16
เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1 การวิเคราะหเครือขายทางสังคมการเคลื่อนยายสุกรของจังหวัดนาน Social Network Analysis of Pig Movement in Nan โดย สุปรียา พรมศิลา อนุรักษ มวงทิม เลขทะเบียนวิชาการเลขที๖๓(๒)-๐๑๒๐-๐๑๐ สถานที่ดําเนินการ ดานกักกันสัตวนาน ระยะเวลาดําเนินการ มกราคม 2560-ธันวาคม 2562 การเผยแพร เว็บไซต กองสารวัตรและกักกัน http://aqi.dld.go.th

เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

เอกสารวิชาการ

เร่ืองท่ี 1

การวิเคราะหเครือขายทางสังคมการเคลื่อนยายสุกรของจังหวัดนาน

Social Network Analysis of Pig Movement in Nan

โดย

สุปรียา พรมศิลา

อนุรักษ มวงทิม

เลขทะเบียนวิชาการเลขท่ี ๖๓(๒)-๐๑๒๐-๐๑๐

สถานท่ีดําเนินการ ดานกักกันสัตวนาน

ระยะเวลาดําเนินการ มกราคม 2560-ธันวาคม 2562

การเผยแพร เว็บไซต กองสารวัตรและกักกัน

http://aqi.dld.go.th

Page 2: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

2

การวิเคราะหเครือขายทางสังคมการเคลื่อนยายสุกรของจังหวัดนาน

นางสุปรียา พรมศิลา1 นายอนุรักษ มวงทิม2

บทคัดยอ

การศึกษาน้ีเปนการวิเคราะหเครือขายทางสังคม โดยใชฐานขอมูลการออกใบอนุญาตเคลื่อนยายสัตวเขา-

ออกจังหวัดนานผานระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Movement) ของกรมปศุสัตว ในป 2559-2561 กําหนดหนวย

การศึกษา (unit of interest) เปนพื้นที่อําเภอตนทางและปลายทางและกําหนดใหการเคลื่อนยายสัตวตาม

ใบอนุญาตจากฐานขอมูล e-movement เปนเสนความสัมพันธ (tie) ผลการศึกษาพบวาในป พ.ศ. 2559-2561 มี

จํานวนการเคลื่อนยายสุกรมีชีวิตเขา-ออกจังหวัดนาน รวมจํานวน 5,705 ครั้ง จํานวนสัตวทั้งสิ้น 346,565 ตัว

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเขาโรงฆาเปนสัดสวนมากที่สุด การวิเคราะหเครือขายระดับหนวยยอย (analysis of

individual node) มีจํานวน node ที่นํามาวิเคราะห จํานวน 92, 97 และ 87 nodes ตามลําดับและมีเสน

ความสัมพันธเช่ือมโยงระหวาง node จํานวน 145, 143 และ 128 ties ตามลําดับ เปนลักษณะเครือขายแบบมี

ทิศทาง (directed network) การวิเคราะหขอมูลระดับเครือขาย (analysis of a whole network) พบวา มี

โครงรางเครือขาย (network topology) เปนแบบ random ลักษณะเปนแบบ scale free network มีเพียงบาง

node เทาน้ันที่มีความสัมพันธกับ node อื่นในเครือขายเปนจํานวนมาก เมื่อพิจารณาคาความเปนศูนยกลางใน

ภาพรวมของทั้งเครือขาย (network centralization) พบวา network centralization ของ out-degree ซึ่ง

นอยกวาของ in-degree แสดงใหเห็นวาในภาพรวมของเครือขาย node ตาง ๆ มีโอกาสรับมากกวาสงออก

เล็กนอย หรือหากมองในแงของการแพรระบาดของโรค เครือขายน้ีมีแนวโนมในการรับโรคที่สามารถติดตอผาน

การเคลื่อนยายสุกรมากกวาแพรโรค ดังน้ันในแงของการเกิดโรคระบาด การควบคุมโรคหรือการวางมาตรการใน

การปองกันโรคควรมุงเนนไปที่ node ที่เปน cut point และมีคา betweeness สูงเปนอันดับแรกไดแกอําเภอ

เวียงสา, เมืองนาน และภูเพียง จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด

คําสําคัญ: วิเคราะหเครือขายทางสังคมเคลื่อนยายสุกร จังหวัดนาน

ทะเบียนวิชาการเลขที่ ๖๓(๒)-๐๑๒๐-๐๑๐

1ดานกักกันสัตวนาน กองสารวัตรและกักกัน กรมปศุสัตว 2ดานกักกันสัตวกาญจนบุรี กองสารวัตรและกักกัน กรมปศุสัตว

Page 3: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

3

Social Network Analysis of Pig Movement in Nan

Supreeya Promsila 1 Anurak muangtim 2

Abstract

This study is social network analysis of lived pig movements ingoing and outgoing from

Nan province in 2016-2018 based on electronic movement data of Department of Livestock

Development .A network analysis was considering Amphur as node and movements of lived pig

as Tie. The movement data was calculated by social network analysis program, Ucinet 6. In

2016-2018 the total movements ingoing and outgoing from Nan province were 5,705 times, the

total number of lived pig were 346,565 pigs. The most movements were ship to slaughterhouse.

The results show that in 2016-2018 the network has 92 nodes with 145 ties, 97 nodes with 143

ties and 87 nodes with 128 ties, respectively. Analysis of a whole network, the network density

and clustering coefficient were low that showed network has random pattern. The network

centralization of out-degree was lower than in-degree so each node had probability of infected

of disease more than spreading. Disease control or disease prevention measures should focus

on the node that is the cut point of network and has the highest betweeness values, namely

Wiang Sa, Muang, Nan and Phu Phueang.

Keyword: Social network analysis, pig movement, Nan

Registered no: ๖๓(๒)-๐๑๒๐-๐๑๐

1 Nan Animal Quarantine Station, Division of veterinary inspection and Quarantine, Department of Livestock

Development 2 Kanchanaburi Animal Quarantine Station, Division of veterinary inspection and Quarantine, Department of

Livestock Development

Page 4: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

4

สารบัญ

หนา

บทนํา 5

วิธีการศึกษา 6

การวิเคราะหขอมูล 6

ผลการศึกษา 7

การวิเคราะหขายทางสังคมการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน 8

สรุปและวิจารณ 15

เอกสารอางอิง 16

Page 5: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

5

การวิเคราะหเครือขายทางสังคมการเคลื่อนยายสุกรของจังหวัดนาน

บทนํา

การวิเคราะหเครือขายทางสังคม คือการหาความสัมพันธระหวางหนวยยอย (unit of interest) หรือ

node และ ties อันไดแก ความสัมพันธระหวาง node ในเครือขาย การวิเคราะหเครือขายทางสังคมมีประโยชน

สําคัญ คือ สามารถศึกษาความสัมพันธที่มีสองทิศทางได เชน การติดตอระหวางบุคคล การคา หรือการเคลื่อนยาย

สัตว โดยนําเสนอความสัมพันธของสมาชิกในเครือขาย ในรูปแบบของทฤษฎีกราฟ (graph theory) ซึ่งนอกจาก

จะชวยอธิบายลักษณะของแตละ node ลักษณะของเครือขาย และระบุ component ที่สําคัญของเครือขายได

แลวยังสามารถวัดรูปแบบของการติดตอ และเปรียบเทียบความแตกตางระหวางเครือขายไดอีกดวย (Martinez-

Lopez et al., 2009) ซึ่งไดถูกนําไปอธิบายรูปแบบของการเกิดโรคระบาด ทั้งในสัตวและมนุษย เปนจํานวนมาก

ในตางประเทศ ตัวอยางเชน การศึกษาของ Ortiz-Pelaez et al. (2006) ไดนําขอมูลการเคลื่อนยายโคและแกะใน

ชวงแรกของการระบาดของโรคปากและเทาเปอยในสหราชอาณาจักร เมื่อป ค.ศ.2001 มาวิเคราะหเครือขายทาง

สังคมเพื่อหา node สําคัญที่ทําใหเกิดการแพรกระจายของโรค ในประเทศอิตาลี ไดมีการศึกษารูปแบบการ

เคลื่อนยายสัตวเชิงพรรณนาจากฐานขอมูลและนําไปใชในแบบจําลองสถานการณการระบาดของโรค FMD พบวา

การเลือกพื้นที่ในการควบคุมโรคกรณีเกิดโรคระบาดโดยใชคา degree ในแตละ Node ของเครือขาย ซึ่งมี

ประสิทธิภาพที่สุดในการควบคุมโรค (Natale et al., 2009) ในสวีเดน มีการศึกษาเครือขายการเคลื่อนยายโค

กระบือและสุกร เพื่อประเมินมาตรการเฝาระวังและควบคุมโรค โดยทําการวิเคราะหเปนรายเดือนและรายป

พบวารูปแบบของการเคลื่อนยายในโคแปรผันตามฤดูกาล มีการเคลื่อนยายสูงในชวงฤดูใบไมผลิ และฤดูใบไมรวง

ซึ่งรูปแบบน้ีไมพบในการเคลื่อนยายสุกร (Nöremark et al., 2011) ในแคนาดา มีการศึกษาการเคลื่อนยายสุกร

ของฟารมในรัฐออนตาริโอ เพื่ออธิบายรูปแบบการแพรระบาดของโรคและการจัดการปจจัยเสี่ยงการเกิดโรค

(Dorjee et al., 2013) และการวิเคราะหเครือขายทางสังคมของการเคลื่อนยายสุกร โค และกระบือ แขวงไชยบุรี

สาธารณรัฐประชาชนลาว (Poolkhet et al., 2019) สําหรับงานวิจัยในประเทศไทย มีการศึกษาเครือขายของการ

เคลื่อนยายสัตว เพื่ออธิบายการเกิดโรคและการแพรกระจายของโรค เชน การศึกษารูปแบบการเคลื่อนยาย และ

การคาไกหลังบานในจังหวัดราชบุรี (Poolkhet et al., 2013) เพื่อหาผูที่มีบทบาทที่ทําใหเกิดการแพรกระจายของ

โรค ไขหวัดนก นอกจากสัตวปกแลวยังมีการศึกษาวิเคราะหเครือขายทางสังคมของการเคลื่อนยายโค กระบือ ใน

จังหวัดตาก (Khengwa et al., 2015) และจังหวัดสุโขทัย (Noopataya et al., 2015) สําหรับการศึกษาเครือขาย

ทางสังคมของการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนานน้ัน มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบลักษณะรูปแบบของ

เครือขายการเคลื่อนยายเพื่อนําไปเปนพื้นฐานในการวางมาตรการในการเฝาระวังและควบคุมโรคระบาดที่สําคัญ

ตอไป

Page 6: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

6

วิธีการศึกษา

ประชากร/ตัวอยางท่ีทําการศึกษา

เปนการศึกษาโดยใชขอมูลจากฐานขอมูลการออกใบอนุญาตเคลื่อนยายสัตวเขา-ออกจังหวัดนานผาน

ระบบอิเล็กทรอนิกส (e-movement) ของกรมปศุสัตว ในป 2559-2561 ซึ่งเปนขอมูลที่มีรายละเอียดตนทาง

ปลายทาง ชนิดสัตวและวัตถุประสงคการเคลื่อนยาย การศึกษาน้ีกําหนดหนวยการศึกษา (unit of interest) เปน

พื้นที่อําเภอตนทางและปลายทางและกําหนดใหการเคลื่อนยายสัตวตามใบอนุญาตจากฐานขอมูล e-movement

เปนเสนความสัมพันธ (tie) ซึ่งการสืบคนขอมูลจากฐานขอมูล โดยกําหนดชนิดสัตว เปน สุกร และพื้นที่ตนทาง

และปลายทาง เปนจังหวัดนาน ในระหวางวันที่ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2561

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลเครือขายทางสังคมโดยใช โปรแกรม Ucinet 6 โดยวิเคราะหขอมูล 3 ระดับ คือ

ระดับหนวยยอย (analysis of individual node) ระดับกลุมยอย (analysis of sub-graph) และระดับเครือขาย

(analysis of whole network) พรอมทั้งพิจารณาโครงรางการเช่ือมตอของเครือขาย (network topology)

อธิบายคําศัพท

centrality คือ คาความเปนศูนยกลางของ node ประกอบดวยคาหลัก ไดแก degree, closeness และ

betweenness

in-degree คือ จํานวนความสัมพันธที่มีทิศทางเขาหา node น้ันๆ บงช้ีถึงการรับความสัมพันธเขามาจาก

node อื่นๆ

out-degree คือ จํานวนความสัมพันธที่มีทิศทางออกจาก node น้ันๆ แสดงใหเห็นวา node น้ันมีการ

กระจายความสัมพันธไปยัง node อื่นๆ มากนอยเพียงใด

in-closeness คือ คาที่ใชบอกความใกลชิดระหวาง node ที่วัดกับ node อื่นๆ ทุก node ในเครือขาย

ในแงของการรับเขา

out-closeness คือ คาที่ใชบอกความใกลชิดระหวาง node ที่วัดกับ node อื่นๆ ทุก node ในเครือขาย

ในแงของการสงออก

betweenness คือ คาของการเปนตัวผานของแตละ node ใชเพื่อดูวาแตละ node มีโอกาสที ่node

อื่นๆ ในเครือขายจะเดินทางผานมากนอยเพียงใด

weak component คือ ทุก node ใน component สามารถเช่ือมโยงถึงกันไดโดยไมสนใจทิศทางของ

การเช่ือมโยงหรือไมสนใจหัวลูกศร

giant weak component คือ weak component ที่มีขนาดใหญที่สุดในเครือขาย

strong component คือ ทุก node ใน component สามารถเช่ือมโยงถึงกันไดโดยสนใจทิศทางของ

การเช่ือมโยงหรือทิศทางของลกูศร หรือระหวาง node ใน component สามารถไปหากันได ทั้งไปและกลับ

giant strong component คือ strong component ที่มีขนาดใหญที่สุดในเครือขาย

Page 7: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

7

cut-point คือ node ที่ถาหากถูกตัดออกจากเครือขายจะทําให component ในเครือขายแตกออกจากกัน

density คือ ความหนาแนนของเครือขาย ซึ่งบงบอกถึงจํานวนความสัมพันธของคูของ node เมื่อเทียบ

กับจํานวนความสัมพันธที่เปนไปไดทั้งหมด โดยมีคาไดต้ังแต 0-1 ถาหากมีคาใกล 0 หมายถึงเครือขายมีการ

เช่ือมโยงกันนอย และถาหากมีคาใกล 1 หมายถึงเครือขายมีการเช่ือมโยงกันอยางหนาแนน

clustering coefficient คือ การวัดการเกาะกลุมกันของเครือขาย เปนการวิเคราะหผานหนวยยอยที่

สัมพันธใกลชิดกับหนวยยอยหลัก ถามีคาเทากับ 1 แสดงวาทุก ๆ หนวยยอยติดตอโดยตรงกับหนวยยอยอื่นๆ ใน

เครือขาย แตถามีคาเทากับ 0 แสดงวาไมมีการติดตอระหวางหนวยยอยในเครือขาย

ผลการศึกษา

ขอมูลท่ัวไป

จากขอมูลการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจากจังหวัดนาน ระหวางป พ.ศ. 2559-2561 พบวา มีจํานวนการ

เคลื่อนยายสุกรมีชีวิตจํานวน 5,705 ครั้ง จํานวนสัตวทั้งสิ้น 346,565 ตัว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเขาโรงฆาเปน

สัดสวนมากที่สุด รายละเอียดตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1 คาสถิติการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน แยกตามวัตถุประสงค ระหวางป พ.ศ. 2559-2561

วัตถุประสงค

การเคล่ือนยาย

ป พ.ศ. จํานวนสัตว

(ตัว)

จํานวนการ

เคล่ือนยาย

(ครั้ง)

คาเฉล่ีย

จํานวนสัตว

ตอการ

เคล่ือนยาย

คามัธยฐาน

จํานวนสัตว

ตอการ

เคล่ือนยาย

สวน

เบี่ยงเบน

มาตรฐาน

จํานวนสัตว

นอยที่สุด

ตอการ

เคล่ือนยาย

(ตัว)

จํานวนสัตว

มากที่สุด

ตอการ

เคล่ือนยาย

(ตัว)

เขาโรงฆา 2559 60597 1335 45 45 25.17 5 120

2560 71988 1399 51 50 26.06 1 160

2561 56856 1242 46 45 28.35 1 150

นําไปเล้ียง 2559 1889 32 59 7.5 167.93 1 750

2560 671 36 19 12 20.44 1 110

2561 699 42 16 10 16.67 1 70

ไปจําหนาย 2559 18455 498 37 40 18.16 1 100

2560 9408 260 36 22 47.30 1 700

2561 8009 221 36 22 25.99 1 120

ไปทําพันธุ 2559 762 73 10 6 12.82 1 70

2560 517 55 9 2 18.58 1 81

2561 832 51 16 4 24.15 1 77

Page 8: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

8

ตารางที่ 1 (ตอ) คาสถิติการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน แยกตามวัตถุประสงค ระหวางป พ.ศ. 2559-2561

วัตถุประสงค

การเคล่ือนยาย

ป พ.ศ. จํานวนสัตว

(ตัว)

จํานวนการ

เคล่ือนยาย

(ครั้ง)

คาเฉล่ีย

จํานวนสัตว

ตอการ

เคล่ือนยาย

คามัธยฐาน

จํานวนสัตว

ตอการ

เคล่ือนยาย

สวน

เบี่ยงเบน

มาตรฐาน

จํานวนสัตว

นอยที่สุด

ตอการ

เคล่ือนยาย

(ตัว)

จํานวนสัตว

มากที่สุด

ตอการ

เคล่ือนยาย

(ตัว)

ไปเล้ียงขุน 2559 37889 134 283 73 289.69 1 710

2560 37334 158 236 56.5 252.82 1 820

2561 40659 173 235 60 235.00 1 750

ผลรวม 2559 119592 2072

2560 119918 1908

2561 107055 1725

รวมทั้งส้ิน 346565 5705

การวิเคราะหเครือขายทางสังคมการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน

การวิเคราะหระดับหนวยยอย (analysis of individual node) ในป 2559-2561 มีจํานวน node ที่

นํามาวิเคราะห จํานวน 92, 97 และ 87 nodes ตามลําดับและมีเสนความสัมพันธเช่ือมโยงระหวาง node

จํานวน 145, 143 และ 128 ties ตามลําดับ เปนลักษณะเครือขายแบบมีทิศทาง (directed network) ดังแสดง

ในภาพที่ 1-3 เมื่อการวัดความเปนศูนยกลางของเครือขาย (Centrality) ของการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัด

นาน พบวา ในป 2559-2561 มีคาเฉลี่ยของ in-degree และ out-degree แตละปมีคาเทากัน คือ 22.52 , 19.67

และ19.87 ตามลําดับ คาเฉลี่ยของ in-closeness และ out-closeness แตละปมีคาเทากัน คือ 580.2 , 599.81

และ 605.5 ตามลําดับ และคาเฉลี่ยของ betweenness มีคาเทากับ 36.48 ,41.56 และ 41.09 ตามลําดับ

มีรายละเอียดดังตารางที่ 2

Page 9: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

9

ภาพที่ 1 แสดงเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน ป 2559

ภาพที่ 2 แสดงเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน ป 2560

อําเภอในจังหวัดน่าน

อําเภอในจังหวัดอืน ๆ

อําเภอในจังหวัดน่าน

อําเภอในจังหวัดอืน ๆ

Page 10: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

10

ภาพที่ 3 แสดงเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน ป 2561

ตารางที่ 2 แสดงคา degree centrality, betweenness centrality,และ closeness centrality

คา

node centrality

คาสถิติเชิงพรรณนา

ป พ.ศ. คาเฉล่ีย คามัธยฐาน สวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน

คา

นอยที่สุด

คา

มากที่สุด

Out Degree 2559 22.52 2 81.26 0 581

2560 19.67 1 79.81 0 635

2561 19.87 2 77.32 0 574

In degree 2559 22.52 0 82.11 0 585

2560 19.67 0 66.09 0 440

2561 19.87 0 66.36 0 389

Out Closeness 2559 580.02 556 49.44 499 637

2560 599.81 660 76.61 469 672

2561 605.50 582 68.69 503 688

In Closeness 2559 580.02 637 86.26 92 376

2560 599.81 672 85.84 449 672

2561 605.50 688 108.35 397 688

Betweenness 2559 36.48 0 146.39 0 930.83

2560 41.56 0 167.47 0 1018.96

2561 41.09 0 132.78 0 848.10

อําเภอในจังหวัดน่าน

อําเภอในจังหวัดอืน ๆ

Page 11: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

11

โดย node ที่มีคา in-degree สูงติดตอกัน คือ อําเภอเมืองนาน, เมืองแพร, ทาวังผา, นาหมื่น และเวียงสา

สวน node ที่มีคา out-degree สูงติดตอกัน คือ อําเภอเมืองอุตรดิตถ, เวียงสา ลอง และรองกวาง เมื่อพิจารณา

คา betweenness พบวา node ที่มีคาสูงติดตอกันคือ อําเภอเวียงสา, เมืองนาน เมืองลําพูน และภูเพียง

มีรายละเอียดดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงคา degree centrality และ betweenness centrality 5 อันดับแรกของเครือขายการ

เคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน ป 2559-2561

คา in degree

คา out degree

คา betweenness

ป 2559

เมืองนาน 585 เวียงสา 581 เวียงสา 930.83

เมืองแพร 367 เมืองอุตรดิตถ 489 เมืองนาน 730.83

ทาวังผา 288 ลอง 184 เมืองลําพูน 695

เชียงกลาง 250 รองกวาง 109 ภูเพียง 275.5

ปว 124 หางฉัตร 87 สันปาตอง 258

ป 2560

เมืองนาน 440 เวียงสา 635 เมืองนาน 1018.96

เมืองแพร 328 เมืองอุตรดิตถ 451 เวียงสา 933.97

ทาวังผา 240 ลอง 159 ภูเพียง 696.57

นาหม่ืน 224 ภูเพียง 81 สูงเมน 578.25

เวียงสา 136 รองกวาง 66 เมืองลําพูน 311.42

ป 2561

เมืองนาน 389 เมืองอุตรดิตถ 574 เวียงสา 848.1

เมืองแพร 301 เวียงสา 441 เมืองนาน 731.53

นาหม่ืน 291 ลอง 84 สอง 293.97

ทาวังผา 257 เกาะคา 82 ภูเพียง 267.73

เวียงสา 114 เมืองนาน 56 เมืองลําพูน 261.83

การวิเคราะหกลุมยอยของเครือขาย (analysis of sub-graph) พบวา เครือขายการเคลื่อนยายสุกรฯ

ป 2559 ประกอบดวย 1 component โดยเปน giant weak component มีขนาดเทากับ 92 nodes คิดเปน

รอยละ 100 ของจํานวน node ทั้งหมด หากพิจารณาสวนของ strong component พบวามีทั้งหมด

86 component โดยที่ giant strong component มีขนาด 7 nodes คิดเปนเพียงรอยละ 7.6 ของจํานวน

node ทั้งหมด และ cut point ของเครือขายน้ีมีจํานวน 10 nodes ไดแก อําเภอปว, บานหลวง, นานอย,

นาหมื่น, เวียงสา, เมืองนาน, ภูเพียง, ทาวังผา, สันติสุข จังหวัดนานและอําเภอสันปาตอง จังหวัดเชียงใหม ดัง

แสดงในภาพที่ 4

Page 12: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

12

เครือขายการเคลื่อนยายสุกรฯ ป 2560 ประกอบดวย 2 component โดยมี giant weak

component มีขนาดเทากับ 95 คิดเปนรอยละ 97.9 ของจํานวน node ทั้งหมดตามลําดับ หากพิจารณาสวน

ของ strong component พบวามีทั้งหมด 88 component โดยที่ giant strong component มีขนาด

10 nodes คิดเปนเพียงรอยละ 10.3 ของจํานวน node ทั้งหมด และ cut point ของเครือขายน้ีมีจํานวน

14 nodes ไดแก อําเภอสันปาตอง, ดอยสะเก็ด, ปากชอง, เมืองอุตรดิตถ, เมืองกําแพงเพชร, สันติสุข, บานหลวง,

นานอย, นาหมื่น, เวียงสา, เมืองนาน, ภูเพียง, ทุงชาง และทาวังผา ดังแสดงในภาพที่ 5

เครือขายการเคลื่อนยายสุกรฯ ป 2561 ประกอบดวย 3 component โดยมี giant weak

component มีขนาดเทากับ 83 คิดเปนรอยละ 95.4 ของจํานวน node ทั้งหมดตามลําดับ หากพิจารณาสวน

ของ strong component พบวามีทั้งหมด 77 component โดยที่ giant strong component มีขนาด

9 nodes คิดเปนเพียงรอยละ 10.3 ของจํานวน node ทั้งหมด ซึ่ง giant strong component น้ีอยูใน giant

weak component และ cut point ของเครือขายน้ีมีจํานวน 12 nodes ไดแก อําเภอลอง ปากชอง, ปว,

เชียงกลาง, บานหลวง, ทุงชาง, เฉลิมพระเกียรติ, นาหมื่น,เวียงสา, เมืองนาน, ภูเพียง และทาวังผา ดังแสดงใน

ภาพที่ 6

ภาพที่ 4 แสดงจํานวน component และ cut point ของเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน

ป พ.ศ. 2559

Cut point

Page 13: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

13

ภาพที่ 5 แสดงจํานวน component และ cut point ของเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน

ป พ.ศ. 2560

ภาพที่ 6 แสดงจํานวน component และ cut point ของเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน

ป พ.ศ. 2561

Cut point

Cut point

Page 14: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

14

การวิเคราะหขอมูลระดับเครือขาย (analysis of a whole network) ของเครือขายการเคลื่อนยายสุกรฯ

ป 2559 -2561 พบวาความหนาแนนของเครือขาย (density) มีคาเปน 0.017, 0.015 และ 0.017 หรือ 1.7% ,

1.5% และ 1.7% ตามลําดับ ซึ่งถือวามีคานอย แสดงวาเครือขายเกาะกลุมกันอยางไมหนาแนน มีการติดตอ

เช่ือมโยงกับภายในเครือขายจํานวนนอย สวนคา clustering coefficient ซึ่งวัดการเกาะกลุมกันของเครือขายน้ัน

มีคา <0.001 สอดคลองกับคา density ที่มีคานอยเชนกัน ทําใหพิจารณาไดวาเครือขายน้ีมีโครงรางเครือขาย

(network topology) เปนแบบ random แตละ node เช่ือมตอกับ node อื่น ๆในเครือขายแบบไมมีแบบแผน

เปนการติดตอกันแบบสุม เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของคาความสัมพันธ หรือ degree centrality ของแตละ

node ในเครือขาย พบวาการกระจายตัวเปนแบบ right skewed distribution คือเบขวา (ภาพที่ 7 ) เปน

เครือขายแบบ scale free หรือ power law distribution ซึ่งเครือขายน้ีจะมี node จํานวนมากที่มี

ความสัมพันธกับ node อื่นนอย แตมีเพียงบาง node เทาน้ันที่มีความสัมพันธกับ node อื่นในเครือขายเปน

จํานวนมาก มีคาพารามิเตอรที่สําคัญ ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงพารามิเตอรที่สําคัญของขอมูลระดับเครือขาย

คาพารามิเตอร ป 2559 ป 2560 ป 2561

Average Degree 1.576 1.474 1.471

Out-Centralization 0.105 0.184 0.112

In-Centralization 0.36 0.237 0.265

Density 0.017 0.015 0.017

Average Distance 3.342 3.192 3.327

Diameter 6 6 7

clustering coefficient <0.001 <0.001 <0.001

ภาพที่ 7 การกระจายตัวของ Degree ในเครือขายการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน ป พ.ศ. 2559-2561

0

10

20

30

40

50

60

70

10 130

250

370

490

610

730

850

การกระจายตัวของ Degree ปี 2559

010

2030

4050

607080

10 120

230

340

450

560

670

780

890

การกระจายตัวของ Degree ปี 2560

0

10

20

30

40

50

60

10 70 130

190

250

310

370

430

490

การกระจายตัวของ degree ปี 2561

Page 15: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

15

สรุปและวิจารณ

จากคาสถิติการเคลื่อนยายสุกรเขา-ออกจังหวัดนาน ป 2559-2561 พบวา กิจกรรมหลักของการ

เคลื่อนยายสกุร คือ การเคลื่อนยายเขาโรงฆา แสดงใหเห็นวาผูประกอบการการคาสัตว (รถจบัสุกร) มีบทบาทหลัก

ในเครือขายการเคลื่อนยาย

เมื่อพิจารณาคาความเปนศูนยกลางในภาพรวมของทั้งเครือขาย (network centralization) พบวา

network centralization ของ out-degree ซึ่งนอยกวาของ in-degree แสดงใหเห็นวาในภาพรวมของเครือขาย

node ตาง ๆ มีโอกาสรับมากกวาสงออกเล็กนอยดวย (Martinez-Lopez et al., 2009) หรือหากมองในแงของ

การแพรระบาดของโรค เครือขายน้ีมีแนวโนมในการรับโรคที่สามารถติดตอผานการเคลื่อนยายสุกรมากกวาแพร

โรค ซึ่งการเฝาระวังโรคในอําเภอที่มีคา in-degree สูง ไดแก อําเภอเมืองนาน, เมืองแพร, ทาวังผา, นาหมื่น และ

เวียงสา ควรใชคือการวางระบบเฝาระวังโรคเชิงรับ กําหนดแผนการเก็บตัวอยางเพื่อคนหาโรคระบาดในสุกรที่

สําคัญ สวนอําเภอที่มีคา out-degree สูง คืออําเภอเวียงสา ถือวาเปน node ต้ังตนหลักในเครือขายของการ

แพรกระจายโรค มีความสําคัญในแงการเฝาระวังโรคและควบคุมโรค การสรางเครือขายเกษตรกรผูเลี้ยงสัตว

ผูประกอบการคาสัตว ซากสัตว เพื่อเฝาระวังกรณีที่พบความผิดปกติในพื้นที่แจงเจาหนาที่เพื่อการสอบสวนโรค

และติดตามอยางมีประสิทธิภาพ สามารถดําเนินการควบคุมและปองกันการแพรระบาดไดอยางรวดเร็ว ในกรณีที่มี

การเกิดโรคข้ึนในเครือขาย หากเกิดโรคใน giant weak component ตองหามาตรการปองกันไมใหมี link โดย

ดําเนินการจัดการที่ cut-point เชน หามการเคลื่อนยายสัตวจากอําเภอที่เปน cut-point ไปยังอําเภออื่น ทั้งน้ี

เพื่อลดขนาดหรือความรุนแรงของการระบาด ทําใหสามารถควบคุมโรคไดงายข้ึน (Natale et al., 2009) เมื่อ

พิจารณาโครงรางเครือขาย (network topology) ของเครือขายการเคลื่อนยายสุกรของจังหวัดนาน ที่มีลักษณะ

random แบบ scale free network มีเพียงบาง node เทาน้ันที่มีความสัมพันธกับ node อื่นในเครือขายเปน

จํานวนมาก ดังน้ันในแงของการเกิดโรคระบาด การควบคุมโรคหรือการวางมาตรการในการปองกันโรคควรมุงเนน

ไปที่ node ที่เปน cut point และมีคา betweenness centrality สูงเปนอันดับแรก (Ortiz-Pelaez et al.,

2006) ไดแกอําเภอเวียงสา, เมืองนาน และภูเพียงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุด

กิตติกรรมประกาศ

ผูวิจัยขอขอบคุณ นายวรพล รุงสิทธิมงคล หัวหนาดานกักกันสัตวนาน ที่ใหความอนุเคราะหขอมูลการ

เคลื่อนยายสัตว และ อ.น.สพ.ชัยเทพ พูลเขตต ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ใหความรูดานการวิเคราะหเครือขายทางสังคมและนายยุทธนา ชัยศักดานุกูล

ผูเช่ียวชาญดานการปองกันและควบคุมโรคสัตวขามแดน ประธานคณะกรรมการวิชาการกองสารวัตรและกักกัน ที่

ใหคําแนะนํา

Page 16: เอกสารวิชาการ เรื่องที่ 1aqi.dld.go.th/th/images/stories/document/research/swine...เอกสารว ชาการ เร องท

16

เอกสารอางอิง

Dorjee S, Revie CW, Poljak Z, McNab WB, Sanchez J. Network analysis of swine shipments in Ontario, Canada, to support disease spread modelling and risk-based disease management. Prev Vet Med. Elsevier B.V.; 2013;112: 118–127. Khengwa, C., P. Jongchansittoe, P. Sedwisai and A. Wiratsudakul. 2015. A traditional cattle trade network in Tak province, Thailand and its potential in the spread of infectious diseases. Animal Production Science. doi.10.1071/AN15043.

Martinez-Lopez, B., A.M. Perez and J.M. Sanchez-Vizcaino. 2009. Social network analysis. Review of general concepts and use in preventive veterinary medicine. Transboundary and Emerging Diseases. 56: 109-120.

Natale, F., Giavannini, A., Savini, L., Palma, D., Possenti, L., Fiore, G., Calistri, P. 2009. Network analysis of Italian cattle trade patterns and evaluation of risks for potential disease spread. Preventive Veterinary Medicine. 92, 341-350

Noopataya, S., S. Thongratsakul and C. Poolkhet. 2015. Social network analysis of cattle movement in Sukhothai province, Thailand: a study to improve control measurements. Hindawi Publishing Corporation Veterinary Medicine International. doi.10.1155/2015/587252 Nöremark M, Håkansson N, Lewerin SS, Lindberg A, Jonsson A. Network analysis of cattle and pig movements in Sweden: Measures relevant for disease control and risk based surveillance. Prev Vet Med. 2011;99: 78–90.

Ortiz-Pelaez, A., D.U. Pfeiffer, R.J. Soares-Magalhaes and F.J. Guitian. 2006. Use of social network analysis to characterize the pattern of animal movements in the initial phases of the 2001 foot and mouth disease (FMD) epidemic in the UK. Preventive Veterinary Medicine. 76 (1-2): 40-55.

Poolkhet, C., P. Chairatanayuth, S. Thongratsakul, S. Kasemsuwan and T. Rukkwamsuk. 2013. Social network analysis used to assess the relationship between the spread of avian influenza and movement patterns of backyard chickens in Ratchaburi, Thailand. Research in Veterinary Science. 95: 82-86.

Poolkhet C., Kasemsuwan S., Phiphakhavong S., Phouangsouvanh I., Vongxay K., Shin MS, Kalpravidh W. and Hinrichs J. 2019. Social network analysis for the assessment of pig, cattle and buffalo movement in Xayabouli, Lao PDR. DOI 10.7717/peej.6177