13
1 กฎหมายที่ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเล นาวาเอก สมเจตน คงรอด กลาวนํา เปนที่ทราบกันดีวา ภารกิจที่แทจริงในอดีตของทหาร คือ เตรียมกําลังรบเพื่อปองกันประเทศ โดย กองทัพเรือมีภารกิจในการเตรียมกําลังรบเพื่อปองกันประเทศทางทะเล แตเนื่องจากความเจริญทางดานเทค โนโลยี่ การแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเล การใชทะเลเปนเสนทางคมนาคมขนสง รวมทั้งการกระทํา อันเปนโจรสลัด และอาชญากรรมขามชาติ ตลอดจนการกระผิดกฎหมายและภัยรูปแบบใหมๆ ทางทะเล ซึ่ง นับวันก็ยิ่งจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น หนวยงานทางทะเลที่มีศักยภาพในการชวยเหลือเจาหนาที่ฝาย บานเมืองในการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการกระทําผิดทางทะเลไดอยางมีประสิทธิภาพ คงหนีไมพน กองทัพเรือหรือเจาหนาที่ทหารเรือในฐานะองคการและองคกรเจาหนาที่ของรัฐ ดังนั้น จึงไดมีการตรา กฎหมายใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือ หรือเปดชองใหผูรักษาการตามกฎหมายฉบับตางๆ ประกาศหรือมี คําสั่งแตงตั้ง แตงตั้งใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจหนาที่ในการบังคับใชกฎหมายฝายพลเรือนในทํานอง เดียวกับเจาหนาที่ฝายบานเมืองเปนลําดับเรื่อยมา โดยฉบับแรกๆ ไดแก พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ.๒๔๕๖ พ.ร.บ.เรือไทย พ.ศ.๒๔๘๑ พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.๒๔๖๙ พ.ร.บ. การประมง พ.ศ.๒๔๙๐ พ.ร.บ.สิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พ.ศ.๒๔๘๒ และ พ.ร.บ.ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการ กระทําผิดบางอยางทางทะเล พ.ศ.๒๔๙๐ เปนตน ซึ่งนับจนถึงปจจุบันมีการใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือใน การบังคับใชกฎหมายฝายบานเมือง รวมทั้งสิ้น ๒๘ ฉบับ ทั้งนี้ เพื่อใหการรักษาผลประโยชนของชาติทาง ทะเลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ในบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ทหารเรือดังกลาว เจาหนาที่ทหารเรือยังมีอํานาจหนาทีและสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศ เนื่องจากตองมีการปฏิบัติการนอกทะเลอาณาเขต และตอเรือที่ไมใช เรือไทย ซึ่งตองคํานึงถึงเสรีภาพในการเดินเรือ (Freedom of Navigation) และเขตอํานาจของรัฐเจาของธง (Exclusive Flag State Jurisdiction) รวมทั้งกฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศ (International Customary Law) ประกอบดวย จึงเปนเรื่องที่ความยุงยาก และสลับซับซอน สมควรที่นายทหารพระธรรมนูญในฐานะ เปนที่ปรึกษาและใหคําแนะนําทางดานกฎหมาย และนายทหารฝายยุทธการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติ รวมทั้ง เจาหนาที่ในสวนสนับสนุน จะไดมีความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาวและสามารถนําไปใชปฏิบัติราชการได อยางมีประสิทธิผล สําหรับบทความนี้ มีจุดมุงหมาย เพียงเพื่อใหผูอานไดทราบวา กฎหมายที่ใหอํานาจ เจาหนาที่ทหารเรือในการบังคับใชกฎหมายฝายบานเมืองในการปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลของ ประเทศไทยในปจจุบันมีกี่ฉบับ และเกี่ยวของกับเรื่องอะไรบาง โดยจะไมกลาวลึกลงไปในรายละเอียดหรือ เนื้อหาสาระของกฎหมายแตละฉบับใหมากนัก เนื่องจากมีรายละเอียดคอนขางมาก นอกจากนี้จะไดกลาวถึง รองผูอํานวยการสํานักงานพระธรรมนูญทหารเรือ ปริญญาโททางกฎหมายมหาชน จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ Master of Maritime Policy จาก University of Wollongong ประเทศ Australia บทความนี้ ปรับปรุงจากบทความเดิมซึ่งไดตีพิมพในวารสารพระธรรมนูญ ป พ.ศ.๒๕๔๔

กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

1

กฎหมายที่ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเล นาวาเอก สมเจตน  คงรอด๑ 

กลาวนํา เปนที่ทราบกันดีวา ภารกิจที่แทจริงในอดีตของทหาร คือ เตรียมกําลังรบเพื่อปองกันประเทศ โดย

กองทัพเรือมีภารกิจในการเตรียมกําลังรบเพื่อปองกันประเทศทางทะเล แตเนื่องจากความเจริญทางดานเทคโนโลยี่ การแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในทะเล การใชทะเลเปนเสนทางคมนาคมขนสง  รวมทั้งการกระทําอันเปนโจรสลัด และอาชญากรรมขามชาติ ตลอดจนการกระผิดกฎหมายและภัยรูปแบบใหมๆ ทางทะเล ซึ่งนับวันก็ยิ่งจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น   หนวยงานทางทะเลที่มีศักยภาพในการชวยเหลือเจาหนาที่ฝายบานเมืองในการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการกระทําผิดทางทะเลไดอยางมีประสิทธิภาพ คงหนีไมพนกองทัพเรือหรือเจาหนาที่ทหารเรือในฐานะองคการและองคกรเจาหนาที่ของรัฐ  ดังนั้น   จึงไดมีการตรากฎหมายใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือ หรือเปดชองใหผูรักษาการตามกฎหมายฉบับตางๆ ประกาศหรือมีคําสั่งแตงตั้ง แตงตั้งใหเจาหนาที่ทหารเรือมีอํานาจหนาที่ในการบังคับใชกฎหมายฝายพลเรือนในทํานองเดียวกับเจาหนาที่ฝายบานเมืองเปนลําดับเรื่อยมา  โดยฉบับแรกๆ  ไดแก     พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ.๒๔๕๖    พ.ร.บ.เรือไทย พ.ศ.๒๔๘๑   พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.๒๔๖๙ พ.ร.บ. การประมง พ.ศ.๒๔๙๐ พ.ร.บ.สิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พ.ศ.๒๔๘๒ และ พ.ร.บ.ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดบางอยางทางทะเล พ.ศ.๒๔๙๐ เปนตน  ซึ่งนับจนถึงปจจุบันมีการใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือในการบังคับใชกฎหมายฝายบานเมือง รวมทั้งสิ้น ๒๘ ฉบับ ทั้งนี้ เพื่อใหการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 

นอกจากนี้ในบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ทหารเรือดังกลาว  เจาหนาที่ทหารเรือยังมีอํานาจหนาที่และสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศ เนื่องจากตองมีการปฏิบัติการนอกทะเลอาณาเขต และตอเรือที่ไมใชเรือไทย  ซึ่งตองคํานึงถึงเสรีภาพในการเดินเรือ (Freedom of Navigation) และเขตอํานาจของรัฐเจาของธง (Exclusive Flag State Jurisdiction) รวมทั้งกฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศ (International Customary Law) ประกอบดวย จึงเปนเรื่องที่ความยุงยาก และสลับซับซอน สมควรที่นายทหารพระธรรมนูญในฐานะเปนที่ปรึกษาและใหคําแนะนําทางดานกฎหมาย  และนายทหารฝายยุทธการและเจาหนาที่ผูปฏิบัติ รวมทั้งเจาหนาที่ในสวนสนับสนุน จะไดมีความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาวและสามารถนําไปใชปฏิบัติราชการไดอยางมีประสิทธิผล  สําหรับบทความนี้ มีจุดมุงหมาย เพียงเพื่อใหผูอานไดทราบวา กฎหมายที่ใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือในการบังคับใชกฎหมายฝายบานเมืองในการปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลของประเทศไทยในปจจุบันมีกี่ฉบับ และเกี่ยวของกับเรื่องอะไรบาง โดยจะไมกลาวลึกลงไปในรายละเอียดหรือเนื้อหาสาระของกฎหมายแตละฉบับใหมากนัก เนื่องจากมีรายละเอียดคอนขางมาก นอกจากนี้จะไดกลาวถึง

๑ รองผูอํานวยการสํานักงานพระธรรมนูญทหารเรือ ปริญญาโททางกฎหมายมหาชน จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ Master of Maritime Policy จาก University of Wollongong ประเทศ Australia บทความนี้ ปรับปรุงจากบทความเดิมซึ่งไดตีพิมพในวารสารพระธรรมนูญ  ป พ.ศ.๒๕๔๔ 

Page 2: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

2 สภาพปญหาในการปฏิบัติของเจาหนาที่ทหารเรือทั้งในระดับกองทัพเรือ และในระดับประเทศซึ่งสงผลกระทบตอการปฏิบัติของเจาหนาที่ทหารเรือโดยสังเขปไวดวย  ทั้งนี้ เพื่อเปนการจุดประกายใหกับผูที่มีความสนใจไดทําการศึกษา คนควา และทําความเขาใจในเรื่องนี้อยางลึกซึ้งตอไป 

 กฎหมายที่ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเล

เนื่องจากประเทศไทยยอมรับและนําหลักนิติรัฐมาใชเปนสวนหนึ่งของระบบการปกครองประเทศ ดังนั้นการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ทหารเรือในฐานะองคกรเจาหนาที่ของรัฐในการปราบปรามการกระทําผิดทางทะเล   ซึ่งจะตองมีการกระทําการอันเปนการกระทบกระเทือนตอสิทธิและเสรีภาพของบุคคลไมมากก็นอย จึงจําเปนจะตองมีกฎหมายอนุญาตใหกระทําการเชนวานั้นได๒ ซึ่งกฎหมายที่ใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือดังกลาว จะมีทั้งจากกฎหมายภายในประเทศและสิทธิของเรือรบตามกฎหมายระหวางประเทศ๕ ดังจะกลาวตอไป และโดยมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ เปนกรอบอํานาจทั่วไปที่กําหนดใหทหารมีหนาที่ในการการรักษาผลประโยชนของชาติดังกลาว     ก. กฎหมายภายในประเทศ ๑.)  พ.ร.บ.ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดบางอยางทางทะเล พ.ศ.๒๔๙๐ (Act Authorizing on Navy Suppressing Offences in the Sea, B.E.2490) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๓๔       ๒.)  พ.ร.บ.การสงออกและนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งสินคา พ .ศ.๒๕๒๒ (Export  and  Import Goods Act, B.E.2522)     ๓.) พ.ร.บ.แร พ.ศ.๒๕๑๐ (Minerals Act, B.E.2510) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๓๔)     ๔.) พ.ร.บ.คนเขาเมือง พ.ศ.๒๕๒๒ (Immigration Act, B.E.2522)              ๕.) พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ .ศ. ๒๕๑๙ (Narcotics Control Act, B.E.2519) แกไขเพิ่มเติมป พ.ศ.๒๕๔๕         ๖.) พ.ร.บ.ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๒๒ (Narcotics Act, B.E.2522) แกไขเพิ่มเติมป พ.ศ. ๒๕๔๕     ๗.)  พ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตประสาท พ.ศ.๒๕๑๘ (Psychotropic  Substances  Act,  B.E.2518) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๔๓       ๘.) พ.ร.ก.ปองกันการใชสารระเหย พ .ศ.๒๕๓๓ (Emergency Decree on the Prevention of the Use of Volatile Substances Act, B.E.2533) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๔๐     ๙.) พ.ร.บ.เลื่อยโซยนต พ.ศ. ๒๕๔๕ (Chainsaw Act, B.E.2545)  ๒ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐  ๕ สําหรับกฎหมายระหวางประเทศนั้น แมไมอาจนํามาบังคับใชเปนกฎหมายภายในไดโดยตรง โดยตองมีการนํามาอนุวัติการโดยออกเปนกฎหมายภายในรองรับพันธะกรณีตามกฎหมายระหวางประเทศฉบับนั้นๆ กอน  แตอยางไรก็ดี เจาหนาที่ทหารเรือยังคงมีอํานาจในการตรวจคนเรือและจับกุมผูกระทําผิดตามเงื่อนไขที่กฎหมายระหวางประเทศกําหนด แตอาจมีปญหาในเรื่องการดําเนินคดี ฟองคดี และลงโทษ  ซึง่อาจตองรองขอหรือสงตัวใหศาลที่มีเขตอํานาจ เปนผูดําเนินการตอไป 

Page 3: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

3

    ๑๐.)  พ.ร.บ.การประมง พ.ศ.๒๔๙๐  (Fishery  Act,  B.E.2490)  แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๒๘      ๑๑.) พ.ร.บ.สิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พ .ศ.๒๔๘๒ (Act Governing the Right to Fish in Thai Fishery Waters, B.E.2482) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๓๙       ๑๒.) พ.ร.บ.เรือไทย พ.ศ.๒๔๘๑ (Thai Vessels Act, B.E.2481)       ๑๓.) พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย พ .ศ.๒๔๕๖  (Navigation  in  Thai  Waters  Act,  B.E.2456) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๕๐       ๑๔.)  พ.ร.บ.ศุลกากร พ.ศ.๒๔๖๙  (Custom  Act,  B.E.2469)  แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๔๘      ๑๕.) พ.ร.บ.ปาไม พ.ศ.๒๔๘๔ (Forestry Act, B.E.2484) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๓๒   ๑๖. ) พ.ร.บ.สงวนและรักษาพันธสัตวปา พ .ศ.๒๕๐๗   (Wild Animal Reservation and Protection Act, B.C. 2535) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๔๖         ๑๗.) พ.ร.บ.อุทยานแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๔ (National Park Act, B.E.2504)       ๑๘.) พ.ร.บ.ปาสงวนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ (National Reserved Forests Act, B.E.2507)     ๑๙.) พ.ร.บ.จัดหางานและคุมครองคนหางาน พ .ศ.๒๕๒๘ (Act on Employment Agencies and Job Seeker Protection, B.E.2528) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๔๙       ๒๐.)  พ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ .ศ.๒๕๔๑(  Labour  Protection Act,  B.E.2541)  แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๕๑         ๒๑.) พ.ร.บ.การทํางานของคนตางดาว พ.ศ.๒๕๕๑ (Working of Aliens Act, B.E.2551)       ๒๒.) พ.ร.บ.เงินทดแทน พ.ศ.๒๕๓๗    (Workmen’s Compensation Act, B.E.2537) ประกอบกับประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ ๑๐๓ ในสวนที่ยังไมถูกยกเลิก     ๒๓.)  พ.ร.บ.โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พ .ศ.๒๕๐๔  (Act on Ancient Monuments, Antiques, Objects  of Arts  and National Museums, B.E.2504)  แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๓๕         ๒๔.) พ.ร.บ.เรือไทย พ.ศ.๒๔๘๑ (Thai Vessels Act, B.E.2481)     ๒๕.)  พ.ร.ก.ควบคุมสินคาตามชายแดน พ.ศ.๒๕๒๔  (Act  on  Controlling  Goods  at  Border, B.E.2524) แกไขเพิ่มเติมครั้งสุดทายป พ.ศ. ๒๕๒๘         ๒๖.)  พ.ร.บ.ความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปโตรเลียมในทะเล พ.ศ.๒๕๓๐  (Act  on  Offences Relating to Offshore Petroleum Production Places, B.E.2530)       ๒๗.)  พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการกระทําอันเปนโจรสลัด พ.ศ.๒๕๓๔  (Prevention  and Suppression of Piracy Act, B.E.2534)       ๒๘.) พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ (Martial Law, B.E.2457) 

Page 4: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

4     ข. กฎหมายระหวางประเทศ ๑.) อนุสัญญากรุงเจนีวา ค.ศ.๑๙๕๘ (พ.ศ.๒๕๐๑) รวม ๔ ฉบับ คือ อนุสัญญาวาดวยทะเลอาณาเขตและเขตตอเนื่อง (Convention  on  the  Territorial  Sea  and  Contiguous  Zone)  อนุสัญญาวาดวยไหลทวีป (Convention on  the Continental Shelf) อนุสัญญาวาดวยทะเลหลวง  (Convention on  the High Seas  ) และอนุสัญญาวาดวยการประมงและการอนุรักษทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวง (Convention  on  Fishing  and Conservation of the Living Resources of the High Seas ) ซึ่งประเทศไทยไดลงนามและใหสัตยาบันเขาเปนภาคี พรอมทั้งมีพระบรมราชโองการประกาศใชอนุสัญญากรุงเจนีวาทั้ ง ๔ ฉบับแลว  โดยมีผลบังคับใชกับไทยเมื่อ ๑ ส.ค. ๑๑       ๒.) อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค .ศ.๑๙๘๒ (United Nations Convention on the Law of the Sea 1982) หรือ UNCLOS  ซึ่งประเทศไทยไดลงนามเมื่อ  ๑๐ ธ.ค. ๒๕  แตยังไมไดใหสัตยาบันเขาเปนภาคีอนุสัญญาฉบับนี้แตอยางใด แตโดยผลของกฏหมายระหวางประเทศวาดวยสนธิสัญญาบังคับใหรัฐที่รวมลงนามมีพันธกรณีที่จะตองไมปฏิบัติหรือกระทําการอันใดที่มีผลกระทบตอวัตถุประสงคของอนุสัญญาที่ตนรวมลงนามผูกพันไว และเนื่องจากอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค .ศ. ๑๙๘๒ เปนการรวมเอาเนื้อหาสาระของอนุสัญญาเจนีวา ค.ศ.  ๑๙๕๘ ทั้ง ๔ ฉบับที่ประเทศไทยลงนามและใหสัตยาบันแลว รวมทั้งสาระอื่นๆ ที่ถือเปนจารีตประเพณีระหวางประเทศอันมีผลผูกพันตอรัฐทุกรัฐ แมจะไมไดรวมลงนามหรือเปนภาคีอนุสัญญาดวยก็ตาม  นอกจากนี้ในสวนที่เกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) ซึ่งแมจะเปนเรื่องใหมและมีระบอบกฎหมาย  (Regime) เฉพาะของตนเองที่เพิ่งมีการนํามาบัญญัติไวในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒ นั้น แตก็อาจถือไดวา  เขตเศรษฐกิจจําเพาะนี้ เปนพัฒนาการของเขตประมงที่มีอยูก อนแลว รวมทั้งประเทศไทยก็ไดประกาศและอางสิทธินี้ทางดานอาวไทย เมื่อ  ๒๓ ก.พ. ๒๔๓ และทางดานทะเลอันดามัน และชองแคบมะละกา เมื่อ ๑๘ ก.ค.๓๑๔  จึงพอสรุปไดวา ในปจจุบัน ถือวา หลักการเรื่องเขตเศรษฐกิจจําเพาะนี้ เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววา เปนกฎหมายจารีตประเพณีระหวางประเทศ (International Customary Law)  จากเหตุผลดังกลาว ประเทศไทยจึงถูกผูกพันใหตองปฏิบัติตามพันธกรณีในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย กฎหมายทะเล ค.ศ.  ๑๙๘๒ เปนสวนใหญ  รวมถึงเรื่องสิ่งแวดลอมบางสวนดวย  แตอยางไรก็ตามประเทศไทยกําลังเรงดําเนินการตรากฎหมายภายในเพื่ออนุวัติ (Implementation)  ใหเปนไปตามอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒  ทั้งนี้  โดยมีขอจํากัดดานเทคนิคทางกฎหมายที่สําคัญอยู  ๒ ประการ คือ ปญหาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๐ ที่ตองไดรับความเห็นชอบการเขาภาคีจากรัฐสภา และมีการออกกฎหมายอนุวัติการใหครอบคลุมพันธกรณีตามอนุสัญญ าฯ กอน และปญหาการจัดทํารางกฎหมายอนุวัติการดังกลาว ซึ่งจะตองมีการออกกฎหมายใหมหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่มีอยูแลวจํานวนมาก และโดยเจาหนาที่จากหลายหนวยงาน ในฐานะผูรักษาการตามกฎหมายฉบับนั้นๆ  ซึ่งกระทําไดยากและใชเวลามาก       

๓ ๙๘    ร.จ. ตอนที่   ๓๐ (ฉบับพิเศษ) ลง ๒๕ ก.พ.๒๔ ๔ ๑๐๕ ร.จ. ตอนที่  ๑๒๐ ลง ๒๖ ก.ค.๓๑

Page 5: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

5       กฎหมายระหวางประเทศ รวมทั้งจารีตประเพณีระหวางประเทศดังกลาว  ไดอนุญาตใหเรือรบมีสิทธิในการขึ้นตรวจเรือที่ชักธงไทยในทะเลหลวง๕ ซึ่งรวมทั้งเขตเศรษฐกิจจําเพาะและเขตตอเนื่อง๖ และมีสิทธิในการตรวจเยี่ยม  (Right  of  Visit)  และขึ้นตรวจเรือตางชาติที่สงสัย เฉพาะความผิด ๕ ประการ คือ สงสัยวากระทําการอันเปนโจรสลัด คาทาส คายาเสพติด ออกอากาศโดยไมไดรับอนุญาต การที่เรือไมชักธงหรือปราศจากสัญชาติ หรือชักธงตางชาติ ๗      รวมทั้งสิทธิในการไลตามติดพัน  (Right of Hot Pursuit)  เรือที่ตองสงสัยวากระทําความผิดในเขตอํานาจของไทยแลวแลนหลบหนีออกไปจากเขตดังกลาว๘ สําหรับสิทธิในการตรวจเยี่ยมเรือตางชาตินี้ มีขอสังเกตวา หากผูควบคุมเรือปฏิเสธการขอใชสิทธิตรวจเยี่ยมของเจาหนาที่ทหารเรือ หรือเจาหนาที่ทหารเรือไมไดรับการอนุญาตจากรั ฐเจาของธงใหทําการตรวจคนหรือตรวจคนโดยไมมีเหตุผลอันสมควรแลว เจาหนาที่ทหารเรือก็ไมมีสิทธิขึ้นตรวจเรือนั้นได และหากมีความเสียหายเกิดขึ้นจากการขึ้นตรวจโดยปราศจากความยินยอมหรือการ อนุญาตของเรือหรือรัฐเจาของธง หรือโดยไมมีเหตุผลอันสมควร  เรือรบนั้นจะตองรับผิดชอบในความเสียหายที่เกิดขึ้น ในสวนของการขึ้นตรวจเรือตางชาติที่สงสัยวากระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดก็เชนกัน จะตองเปนไปตามเงื่อนไขดังกลาว ทั้งนี้โดยมีศูนยประสานงานรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล หรือ  “ศรชล.”  เปนหนวยรับผิดชอบในการประสานการตรวจสอบสัญชาติเรือและการอนุญาตในการตรวจคนเรือที่ตองสงสัยวา กระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติดตามที่ประเทศตางๆ จะประสานหรือรองขอ  ปญหาขอขัดของในทางปฏิบัติ   ก. เขตแดนและเขตตางๆ ทางทะเล   ประเทศไทยมีเขตแดนทางทะเล (นานน้ําภายในและทะเลอาณาเขต) ดานประชิด และมีเขตทางทะเล (เขตเศรษฐกิจจําเพาะและไหลทวีป)  ทั้งดานประชิดและดานตรงกันขาม  ซึ่งอางสิทธิทับซอน (Overlapping Claim Areas: OCA) กับประเทศเพื่อนบาน ทําใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติดังนี้     ๑.) เขตแดนทางทะเล            ในดานอาวไทยนั้น ประเทศไทยมีเขตแดนทางทะเลที่ประชิดติดกับประเทศกัมพูชาและมาเลเซีย  สําหรับดานที่ประชิดกับประเทศมาเลเซีย ประเทศไทยไดมีการตกลงแบงเขตแดนทางทะเลกับประเทศมาเลเซียเรียบรอยแลว๙  สวนประเทศกัมพูชานั้น ยังไมสาม ารถตกลงกันได๑๐ ทําใหมีการอางสิทธิ

๕ อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ ขอ ๙๒ และ ๙๔ (๑) และ (๒) ๖ อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ ขอ ๕๘ (๒) และ ขอ ๘๘ ถึง ๑๑๕ ๗ อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ ขอ ๑๑๐ ๘ อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.๑๙๘๒ ขอ ๑๑๑ ๙ สนธิสัญญาระหวางประเทศไทยและอังกฤษ ซึ่งมีผลผูกพันประเทศไทยกับมาเลเซียในฐานะผูสืบสิทธติอไป หลังไดรับเอกราชตามหลักการสัญญาตองเปนสัญญา ทั้งนี้ แมจะมีความกังวลในเรื่องความเปลี่ยนแปลงของสภาพของสันดอนปากแมน้ําโก-ลก ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม  อันอาจมีผลทําใหมีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตทางทะเลไดก็ตาม ๑๐ เนื่องจากมีการตีความขอความและแผนที่ซึ่งแนบทายสนธิสัญญาระหวางไทยกับฝรั่งเศส ที่แตกตางกัน โดยกัมพูชาใหตีความตามตัวหนังสือที่ปรากฏในสนธิสัญญา ในขณะที่ไทยและนักวิชาการสวนใหญมีความเห็นวา ไมอาจนําสนธิสัญญา

Page 6: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

6 ทับซอนกันโดยตางฝายตางอางสิทธิ  จึงมักเกิดปญหาการละเมิดนานน้ํ าของเรือประมงและการกระทบกระทั่งระหวางกําลังทางเรือของฝายเรากับเรือประมงและเรือตํารวจน้ําของประเทศกัมพูชาอยูบอยครั้ง  ดังนั้นการคุมครองเรือประมงของไทยในบริเวณนี้ จึงไมสามารถกระทําไดอยางเต็มที่ เพราะการที่ไมทราบแนชัดวา พื้นที่ดังกลาวเปนสิทธิของฝายใด ทําใหจําเปนตองใชมาตรการการปฏิบัติในลักษณะผอนปรนเปนสวนใหญ เปนเหตุใหการบังคับใชกฎหมายและการคุมครองเรือประมงไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร   สําหรับเขตแดนทางทะเลดานทะเลอันดามันที่ประชิดติดกับประเทศมาเลเซียและประเทศพมานั้น จะมีปญหามีการอางสิทธิทับซอนกันและเกิดปญหาการละเมิดนานน้ําของเรือประมงและการกระทบกระทั่งตามแนวชายแดนเฉพาะกับประเทศพมาซึ่งยังไมสามารถตกลงเรื่องเขตแดนทางทะเลกันไดเทานั้น  แตอยางไรก็ตามกองทัพเรือไดมีคําสั่งใหเจาหนาที่ทหารเรือใหความคุมครองแกชาวประมงผูประกอบอาชีพโดยสุจริต ในพื้นที่ที่ไทยอางสิทธิในทุกเขตทางทะเล     ๒.) เขตทางทะเล           ในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ/ไหลทวีปทางดานอาวไทยซึ่งมีพื้นที่อางสิทธิทับซอนกับเขตเศรษฐกิจจําเพาะ/ไหลทวีปของประเทศกัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย นั้น ในปจจุบันไทยไดทําความตกลงแบงเขตเศรษฐกิจจําเพาะ/ไหลทวีปดังกลาวกับประเทศเวียดนาม ๑๑  รวมทั้งไดการทําบันทึกความตกลงใหพื้นที่ทับซอนกับประเทศมาเลเซียเปนเขตพัฒนารวม  (Joint Developing Area) ดังนั้นจึงยังคงมีปญหาเฉพาะพื้นที่ อางสิทธิทับซอนกับประเทศกัมพูชาที่ยังไมสามารถตกลงกันได รวมทั้งพื้นที่อางสิทธิทับซอนระหวางไทย มาเลเซีย และเวียดนามบริเวณดานตะวันออก ซึ่งอยูนอกสุดของเขตพัฒนารวมไทยกับมาเลเซียอีกเล็กนอยเทานั้น  แตอยางไรก็ตามในสวนที่มีการอางสิทธิทับซอนระหวางไทยกับกัมพูชาบริเวณอาวไทยตอนบนและตอนกลางนั้นไดมีบรรลุขอตกลงเพื่อการเจรจาแบงเขตทางทะเลสําหรับพื้นที่อาง สิทธิทับซอนดานบน และตอนกลางใหเปนเขตพัฒนารวม          สําหรับในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ/ไหลทวีปดานทะเลอันดามัน ซึ่งมีพื้นที่ทับซอนกับประ เทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และอินเดีย รวมทั้งพมานั้น  ไดมีการเจรจาแบงเขตไหลทวีป  หรือกนทะเล แลวแตกรณีไวเปนที่เรียบรอยแลว สวนเขตเศรษฐกิจจําเพาะนั้น แมจะไมมีการแบงกันก็ตาม แตในทางปฏิบัติและเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ มักจะใชเสนเดียวกันกับเสนแบงเขตไหลทวีป/กนทะเล       ในการนี้ประเทศไทยยังไดจัดใหมีการลาดตระเวนรวมกันระหวางกองทัพเรือไทยกับกองทัพเรือของประเทศเวียดนาม และประเทศมาเลเซียในดานอาวไทย และกับประเทศอินเดีย ในดานทะเลอันดามัน เพื่อเสริมสรางความรวมมือในการปราบปราบการกระทําความผิดทางทะเล และความเขาใจที่ดีระหวางกัน     สําหรับประเด็นปญหาความกวางของเขตเศรษฐกิจจําเพาะนั้น  เนื่องจากประเทศไทยไดมีการประกาศ

ดังกลาว มาตีความใชกับการแบงเขตทางทะเลได เพราะสนธิสัญญาฯ ไมมีเจตนาจะใหมีการแบงเขตทางทะเล แตเพื่อการเล็งหาเขตแดนทางบกโดยเล็งจากยอดที่สูงที่สุดของเกาะกูดเขาหาฝง ๑๑มีขอสังเกตวา แมไทยจะไดมีการบรรลุความตกลงกับเวียดนามแลวก็ตาม  แตเนื่องจากในบริเวณตอนกลางของอาวไทยมีการทับซอนกันของไหลทวีปและเขตเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชารวมอยูดวย  ดังนั้น ความตกลงดังกลาวจึงมีผลผูกพันเฉพาะระหวางไทยกับเวียดนามเทานั้น   ไมผูกพันประเทศกัมพูชา  ดังนั้นปญหาการอางสิทธทิับซอนดังกลาวยังไมยุตกิับประเทศกัมพูชา 

Page 7: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

7 เขตไหลทวีปทั้งดานอาวไทยและทะเลอันดามันไปกอนที่จะมีการประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ โดยมีความกวางของไหลทวีปประมาณ ๑๓๐ ไมลทะเล และ ๑๕๐ ไมลทะเลตามลําดับ  จึงทําใหเกิดปญหาวา ความกวางของเขตเศรษฐกิจจําเพาะตามความเปนจริงจะมีไดเพียงใด แตอยางไรก็ตาม เนื่องจากขอจํากัดของลักษณะภูมิประเทศของอาวไทยและทะเลอันดามัน  ประกอบกับพันธกรณีเรื่องการแบงไหลทวีปที่ไดตกลงกันไวดังกลาวแลว ทําใหประเทศไทยมีแนวโนมที่จะตองถูกจํากัดไมใหมีความกวางเขตเศรษฐกิจจําเพาะมากไปกวาเขตไหลทวีปที่มีอยูเดิม และยังจะเปนการสะดวกในการบริหารจัดการดังไดกลาวมาแลว     ข. เนื้อหาสาระของกฎหมาย      เนื่องจากกฎหมายที่ใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือ มี เปนจํานวนมากและมีลักษณะของการใหอํานาจที่สลับซับซอน ทั้งนี้ โดยมีกฎหมายที่มอบใหเจาหนาที่ทหารเรือดําเนินการจับกุมปราบปรามการกระทําความผิดจํานวน ๒๘ ฉบับ แตละฉบับมีเงื่อนไขของความผิดที่ไดรับมอบ แตกตางกัน เชน เฉพาะการกระทําผิดที่เกี่ยวกับการนําเขาหรือสงออกสินคา แร ยาเสพติด  โดยทางทะเล ตามที่บัญญัติไวใน พ.ร.บ.ใหอํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดบางอยางทางทะเล พ .ศ.๒๔๙๐ เปนตน หรือมีการมอบอํานาจเฉพาะบางมาตรา เชน เฉพาะอํานาจตาม มาตรา ๑๐ ทวิ      ๒๑ และ   ๒๑ ทวิ แหง พ.ร.บ. โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ๒๕๐๔ ตามคําสั่งมอบอํานาจของกระทรวงศึกษาธิการ  ที่ ๘๑๙/๓๖ ลง ๑๖ ส.ค. ๓๖  เปนตน  นอกจากนี้ยังกําหนดตําแหนง ผูรับมอบอํานาจทั้งที่เหมือนและแตกตางกันออกไปดวย รวมทั้งในการปฏิบัติของเจาหนาที่ทหารเรือยังตองคํานึงถึงพื้นที่พบการกระทําผิด ประกอบกับขอเท็จจริงที่ปรากฏในขณะนั้นวา การกระทําที่พบเห็นนั้น  เปนความผิด หรือมีเหตุอันควรเชื่อวาเปนความผิดตามกฎหมายที่ตนมีอํานาจหรือไดรับมอบหรือไม    ประการสุดทาย คือ  ขอจํากัดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ที่มุงคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามหลักนิติรัฐควบคูไปกับการความจําเปนที่จะตองจับกุมผูกระทําผิดมาฟองลงโทษ   เหลานี้ทําใหเจาหนาที่ทหารเรือขาดความมั่นใจในการปฏิบัติ เนื่องจากมีกังวลในเรื่องความรับผิดทั้งทางแพง ทางละเมิด และทางอาญา ในกรณีมีการปฏิบัติที่ผิดพลาด จนเปนเหตุใหเกิดความเสียหาย หรือบาดเจ็บของบุคล  แมจะมี พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ รวมทั้ง พ.ร.บ.ความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปโตรเลียมในทะเล พ.ศ.๒๕๓๐  และ พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการกระทําอันเปนโจรสลัด พ.ศ.๒๕๓๔ บัญญัติใหไมตองรับผิดในทางละเมิด  และทางแพง แลวแตกรณีไวแลวก็ตาม๑๒   ค. ปญหาการขาดความเปนเอกภาพของหนวยงาน      เนื่องจากหนวยงานที่มีหนาที่ในการจับกุมปราบปราบการกระทําผิดทางทะเล มีอยูดวยกันหลายหนวยงาน ไมวาจะเปนตํารวจน้ํา  กรมขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี    กรมศุลกากร กรมประมง กรมปาไม กองทัพเรือ และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง แมจะไดมีการจัดตั้งศูนยประสานการปฏิบัติ ในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล หรือที่เรียกวา “ศรชล.”  เพื่อประสานการปฏิบัติของหนวยงานดังกลาว โดยมีกองทัพเรือเปนหนวยงานหลักแลวก็ตาม แตการประสานงานดังกลาวไมเปนไปอยางใกลชิดและบางครั้ง ๑๒ กฎหมายฉบับนี้  คุมครองเจาหนาที่เฉพาะความรับผิดในทางละเมิดหรือทางแพงเทานั้น  ไมรวมถึงความรับผิดทางอาญา แตอยางไรก็ตาม แมจะคุมครองในทางทางละเมิดหรือทางแพง ก็ตองผานกระบวนการการสอบสวน เพื่อใหปรากฏขอจริงตรงตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนดไวดวย จงึจะไดรับการคุมครอง 

Page 8: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

8 ไมไดรับการสนองตอบระหวางหนวยงานเทาที่ควร เนื่องจากแตละหนวยมีภารกิจเฉพาะของตนเองและมีงบประมาณคาน้ํามันอยางจํากัด รวมทั้ง ศรชล. มีเพียงหนาที่ในการประสานงาน โดยไมมีอํานาจในการบังคับบัญชาหรือสั่งการแตอยางใด จึงเปนผลใหมีการทํางานที่ซ้ําซอน สิ้นเปลืองงบประมาณ และเสียโอกาสในการรกัษาผลประโยชนของชาติทางทะเล  อยางไรก็ตามสภาความมั่นคงแหงชาติไดมีการโอนงบประมาณใหศูนยศึกษายุทธศาสตรทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ (สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูงเดิม) เปนหนวยงานศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งหนวยเรือยามฝง เพื่อใหการปฏิบัติงานมีความเปนเอกภาพ ความคลองตัว และประหยัด เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของไทยในปจจุบัน   ง. การพัฒนากฎหมายและองคความรูของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ       เพื่อใหสามารถตอบสนองตอพัฒนาการทางเทคโนโลยี ่ภัยและสิ่งทาทายรูปแบบใหม ที่มีลักษ ณะการเกิดขึ้น หรือมีการกระทําที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว  เชน อาชญากรรมขามชาติ ที่ไมเคยเคารพเขตแดนทางทะเล และดวยการจัดตั้งเปนองคกรอาชญากรรมระหวางประเทศอยางมีระบบ ไมวาจะเปนองคกรคายาเสพติด  อาวุธปน หรือ คามนุษยโดยทางทะเล  การกอการราย การฟอกเงิน รวมทั้งปญหาเรื่องการลักลอบทําประมงเกินขนาดหรือ ในลักษณะที่เปนการผิดกฎหมาย หรือผิดจรรยาบรรณ (IUU  Fishing)  และอุบัติภัยตางๆ ตลอดจนการรักษาสิ่งแวดลอมทางทะเลจากปลอยมลพิษของเรือ รวมทั้งอุบัติเหตุที่เกิดจากเรือที่ไมมีความปลอดภัยทั้งในเขตเศรษฐกิจจําเพาะและทะเลหลวง โดยเฉพาะเรือที่บรรทุกน้ํามัน หรือสารเคมี เปนตน   อันจะสงผลกระทบตอสภาวะแวดลอมโลกและประชากรทั้งในปจจุบันและอนาคต   แตไทยยังไมมีกฎหมายครอบคลุมในเรื่องดังกลาวทั้งหมด รวมทั้งเรื่องอื่นๆ ที่กําหนดไวในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล เชน การรักษาสิทธิที่เกี่ยวกับสิ่งติดตั้งในทะเล และการวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล เปนตน จึ งเปนความจําเปนที่จะตองใหเจาหนาที่ของกองทัพเรือ ทั้งฝายยุทธการ และฝายกฎหมายไดเขา ใจหลักกฎหมายและนํากฎหมายที่มีอยูแลวบางสวน มาปรับใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และเสนอแนะใหมีการออกกฎหมายที่ยังขาดอยูใหครบถวนโดยเร็ว    จ. ลักษณะของกฎหมายที่ออกใชบังคับ      เนื่องจากเจาหนาที่ผูบังคับใชกฎหมายทางทะเล ยังขาดเครื่องมือทางกฎหมายที่เหมาะสม  หรือที่งายตอการทําความเขาใจในการปฏิบัติ  ไมวาจะเปนลักษณะของการใหอํานาจที่มีความสลับซับซอน  ไมเปนระบบหรือเปนหมวดหมู    หรือการขาดบทบัญญัติที่ เกี่ยวกับลักษณะความผิดใหมในปจจุบัน เชน อาชญากรรมขามชาติ กอการราย การฟอกเงิน การสาธารณสุข และสิ่งแวดลอม ดังไดกลาวแลวขางตน โดยเฉพาะเพื่อการบังคับใชในเขตเศรษฐกิจจําเพาะ ดังนั้น จึงสมควรที่จะไดมีการบัญญัติรวบรวมลักษณะความผิดและกําหนดวิธีการปฏิบัติที่สะดวก มีความรวดเร็ว งายตอการปฏิบัติ และมีความสอดคลองซึ่งกันและกันหรือมีหลักการที่เกี่ยวเนื่องกัน เปนกฎหมายฉบับเดียว   ทั้งนี้ โดยอาจมีหนวยงานเพียงหนวยงานเดียวในการบังคับใช เพื่อใหเกิดเอกภาพในการบังคับบัญชาและปฏิบัติงาน   ฉ. การบังคับใชกฎหมายสมัยใหม    นอกจากกระแสโลกาภิวัฒน และสภาพทางทะเลที่ยากตอการปฏิบัติการ จึงจําเปนตองมี ความรวมมือในทุกระดับชั้น  ไมวาจะเปนระดับชาติ ระดับภูมิภาค  หรือระดับโลก  และไมวาจะโดยความสมัครใจ  หรืออาจถูกบังคับใหตองเขารวม โดยทางออม   ประเทศไทยควรจะตองรูใหเทาทันระบบการเมืองและกติการะหวาง

Page 9: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

9 ประเทศที่สลับซับซอนและเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวการณ โดยตองศึกษาและทําความเขาใจใหมา กยิ่งขึ้น  เพื่อชิงความไดเปรียบในเวทีการเมืองและความรวมมือระหวางประเทศ  และสามารถรักษาผลประโยชนของชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ   สรุป

เทาที่กลาวมาก็นาจะเปนไปตามวัตถุประสงคในการเสนอบทความนี้แลว ในประการที่จะทําใหผูอานไดทราบวา กฎหมายที่ใหอํานาจเจาหนาที่ทหารเรือในการบังคับใชกฎหมายฝายบานเมืองในการปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลของประเทศไทยในปจจุบันมีกี่ฉบับ และเกี่ยวของกับเรื่องอะไรบาง รวมถึงทราบภาพรวมของสภาพปญหาในการปฏิบัติของเจาหนาที่ทหารเรือในระดับกองทัพเรือและระดับที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติของเจาหนาที่ทหารเรือโดยสังเขป เพื่อเปนแนวทางในการศึกษาเพิ่มเติมตอไป ซึ่งนับวา เปนสิ่งทาทายบรรดาผูปฏิบัติและนักกฎหมายที่จะตองใหความสนใจ  รวมทั้งรวมมือกันทุกฝาย เพื่อหาวิถีทางที่จะเอาชนะปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นดังกลาว  โดยจะตองทําการศึกษา และทําความเขาใจในเรื่องรายละเอียดปลีกยอยใหถองแท   เพื่อใหพรอมที่จะรับมือกับปญหาและภัยคุกคามที่มีอยูในปจจุบัน และที่กําลังมีพัฒนาการตอไปในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ  

         

  

      

      ----------------------------------------------    น.อ.สมเจตน   คงรอด 

                   

Page 10: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

เสนฐาน

อาณาเขตทางทะเลตามอนุสัญญาสหประชาชาติอาณาเขตทางทะเลตามอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเลวาดวยกฎหมายทะเล  คค..ศศ.. 19821982

((UnitedUnited NationsNations ConventionConvention onon thethe LawLaw ofof thethe SeaSea 1982)1982)

Page 11: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต
Page 12: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต
Page 13: กฎหมายที่ให อํานาจทหารเรือปราบปรามการกระทําผิดทางทะเลพ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต

Check Lists