1
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมแก่การเจริญของเส้นใยเห็ดหอม และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการนามาเป็นส่วนผสม ในขนมพื้นบ้านนั่นคือ ขนมต้ม ทดลองเลี้ยงในอาหาร 5 ชนิด ดังนี้ อาหาร potato dextrose agar, sweet potato dextrose agar, sabouraud dextrose agar, malt extract agar และ yeast malt agar ที่อุณหภูมิ 25 27 และ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 7 วัน จากนั้น วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของเส้นใยเห็ดหอมอบแห้ง มาวิเคราะห์หาค่าปริมาณความชื้น (AOAC, 1995) ปริมาณโปรตีน (Lowry’s method, 1951) ไขมัน (Gravimetric Method; AOAC, 1995) เถ้า (Muffle furnace; AOAC, 1995) และนาตาลรีดิวซ์ (Nelson Somogyi method, 1952) พบว่าเส้นใยเห็ดหอมมีการเจริญได้สูงสุดบนอาหาร potato dextrose agar ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีผลการวิเคราะห์คุณค่าทาง โภชนาการของเส้นใยดังนี้ 90.10±0.120%, 0.10± 0.002mg/ml, 1.22±0.161%, 2.97±0.000%, 0.36±0.195 mg/ml ตามลาดับ จากผลการ ทดลองแสดงให้เห็นว่า เส้นใยเห็ดหอมอบแห้งมีคุณค่าทางอาหารสูงสามารถนามาเป็นส่วนผสมในขนมเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของขนมต้มด้วย วัตถุประสงค์ บทคัดย่อ ผลและวิจารณ์การทดลอง 1 เพื่อศึกษาสูตรอาหารวุ้นที่เหมาะสมต่อการนามาเพาะเลี้ยงเส้นใยเห็ดหอม 2 เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดหอม 3 เพื่อศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของเส้นใยเห็ดหอม เพื่อนามาแปรรูปและเพิ่มมูลค่าของเส้นใยเห็ดหอม บทนา วิธีการ ตารางที่ 1 การวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโคโลนีบนอาหาร PDA, SDA, YM, SPDA และ MA ที่อุณหภูมิ 25, 27 และ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 7 วัน คุณสมปรีดา บุตรสีสาย. การผลิตหัวเชื้อเห็ดหอมในอาหารเหลว. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี. นภาพร รัตนสมบูรณ์. 2537. การหาสภาวะที่เหมาะสมในการอบแห้งเห็ดหอม. หน้า 81. วิทยานิพนธ์ (วศ.ม. วิศวกรรมอาหาร) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ภาพที่ 1 เส้นใยเห็ดหอมที่เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA, SPDA. SDA, YM และ MA ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เวลา 7 วัน การหาชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อและอุณหภูมิที่เหมาะสม ที่อุณหภูมิ 25, 27 และ 30 องศาเซลเซียส อ้างอิง ขอขอบพระคุณ ดร. พิชญาภรณ์ สุวรรณกูฏ ที่ให้คาปรึกษา คาแนะนา ตลอดการทางานวิจัยครั้งนี้ ทาให้งานวิจัยนีสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบว่า ชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อและอุณหภูมิที่เหมาะสมสาหรับการเจริญของเส้นใยเห็ดหอม คือ potato dextrose agar (PDA) ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส รองลงมาคือ sweet potato dextrose agar (SPDA) ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส และจากการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของเส้นใยเห็ดหอม เมื่อนาค่าที่ได้ไปเทียบกับ คุณค่าทางโภชนาการของเห็ดหอม พบว่า มีปริมาณที่มากกว่า นอกจากนี้เส้นใยเห็ดหอมยังสามารถนาไปเป็นส่วนผสม เพื่อเพิ่มคุณค่าแก่ขนมไทย เช่น ขนมต้ม ได้อีกด้วย เห็ดหอม หรือ ซิอิตาเกะ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Lentinus edodes เป็นที่ยอมรับกันมาตั้งแต่อดีตกาลจวบจนถึงปัจจุบัน ว่า เห็ดหอมไม่เพียงแต่มีรสชาติหวานหอมชวนรับประทาน แต่ยังมีโปรตีนสูง มีคุณค่าทางอาหารเพียงพอที่จะสามารถใช้ทดแทนโปรตีนจาก เนื้อสัตว์ไดรวมถึงมีสรรพคุณมากมายในการเป็นยารักษาและป้องกันสารพัดโรค การผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้มีการนาเห็ดหอมมาสกัดเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และเป็นอาหารเสริมสุขภาพ ซึ่งจะใช้ในส่วน ของดอกเห็ด แต่ข้อเสียของการใช้ดอกเห็ดคือ ดอกเห็ดนั้นมีขั้นตอนการเพาะเลี้ยงที่ซับซ้อนใช้เวลานานและผลผลิตดอกเห็ดที่ได้ก็มีปริมาณน้อย อีกทั้งดอกเห็ดหอมยังมีราคาแพง เพราะเป็นเห็ดที่ได้รับความนิยมในการบริโภค จากการตรวจเอกสารพบว่าการเพาะเลี้ยงเส้นใยเห็ดหอมบน อาหารแข็งและในอาหารเหลวนั้นใช้ระยะเวลาในการเพาะเลี้ยงสั้นกว่าการผลิตดอกเห็ดประมาณ 3-5 เท่าทาให้มีการผลิตที่สูง แล้วคุณค่าทาง อาหารที่ได้จากเส้นใยก็ไม่แตกต่างจากในดอกเห็ด นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการเจริญของเส้นใยได้คงที่ ลดผลกระทบ จากปัจจัยภายนอกให้น้อยลงได้อีกด้วย การหาสภาวะที่เหมาะสมและการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการของเส้นใยเห็ดหอม Lentinus Edodes Optimization and Analysis of The Nutritional Value of Lentinus Edodes Mycelium เบญญาภา สวนสระแก้ว 1 พิชญาภรณ์ สุวรรณกูฏ 1 1 ภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, อาเภอวารินชาราบ , จังหวัดอุบลราชธานี, 34190 การหาชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อและอุณหภูมิที่เหมาะสม ที่อุณหภูมิ 25, 27 และ 30 องศาเซลเซียส การเพาะเลี้ยงเส้นใยเห็ดหอมในอาหารเหลว การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ -การวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น (Gravimetry AOAC, 1995) -การวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีน ( Lowry - Folin method ) -การวิเคราะห์หาปริมาณไขมัน (Gravimetric Method; AOAC, 1995) -การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า (Muffle furnace; AOAC, 1995) -การวิเคราะห์หาปริมาณน้าตาลรีดิวซ์ (Nelson – Somogyi) การนาเส้นใยเห็ดหอมมาเป็นส่วนผสมในขนมต้ม การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ ตารางที่ 2 การวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น, โปรตีน, ไขมัน, เถ้า และนาตาลรีดิวซ์ SPDA PDA SDA YM MA ศึกษาชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสมสาหรับการเจริญของเส้นใย เห็ดหอม ตัดชิ้นวุ้นบริเวณปลายเส้นใย ด้วย cork borer ขนาด 0.5 มม. ถ่ายลงในจานเพาะเลี้ยงเชื้อทั้ง 5 ชนิด ชนิดละ 9 plate นาไปบ่มที่อุณหภูมิ 25, 27 และ 30 o C เป็น เวลา 7 วัน นาไปวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ตัดชิ้นวุ้นจากอาหารเลี้ยงเชื้อที่เหมาะสม บริเวณปลายเส้นใย ด้วย cork borer ขนาด 0.5 มม. ถ่ายลงในอาหารเหลว ปริมาตร 50 ml บ่มเขย่าที่ 100 รอบ/ นาที เป็นเวลา 14 วัน กรองเอาเส้นใย เอาเส้นใยไปอบแห้งทีอุณหภูมิ 60 o C 4 ชม. - Potato dextrose agar (PDA) - Sweet potato dextrose agar (SPDA) - Sabouraud dextrose agar (SDA) - Malt extract agar (MA) - Yeast malt agar (YM) อาหารเลี้ยงเชื้อ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางโคโลนี (ซม.) 7 วัน อุณหภูมิ (°ซ ) 25 27 30 Potato dextrose agar (PDA) 4.27 3.80 2.07 Sweet potato dextrose agar (SPDA) 4.10 4.33 1.63 Sabouraud dextrose agar (SDA) 2.47 2.46 1.40 Malt extract aga (MA) 2.67 3.20 1.40 Yeast malt agar (YM) 2.30 2.40 1.40 วิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ การวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น (Gravimetry AOAC, 1995) 90.10 ± 0.120% การวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีน ( Lowry - Folin method ) 0.10 ± 0.002mg/ml การวิเคราะห์หาปริมาณไขมัน (Gravimetric Method; AOAC, 1995) 1.22 ± 0.161 % การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า (Muffle furnace; AOAC, 1995) 2.97 ± 0.000 % การวิเคราะห์หาปริมาณ้าตาลรีดิวซ์ (Nelson – Somogyi) 0.36 ± 0.195 mg/ml

Optimization and Analysis of The Nutritional Value …nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015217.pdfว เคราะห ผลการว เคราะห การว เคราะห

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Optimization and Analysis of The Nutritional Value …nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015217.pdfว เคราะห ผลการว เคราะห การว เคราะห

กตตกรรมประกาศ

งานวจยนมวตถประสงคเพอหาสภาวะทเหมาะสมแกการเจรญของเสนใยเหดหอม และวเคราะหคณคาทางโภชนาการน ามาเปนสวนผสมในขนมพนบานนนคอ ขนมตม ทดลองเลยงในอาหาร 5 ชนด ดงน อาหาร potato dextrose agar, sweet potato dextrose agar, sabouraud dextrose agar, malt extract agar และ yeast malt agar ทอณหภม 25 27 และ 30 องศาเซลเซยส เปนเวลา 7 วน จากนนวเคราะหคณคาทางโภชนาการของเสนใยเหดหอมอบแหง มาวเคราะหหาคาปรมาณความชน (AOAC, 1995) ปรมาณโปรตน (Lowry’s method, 1951) ไขมน (Gravimetric Method; AOAC, 1995) เถา (Muffle furnace; AOAC, 1995) และน าตาลรดวซ (Nelson Somogyi method, 1952) พบวาเสนใยเหดหอมมการเจรญไดสงสดบนอาหาร potato dextrose agar ทอณหภม 25 องศาเซลเซยส มผลการวเคราะหคณคาทางโภชนาการของเสนใยดงน 90.10±0.120%, 0.10± 0.002mg/ml, 1.22±0.161%, 2.97±0.000%, 0.36±0.195 mg/ml ตามล าดบ จากผลการทดลองแสดงใหเหนวา เสนใยเหดหอมอบแหงมคณคาทางอาหารสงสามารถน ามาเปนสวนผสมในขนมเพอเปนการเพมมลคาของขนมตมดวย

วตถประสงค

บทคดยอ ผลและวจารณการทดลอง

1 เพอศกษาสตรอาหารวนทเหมาะสมตอการน ามาเพาะเลยงเสนใยเหดหอม 2 เพอศกษาปจจยทเกยวของตอการเจรญของเสนใยเหดหอม 3 เพอศกษาคณคาทางโภชนาการของเสนใยเหดหอม เพอน ามาแปรรปและเพมมลคาของเสนใยเหดหอม

บทน า

วธการ

ตารางท 1 การวดขนาดเสนผาศนยกลางโคโลนบนอาหาร PDA, SDA, YM, SPDA และ MA ทอณหภม 25, 27 และ 30 องศาเซลเซยส เปนเวลา 7 วน

คณสมปรดา บตรสสาย. การผลตหวเชอเหดหอมในอาหารเหลว. ภาควชาเทคโนโลยชวภาพ คณะทรพยากรชวภาพและเทคโนโลย. นภาพร รตนสมบรณ. 2537. การหาสภาวะทเหมาะสมในการอบแหงเหดหอม. หนา 81. วทยานพนธ (วศ.ม. วศวกรรมอาหาร) มหาวทยาลยเทคโนโลยพระจอมเกลาธนบร

ภาพท 1 เสนใยเหดหอมทเจรญบนอาหารเลยงเชอ PDA, SPDA. SDA, YM และ MA ทอณหภม 25 องศาเซลเซยส เวลา 7 วน

การหาชนดของอาหารเลยงเชอและอณหภมทเหมาะสม ทอณหภม 25, 27 และ 30 องศาเซลเซยส

อางอง

ขอขอบพระคณ ดร. พชญาภรณ สวรรณกฏ ทใหค าปรกษา ค าแนะน า ตลอดการท างานวจยครงน ท าใหงานวจยนส าเรจลลวงไปดวยด

สรปผลการทดลอง

จากการทดลองพบวา ชนดของอาหารเลยงเชอและอณหภมทเหมาะสมส าหรบการเจรญของเสนใยเหดหอม คอ potato dextrose agar (PDA) ทอณหภม 25 องศาเซลเซยส รองลงมาคอ sweet potato dextrose agar (SPDA) ทอณหภม 27 องศาเซลเซยส และจากการวเคราะหคณคาทางโภชนาการของเสนใยเหดหอม เมอน าคาทไดไปเทยบกบคณคาทางโภชนาการของเหดหอม พบวา มปรมาณทมากกวา นอกจากนเสนใยเหดหอมยงสามารถน าไปเปนสวนผสมเพอเพมคณคาแกขนมไทย เชน ขนมตม ไดอกดวย

เหดหอม หรอ ซอตาเกะ มชอทางวทยาศาสตรวา Lentinus edodes เปนทยอมรบกนมาตงแตอดตกาลจวบจนถงปจจบน วาเหดหอมไมเพยงแตมรสชาตหวานหอมชวนรบประทาน แตยงมโปรตนสง มคณคาทางอาหารเพยงพอทจะสามารถใชทดแทนโปรตนจากเนอสตวได รวมถงมสรรพคณมากมายในการเปนยารกษาและปองกนสารพดโรค การผลตในระดบอตสาหกรรมไดมการน าเหดหอมมาสกดเพอใชประโยชนทางการแพทยและเปนอาหารเสรมสขภาพ ซงจะใชในสวนของดอกเหด แตขอเสยของการใชดอกเหดคอ ดอกเหดนนมขนตอนการเพาะเลยงทซบซอนใชเวลานานและผลผลตดอกเหดทไดกมปรมาณนอย อกทงดอกเหดหอมยงมราคาแพง เพราะเปนเหดทไดรบความนยมในการบรโภค จากการตรวจเอกสารพบวาการเพาะเลยงเสนใยเหดหอมบนอาหารแขงและในอาหารเหลวนนใชระยะเวลาในการเพาะเลยงสนกวาการผลตดอกเหดประมาณ 3-5 เทาท าใหมการผลตทสง แลวคณคาทางอาหารทไดจากเสนใยกไมแตกตางจากในดอกเหด นอกจากนยงสามารถควบคมปจจยตางๆทมผลตอการเจรญของเสนใยไดคงท ลดผลกระทบจากปจจยภายนอกใหนอยลงไดอกดวย

การหาสภาวะทเหมาะสมและการวเคราะหคณคาทางโภชนาการของเสนใยเหดหอม Lentinus Edodes Optimization and Analysis of The Nutritional Value of Lentinus Edodes Mycelium

เบญญาภา สวนสระแกว1พชญาภรณ สวรรณกฏ 1

1ภาควชาวทยาศาสตรชวภาพ คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลยอบลราชธาน, อ าเภอวารนช าราบ , จงหวดอบลราชธาน, 34190

การหาชนดของอาหารเลยงเชอและอณหภมทเหมาะสม ทอณหภม 25, 27 และ 30 องศาเซลเซยส

การเพาะเลยงเสนใยเหดหอมในอาหารเหลว

การวเคราะหคณคาทางโภชนาการ

-การวเคราะหหาปรมาณความชน (Gravimetry AOAC, 1995) -การวเคราะหหาปรมาณโปรตน ( Lowry - Folin method ) -การวเคราะหหาปรมาณไขมน (Gravimetric Method; AOAC, 1995) -การวเคราะหหาปรมาณเถา (Muffle furnace; AOAC, 1995) -การวเคราะหหาปรมาณน าตาลรดวซ (Nelson – Somogyi)

การน าเสนใยเหดหอมมาเปนสวนผสมในขนมตม

การวเคราะหคณคาทางโภชนาการ

ตารางท 2 การวเคราะหหาปรมาณความชน, โปรตน, ไขมน, เถา และน าตาลรดวซ

SPDA PDA

SDA YM MA

ศกษาชนดของอาหารเลยงเชอทเหมาะสมส าหรบการเจรญของเสนใยเหดหอม

ตดชนวนบรเวณปลายเสนใย ดวย cork borer ขนาด 0.5 มม.

ถายลงในจานเพาะเลยงเชอทง 5 ชนด ชนดละ 9 plate

น าไปบมทอณหภม 25, 27 และ 30 oC เปนเวลา 7 วน น าไปวดขนาดเสนผาศนยกลาง

ตดชนวนจากอาหารเลยงเชอทเหมาะสมบรเวณปลายเสนใย ดวย cork borer ขนาด 0.5 มม.

ถายลงในอาหารเหลวปรมาตร 50 ml

บมเขยาท 100 รอบ/นาท เปนเวลา 14 วน

กรองเอาเสนใย เอาเสนใยไปอบแหงทอณหภม 60 oC 4 ชม.

- Potato dextrose agar (PDA) - Sweet potato dextrose agar (SPDA) - Sabouraud dextrose agar (SDA) - Malt extract agar (MA) - Yeast malt agar (YM)

อาหารเลยงเชอ

ขนาดเสนผาศนยกลางโคโลน (ซม.) 7 วน อณหภม (°ซ )

25 27 30 Potato dextrose agar (PDA) 4.27 3.80 2.07 Sweet potato dextrose agar (SPDA) 4.10 4.33 1.63 Sabouraud dextrose agar (SDA) 2.47 2.46 1.40 Malt extract aga (MA) 2.67 3.20 1.40 Yeast malt agar (YM) 2.30 2.40 1.40

วเคราะห ผลการวเคราะห การวเคราะหหาปรมาณความชน (Gravimetry AOAC, 1995) 90.10 ± 0.120%

การวเคราะหหาปรมาณโปรตน ( Lowry - Folin method ) 0.10 ± 0.002mg/ml

การวเคราะหหาปรมาณไขมน (Gravimetric Method; AOAC, 1995) 1.22 ± 0.161 %

การวเคราะหหาปรมาณเถา (Muffle furnace; AOAC, 1995) 2.97 ± 0.000 %

การวเคราะหหาปรมาณน าตาลรดวซ (Nelson – Somogyi) 0.36 ± 0.195 mg/ml