื่องมอื LMSมาช่วยในการสรา้ง บทเรยีนออนไลน์ของ Classstart (หอ้งเรยีนกลบัด้าน) เพื่อให้ระบบตามที่ต้องการ น าระบบทีส่รา้งทดลองใช้ในกลุ่มตวัอยา่งและท าการประเมนิความพงึพอใจของผูใ้ชง้านเพื่อดปูระสทิธภิาพของตวัระบบ

    บทที่ 2 ทฤษฎแีละเทคโนโลยทีีเ่กี่ยวขอ้ง เป็นการกล่าวถงึทฤษฎแีละหลกัการที่ใชใ้นการวเิคราะหอ์อกแบบและพฒันาโครงงานประกอบดว้ยความหมายลกัษณะของ E-Learning ท าความรูจ้กักบัระบบบรหิารการจดัการการเรยีนรู ้LMS หน้าที ่ผูใ้ชง้านระบบ LMS LMS ใน ปจัจบุนัมกีีป่ระเภท อะไรบา้ง ท าความเขา้ใจเกีย่วกบัมาตรฐานของระบบ E-Learning

    บทที ่3 การออกแบบและพฒันาระบบนัน้ จะกล่าวถงึขัน้ตอนการวเิคราะหแ์ละออกแบบระบบ E-Leanring ตามกระบวนการ Addie Model มหีวัขอ้ดงันี้

    - Analysis (การวเิคราะห)์ เพื่อน าฟงัก์ชัน่ไปท าการวเิคราะหเ์ลอืกโปรแกรมระบบ LMS และออกแบบระบบในขัน้ตอนต่อไป

    - Design (การออกแบบ) จากการวเิคราะหค์วามตอ้งการขอ้มลูผูใ้ช ้น าขอ้มลูมาออกแบบระบบ E-Learning ให้มกีารท างานและการไหลของขอ้มูลไปในทางเดยีวกนั โดยการใชก้ารออกแบบในลกัษณะของ Context Diagram และ Data Flow Diagram และน าเสนอฐานขอ้มูล Databaseของระบบ Classstart ว่ามกีารจดัเกบ็และความสมัพนัธอ์ยา่งไร

    - Development (การพฒันา) ท าการสรา้งระบบ E-Learning จากโปรแกรมระบบ LMS ทีเ่ลอืก ท าการเตรยีมพรอ้มของขอ้มลูทีจ่ะน าเขา้สู่ระบบ

    - Implementation (การน าไปใช)้ การน าระบบ E-Learning ทีส่รา้งไปตดิตัง้ทีเ่ซริฟ์เวอรข์อง โรงเรยีนวรราชาทนิัดดามาตุวทิยา และทดลองใชง้านกบักลุ่มตวัอยา่ง เพื่อดกูารท างานของระบบ

    - Evaluation (การประเมนิผล) ท าการประเมนิผลของระบบทีน่ าไปใชง้านกบักลุ่มตวัอย่าง เพื่อดูประสทิธิภาพการท างานของระบบ โดยท าการสร้างแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประเมนิค่า 5 ระดบั ใหก้ลุ่มตวัอย่างท า และน าผลทีไ่ดไ้ปวเิคราะหห์าค่าเฉลีย่และค่าเบีย่งเบนมาตรฐาน

  • 5

    บทที่ 4 ผลการด าเนินโครงงาน ได้กล่าวถึงผลงานที่ได้จากการพัฒนาระบบ E-Learning มาจากการด าเนินงานจากบทที3่ ว่าระบบทีอ่อกแบบและจดัท าขึน้มา มฟีงัก์ชัน่การท างานอะไรบา้ง และผลการประเมนิความพงึพอใจจากผูใ้ชร้ะบบเป็นอยา่งไร

    บทที่ 5 สรุปผลการด าเนินโครงงาน เป็นกล่าวถึงภาพรวมของผลการด าเนินงานและสรุปผลการด าเนินงานที่ได้จากบทที่ 5 กล่าวถึงประโยชน์ที่ได้รบั ปญัหาและอุปสรรคที่เกิดระหว่างการด าเนินโครงการ และขอ้เสนอแนะในการน าไปประยกุตใ์ชแ้ละพฒันาระบบต่อไป

  • 6

    บทท่ี 2 ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง

    2.1 กล่าวน า ในการศกึษาและพฒันาระบบการเรยีนการสอนในยคุปจัจบุนั มคีวามจ าเป็นในการใช้การศกึษาแบบกระจายโอกาสทางการศกึษาไปสู่ทอ้งถิน่ใหท้ัว่ถงึ สามารถเรยีนรูไ้ด ้ ทุกที ่ ทุกเวลา เรยีนไดทุ้กคน เพื่อใหเ้กดิประโยชน์ต่อการเรยีนรูแ้ละการด าเนินชวีติ ทีต่อ้งการให้ประชาชนคนไทยทุกคน ไดม้โีอกาสศกึษาเล่าเรยีนอย่างทัว่ถงึ เสมอภาคกนั และผลกัดนัใหเ้กดิสงัคมแห่งการเรยีนรู ้ ดงันัน้สถาบนัศกึษาและหน่วยงานภาคธุรกจิไดน้ าทฤษฎกีารเรยีนการสอนแบบ E-Learning มาใชก้นัมากขึน้ เพื่อน ามาใชพ้ฒันาระบบ ดงันี้

    2.2 การเรียนรู้ แบบ E-Learning[1] การเรยีนรู ้แบบ E-Learning เป็น แนวความคดิเกี่ยวกบัการเรยีนรูแ้บบ E-Learning ในขณะที่เทคโนโลยคีอมพวิเตอร ์และการสื่อสารผ่านเครอืข่ายอนิเทอรเ์น็ตได้เขา้มาเป็นส่วนหนึ่งในทางการศกึษา และก าลงัมคีวามส าคญัมากขึน้ซึง่การใชเ้ทคโนโลยคีอมพวิเตอร ์และการสื่อสารผ่านเครอืข่ายอนิเทอรเ์น็ตท าให้การเรยีนรู้มคีวามสะดวกสบายมากขึ้นมเีทคโนโลยทีี่มีประสทิธภิาพ และสามารถใชไ้ดง้า่ยขึน้ดว้ยซึง่สิง่เหล่านี้ จงึเป็นโอกาสทีด่ทีีจ่ะท าใหผู้เ้รยีนมสี่วนร่วม และสามารถเข้าถึงแหล่งทรพัยากรการเรยีนรู้ได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่การใช้สื่อเทคโนโลยอีินเทอร์เน็ตที่ก าลงัขยายขอบเขตการให้บรกิารที่ครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ มากขึ้น E-Learning เป็นส่วนหนึ่งของการเรยีนรู้แบบอเิล็กทรอนิกส์ และเป็นส่วนหนึ่งของการเรยีนทางไกล ซึ่งไม่ไดเ้ป็นเพยีงแค่มเีทคโนโลยเีครอืข่ายอนิเทอรเ์น็ตเท่านัน้ แต่ค าจ ากดัความของการเรยีนรู้แบบ E-Learning ยงัรวมถึงความสามารถที่จะเรยีนรู้ได้ทุกแห่งในทุกเวลา โดยปราศจากการกีดกัน้ทางกายภาพอย่างถาวรกบัเครอืข่ายแบบสายเคเบลิ ซึ่งหมายถึงการน าอุปกรณ์เคลื่อนที่ และคอมพวิเตอรแ์บบพกพามาใช ้เช่น เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดจิทิลั โทรศพัท์ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค เป็นต้น ที่สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ได้ เพื่อน าเสนอ และให้บรกิารข้อมูลทางการศกึษา และเพื่อใช้ในกระบวนการเรยีนการสอนระหว่างนกัเรยีน และคร ู

  • 7

    รปูท่ี 2.1 การเรยีนรู ้แบบ E-Learning

    การเรยีนรู้ แบบ E-Learning เป็นพฒันาการนวตักรรมการเรยีนการสอนมาจากนวตักรรมการเรยีนการสอนทางไกล การจดัการเรยีนการสอนแบบ E-Learning (Electronic Learning) ซึง่ความสมัพนัธร์ะหว่าง E-Learning ซึง่เป็นอกีทางเลอืกหนึ่งของสื่ออเิลก็ทรอนิกสท์ี่ใช้สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกลนับว่าเป็นแนวทางใหม่ต่อการจดัการศึกษาเพื่อให้สอดคลอ้งตามเป้าหมายตามแนวทางใหม่นัน้ ผู้เรยีนจะมอีสิระอย่างเตม็ทีใ่นการศกึษาบทเรยีนผ่านจอภาพของโทรศพัทม์อืถอื หรอื คอมพวิเตอรแ์บบพกพา ณ สถานทีใ่ด และในเวลาใดๆ ก็ได้ แทนที่จะต้องนัง่ศกึษาบทเรยีนผ่าน จอภาพของไมโครคอมพวิเตอร ์ในสถานศกึษา สถานประกอบการ หรอืบ้านพกั ซึ่งผู้เรยีนบางคนอาจประสบ ปญัหาเกี่ยวกบัสภาพความพร้อมทางการเรยีน เช่น ปญัหาส่วนบุคคล ในขณะที่การเรยีนรูด้ว้ย E-Learning สามารถกระท าได้ตลอดเวลา จงึเป็นการใช้เทคโนโลยสีารสนเทศ และการสื่อสารซึ่งประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพวิเตอร ์และเทคโนโลยสีื่อสารไรส้าย ทีส่ามารถเคลื่อนทีจ่บัถอื และพกพาไปในทีต่่างๆ ได ้เช่น เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบ ดจิทิลัโทรศพัท์มอืถอื และเครื่องคอมพวิเตอร์ แบบแบบเขยีน (Tablet PC) เป็นตน้ มาใชใ้นการเรยีนการสอน ณ สถานทีใ่ด และในเวลาใดๆ กไ็ดใ้นการจดัการเรยีนรูแ้บบ E-Learning การใช้ค าสัง่ การพูดคุยสื่อสาร ผ่านเครื่องมอืดจิทิลัส่วนบุคคล เพื่อการเรียนรู้แบบ E-Learning นัน้ท าให้เกิดเป็นการร่วมมือทางการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น (Collaborative Learning) เนื่องจากการเรยีนการสอนแบบเดมินัน้ จะเป็นการสอนทีย่ดึครผููส้อนเป็นส าคญั แต่เมื่อเปลี่ยนการเรยีนการสอนมาเป็นแบบ E-Learning การจดัการเรยีนรู้ก็เปลีย่นแปลงไป จะตอ้งค านึงถงึสิง่ต่างๆดงัต่อไปนี้

  • 8

    1. การตดิต่อ (Connectedness) 2. การสื่อสาร(Communication) ความสร้างสรรค์การสอน (Creative

    Expression) 3. มคีวามรว่มมอืกนัในการเรยีน (Collaboration) 4. ต้องค านึ งถึงธรรมชาติการ เ รียนรู้ของผู้ เ รียนแ ต่ละคน (Cultural

    Awareness) 5. ต้องมกีารท าให้เกิดการแข่งขนัเพื่อให้เกดิความหลากหลายของการเรยีน

    (Competitiveness) การเรยีนการสอนแบบ E-Learning ไดม้ขีอบข่ายของการเรยีนรูด้งันี้

    1. ขอ้มลูค าอธบิายต่างๆ เกี่ยวกบับทเรยีน (Context Data) ไดแ้ก่ ค าอธบิายบทเรียน คู่มือการใช้งาน การช่วยเหลือ และข้อมูลที่จ าเป็นอื่นๆ เพื่ อสนบัสนุน และอ านวยความสะดวกใหก้บัผูเ้รยีนในระหว่างการเรยีนรู้

    2. เครื่องมอืสนับสนุนที่ชาญฉลาด (Intelligent Support Engine) ได้แก่ เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย รวมถึงซอฟต์แวร์ ที่ท าหน้าที่บริหาร และจดัการบทเรยีน (MLMS) เริม่ตัง้แต่การลงทะเบียน น าเสนอ จดัการ ตดิต่อสื่อสาร ตดิตามผล และประเมนิผล รวมถงึอุปกรณ์ประกอบต่างๆเพื่อใช้สนับสนุนการเรียนการสอนผ่านจอภาพของ โทรศัพท์มือถือหรือคอมพวิเตอร ์แบบพกพาส่วนนี้ จะท างานสมัพนัธก์บั Task Model และ User Model ทีไ่ดม้กีารออกแบบไวก่้อนเกี่ยวกบั รปูแบบการด าเนินการเกีย่วกบัภารกจิหรอืกจิกรรมการเรยีนรูท้ีจ่ะน าเสนอใหก้บัผูเ้รยีน

    3. หน่วยเก็บเนื้อหาบทเรยีน (Content Repository) ได้แก่ ส่วนของเนื้อหาบทเรยีนรวมทัง้แบบฝึกหดัแบบทดสอบ และส่วนข้อมูลต่างๆ ที่เป็นองค์ความรูเ้พื่อถ่ายทอดไปยงัผูเ้รยีน

    4. ส่วนของการตดิต่อกบัผูเ้รยีน (Interface) ไดแ้ก่ ส่วนของการปฏสิมัพนัธก์บัผูเ้รยีนผ่านแป้นพมิพ ์และจอภาพของเครือ่ง

    2.3 ความหมายของการเรียนรู้แบบ E-Learning

    หมายถงึเครือ่งมอืสื่อสารทีใ่ชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศในการจดัการทีส่ามารถน าพกตดิตวัไปไหนมาไหนได้สะดวก เช่น โทรศัพท์มอืถือ คอมพวิเตอร์ แบบพกพารวมถึงคอมพวิเตอร ์แบบโน้ตบุ๊ค (Notebook PC) ส่วน Learning มคีวามหมายครอบคลุมทัง้การเรยีน (Learning) และการสอน (Teaching) E-Learning เป็นส่วนหนึ่งของการเรยีนรูแ้บบอเิลก็ทรอนิกส ์ทีม่กีารน าอุปกรณ์เคลื่อนทีเ่ขา้มาใช ้แต่สามารถน ามาใชใ้นการเรยีนการสอนได ้สามารถน ามาใช้ในการเข้าถึงเนื้อหา สามารถใช้สื่อสารกบัคนอื่นได้ และสามารถแลกเปลี่ยนขอ้มูลกนัสามารถเข้าสู่

  • 9

    เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ท าให้เกิดความเป็นอิสระในเรื่องของเวลา และสถานที่ โดยใช้เทคโนโลยเีครอืขา่ย

    ส่วนค าว่า E-Learning หมายถงึการเรยีนในลกัษณะใดกไ็ด ้ซึง่ใชก้ารถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเลก็ทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพวิเตอร์เครอืข่ายอนิเทอร์เน็ต อนิทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ตหรอืทางสญัญาณโทรทศัน์ หรอืสญัญาณดาวเทยีม (Satellite) ก็ได้ ซึ่งเนื้อหาสารสนเทศ อาจอยู่ในรูปแบบการเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) การสอนบนเวบ็ (Web Based Instruction) การเรยีนออนไลน์ (On-line Learning) การเรยีนทางไกลผ่านดาวเทยีม E-Learning ซึง่เป็นอกีทางเลอืกหนึ่งของสื่ออเิลก็ทรอนิกสท์ีใ่ช้สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล นับว่าเป็นแนวทางใหม่ต่อการจัดการศึกษาเพื่อให้สอดคล้องตามเป้าหมายตามแนวทางใหม่ ผู้เรยีนจะม ีอสิระอย่างเต็มที่ ณ สถานที่ใด และในเวลาใดๆ กไ็ด ้ในขณะทีก่ารเรยีนรูด้วย E-Learning สามารถกระท าไดต้ลอดเวลา

    2.4 ระบบบริหาร และจดัการบทเรียน E-Learning

    คอื เนื้อหา(Content) ทีน่บัว่าเป็นหวัใจของการเรยีนรู ้จะไม่มคีวามแตกต่างกันแต่อย่างใด เนื่องจากเป็นส่วนที่ท าใหเ้กดิการเปลี่ยนแปลงพฤตกิรรมของผูเ้รยีนใหเ้กดิการเรยีนรูข้ ึน้หลงัจากศกึษาเนื้อหาบทเรยีนแลว้ สาระส าคญัของบทเรยีนคอมพวิเตอรท์ัง้ 2 ประเภท ยงัคงยดึหลกั 4Is เช่นเดยีวกนั ไดแ้ก่

    1. Information คอื ความเป็นสารสนเทศของเนื้อหาบทเรยีน 2. Interactive คอืการมปีฏสิมัพนัธร์ะหว่างผูเ้รยีนกบับทเรยีน และผูเ้รยีนดว้ยกนั 3. Individualization คอื การส่งเสรมิการเรยีนรูร้ายบุคคล 4. Immediate Feedback คอืการโตต้อบโดยทนัททีีผู่เ้รยีนตอบสนอง ส าหรบัการเรยีน

    การสอนในลกัษณะของ E-Learning ส่วนทีท่ าหน้าทีห่ลกัในการบรหิาร และจดัการรวมทัง้การน าพา (Tacking) ผู้เรยีนตัง้แต่เมื่อแรกเริม่ลงทะเบยีนไปยงัเป้าหมายปลายทางกค็อื LMS (Learning Management System) ซึง่นับว่าเป็นหวัใจของระบบการเรยีนการสอนแบบ E-Learning ที่ท าหน้าที่จดการเรยีนการสอนแทนผูส้อนทัง้หมด

  • 10

    รปูท่ี 2.2 โครงสรา้งของ E-Learning

    จากรปูที ่2.2 เป็นโครงสรา้งของ E-Learning ซึง่ประกอบดว้ย 1. ส่วนของผู้สอน ส่วนนี้ จะเป็นส่วนของผู้สอนที่จะท าการเนื้ อหาบน

    คอมพวิเตอร ์ แลว้ท าการ Up Load ขึน้ server ซึ่งเนื้อหาทีส่อนนัน้จะเป็นส่วนของ เนื้อหา แบบฝึกหดั แบบทดสอบ ไฟลม์ลัตมิเีดยี เป็นตน้

    2. ส่วนของผู้เรยีนเขา้ไปไปศกึษาเนื้อหาโดยสามารถเขา้ได้โดยทางเวบ็ไซด์โดยผ่านเว็บ บราวเซอร์,เว็บบราวเซอร์ หรอืโหลดเนื้อหามาศึกษาผ่านโปรแกรมส าเรจ็รูป การจดัการเรยีนการสอนผ่านต้องมโีปรแกรมส าหรบัจดัการเรยีนการสอน หมายถงึ ระบบการจดัการเรยีนการสอนผ่าน โดยในส่วนนี้จะมอีงค์ประกอบ 3 ส่วนดว้ยกนัคอื

    การจดัการเนื้อหาและปรบัเปลี่ยน เป็นส่วนที่ท าหน้าที่ในการจดัการเนื้อหา น าเสนอเนื้อหาผ่านหน้าจอโทรศัพท์ และน าส่งขอ้มลูขา่วสาร ส าหรบัการเรยีนการสอน

    ส่วนประกอบ และการก าหนดเวลาที่ตรงกนัส าหรบัการเรยีนการสอนเป็นส่วนของระบบที่ท าหน้าที่จดัองค์ประกอบต่างๆ เข้ามาเกีย่วขอ้ง

    ส่วนสภาพแวดล้อมและการค้นคว้า ข้อมูล เ ป็นส่ วนที่ จ ัดสภาพแวดล้อมส าหรับการเรียนรู้ โดยเน้นไปในเรื่องของการจดัการใชง้านช่องสญัญาณโทรศพัท ์และจดัการคน้ควา้ขอ้มลู ช่องทางการเขา้สู่ขอ้มลู

    3. ส่วนทีเ่ป็นระบบการจดัการเรยีนรูแ้บบอเิลก็ทรอนิกส(์eLMS : Electronic-learning Management System) ประกอบดว้ย 4 ชัน้ ดงันี้[2]

    ชัน้ที่เป็นหน้าจอภาพ เป็นส่วนที่แสดงผลของเนื้อหา สามารถสัง่งานหรอืเลอืกรายการในการเรยีนรูไ้ดโ้ดยผูเ้รยีนโดยผ่านเวบ็

  • 11

    ชัน้ของการน าเสนอ เป็นชัน้ที่ตดิต่อระหว่างหน้าจอภาพของกบัส่วนที่เป็นโปรแกรมในการน าเสนอข้อมูลของระบบ เป็นชัน้ที่ท าหน้าทีเ่ป็นโปรแกรมเชื่อมต่อระหว่างหน้าจอภาพกบัขอ้มลูเนื้อหา

    ชัน้ของการจดัการ ที่ท าหน้าที่ในการจดัการเนื้อหาขอ้มูลต่างๆ ที่จะไปน าเสนอในชัน้หน้าจอภาพ จะท าหน้าที่ในการบรหิารจดัการเนื้อหาให ้ เป็นระบบจดัการตดิต่อระหว่างผูใ้ชโ้ปรแกรมกบัขอ้มูล จดัการเกี่ยวกบัรายละเอยีดการเขา้สู่ ระบบของผู้ใช้งาน รายงานประวตักิารเขา้สู่ระบบของผูใ้ช ้

    ชัน้ตดิตัง้ขอ้มลู เป็นชัน้ทีจ่ดัท าเป็นฐานขอ้มลูต่างๆ เพื่อการจดัเกบ็เนื้อหาของระบบ การจัดการเรียนรู้โดยจัดเก็บในรูปของไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีการจดัเก็บข้อมูลหลักๆได้แก่ การจัดเก็บฐานขอ้มูลของเนื้อหาส าหรบัการเรยีนเป็นเรื่องๆ หรอืการจดัเก็บเป็นชิน้(Learning Object : Lo) ซึง่สามารถเกบ็เป็นเรื่องๆ กี่เรื่องก็ได้ รวมทัง้การจดัเก็บข้อมูลส าหรับติดต่อกับผู้เรียน และข้อมูลโดยรวมของระบบ

    4. อุปกรณ์ ทีใ่ช้ในการเรยีนการสอนแบบ E-Learning คอื การจดัการเรยีนการสอนบนพืน้ฐานของมาตรฐาน International Mobile Telecommunications 2000, IMT-2000 ภายใต้กลุ่มของ International Telecommunication Union อตัราความเรว็ในการส่งขอ้มลู (Transmission Rate) มากกว่า 144 กโิลบติ/วนิาท ีในทุกสภาวะ ถงึ 2 เมกกะบติ/วนิาท ี

    5. ข้อดีและข้อเสียของการเรยีนรู้แบบ E-Learning การเรยีนเป็นการใช้เทคโนโลยทีีส่ามารถเคลื่อนทีไ่ด ้และมขีนาดเลก็ ซึง่น ามาใชป้ระโยชน์ทางการศกึษาในด้านการบรหิารจดัการ การจดัระบบระเบยีบการเรยีนการสอน เป็นอุปกรณ์ การสอนส าหรบัผสูอน และยงัเป็นอุปกรณ์ทีส่นับสนุนการเรยีนการสอนส าหรบัผูเ้รยีนไดอ้กีดว้ย โดยมจีดุแขง็ และจดุอ่อนดงัต่อไปนี้

    จุดแข็งของการเรียนรู้แบบ E-Learning ผู้เรียนสามารถมีปฏสิมัพนัธ์กบัผู้อื่นได้มากขึน้ มลีกัษณะของความเป็นส่วนตวัสูง ดงันัน้วธินีี้จะสามารถช่วยเหลอื และส่งเสรมิทกัษะการอ่าน และเขยีน

    - มคีวามเป็นส่วนตวั และอสิระทีจ่ะเลอืกเรยีนรู ้และรบัรู้ - ไมม่ขีอ้จ ากดัดา้นเวลา สถานที ่เพิม่ความเป็นไปไดใ้น

    การเรยีนรู ้ - มแีรงจงูใจต่อการเรยีนรูม้ากขึน้ - ส่งเสรมิใหเ้กดิการเรยีนรูไ้ดจ้รงิ

  • 12

    - ส่งเสริมให้มกีารสื่อสารกับเพื่อน และผู้สอนมากขึ้น ดว้ยเทคโนโลย ีท าใหเ้ปลีย่นสภาพการ

    - เรียนจากที่ยึดผู้สอนเ ป็นศูนย์กลาง ไปสู่ การมีปฏสิมัพนัธโ์ดยตรงกบัผูเ้รยีน

    - สามารถรบัขอ้มูลที่ไม่มกีารระบุชื่อได ้ซึง่ท าใหผู้้เรยีนทีไ่มม่ ัน่ใจกลา้แสดงออกมากขึน้

    - สามารถส่งข้อมูลไปยังผู้สอนได้ อีกทัง้ส่งกระจายซอฟตแ์วรไ์ปยงั ผูเ้รยีนทุกคนได ้

    - ลดความเหลื่อมล ้าทางดจิทิลั - สะดวกสบาย และมปีระสทิธภิาพทัง้ในสภาพแวดลอ้ม

    ทางการเรยีน และการท างาน - ส่งเสรมิให้ผู้เรยีนมคีวามกระตือรือร้นทางการเรยีน

    และมคีวามรบัผดิชอบต่อการเรยีน จดุอ่อนของการเรยีนรูแ้บบ E-Learning

    - การพฒันาดา้นเทคโนโลยอีย่างทนัสมยั บางครัง้กย็งัสวนทางกบั ระบบสญัญานทีย่งัไมไ่ดถู้กพฒันาไปคู่กนั

    - ขาดความใกลช้ดิระหว่างครกูบันักเรยีนนักเรยีนต้องมีความรบัผดิชอบตนเองในการเรยีน

    - ยงัไม่มมีาตรฐานความปลอดภยัของขอ้มลู ท าใหก้ารพฒันาวิธีการเรยีนรู้ แต่หากมรีูปแบบ และสามารถพฒันาใหเ้ป็นต้นแบบ ขึน้มาจรงิๆ การเรยีนแบบนี้ จะเอื้อประโยชน์อย่างมากส าหรบัผู้ที่ต้องการความเป็นส่วนตวัในการเรยีน เรยีกได้ว่าเป็นการขยายโอกาสการเรยีนรูใ้หก้วา้งขวางขึน้

    2.5 ระบบบริหาร และจดัการบทเรียน Learning Management System : LMS 2.5.1 ระบบบรหิารการเรยีนการสอน [Learning Management System] ได้มี

    นกัวชิาการกล่าวไวด้งันี้ คอื ประกอบ คุปรตัน์ ได้ใหค้วามหมายของ LMS ว่าเป็นระบบจดัการเรยีนการสอน

    ออนไลน์ หรอื E- Learning เป็นซอฟต์แวรท์ี่ช่วยในระบบจดัการห้องเรยีนเสมอืน ท าให้สถาบนัการศกึษาหรอืแหล่งจดัการเรยีนการสอนสามารถใหผู้เ้รยีนไดม้ี Login และ Password เพื่อมสีทิธเิขา้เรยีน สามารถจดัการเลอืกสรรรายวชิาทีจ่ะเรยีน มบีนัทกึเกี่ยวกบัเวลาและขอ้มลูการเขา้เรยีนและการท ารายงานผลใหก้บัระบบการศกึษา

  • 13

    กิตติพงษ์ พุ่มพวง ได้ให้ความหมาย LMS ว่าเป็นระบบจดัการเรยีนการสอนผ่านเครอืข่าย มเีครื่องมอืและส่วนประกอบทีส่ าคญัส าหรบัผู้สอน ผูเ้รยีนและผู้ดูแลระบบ ได้แก่ ระบบจดัการรายวชิา ระบบจดัการสรา้งเนื้อหา ระบบบรหิารจดัการผูเ้รยีน ระบบส่วนการจดัการขอ้มลู บทเรยีน และระบบเครือ่งมอืช่วยจดัการสื่อสารและปฏสิมัพนัธ ์และจดักระบวนการเรยีนรู ้ไดแ้ก่ การสื่อสาร Chat e-mail Web board การเขา้ใช้ การเกบ็ขอ้มลูและการรายงานผล เป็นตน้

    ชยัรตัน์ ไชยพจน์พานิช ไดใ้หค้วามหมายของ LMS ว่าเป็นซอฟต์แวรบ์รหิารจดัการรายวชิาทีร่วบรวมเครื่องมอื ซึง่ออกแบบไวเ้พื่ออ านวยความสะดวกแก่ผูใ้ชง้าน ในการจดัการเรียนการสอนออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยสนับสนุนผู้ใช้งาน 4 กลุ่ม คือ ผู้เรียน [Student] ผูส้อน[Instructor] เจา้หน้าทีท่ะเบยีน [Registration] และผูดู้แลระบบ [Administrator] ซึง่เครื่องมอืและระดบัสทิธใินการเขา้ใชท้ีจ่ดัหาไวใ้หจ้ะมคีวามแตกต่างกนัไปตามแต่การใชง้านของแต่ละกลุ่ม ดงันัน้สรุปไดว้่า Learning Management System หรอื LMS เป็นระบบจดัการเกี่ยวกับการบริหารการเรียน ในรูปแบบ E-learning เพื่อจัดการกับการใช้คอร์สแวร ์[Courseware] ในรายวชิาต่างๆ ระหว่างผูส้อน [Instructor] ผูเ้รยีน [Student] เจา้หน้าทีท่ะเบยีน [Registration] และผูดู้แลระบบ [Administrator] โดยออกแบบระบบเพื่อเป็นระบบซอฟต์แวรท์ี่ท าหน้าที่ บรหิารจดัการเรยีนการสอนผ่านเวบ็ จะประกอบด้วยเครื่องมอือ านวยความสะดวก เช่น โปรแกรมจะท าหน้าที่ตรวจสอบการเข้ามาใช้บทเรยีน เนื้อหา กจิกรรมต่างๆ ตารางเรยีนไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถามตอบ การท าแบบทดสอบ เป็นต้น และองค์ประกอบที่ส าคญั คือ การเก็บบนัทกึข้อมูลกิจกรรมการเรยีนของผู้เรยีนไว้บนระบบเพื่อผูส้อนสามารถน าไปวเิคราะหต์ดิตามและประเมนิผลการเรยีนการสอนไดอ้ยา่งมปีระสทิธภิาพ

    การน าระบบ LMS ไปประยกุตใ์ช้งาน ระบบ LMS สามารถน าไปประยุกต์ใชง้านไดอ้ย่างหลากหลายอาทิ สถาบนัการศกึษา

    ศูนยฝึ์กอบรม หน่วยงานราชการ บรษิทัเอกชน โดยในการน าไปใชง้านผูใ้ชส้ามารถ ปรบัการใช้งานให้เหมาะสมกบัหน่วยงานส าหรบัรายละเอยีดในการน าระบบ LMS มาใช้งานนัน้ เราสามารถแบ่งเป็นขัน้ตอนต่างๆออกเป็น 3 ขัน้ตอนหลกัๆ คอื การประเมนิภายในองคก์ร, การจดัซือ้จดัหา และสุดทา้ยคอื การอมิพลเีมนต ์

    ผูใ้ช้งานในระบบ LMS ส าหรบัผูใ้ชง้านในระบบ LMS นัน้สามารถทีจ่ะแบ่งไดเ้ป็น 3 กลุ่ม คอื

    1. กลุ่มผูบ้รหิารระบบ (Administrator) ท าหน้าทีใ่นการตดิตัง้ระบบ LMS การก าหนดค่าเริม่ต้นของระบบ การส ารองฐานขอ้มลู การก าหนดสทิธิก์ารเป็นผูส้อน

    2. กลุ่มอาจารยห์รอืผูส้รา้งเนื้อหาการเรยีน (Instructor / Teacher): ท าหน้าที่ในการเพิม่เนื้อหา บทเรยีนต่างๆ เขา้ระบบ อาท ิขอ้มลูรายวชิา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมนิผู้เรยีนโดยใช้ขอ้สอบ ปรนัย อตันัย

  • 14

    การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบค าถาม และสนทนากับนกัเรยีน

    3. กลุ่มผูเ้รยีน (student/Guest): หมายถงึนักเรยีน นักศกึษา ทีส่มคัรเขา้เรยีนตามหัวข้อต่างๆ รวมทัง้การท าแบบฝึกหัด ตามที่ได้รบัมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถท าการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตัง้รหสัผ่านในการเขา้เรยีนแต่ละวชิาได ้

    2.5.2 องคป์ระกอบของระบบบรหิารการเรยีนการสอน LMS [Learning Management System] องคป์ระกอบของ LMS ประกอบดว้ย 5 ส่วนดงันี้

    1. ระบบจดัการหลกัสูตร (Course Management) กลุ่มผูใ้ช้งานแบ่งเป็น 3 ระดบั คอืผู้เรยีน ผู้สอน และผู้บรหิารระบบ โดยสามารถเขา้สู่ระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครอืข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสามารถรองรบัจ านวน user และ จ านวนบทเรียนได้ ไม่จ ากัด โดยขึ้นอยู่กับ hardware/software ที่ใช้ และระบบสามารถรองรบัการใช้งานภาษาไทยอยา่งเตม็ รปูแบบ

    2. ระบบการสร้างบทเรยีน (Content Management) ระบบประกอบด้วยเครือ่งมอืในการช่วยสรา้ง Content ระบบสามารถใชง้านไดด้ทีัง้กบับทเรยีนในรปู Text - based และบทเรยีนในรปูแบบ Streaming Media

    3. ระบบการทดสอบและประเมนิผล (Test and Evaluation System) มรีะบบคลงัข้อสอบ โดยเป็นระบบการสุ่มข้อสอบสามารถจบัเวลาการท าข้อสอบและการตรวจขอ้สอบอตัโนมตัพิรอ้มเฉลย รายงานสถติ ิคะแนน และสถติิการเขา้เรยีนของนกัเรยีน

    4. ระบบส่งเสรมิการเรยีน (Course Tools) ประกอบดว้ยเครื่องมอืต่างๆ ทีใ่ช้สื่อสารระหว่าง ผูเ้รยีน - ผู้สอน และ ผู้เรยีน - ผูเ้รยีน ได้แก่ Web board และ Chat room โดยสามารถเกบ็History ของขอ้มลูเหล่านี้ได ้

    5. ระบบจดัการขอ้มูล (Data Management System) ประกอบด้วยระบบจดัการไฟล์และโฟลเดอร ์ผู้สอนมเีนื้อที่เก็บขอ้มูลบทเรยีนเป็นของตนเอง โดยได้เนื้อที่ตามที่ Admin ก าหนดให้ดงันัน้สรุปได้ว่า องค์ประกอบของ LMS ประกอบดว้ย 5 ส่วน ระบบจดัการหลกัสูตร(Course Management) กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดบัคอื ผูเ้รยีน ผูส้อน และผูบ้รหิารระบบ ระบบการสรา้งบทเรยีน (Content Management) ระบบประกอบดว้ยเครื่องมอืในการช่วยสร้าง Content ระบบการทดสอบและประเมนิผล (Test and Evaluation System) มรีะบบคลงัขอ้สอบ ระบบส่งเสรมิการเรยีน (Course Tools) ประกอบดว้ยเครื่องมอืต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผู้เรยีน - ผู้สอน และ ผูเ้รยีน -ผูเ้รยีน ไดแ้ก่ Web board และ Chat room ระบบจดัการ

  • 15

    ขอ้มลู (Data Management System)ประกอบด้วยระบบจดัการไฟลแ์ละโฟลเดอร ์

    2.5.3 ความสามารถของระบบ Learning Management System 1. สนับสนุนระบบ e-learning แบบ blended learning โดยจะต้องมกีาร

    ผสมผสานกนัอย่างลงตวัระหว่างการเรยีนในห้องเรยีนจรงิและห้องเรยีนเสมอืน เพราะแนวโน้มของ E-Learning ก าลงัไปในทศิทางของ blended learning

    2. LMS จะตอ้งสามารถใชง้านรว่มกบัระบบของฝ่ายทรพัยากรบุคคล (Human Resource System) ได ้ทัง้นี้เพราะขอ้มลูการเรยีน และการพฒันาความรู้ของผู้เรยีนเป็นข้อมูลหน่ึงที่เป็นประโยชน์ส าหรบังานของฝ่ายทรพัยากรบุคคล เพื่อการคดัสรรและพฒันาบุคลากรทีม่คีวามรูค้วามสามารถใหเ้หมาะกบังาน

    3. ผูดู้แลระบบ หรอือาจารยผ์ู้สอน จะต้องมคีวามสามารถในการจดัการ และก าหนดกฎต่างๆ ใหเ้ขา้กบัผู้เรยีนแต่ละรายได้ และมคีวามสามารถในการตดิตามดพูฤตกิรรม และจดัท ารายงานต่างๆ เพื่อประมวลผล

    4. มคีวามจ าเป็นอย่างยิง่ที่ LMS จะต้องสามารถใช้งานร่วมกบัซอฟต์แวร์ประเภทCourseware ได้จากหลากหลายค่ายโดยไม่มปีญัหา และการน าบทเรยีนจากหลายๆ ที่เขา้มาใช้งานในระบบต้องถูกออกแบบใหท้ าไดโ้ดยวธิงีา่ยๆ ไมยุ่ง่ยาก

    5. LMS จะต้องสนับสนุนการใชง้านตามมาตรฐาน และขอ้ก าหนดต่างๆ ทีถู่กใชง้านกนัอยา่งแพรห่ลาย เช่น SCORM และ AICC

    6. LMS จะตอ้งมกีลไกลในการค านวณ, การทดสอบ, การประมวลผลความรูท้ี่ผูเ้รยีนไดเ้รยีนผ่านไปแลว้

    7. ความสามารถดา้น Skills management จะช่วยในการจดัการควบคุม และวิเคราะห์ความสามารถของพนักงานของหน่วยงาน ว่ามีทักษะความรู้ความสามารถ หรอืเชี่ยวชาญในเรื่องใดเป็นพิเศษ หรอืจ าเป็นต้องเพิ่มทกัษะความรูใ้นดา้นใดบา้ง

    8. LMS จะต้องมเีครื่องมอืที่สนับสนุนกจิกรรม การเรยีนร่วมกนัของผู้เรยีน เช่น กระดานขา่ว, หอ้งสนทนา, ระบบช่วยเหลอืแบบออนไลน์, help desks เป็นต้น ความสามารถน้ีจะช่วยท าให้ผู้เรยีนสามารถแบ่งปนัความรู้ที่ได้เรยีนมา กบัผูเ้รยีนคนอื่นๆ

    9. มคีวามสามารถในการจดัการคอนเท็นต์ และบทเรยีนอยู่บ้าง เช่น การโยกยา้ยเปลีย่นแปลง แกไ้ขเนื้อหาในบทเรยีน แต่กไ็มใ่ช่ประเดน็ส าคญัมาก

  • 16

    นักส าหรบัองค์กรที่เพิง่เริม่ใช้ E-learningและระบบที่สามารถจะจดัการกบัคอนเทน็ตใ์นระดบัลกึๆ นัน้เป็นหน้าทีข่องระบบ LCMS มากกว่า

    2.5.4 ขอ้ดแีละขอ้จ ากดัของระบบบรหิารจดัการการเรยีนรู ้ขอ้ดแีละขอ้จ ากดัของระบบบรหิารจดัการการเรยีนรูท้ีไ่ด้น าเสนอในบทความนี้

    มาจากการศกึษารายงานการประเมนิ ระบบบรหิารจดัการการเรยีนรูจ้ านวนหลายชิน้ดว้ยกนั ซึง่วตัถุประสงคข์องรายงานส่วนใหญ่ ไดแ้ก่ การแนะน าเกี่ยวกบัการเลอืกระบบบรหิารจดัการการเรยีนรู้ส าหรบัสถาบนัการศึกษาหรอืบรษิัทต่างๆ นอกจากนี้ ขอ้มูลบางส่วนมาจากการศกึษาบทความทีไ่ดร้บัการตพีมิพ ์ซึง่มกีารอภปิรายเกี่ยวกบัขอ้ดแีละขอ้จ ากดัของระบบบรหิารจดัการการเรยีนรูใ้นปจัจบุนั ซึง่สามารถสรปุไดด้งัน้ี ขอ้ด ี

    1) ระบบบรหิารจดัการการเรยีนรูใ้นปจัจุบนั ครอบคลุมเครื่องมอืทีห่ลากหลายขึน้มาก เมื่อเปรยีบเทยีบกบัในช่วงแรกที่ได้มกีารพฒันาระบบฯ ขึ้น จากเวบ็ไซต์ edutools ทีเ่ป็นเวบ็ไซต์ทีไ่ดม้กีารน าเสนอขอ้มลูและรายงานการเปรยีบเทยีบระบบฯ ต่างๆ ที่ได้มกีารใช้งานกนัอยู่จรงิ พบว่ารายการของเครือ่งมอืบนระบบบรหิารจดัการการเรยีนรูท้ี่ใชใ้นการประเมนิมอียู่มากกว่า 30 รายการด้วยกนั ซึ่งครอบคลุมตัง้แต่เครื่องมอืส าหรบัการจดัระบบที่ไม่สลบัซบัซ้อน เช่น ปฏิทิน (calendar)ไปจนถึงเครื่องมือขัน้สูงที่สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เรยีนมสี่วนร่วมกับการเรยีนให้มากขึ้น เช่น เครื่องมอืรวบรวมชิน้งานผูเ้รยีน (student portfolios) เป็นตน้

    2) การพัฒนาระบบบริหารจดัการการเรียนรู้ในปจัจุบันไม่ได้จ ากัดเฉพาะปรมิาณของเครื่องมอื แต่ยงัครอบคลุมในด้านของคุณภาพของเครื่องมอืบางประเภทดว้ย ตวัอยา่งเช่น เครือ่งมอืในลกัษณะเวบ็บอรด์ หรอื กระดานเสวนา (อาจเรยีกว่า Discussion Forums) ซึง่ ในขณะนี้เครื่องมอืดงักล่าวไม่ได้จ ากดัเฉพาะแค่ความสามารถในการอนุญาตผู้ใช้ในการจดัเรยีงและแสดงข้อความที่ได้น าเสนอเท่านัน้ หากแต่ยงัสามารถคอยอพัเดตข้อมูลการโพสต์ลงบนกระดานเสวนา และส่งอเีมล์แจ้งให้ทราบไปยงัผู้รบัเมื่อมีขอ้ความใหม่ๆ ไดร้บัการโพสต ์เป็นตน้

    3) ระบบบรหิารจดัการเรยีนรู้ส่วนใหญ่ในขณะนี้สามารถน าไปเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ ไดต้วัอยา่งเช่น การเชื่อมต่อของระบบฯ กบัระบบอื่นๆ ไดอ้ย่างมปีระสทิธภิาพ เช่น ระบบฐานขอ้มลูระบบ SAP ระบบ KMS เป็นตน้

    4) มรีะบบบรหิารจดัการการเรยีนรูท้ี่ไดร้บัการพฒันาขึน้ในช่วงหลงัมากขึน้ที ่เป็น OpenSource ซึ่งหมายถงึการที่ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดระบบฯ มาพฒันา หรอืปรบัใชไ้ดโ้ดยไมต่อ้งเสยีค่าใชจ้า่ย เมื่อเปรยีบเทยีบกบัระบบใน

  • 17

    ลกัษณะเชงิพาณิชย์ (proprietary) ซึ่งผู้ใช้จ าเป็นต้องเสยีค่าใช้จ่าย ซึ่งมกัจะคดิค่าใชจ้า่ยค่าลขิสทิธิซ์อฟตแ์วร ์(license) เท่ากบัจ านวนของผูใ้ช ้

    โดยทัว่ไปการพฒันาระบบการเรยีนการสอนผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์หรือ ระบบ E-Learning ครบวงจร จะประกอบดว้ยอยา่งน้อย 4 ส่วนคอื

    1. Learning Management System (LMS) เป็นระบบบรหิารการจดัการเรยีนการสอนโดยใช้คอมพวิเตอร์มาช่วยในการ

    จดัการกบักระบวนการเรยีนรู้ซึ่งรวมไปถงึการทดสอบวดัผล เก็บบนัทกึขอ้มูลในการเรยีนการสอนของผู้เรยีนแต่ละคน ในอดตีจะเรยีกว่า CMI (Computer Managed Instruction) การบรกิารดา้นการเรยีนการสอนหน้าทีห่ลกัๆ คอื ระบบบรหิารจดัการ ระบบจดัการหลกัสูตร ระบบการสรา้งคลงัขอ้สอบ ระบบการประเมนิผลการเรยีน การเลอืกวชิาและลงทะเบยีน ปฏทินิการเรยี�


Recommended