96
เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Office of Quality Assurance Kasetsart University ชั้น 9 อาคารสารนิเทศ 50 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โทรศัพท 0 2942 8299 (สายตรง), 0 2942 8200 ภายใน 4920 – 24 โทรสาร 0 2942 8299 Home Page : http://www.qa.ku.ac.th e-mail : [email protected]

เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

เอกสารวิชาการ 24/2549

สํานักประกันคณุภาพ มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร

สํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Office of Quality Assurance Kasetsart University

ช้ัน 9 อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โทรศัพท 0 2942 8299 (สายตรง), 0 2942 8200 ภายใน 4920 – 24 โทรสาร 0 2942 8299

Home Page : http://www.qa.ku.ac.th e-mail : [email protected]

Page 2: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

คํานํา

การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอกถือเปนภารกิจที่สําคัญอยางหนึ่งของกลุมสาขาเกษตรศาสตร เพื่อที่จะกําหนดระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษาหนึ่งๆ ในแตละมาตรฐานอยางมีคุณภาพ เพื่อเปนหลักประกันแกผูที่มีสวนเกี่ยวของ และสาธารณะใหเกิดความมั่นใจวาสถานศึกษาสามารถสรางผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ การประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรตั้งแตป 2540 โดยไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสํานักงานมาตรฐานการศึกษา (องคการมหาชน) 1 คร้ัง คร้ังนี้เปนครั้งแรกที่มีการประเมินคุณภาพภายนอกเปนกลุมสาขา เพื่อเปนการเตรียมความพรอมการกาวไปสูกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) และเปนมาตรฐานเดียวกัน ซ่ึงกลุมสาขาเกษตรศาสตร ประกอบดวย คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน และคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

รายงานประกันกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 นี้ จึงเปนฉบับที่ 1 ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร จัดทําขึ้นเพื่อวัตถุประสงคในการประเมินคุณภาพภายนอก จากสํานักงานมาตรฐานการศึกษา (องคการมหาชน) โดยรอบระยะเวลาของการตรวจประเมิน คือ ปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549) สาระสําคัญของรายงานการตรวจประเมินตนเองเลมนี้จะประกอบไปดวยขอมูลพื้นฐานของกลุมสาขาเกษตรศาสตร ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ตาม 7 มาตรฐาน 48 ตัวบงชี้ และการวิเคราะหตนเองของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกชุดที่เกี่ยวของ ตลอดจนบุคลากรทุกคนที่ใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะจนทําใหงานการประกันคุณภาพการศึกษาของกลุมสาขาฯ สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เพื่อประโยชนในการพัฒนามาตรฐานการศึกษาที่ไดตั้งไว ( รศ.ดร.สิรี ชัยเสรี ) คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร

ประธานกลุมสาขาเกษตรศาสตร สิงหาคม 2549

Page 3: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

สารบัญ

หนา

บทที่ 1 ขอมูลพื้นฐาน กลุมสาขาเกษตรศาสตร....................................................... 1

บทที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ตาม 7 มาตรฐาน 48 ตัวบงช้ี กลุมสาขาเกษตรศาสตร............................................................................. 11 มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบณัฑิต……………………………………………………. 14

มาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค……………………………………..… 21 มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ………………………………………………… 26 มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบาํรุงศิลปะและวัฒนธรรม……………………………….. 32 มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร…………………………………… 35 มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน…………………………………… 44 มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคณุภาพ…………………………………………. 51

บทที่ 3 การวิเคราะหตนเอง กลุมสาขาเกษตรศาสตร............................................... 55 การติดตามแผนพัฒนาปรับปรุงจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกจากคณะผูประเมิน ภายนอกสํานกังานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ....................... 63

ภาคผนวก...................................................................................................................... 70 ภาคผนวก ก สถิติขอมูล................................................................................................. 71 ภาคผนวก ข รายนามผูบริหาร และคณะกรรมการประกนัคุณภาพ ............................... 77

ภาคผนวก ค คําสั่งมหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร ที่ 2096/2549 เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการ ประสานงานเพื่อรับการประเมินคุณภาพรอบสอง จากสํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) .................................... 84 คําสั่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ 2097/2549 เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการ

ดําเนินการจัดทําขอมูลและรายงานกลุมสาขา ประจําป 2548 ................... 88 ภาคผนวก ง เอกสารประกอบการประเมนิ..................................................................... 91

Page 4: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่
Page 5: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 1

บทที ่ 1

ขอมูลพื้นฐาน กลุมสาขาเกษตรศาสตร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คณะเกษตรคณะเกษตร คณะเกษตร จัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2486 ตาม พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2486 โดยใชช่ือ

“คณะเกษตรศาสตร” เปดสอนหลักสูตรกสิกรรมและสัตวบาล 5 ป สําหรับปริญญาตรี และ 3 ป สําหรับอนุปริญญา แบงออกเปน 5 แผนก คือ แผนกเกษตรศาสตร แผนกสัตวบาล แผนกเคมี แผนกกีฏวิทยาและโรคพืช และแผนกเกษตรวิศวกรรม

ในป พ.ศ. 2495 ไดแบงเปน 6 แผนก คือ แผนกเกษตรศาสตร แผนกสัตวบาล แผนกฟสิกสและเคมี แผนกกีฏวิทยาและโรคพืช แผนกเกษตรวิศวกรรม และแผนกชีววิทยา อีกสองปตอมาคือ ในป พ.ศ. 2497 คณะเกษตรศาสตรไดเร่ิมเปดสอนหลักสูตรปริญญาโทหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัย คือ หลักสูตรปริญญากสิกรรมและสัตวบาลมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกสัตวบาล และไดเปลี่ยนชื่อจาก คณะเกษตรศาสตร เปน “คณะกสิกรรมและสัตวบาล” ในป พ.ศ. 2509 ไดมีการเปลี่ยนชื่อคณะและหลักสูตรอีกครั้งหนึ่งตามพระราชกฤษฎีกาการจัดแบงคณะในมหาวิทยาลัยฯ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 โดยเปลี่ยนชื่อจากคณะกสิกรรมและสัตวบาล เปน “คณะเกษตร” และเปลี่ยนหลักสูตรจาก 5 ป เปน 4 ป ตอมาในป พ.ศ.2522 นิสิตปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร) ช้ันปที่ 3 และ 4 ไดยายไปเรียนที่วิทยาเขตกําแพงแสน ซ่ึงไดเร่ิมดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน เมือ่วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 อันเปนวันเปดเรียนภาคปลาย และตั้งแตปการศึกษา 2528 เปนตนมา นิสิตตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร) ไดไปศึกษา ณ วิทยาเขตกําแพงแสน ตลอดหลักสูตร ในป พ.ศ. 2531 ไดมีการเปดหลักสูตรระดับปริญญาตรีเพิ่ม คือ หลักสูตร วท.บ. (การจัดการศัตรูพืช) และ วท.บ. (เคมีการเกษตร) ณ วิทยาเขตบางเขน และพ.ศ. 2536 ไดเร่ิมเปดหลักสูตรนานาชาติ สาขาเกษตรเขตรอน ทั้งในระดับปริญญาโท และปริญญาเอกในทุกภาควิชา และอีก 3 ปตอมาไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสื่อสารเพื่อการพัฒนา (หลักสูตรนานาชาติ) ในภาควิชาสงเสริมและนิเทศศาสตรเกษตร ตอมา ในป พ.ศ. 2541 เปดหลักสูตร วท.บ. (เกษตรกลวิธาน) และ พ.ศ. 2543 เปดหลักสูตร วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร) ณ วิทยาเขตกําแพงแสน ทั้งสองหลักสูตร และคณะเกษตรที่มีการเรียนการสอนที่วิทยาเขตกําแพงแสน ไดแยกออกจากคณะเกษตร วิทยาเขตบางเขน โดยจัดตั้งเปนคณะเกษตร กําแพงแสน เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2546

ปจจุบันคณะเกษตรมีการแบงสวนราชการออกเปน 9 ภาควิชา 1 สํานักงาน และศูนยธุรกิจเกษตร เพื่อรองรับพันธกิจของคณะเกษตรอยางครบถวนทั้งสี่ดานคือ การสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการ ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ดังนี้

Page 6: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 2

- ภาควิชากีฏวิทยา - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน - ภาควิชาคหกรรมศาสตร - ภาควิชาปฐพีวิทยา - ภาควิชาพืชไรนา - ภาควิชาพืชสวน - ภาควิชาโรคพืช - ภาควิชาสัตวบาล - ภาควิชาสงเสริมและนิเทศศาสตรเกษตร - สํานักงานเลขานุการคณะเกษตร - ศูนยธุรกิจเกษตร (วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ไดมีประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

เร่ือง จัดตั้งศูนยธุรกิจเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนหนวยงานเทียบเทาระดับภาควิชาสังกัดคณะเกษตร)

ปรัชญาปรัชญา คณะเกษตร เปนคณะที่มีปณิธานมุงมั่น ในการสั่งสมเสาะแสวงหา และพัฒนาความรูใหเกดิความเจริญงอก

งามทางภูมิปญญา ที่เพียบพรอมดวยวิชาการ จริยธรรม และคุณธรรม ตลอดจนเปนผูช้ีนําทิศทางสืบทอดเจตนารมณที่ดีของสังคม เพื่อความคงอยู ความเจริญ และความเปนอารยะของชาติ

ปณิธานปณิธาน คณะเกษตรมปีณิธาน ดํารงไวซ่ึงความเปนเลิศทางวิทยาศาสตรเกษตร และเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อความเจริญกาวหนาทั้งทางดานเศรษฐกิจ และสังคมใหกับการเกษตรของประเทศอยางยัง่ยืน และเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ

วิสัยทัศวิสัยทัศน น เปนผูนําในการผลิตบัณฑิตทางวิทยาศาสตรเกษตรมีความเปนเลิศทางวิชาการ คุณธรรม และจริยธรรม

พันธกิจพันธกิจ//ภารกจิภารกจิ 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพมคีุณธรรม และจริยธรรม เปนผูนําของสังคม 2. สรางงานวิจัยและองคความรูเพื่อสงเสริมคุณภาพชวีิต และเพิ่มมูลคาผลิตผลเกษตรเพื่อการ

สงออก 3. พัฒนาบุคลากรใหมีความเปนเลิศทางวิชาการ คุณธรรม และจริยธรรม 4. สืบสานศิลปวัฒนธรรม ทํานุบํารุงศาสนา และรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม 5. สรางคณะเกษตรใหเปนศนูยกลางการเรยีนรูทางการเกษตรในระดับสากล 6. บริหารและจัดการคณะเกษตรใหเปนองคธรรมรัฐ

Page 7: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 3

วัตถุประสงควัตถุประสงค - สรางบัณฑิตใหมีความรูความสามารถเชิงวิชาการดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีการเกษตร รูจัก

บูรณาการ และมีความชาญฉลาดในการนาํความรูไปประยุกตใชอยางมีประสิทธิภาพกอใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม มีความเพียบพรอมทั้งดานคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีตอส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมในสังคมไทย เปนผูมีโลกทัศนที่ดีและกวางไกล ยึดมัน่ในหลักการเหตุผลและคณุธรรม

- สรางผลงานวิจัยและวิชาการอื่นๆ เพื่อพัฒนาความเปนเลิศทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรของประเทศ และพรอมที่จะถายทอดสูสังคมในทุกระดับ

คณะประมงคณะประมง

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เร่ิมกอตั้งพรอมกับการสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2486 เพื่อเปนสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ผลิตบัณฑิต สรางผลงานวิจัย และใหบริการวิชาการในดานการประมง และ วิทยาศาสตรทางน้ํา

เดิมคณะประมงมีที่ทําการอยูช้ันลางของตึกบริเวณทางดานทิศใตของคณะวนศาสตร ซ่ึงปจจุบันเปนที่ตั้งของสถาบันวิจัยพืชไร ตอมาในป พ.ศ. 2501 ไดสรางตึกคณะประมงเปนหลังแรกบริเวณดานถนนพหลโยธิน และไดยายเขามาปฏิบัติงานอยูในตึกหลังนี้ในป พ.ศ. 2502 ในป พ.ศ. 2504 ไดตั้งชื่อตึกนี้วา ตึกพลเทพ ตามชื่อเจาพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) ซ่ึงเปนเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการในรัฐบาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

ในป พ.ศ. 2522 คณะประมงไดยายมาอยูในอาคารถนนชูชาติกําภู และในป พ.ศ.2529 ไดสรางอาคารภาควิชาผลิตภัณฑประมงในบริเวณใกลเคียงเพิ่มเติม ในป พ.ศ. 2533-2536 ไดมีการกอสรางอาคารอีกสวนหนึ่งบริเวณดานที่ติดกับถนนวิภาวดีรังสิต เพื่อใชในงานภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ภาควิชาการจัดการประมง และภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล และกอสรางอาคารเรียนและปฏิบัติการคณะประมง และอาคารโรงงานตนแบบแปรรูปสัตวน้ําในป พ.ศ. 2544 และไดเร่ิมกอสรางอาคารเรียนและปฏิบัติการคณะประมงหลังใหม

ในปจจุบันพื้นที่การเรียนการสอนการวิจัยของคณะประมง ประกอบดวยพื้นที่ 5 สวน คือ สวนที่ 1 บริเวณถนนอิงคสุวรรณ ติดกับถนนวิภาวดีรังสิต เปนที่ตั้งของสํานักคณบดี สํานักงานเลขานุการคณะฯ ภาควิชาตางๆ ศูนยคอมพิวเตอรคณะประมง พิพิธภัณฑธรรมชาติวิทยาประมง และอาคารเรียนและปฏิบัติการคณะประมง สวนที่ 2 สถานีวิจัยประมงกําแพงแสน ตั้งอยูในบริเวณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม สวนที่ 3 สถานีวิจัยประมงศรีราชา ตั้งอยูที่ตําบลบางพระ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สวนที่ 4 สถานีวิจัยประมงคลองวาฬ ตั้งอยูในเขตสุขาภิบาล ตําบลคลองวาฬ อําเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ สวนที่ 5 สถานีวิจัยประมงสมุทรสงคราม ตั้งอยูที่ ตําบลลาดใหญ อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม

Page 8: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 4

ปจจุบันคณะประมง แบงสวนราชการออกเปน - สํานักงานเลขานุการ - ภาควิชาการจัดการประมง - ภาควิชาชีววิทยาประมง - ภาควิชาผลิตภัณฑประมง - ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา - ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล - ศูนยคอมพิวเตอรคณะประมง - ศูนยพัฒนาประมงชายฝงคณะประมง

ปรัชญาและปณิธานปรัชญาและปณิธาน มุงสูความเปนเลิศทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คณุธรรม และจริยธรรม สรางสรรคผลงานวิจัยที่มี

คุณภาพและถายทอดสูสังคม

วิสัยทัศนวิสัยทัศน คณะประมงเปนสถาบันแหงความเปนเลิศทางวิชาการ ในดานการประมงและวิทยาศาสตรทางน้ําที่สรางสรรคองคความรู และผลิตบุคลากร เพื่อการพัฒนาทองถ่ิน ชุมชน และประเทศชาติ

วัตถุประสงค วัตถุประสงค 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและคุณธรรม ทั้งในระดับปริญญาตรี และสูงกวาปริญญาตรีในสาขาวิชาตาง ๆ ของคณะ

ประมง เพื่อสนับสนุนการพฒันาประเทศอยางยั่งยืน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ2. เพื่อดําเนนิการศึกษาคนควาและวิจยัในสาขาวิชาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการประมง อันจะเปนประโยชนในการ

พัฒนาการเรียนการสอน ตอบสนองตอการพัฒนาประเทศอยางมีทิศทาง 3. เพื่อสนับสนุนงานบริการทางวิชาการแกสังคมและทํานบุํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยการถายทอดความรูสูทองถ่ิน

ชุมชน และประชาชน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยนืของทองถ่ิน ชุมชนและประเทศชาต ิ

คณะวนศาสตรคณะวนศาสตร คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กอตั้งเมื่อเดอืนตุลาคม พ.ศ. 2478 ใชช่ือวา “โรงเรียนปา

ไม” ในสังกัดของกรมปาไม ที่จังหวัดแพร เปดสอนหลกัสูตรประกาศนียบัตร (หลักสูตร 2 ป) เปนครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม 2479 ตอมาในป พ.ศ. 2481 ไดเปลี่ยนชื่อเปน “โรงเรียนวนศาสตร” และยังสอนในหลักสูตรเดิมจนถึงป พ.ศ. 2482 ไดปรับปรุงเปนหลักสูตรอนุปริญญา ใชเวลาในการศึกษาทัง้สิ้น 3 ป

เมื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรในป พ.ศ.2486 คณะวนศาสตรซ่ึงเปนคณะหนึ่งของโรงเรียนวนศาสตรเปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนปาไมที่จังหวัดแพรที่ไดรับการปรับเปลี่ยนฐานะเปนวิทยาลัยวนศาสตร ไดยายมา

Page 9: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 5

สังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ตอมาในป พ.ศ. 2487 ไดเปดสอนหลักสูตรวนศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ป) ขึ้นเปนครั้งแรก และในป พ.ศ.2507 ไดปรับปรุงหลักสูตรเปนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ป) จนถึงปจจุบัน

สําหรับการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ไดเร่ิมเปดสอนในระดับปริญญาโทขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2510 ระดับปริญญาเอก ในป พ.ศ.2535 และเริ่มเปดสอนภาคพิเศษในระดับปริญญาโท ในป พ.ศ. 2540 จนถึงปจจุบัน ถือไดวาคณะวนศาสตรเปนสถาบันอุดมศึกษาที่เปดสอนวิชาการปาไมช้ันสูงเพียงสถาบันเดียวในประเทศไทย

ปจจุบันคณะวนศาสตร แบงสวนราชการออกเปน - สํานักงานเลขานุการ - ภาควิชาการจัดการปาไม - ภาควิชาชีววิทยาปาไม - ภาควิชาวนผลิตภัณฑ - ภาควิชาวนวัฒนวิทยา - ภาควิชาวิศวกรรมปาไม - ภาควิชาอนุรักษวิทยา - ศูนยวิจัยปาไม

ปรัชญาและปณิธานปรัชญาและปณิธาน “คณะวนศาสตรเปนสถาบันที่มีปณิธานมุงมั่นในการผลิตบัณฑิตที่เพยีบพรอมไปดวยความรูความสามารถ

ในศาสตรดานการปาไมและสิ่งแวดลอม ทั้งกอปรดวยคุณธรรมและจริยธรรม ใหเปนที่ยอมรับของสังคม รวมทั้งมีความมุงมั่นในการสั่งสม เสาะแสวงหา และพัฒนาองคความรูเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และเปนผูช้ีนําทิศทางวิชาการทางการปาไมแกสังคม”

วิสัยทัศนวิสัยทัศน “เปนศูนยกลางทางวิชาการดานวนศาสตร รวมชี้นาํสังคมในการจัดการและพฒันาทรัพยากรปาไมและส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน เพื่อการพัฒนาประเทศและเปนทีย่อมรับของสังคมโลก”

พันธกิจพันธกิจ “ส่ังสม สรางและพัฒนาองคความรูทางการจัดการปาไมและสิ่งแวดลอม พัฒนาคนใหมีความรูคูคณุธรรมและสํานึกในหนาที่รับผิดชอบตอสวนรวม”

วัตถุประสงควัตถุประสงค คณะวนศาสตรไดกําหนดวตัถุประสงคในการจัดตั้งไวดังนี ้

1. ใหการศกึษาวชิาการดานวนศาสตรและปลูกฝงคุณธรรมและจริยธรรมอันดี เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถทางดานวิชาการปาไมออกไปรับใชประเทศชาต ิ

Page 10: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 6

2. คนควาวจิัยเพือ่การพัฒนาองคความรูทางดานทรัพยากรปาไมและสิ่งแวดลอม 3. ใหบริการทางวิชาการแกสังคมและประเทศชาติ 4. สนับสนุนและสงเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมอันดีงานของชาต ิ

คณะอุตสาหกรรมเกษตรคณะอุตสาหกรรมเกษตร จากนโยบายสงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อการสงออกตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (ป พ.ศ. 2515 - 2519) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจัดตั้งคณะอุตสาหกรรมเกษตรขึ้นเปนแหงแรกในประเทศไทย ตามประกาศการแบงสวนราชการในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2523 โดยประกอบดวยหนวยงานและภาควิชารวม 5 หนวยงาน คือ สํานักงานเลขานุการคณะฯ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ

สําหรับภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหารนั้น เร่ิมกอตั้งขึ้นในคณะเกษตร โดยใชช่ือแผนกวิชาวิทยาศาสตรการอาหาร ตั้งแตป พ.ศ. 2507 จนถึงป พ.ศ. 2523 จึงโอนยายมาอยูในสังกัดคณะอุตสาหกรรมเกษตร

คณะอุตสาหกรรมเกษตรมีพันธกิจในการผลิตบุคลากรที่มีความรู ความสามารถในการแปรรูปผลิตผล ทางการเกษตร ใหเปนผลิตภัณฑอุตสาหกรรมตาง ๆ ทั้งที่เปนอาหารและไมใชอาหาร ซ่ึงครอบคลุมถึงควบคุมกระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ และการวิจัยและพัฒนาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑใหม หรือการแกไขปญหาในการผลิต คณะฯ จัดใหมีอาคารปฏิบัติการแปรรูป และหองวิจัยสวนกลางพรอมครุภัณฑที่มีเทคโนโลยีสูง ซ่ึงนอกจากจะใชในการเรียนการสอนไดอยางคุมคาแลว ยังใหบริการเพื่อการศึกษา และการวิจัยแกสถาบันอื่นทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอีกดวย

คณะฯ ไดเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีเพิ่มเติม สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร เมื่อป พ.ศ. 2535 รับผิดชอบการสอนโดยภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร และในปเดียวกันนี้ยังไดจัดตั้งภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ ขึ้นเปนภาควิชาที่ 5 และเริ่มเปดสอนหลักสูตรปริญญาตรีวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีส่ิงทอ ในป พ.ศ. 2538 เปนตนมา ตอมาในป พ.ศ. 2542 คณะฯ ไดเปดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางกระบวนการทางเคมีและฟสิกส ขึ้นเปนสาขาวิชาที่ 6 และในป พ.ศ. 2546 คณะฯ ไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

ปจจุบันคณะอุตสาหกรรมเกษตร แบงสวนราชการออกเปน - สํานักงานเลขานุการ - ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ - ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร - ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ - ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ

Page 11: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 7

- ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ - โครงการจัดตั้งภาควิชาเทคโนโลยีทางกระบวนการทางเคมีและฟสิกส - โครงการจัดตั้งภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

ปรัชญาปรัชญา

คณะอุตสาหกรรมเกษตร จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพไดมาตรฐานการศกึษา มีความเปนเลิศทางวิชาการมีความสามารถทางวิชาชีพ ตรงตามความตองการของอุตสาหกรรมเกษตร มีคุณธรรมและมีความรับผิดชอบตอสังคม

วิสัยทัศนวิสัยทัศน

คณะอุตสาหกรรมเกษตร เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติวา เปนผูนําทางวิชาการและการวิจยั ดานอุตสาหกรรมเกษตรในเอเชีย

พันธกิจ พันธกิจ ผลิตบัณฑิตและงานวจิัยที่มคีุณภาพใหเปนที่ยอมรับระดับสากล ถายทอดเทคโนโลยีดานอุตสาหกรรม

เกษตร เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

วัตถุประสงควัตถุประสงค 1. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพระดับสากล มีคณุธรรมและจริยธรรม 2. พัฒนางานวิจัยทีเ่ปนองคความรูทางดานอุตสาหกรรมเกษตร ใหเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และผลิต งานวิจยัทีส่อดคลองกับความตองการของประเทศ 3. เสริมสรางใหคณาจารยมคีวามเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ และสรางแหลงวิชาการดา

อุตสาหกรรมเกษตรที่เขมแขง็ 4. ถายทอดเทคโนโลยีสูภาคอุตสาหกรรมและชุมชน ใหสามารถนําไปประยุกตใชในการพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคม 5. จัดหาเงนิทุนนอกเหนือจากงบประมาณของรัฐใหเพยีงพอตอการดําเนนิงานอยางมีประสิทธิภาพ 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการและสารสนเทศ เพื่อการดาํเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบ

ได 7. พัฒนาความสมัพันธกับมหาวิทยาลัยและหนวยงานตางประเทศ เพื่อใหเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ

Page 12: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 8

คณะเกษตร กําแพงแสนคณะเกษตร กําแพงแสน คณะเกษตร กาํแพงแสน ไดรับการจัดตั้งขึน้ในวันที่ 18 มีนาคม 2546 โดยในวันที่ 21 มีนาคม 2546 สภา

มหาวิทยาลัยเห็นชอบใหมีการปรับสถานภาพและยกฐานะจากคณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน ขึน้เปนหนวยงานระดับคณะชื่อ “คณะเกษตร กําแพงแสน”

คณะเกษตร กําแพงแสน รับผิดชอบในการผลิตบัณฑิตหลักสูตรเกษตรศาสตร ทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก มีการแบงสวนราชการเปน 1 สํานักงาน 8 ภาควิชา 1 สาขาวิชา ดังตอไปนี้

- สํานักงานเลขานุการ - ภาควิชากีฏวิทยา - ภาควิชาเกษตรกลวิธาน - ภาควิชาปฐพีวิทยา - ภาควิชาโรคพืช - ภาควิชาพืชไรนา - ภาควิชาพืชสวน - ภาควิชาสงเสริมและนิเทศศาสตรเกษตร - ภาควิชาสัตวบาล - สาขาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร

ปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงคปรัชญา ปณิธาน และวัตถุประสงค มุงสูความเปนเลิศทางวิชาการ ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และเปนที่ยอมรับของสังคมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจนพัฒนาและสงเสริมใหมีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และองคความรูใหม พรอมถายทอดสูสังคม

วิสัยทัศนวิสัยทัศน เปนศูนยกลางความเปนเลศิทางวิชาการ และการเรียนรูดานเกษตรศาสตรอยางครบวงจร

Page 13: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 9

คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตรคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร จัดตั้งตามประกาศสภามหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2543 (ประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เร่ืองการจัดตั้งคณะ สํานัก และสํานักงานวิทยาเขต ที่จังหวัดสกลนคร ลงวันที่ 23 พฤษภาคม 2543) รับผิดชอบการสอน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร เปดสอนในระดับปริญญาตรี 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ และ สาขาเทคโนโลยีการอาหาร

ปรัชญาปรัชญา

แบงออกเปนของแตละสาขาดังนี ้สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ สรางสรรคความรูใหเปนคลังปญญาพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหมีคุณภาพและ

คุณธรรม

สาขาเทคโนโลยีการอาหาร มุงใหการศกึษาวิจัย และสงเสริมความรูเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอาหาร อันเปนปจจัยสําคัญยิ่งตอการดํารงชีวิตของมนุษย

ปณิธานปณิธาน

มุงมั่นพัฒนาทรัพยากรมนษุยและสั่งสมองคความรูเพื่อพฒันาเทคโนโลยีดานการผลิตของภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรใหสอดคลองกับการใชทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดความยั่งยืน และเกดิประโยชนสูงสุด

วิสัยทัศนวิสัยทัศน :

มุงสูการเปนสถาบันชั้นนําในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษยสําหรับการผลิตภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร สามารถชี้นําสังคมในการผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการพัฒนาทองถ่ินและประเทศชาติอยางยั่งยืนได

คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เปนคณะที่มุงเนนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความเปนเลิศทางวิชาการดานการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร โดยเปนแกนนําในการระดมภูมิปญญาของปวงชน เพื่อพัฒนาภูมิภาคและประเทศอยางยั่งยืน

Page 14: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 10

พันธกิจพันธกิจ

ส่ังสมภูมิปญญาสรางและพัฒนาองคความรูดานการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรโดยเนนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ขยายโอกาสทางการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตใหมีปญญาและคุณธรรม สรางผลงานที่มีคุณภาพและมาตรฐาน บริหารการจัดการทรัพยากรของคณะอยางมีประสิทธิภาพ รวมสรางและพัฒนาชุมชนไปสูความผาสุก และมั่นคงของทองถ่ินและประเทศ

วัตถุประสงค วัตถุประสงค วัตถุประสงค

1. ผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพมาตรฐานดานการศึกษาและการวิจัยทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรอยางตอเนื่องและเปนสากล

2. สรางสรรคองคความรูเปนแหลงวิชาการทางดานการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรที่เขมแข็งของภูมิภาค เพื่อสรางความเจริญแกสังคมและเศรษฐกิจของชมุชนอยางยั่งยนื

3. พัฒนาระบบการใหบริการวชิาการดานการเกษตรและอตุสาหกรรมเกษตรอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อใหบุคลากรและชุมชนมคีวามรูและจิตสํานึกในการพฒันาทรัพยากร-ธรรมชาติอยางยั่งยืนรวมกัน

4. สรางสรรคชุมชนใหสามารถพึ่งพาตนเองได ระดมและผสมผสานความรู ชุมชนทองถ่ินกับวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหมดานการเกษตรและอตุสาหกรรมเกษตร เพื่อกอใหเกิดภูมิปญญาไทยและถายทอดสูภูมภิาคอยางมีประสิทธิผล

Page 15: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 11

บทที ่ 2

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ตาม 7 มาตรฐาน 48 ตัวบงช้ี กลุมสาขาเกษตรศาสตร

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก ตาม 7 มาตรฐาน 48 ตัวบงชี ้ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจะรับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 2 จากสํานักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) ในชวงเดือนกันยายน 2549 ซ่ึงการประเมินฯ ในครั้งนี้ เปนการประเมินเพื่อรับรองสถาบัน และกลุมสาขาวิชา ตามเกณฑคุณภาพที่ สมศ . กําหนดขึ้น ซ่ึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดดําเนินการตามแนวทางการประเมินฯ ของ สมศ. มาอยางตอเนื่อง โดยมีแนวทางในการบริหารจัดการขอมูลเพื่อใหเกิดความถูกตอง และไมซํ้าซอน จึงไดมีการประมวลตัวบงชี้ของ สมศ. กับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร. ในสวนที่มีความสัมพันธกันใหมีขอมูลที่สอดรับกัน

สําหรับการประเมินผลของกลุมสาขาวิชานั้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดแบงจํานวนกลุมสาขาวิชา เปน 10 กลุมสาขา ตามที่ สมศ. กําหนด ซ่ึงในรายงานฉบับนี้จะเนนที่กลุมสาขาเกษตรศาสตรเปนหลัก โดยกลุมสาขาเกษตรศาสตร ประกอบดวย 6 คณะวิชา ดังนี้

1. คณะเกษตร สังกัดวิทยาเขตบางเขน 2. คณะประมง สังกัดวิทยาเขตบางเขน 3. คณะวนศาสตร สังกัดวิทยาเขตบางเขน 4. คณะอุตสาหกรรมเกษตร สังกัดวิทยาเขตบางเขน 5. คณะเกษตร กําแพงแสน สังกัดวิทยาเขตแพงแสน 6. คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร สังกัดวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ผลการดําเนินงานของกลุมสาขาเกษตรศาสตรตามเกณฑประเมินฯ ของ สมศ. โดยรายงานขอมูลผล

การดําเนินงาน 3 ป เพื่อใหเห็นแนวโนมพัฒนาการของการดําเนินงาน มีระบบคะแนนเต็ม 5 คะแนน มาจาก 3 สวนไดแก คะแนนสวนที่ 1 ตามเกณฑดัชนี เปน 1, 2 หรือ 3 คะแนนสวนที่ 2 คะแนนพัฒนาการ จาการประเมินครั้งที่กอน คะแนนเปน 0 หรือ 1 คะแนนสวนที่ 3 คะแนนการบรรลุเปาหมายของหนวยงาน คะแนนเปน 0 หรือ 1 นอกจากนี้ยังมีการรายงานขอมูลเปาหมายของกลุมสาขาวิชา เพื่อเปนการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับแผนงานที่กําหนดไว และ สมศ. มีคาคะแนน 1 คะแนน สําหรับผลการดําเนินงานในปที่ประเมินมีคามากกวาหรือเทากับเปาหมายที่ตั้งไวในปนั้น

Page 16: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 12

เกณฑการตัดสินผลประเมิน

ชวงคะแนน ผลการประเมิน ความหมาย 4.51 – 5.00 (5) ดีมาก ผลการจัดการศึกษาไดมาตรฐานซึ่งนําไปสูการรับรองมาตรฐาน 3.51 – 4.50 (4) ดี ผลการจัดการศึกษาไดมาตรฐานซึ่งนําไปสูการรับรองมาตรฐาน 2.51 – 3.50 (3) พอใช ผลการจัดการศึกษาเกือบไดมาตรฐานซึ่งนําไปสูการรับรองแบบมีเงื่อนไข 1.51 – 2.50 (2) ควรปรับปรุง ผลการจัดการศึกษาไมไดมาตรฐาน 1.00 – 1.50 (1) ตองปรับปรุง ผลการจัดการศึกษาไมไดมาตรฐาน

การรับรองมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ระดับกลุมสาขาวิชา ผลการประเมินของแตละกลุมสาขาวิชา ใชคํานวณหาคาเฉลี่ยแบบถวงน้ําหนักมาตรฐาน ราย

มาตรฐานทั้ง 7 มาตรฐานในระดับสถาบันเปนเกณฑ ในแตละมาตรฐานใหแบงน้ําหนักระหวางตัวบงชี้รวม : ตัวบงชี้เฉพาะเปน 50: 50 และกระจายน้ําหนักในแตละมาตรฐานลงสูตัวบงชี้ตามความเหมาะสม ถาไมมีเหตุผลที่จะทําใหน้ําหนักตัวบงชี้แตกตางกันก็ใหเทากันได ผลประเมินในแตละมาตรฐาน

1. ไดคะแนนเฉลี่ยแบบถวงน้ําหนัก ไมต่ํากวาระดับดี (ตั้งแต 3.51 ขึ้นไป) มีอยางนอย 3 ใน 4 ของมาตรฐาน ที่มีผลประเมินไมต่ํากวาดี (ตั้งแต 5 ใน 7 มาตรฐาน) และไมมีมาตรฐานใดอยูในระดับปรับปรุง แสดงวา ผลการจัดการศึกษาของกลุมสาขาวิชาไดมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ซ่ึงนําไปสูการรับรองมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ในกลุมสาขาวิชานั้น

2. ไดคะแนนเฉลี่ยแบบถวงน้ําหนักในระดับพอใช (ตั้งแต 2.51 ถึง 3.50) และไดคะแนนแบบถวงน้ําหนักในมาตรฐานที่ 1-4 ไมต่ํากวาดี (ตั้งแต 3.51 ขึ้นไป) รวมทั้งไมมีมาตรฐานใดอยูในระดับที่ตองปรับปรุง หรือไดคะแนนเฉลี่ยแบบถวงน้ําหนักโดยรวมไมต่ํากวาระดับดี (ตั้งแต 3.51 ขึ้นไป) แตมีจํานวนมาตรฐานที่มีผลประเมินไมต่ํากวาดีไมถึง 5 มาตรฐาน โดยไมมีมาตรฐานใดอยูในระดับปรับปรุง แสดงวา ผลการจัดการศึกษาของกลุมสาขาวิชาไดมาตรฐานคุณภาพ สมศ. แบบมีเงื่อนไข กลุมสาขาวิชาตองสงแผนพัฒนาคุณภาพเพื่อการพิจารณาติดตาม กํากับดูแลโดยสถาบันตนสังกัดและ สมศ.

3. ไดคะแนนเฉลี่ยแบบถวงน้ําหนักโดยรวมในระดับควรปรับปรุงหรือตองปรับปรุง (ตั้งแต 2.50 ลงมา) หรือไมเปนไปตามขอ 1 และขอ 2 แสดงวา ผลการจัดการศึกษาของกลุมสาขาวิชาไมไดมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ซ่ึงนําไปสูการไมรับรองมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ในกลุมสาขาวิชานั้น

กระบวนการประเมินฯ มีการปรับเปลี่ยนเพื่อใหเกิดการพัฒนามากขึ้น ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงไดวางแนวทางในการดําเนินงาน และชี้แจงใหทุกกลุมสาขามีความเขาใจที่ตรงกันเปนระยะๆ เพื่อใหภาพรวมของมหาวิทยาลัยมีความคลาดเคลื่อนนอยที่สุด สําหรับกลุมสาขาเกษตรศาสตรนั้นไดนําแนวทางของมหาวิทยาลัยมาจัดทําเปนแนวทางการดําเนินงานของกลุมสาขาผานกลไกการประชุมภายในกลุม โดยเลือกการกําหนดคาน้ําหนักในแตละมาตรฐานตามเกณฑ สมศ. อยูในกลุมสาขาที่มีหลักสูตรปริญญาเอก ซ่ึงมีผลการประเมินในภาพรวมของกลุม

Page 17: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 13

สาขาเกษตรศาสตร เปนระดับคะแนนเฉลี่ยท้ัง 7 มาตรฐาน เทากับ 4.44 อยูในเกณฑระดับดี หากพิจารณาผลการประเมินของ 4 มาตรฐานแรก ไดคาคะแนนเทากับ 4.66 อยูในเกณฑระดับดีมาก ซ่ึงผลการประเมิน ผานการรับรอง

เมื่อพิจารณาผลการประเมินในแตละมาตรฐานของกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มาตรฐานที่มีคาคะแนนมากที่สุด คือ มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ และ มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ เทากับ 5.00 รองลงมา คือมาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค เทากับ 4.80 และมาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต มีคาคะแนนเทากับ 4.67 สวนมาตรฐานที่มีคาคะแนนนอยที่สุด คือ มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร เทากับ 3.45 รายละเอียดดังตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 สรุปผลการประเมินกลุมสาขาเกษตรศาสตรตามเกณฑ สมศ. ทุกมาตรฐาน

มาตรฐาน คาคะแนนรายมาตรฐานของกลุมสาขา

ผลการประเมิน

มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบณัฑิต 4.67 ดีมาก มาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค 4.80 ดีมาก มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 5.00 ดีมาก มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 3.50 ดี มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 3.45 พอใช มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 3.78 ดี มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ 5.00 ดีมาก

คาคะแนนโดยเฉลี่ย 4.44 ดี ประเมิน 4 มาตรฐานแรก 4.66 สรุปการประเมินคณะ รับรอง

รายละเอียดผลการดําเนินงานจําแนกตามรายมาตรฐานสรุปไดดังนี้

Page 18: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 14

มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ 111 ดานคุณภาพบัณฑิตดานคุณภาพบัณฑิตดานคุณภาพบัณฑิต สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิตไวจํานวน 8 ตัวบงชี้ ประกอบดวยตัว

บงชี้รวม 6 ตัวบงชี้ และตัวบงชี้เฉพาะ 2 ตัวบงชี้ ซ่ึงเปนมาตรฐานที่คํานึงถึงคุณภาพบัณฑิต เพื่อใหเปนผูที่เรืองปญญา มีความสามารถในการเรียนรูและพัฒนาตนเอง สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได มีทักษะและภูมิปญญาในงานอาชีพในฐานะนักวิชาชีพช้ันสูง มีทักษะวิจัยและพัฒนา มีจิตสํานึกและคุณธรรม จริยธรรมในฐานะพลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก โดยมีผลการประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 1 เทากับ 4.67 คะแนน อยูในเกณฑดีมาก สําหรับรายละเอียดผลการประเมินกลุมสาขาแสดงไดดังตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต ในแตละตัวบงชีข้องกลุมสาขาเกษตรศาสตร

ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 3)

เกณฑการประเมิน ตัวบงช้ี

2544 2547 2548

เปาหมาย ป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตาม

เปาหมาย

ประเมินพัฒนาการ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 ตัวบงช้ีรวม 1.1

54% 66% 66% 60.0% 1 2 2 1 1 4 11.64 2.91 60% 79% 80%

1.2 0% 91.05% 91.05% 60.0% 1 3 3 1 1 5 0% 91.05% 60% 79% 80% 1.3 100% 100% 100% 60.00% 3 3 3 1 1 5 14.6 2.92 75% 99% 100% 1.4 0.00 0.00 3.53 3.5 1 1 3 1 1 5 14.6 2.92 2.5 3.4 3.5 1.5 0 12 36 3.00 1 3 3 1 1 5 14.6 2.92 0 1 2 1.6 0 24 32 1 1 3 3 1 1 5 14.6 2.92 6 8 9

ตัวบงช้ีเฉพาะ 1.7

28% 44% 54% 50% 1 2 2 1 1 4 35 8.75 40% 59% 60%

1.8

54% 100% 164% 100% 2 3 3 1 1 5 43.75 8.75 50% 74% 75%

รวม 11 18 20 7 7 151.7 35

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

กลุมสาขาเกษตรศาสตรมีการกําหนดคาน้ําหนักในมาตรฐานที่ 1 ตามเกณฑ สมศ. โดยเลือกอยูในกลุมสาขาที่มีหลักสูตรปริญญาเอก เนื่องจากในกลุมสาขาเกษตรศาสตรมีการเปดสอนหลักสูตรปริญญาเอก ในคณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร และคณะเกษตร วิทยายาเขตกําแพงแสน กลุมสาขาเกษตรศาสตรมีการเปดสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ ที่ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและแกปญหาเรงดวนของชาติในดานการขาดแคลนบุคลากรเฉพาะดานในบางสาขา มีหลักสูตรรวมสถาบันตางประเทศที่ใหนิสิตมีโอกาสเรียนและทําวิจัย ณ ตางประเทศ มีการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน

Page 19: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 15

เปนศูนยกลาง มีวิชาปฏิบัติการ เพื่อใหนิสิตเขาใจเนื้อหาวิชาไดดีขึ้น รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหการเรียนและการศึกษาหาความรูของนิสิตเปนไปในทิศทางที่ถูกตองและมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้น มีโครงการ “สหกิจศึกษา” ซ่ึงเนนการปฏิบัติงานในสถานประกอบการอยางมีระบบ เพื่อการพัฒนาตนเองของนิสิตกอนสําเร็จการศึกษา เปนบัณฑิตที่มีคุณภาพตรงตามความตองการของสถานประกอบการผูจางงาน มีการสนับสนุนใหนิสิตเขารวมโครงการแลกเปลี่ยนนิสิตกับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ มีการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เพื่อเปนการประสานและเชื่อมโยงองคความรูดานการเกษตร เพื่อการประชาสัมพันธและเผยแพรความรูทางวิชาการสูสาธารณชนในเวทีระดับชาติและระดับนานาชาติ มีการพัฒนานิสิต และกระตุนใหนิสิตมีความมุงมั่น ใฝรูในดานวิชาการ ทั้งนี้ มีการจัดสรรงบประมาณใหสโมสรนิสิตเปนผูดําเนินการกิจกรรมตางๆ มีทุนการศึกษานิสิต มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อใหนิสิตเปนคนเกง ดี และมีความสุข รายละเอียดผลการประเมินรายคณะวิชาแสดงในดังตารางที่ 1.3

ตารางที่ 1.3 ผลการประเมินรายคณะวิชาตามมาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต ในแตละตัวบงชี ้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 1.1 60% 60% 61% 61% 86% 86% 57% 57% 70% 70% 48% 48% 66% 66% 1.2 N/A N/A 84% 84% 96% 96% N/A N/A N/A N/A N/A N/A 28% 28% 1.3 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 1.4 N/A 3.57 N / A 3.50 N/A 3.80 N/A 3.78 N/A N/A N/A 3.00 0.00 3.53 1.5 3 0 0 2 0 0 7 13 2 21 0 0 12 36 1.6 12 6 0 1 4 4 7 15 1 6 0 0 24 32 1.7 59% 63% 21% 32% 3% 9% 35% 83% 100% 120% 0% 0% 44% 54% 1.8 135% 253% 0% 100% 0% 75% 100% 183% 100% 100% 0% 0% 100% 164%

สําหรับผลการประเมินในกลุมสาขาที่มีความโดดเดนมากที่สุดระดับ 5 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 1.2,1.3, 1.4 ,1.5,1.6 และ 1.8 สวนผลการประเมินที่ไดระดับ 1 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 1.2 รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดังนี้

Page 20: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 16

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...111 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ีไดงานทํา และประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดทําการสํารวจภาวะการไดงานทําของบัณฑิตระดับปริญญาตรี รุนป

2547 ในชวงวันรับพระราชทานปริญญาบัตร ซ่ึงจะจัดขึ้นในเดือนกรกฎาคมของทุกป ซ่ึงเปนขอมูลที่รวบรวมหลังส้ินปการศึกษาเพียง 3 เดือน ทําใหผลการสํารวจในเรื่องบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา และประกอบอาชีพอิสระไมไดสะทอนถึงภาวการณ 1 ป ตามวัตถุประสงคของเกณฑ จึงมีคาต่ํากวาที่ควร

โดยภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตรมีบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจํานวน 1,275 คน มีบัณฑิตตอบแบบสํารวจภาวะการไดงานทํา จํานวน 1,174 คน ซ่ึงไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระจํานวน 627 คน (ไมรวมผูศึกษาตอ) คิดเปนรอยละ 66.07 (รอยละ60-80) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 (ตารางที่ 1.4)

ตารางที่ 1.4 ภาวะการไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระของบัณฑิตกลุมสาขาเกษตรศาสตร

บัณฑิตท่ีตอบแบบสํารวจ

บัณฑิตท่ีศึกษาตอ จํานวนบัณฑิตท่ีไดงานทํา

ภาวะการไดงานทําของบัณฑิต ไมนับบัณฑิตท่ีศึกษาตอ

กลุมสาขาเกษตรศาสตร

บัณฑิตท่ีสําเร็จการ ศึกษา

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ กิจการของตัวเอง

กิจการ ของ

ครอบครัว

ราชการ เอกชน รัฐ วิสาหกิจ

องคกรตาง

ประเทศ

อื่น ไมระบุ

ภาพรวม 1,275 1,174 92.08 225 19.17 627 66.07 9 10 145 444 10 2 1 6 คณะเกษตร 107 96 89.72 24 25.00 43 59.72 - 1 7 34 1 - - - คณะประมง 189 176 93.12 40 22.73 83 61.03 1 1 10 69 - 1 1 - คณะวนศาสตร 178 160 89.89 35 21.88 107 85.60 1 3 57 41 4 1 - - คณะอุตสาหกรรมเกษตร

283 270 95.41 34 12.59 134 56.78 2 2 6 122 - - - 2

คณะเกษตร กําแพงแสน

481 436 90.64 87 19.95 245 70.20 3 3 65 165 5 - - 4

คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร

37 36 97.30 5 13.89 15 48.39 2 - - 13 - - - -

Page 21: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 17

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...222 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ีไดงานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา เนื่องจากตัวช้ีวัดที่ 1.2 เปนตัวช้ีวัดที่ สมศ. กําหนดขึ้นใหม ดังนั้น กองแผนงาน มก. จึงยังมิได

กําหนดหัวขอเร่ืองการไดงานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษาไวในแบบสํารวจสภาวะการไดงานทํา การรายงานจึงมาจากการสํารวจของคณะวิชาที่มีการสํารวจขอมูลจํานวนบัณฑิตที่ไดงานทําตรงตามสาขาที่สําเร็จการศึกษา ซ่ึงมีเฉพาะคณะประมงและวนศาสตรไดทําการสํารวจในเรื่องนี้ จากผลการสํารวจมีจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่จากคณะประมงและวนศาสตรที่ไดงานทําจํานวน 190 คน โดยมีบัณฑิตที่ไดงานทําตรงสาขา (ขอมูลจาก 2 คณะ) ที่สําเร็จการศึกษา จํานวน 173 คน โดยคิดเปนคาเฉลี่ยของกลุมสาขารอยละ 91.05 (มากกวารอยละ 60 ) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...333 รอยละของบัณฑิตท่ีไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ จากตัวบงชี้ที่ 1.1 พบวา กลุมสาขาเกษตรศาสตรมีบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําจํานวน 627

คน โดยมีการสํารวจเกี่ยวกับเงินเดือนเริ่มตนที่ไดรับของบัณฑิตทั้งภาครัฐและเอกชน โดยปกติอัตราเงินเดือนของภาครัฐ คิดเปน 7,360 บาท และภาคเอกชนใหเงินเดือนสูงกวาภาครัฐ จึงสรุปไดวากลุมสาขาเกษตรศาสตรไดรับเงินเดือนเริ่มตนเฉลี่ยไมต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไว โดยไดรับเงินเดือนเริ่มตนเฉลี่ย 9,941.78 บาท โดยมีบัณฑิตที่ไดงานทําจํานวน 627 คนและไดเงินเดือนเริ่มตนเฉลี่ยตามเกณฑ คิดเปนรอยละ 100 (รอยละ 100) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 1.5)

ตารางที่ 1.5 เงินเดือนเริ่มตนของบัณฑิตกลุมสาขาเกษตรศาสตร

ชวงเงินเดือน กลุมสาขาเกษตรศาสตร บัณฑิตที่ไดงานทํา นอยกวา

10,000 10,001– 15,000 15,001– 20,000 20,001–25,000 > 25,000 ไมระบุ

เงินเดือนเฉลี่ย

ภาพรวม 627 407 165 28 3 3 21 9,941.78 คณะเกษตร 43 28 13 - - - 2 9,599.51 คณะประมง 83 46 27 5 1 1 3 11,010.63 คณะวนศาสตร 107 83 20 2 1 1 9,121.10 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 134 37 69 18 - 2 8 13,013.97 คณะเกษตร กําแพงแสน 245 198 36 3 1 - 7 8,905.44 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 15 15 - - - - 0 8,000.00

Page 22: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 18

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...444 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดมีการสํารวจระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต ซ่ึงจากผลสํารวจพบวา บัณฑิตกลุมสาขาเกษตรศาสตรไดรับความพึงพอใจ ซ่ึงพิจารณาจากประเด็นที่สําคัญ 3 ดาน คือ ดานความรูความสามารถทางวิชาการตามลักษณะงานในสาขานั้นๆ ความรูความสามารถพื้นฐานที่สงผลตอการทํางาน และคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ โดย มีคาเฉล่ีย 3.53 (คาเฉล่ียตั้งแต 3.5) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 1.6)

ตารางที่ 1.6 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิตกลุมสาขาเกษตรศาสตร

คาเฉลี่ยความพึงพอใจ กลุมสาขาเกษตรศาสตร ดานความรูความสามารถทางวิชาการตามลักษณะงานใน

สาขานัน้ๆ

ความรูความสามารถพื้นฐานที่สงผลตอการ

ทํางาน

ดานคณุธรรม จรยิธรรม จรรยาบรรณในวชิาชีพ

รวม

ภาพรวม 3.61 3.60 3.80 3.53 คณะเกษตร 3.54 3.50 3.69 3.57 คณะประมง 3.40 3.45 3.62 3.50 คณะวนศาสตร 3.73 3.70 4.01 3.80 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 3.75 3.73 3.87 3.78 คณะเกษตร กําแพงแสน N/A N/A N/A N/A คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร

N/A N/A N/A 3.00

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...555 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาท่ีจบการศึกษาไมเกิน 3 ป ท่ีไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทาวิชาการหรือดานอื่นท่ีเก่ียวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในรอบ 3 ปท่ีผานมา

ในรอบ 3 ปที่ผานมา นิสิตและศิษยเกาของกลุมสาขาเกษตรศาสตรสามารถสรางผลงานอันเปนที่ยอมรับและไดประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือดานอ่ืนที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ เทากับ 36 คน (มากกวา 2 คน ) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 ซ่ึงโดยมีรายละเอียดของผลงาน เชน

Page 23: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 19

1. รางวัลดานวิชาการ ช่ือเร่ือง การคัดเลือกยูคาลิปตัสทนดินเนื้อปูนโดยใชเทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เจาของผลงานคือ นายสุบิน หินจันทร เปนนิสิตคณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน จากหนวยงานเทคโนโลยีชีวภาพแหงประเทศไทย

2. รางวัลดานวิชาการ ช่ือ ThaiStar การออกแบบบรรจุภัณฑ เจาของผลงาน คือ น.ส.กุลวดี กุญแจทอง เปนนิสิตคณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุ ไดรับรางวัลระดับ ชนะเลิศ ในปการศึกษา 2548 (เมษายน 2549) จากหนวยงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

3. รางวัลดานวิชาการ ช่ือเร่ือง ผลของชนิดฟอสเฟต เกลือ และความเปนกรด – เบส ตอผลผลิต และคุณภาพของกุงขาวแวนาไมตแชเยือกแข็ง เจาของผลงาน คือ นางสาวจรวย ไฝทอง วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ผลิตภัณฑประมง) ไดรับรางวัลชมเชยจากการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติ คร้ังที่ 5 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...666 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปท่ีผานมา

ในรอบ 3 ปที่ผานมา กลุมสาขาเกษตรศาสตรไดรับรางวัลทั้งในระดับชาติ หรือนานาชาติ จากผลงานทางวิทยานิพนธ หรืองานวิชาการของนิสิต จํานวน 32 คน (มากกวา 9 คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 ทั้งนี้กลุมสาขาไดตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องนี้ จึงไดพยายามผลักดันใหนิสิตสรางผลงานทางวิทยานิพนธหรืองานวิชาการใหมีคุณภาพเพื่อสงเขาแขงขันกับหนวยงานภายนอก โดยพิจารณาจากนโยบายของแตละคณะภายในกลุมสาขามีนโยบายสงเสริมในเรื่องนี้อยางตอเนื่อง

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 111...777 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโท

ท้ังหมด

การตีพิมพเผยแพรบทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาโทของกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีผลการประเมินอยูในเกณฑดี เมื่อเทียบกับเกณฑประเมิน พบวา มีบทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพเผยแพร จํานวน 176 เร่ือง จากจํานวนวิทยานิพนธระดับปริญญาโททั้งหมด 328 เร่ือง คิดเปนรอยละ 53.66 (ระหวางรอยละ 40-60) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 สําหรับหลักสูตรระดับปริญญาโทที่ตองทําวิทยานิพนธนั้น แมเ ร่ิมแรกยังไมมีขอบังคับใหนําผลงานไปตีพิมพเผยแพรที่ ชัดเจน แตทางกลุมสาขาวิชาเกษตรศาสตรไดมีการผลักดันใหมีการที่ตีพิมพเผยของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโท ซ่ึงคาดการณวาในอนาคตตัวบงชี้นี้จะมีพัฒนาการขึ้นไปอีก เนื่องจากมาตรฐานหลักสูตรในป 2548 กําหนดใหวิทยานิพนธระดับปริญญาโทตองไดรับการตีพิมพเผยแพร ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 (ตารางที่ 1.7)

Page 24: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 20

ตารางที่ 1.7 จํานวนบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนวิทยานิพนธปริญญาโทท้ังหมด

จํานวนบทความจากวิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพร

รอยละ

ภาพรวม 328 176 53.66 คณะเกษตร 80 50 62.50 คณะประมง 37 12 32.43 คณะวนศาสตร 110 10 9.09 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 47 39 82.98 คณะเกษตร กําแพงแสน 54 65 120.37 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 0 0 0.00

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 111...888 บทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด

การตีพิมพเผยแพรบทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาเอกของกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีทั้งหมด 5 คณะ ที่มีการเปดสอนในระดับปริญญาเอก และมีหลักเกณฑใหนิสิตตีพิมพผลงานจากวิทยานิพนธ จึงทําใหผลการประเมินอยูในเกณฑดีมาก เมื่อเทียบกับเกณฑประเมิน พบวามีบทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพเผยแพร จํานวน 69 เร่ือง จากจํานวนวิทยานิพนธระดับปริญญาเอกทั้งหมด 42 เร่ือง คิดเปนรอยละ 164.29 (มากกวารอยละ 75) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 1.8)

ตารางที่ 1.8 จํานวนบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพเผยแพรของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกท้ังหมด

จํานวนบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพเผยแพร

รอยละ

ภาพรวม 42 69 164.29 คณะเกษตร 15 38 253.33 คณะประมง 3 3 100.00 คณะวนศาสตร 4 3 75.00 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 6 11 183.33 คณะเกษตร กําแพงแสน 14 14 100.00 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 0 0 0.00

Page 25: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 21

มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ 222 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค ดานการวิจัยและงานสรางสรรค ดานการวิจัยและงานสรางสรรค สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรคไวจํานวน 7 ตัวบงชี้ ซ่ึงเปน

ตัวบงชี้รวมทั้งหมด ซ่ึงเปนมาตรฐานที่มุงเนนใหมีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคเปนงานนวัตกรรมที่นําไปสูการสรางและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และองคความรูใหม ที่สามารถนําไปประยุกตใชงานไดจริง รวมทั้งการพัฒนาสูสังคมความรู และภูมิปญญา กอใหเกิดวัฒนธรรมการใชความรูในการกําหนดทิศทางการพัฒนา ตลอดจนการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ โดยมีผลการประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 2 เทากับ 4.80 คะแนน อยูในเกณฑดีมาก สําหรับรายละเอียดผลการประเมินแสดงไดดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค ในแตละตวับงชี้ของกลุมสาขา เกษตรศาสตร

ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 3)

เกณฑการประเมิน ตัวบงช้ี

2544 2547 2548

เปาหมาย ป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตาม

เปาหมาย

ประเมินพัฒนา การ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 ตัวบงช้ีรวม

2.1

40% 86% 105% 50% 3 3 3 1.00 1 5 17.5 3.5 20% 29% 30%

2.2

96,381.52 155,345.77 233,867.96 80,000.00 3 3 3 1.00 1 5 17.5 3.5 20,000 29,999 30,000

2.3

215,659.52 333,009.56 372,957.10 320,000.00 3 3 3 1.00 1 5 17.5 3.5 35,000 49,999 50,000

2.4

0% 27% 47% 40% 1 1 2 1.00 1 4 14 3.5 35% 40% 50%

2.5

0% 28% 35% 30% 1 2 2 1.00 1 4 14 3.5 25% 39% 40%

2.6 6% 6% 58% 15% 1 1 3 1.00 1 5 43.75 8.75 15% 19% 20% 2.7

6.00 24.00 32.00 10.00 3 3 3 1.00 1 5 43.75 8.75 1 2 3

รวม 15 16 19 7 7 168 35

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

จากตารางที่ 2.1 พบวากลุมสาขาเกษตรศาสตรมีผลการประเมินในแตละตัวบงชี้อยูในเกณฑดีและดีมาก ซ่ึงผลการประเมินที่โดดเดนมากที่สุดระดับ 5 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 2.1, 2.2, 2.3,2.6 และ 2.7 สวนผลการประเมินที่ไดระดับ 4 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 2.4 และ 2.5 รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดัง ตารางที่ 2.2

Page 26: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 22

ตารางที่ 2.2 ผลการประเมินรายคณะวิชาตามมาตรฐานที่ 2 ดานการวจิัยและงานสรางสรรค ในแตละตัวบงชี ้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 1.1 89% 172% 219% 132% 38% 80% 53% 61% 76% 83% 16% 17% 86% 105% 2.1 106,424 189,164 240,083 247,752 133,172 159,191 193,887 242,479 145,766 203,516 153,158 740,500 155,346 233,868

2.2 480,723 268,560 602,340 627,074 446,456 829,890 120,273 145,689 221,725 384,378 0.00 10,625 333,010 372,957

2.3 29% 42% 37% 52% 27% 41% 44% 47% 6% 49% 53% 71% 27% 47% 2.4 16% 25% 37% 52% 20% 68% 18% 19% 49% 39% 0% 8% 28% 35% 2.5 7% 76% 6% 7% 7% 26% 15% 157% 0% 33% 0% 0% 6% 58% 2.6 13.00 18.00 0.00 0.00 3.00 3.00 8.00 10.00 0.00 1.00 0.00 0.00 24.00 32.00 2.7 89% 172% 219% 132% 38% 80% 53% 61% 76% 83% 16% 17% 86% 105%

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...111 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคท่ีตีพิมพเผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชนท้ังในระดับชาติ

และระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนงานวจิัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือ

นําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ เทากับ 507 เร่ือง ตอจํานวนอาจารยประจํา เทากับ 484 คน ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ คิดเปนรอยละ 104.75 (มากกวารอยละ 30 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมพีัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทาํใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...222 เงินสนับสนนุงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

กลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนทั้งจากภายในคณะและจากมหาวิทยา-ลัยฯ เพื่อสนบัสนุนและพฒันาการวจิัยและงานสรางสรรคใหคณาจารยที่เปนนกัวจิยัรุนใหมและทีมงานวิจยั ในการผลิตผลงานวิจัย ตีพิมพเผยแพร บทความวจิัยและบทความวิชาการออกสูทุกระดับของประเทศและนานาชาติเพิ่มขึ้น ในรูปแบบการจัดกิจกรรมสงเสริมการวิจัยและการใหเงนิรางวัลตีพิมพผลงาน

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคที่สถาบันจัดสรรเพื่อการสนับสนุนการทําวิจัยและงานสรางสรรค เทากับ 113,192,093 บาท ตอจํานวนอาจารยประจํา เทากับ 484 คน คิดเปน 233,867.96 บาทตอคน (มากกวา 30,000 บาท/คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการ

Page 27: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 23

ดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 2.3)

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...333 เงินสนับสนนุงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา

กลุมสาขาเกษตรศาสตร ไดรับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนทั้งจากสํานักงานสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา (สกว.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หรือจากหนวยงานภาคราชการและรัฐวิสาหกิจ และจากหนวยงานภาคเอกชนและหนวยงานตางประเทศ เพื่อผลิตผลงานวิจัย ตีพิมพเผยแพร บทความวิจัยและบทความวิชาการออกสูทุกระดับของประเทศและนานาชาติ

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับจัดสรรจากหนวยงานภายนอก เทากับ 180,511,237 บาท ตอจํานวนอาจารยประจํา ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ เทากับ 484 คน คิดเปน 372,957 บาท/คน (มากกวา 50,000 บาท/คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 2.3)

ตารางที่ 2.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสรางสรรคของสถาบัน และเงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบัน ตอจํานวนอาจารยประจําของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

เงินสนับสนนุงานวิจัย และงานสรางสรรค

ของสถาบัน เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบัน กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนอาจารย

ประจํา จํานวนเงิน สัดสวนตอ อาจารยประจํา

จํานวนเงิน สัดสวนตออาจารยประจํา

ภาพรวม 484 113,192,093 233,867.96 180,511,237 372,957.10 คณะเกษตร 128 24,213,041 189,164.38 34,375,686 268,560.05 คณะประมง 60 14,865,100 247,751.67 37,624,419 627,073.65 คณะวนศาสตร 56 8,914,720 159,191.43 46,473,821 829,889.66 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 89 21,580,650 242,479.21 12,966,300 145,688.76 คณะเกษตร กําแพงแสน 127 25,846,582 203,516.39 48,816,011 384,378.04 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 24 17,772,000 740,500.00 255,000 10,625.00

Page 28: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 24

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...444 รอยละของอาจารยประจําท่ีรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจาก

ภายในสถาบัน เทากับ 229 คน ตอจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ เทากับ 484 คน คิดเปนรอยละ 47.31 (ระหวางรอยละ 35-50)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 (ตารางที่ 2.4)

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...555 รอยละของอาจารยประจําท่ีรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจาก

ภายนอกสถาบัน เทากับ 170 คน ตอจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ เทากับ 484 คน คิดเปนรอยละ 35.12 (ระหวางรอยละ 40-50 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 (ตารางที่ 2.4)

ตารางที่ 2.4 จํานวนอาจารยประจําที่รับทนุทําวิจยัหรืองานสรางสรรคของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

จํานวนอาจารยประจําที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค

รอยละ กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนอาจารยประจํา

ภายในสถาบัน ภายนอกสถาบัน ภายในสถาบัน ภายนอกสถาบัน ภาพรวม 484 229 170 47.31 35.12

คณะเกษตร 128 54 32 42.19 25.00 คณะประมง 60 31 31 51.67 51.67 คณะวนศาสตร 56 23 38 41.07 67.86 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 89 42 17 47.19 19.10 คณะเกษตร กําแพงแสน 127 62 50 48.82 39.37 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 24 17 2 70.83 8.33

Page 29: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 25

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...666 รอยละของบทความวิจัยท่ีไดรับการอางองิ (Citation) ใน refereed journal หรือฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา ภาพรวมกลุมสาขาวิชาเกษตรศาสตรมีจํานวนบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (citation) ใน refereed

journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ไมนับซ้ํา เทากับ 310 คน ตอจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด นับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ เทากับ 534 คน คิดเปนรอยละ 58.05 (มากกวารอยละ 20) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 2.5)

ตารางที่ 2.4 บทความวิจยัที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับ

นานาชาติตออาจารยประจําของกลุมสาขาเกษตรศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนอาจารย

ประจํา (รวมลาศึกษาตอ)

จํานวนบทความวิจัยท่ีไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือ

ฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

รอยละ

ภาพรวม 534 310 58.05 คณะเกษตร 132 100 75.76 คณะประมง 69 5 7.25 คณะวนศาสตร 72 19 26.39 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 90 141 156.67 คณะเกษตร กําแพงแสน 138 45 32.61 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 33 0 0.00

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 222...777 จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคท่ีไดรับการจดทะเบียนทรัพยสนิทางปญญาหรอือนุสิทธิบัตร

ในรอบ 5 ปท่ีผานมา ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนผลงานวจิัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียน

ทรัพย-สินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตรในรอบ 5 ปที่ผานมา เทากับ 32 เร่ือง (มากกวา 3 เร่ือง )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดาํเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 แสดงใหเห็นวากลุมสาขาเกษตรศาสตรศาสตร ใหความสําคัญกับการธํารงรักษาไวซ่ึงสิทธิและทรัพยสินทางปญญาของผลงานวิจัยที่ไดศึกษาและพัฒนาจนไดรับการยอมรับ

Page 30: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 26

มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ 333 ดานการดานการดานการบริการวิชาการบริการวิชาการบริการวิชาการ สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการไวจํานวน 7 ตัวบงชี้ ประกอบดวยตวับงชี้รวม 4 ตัวบงชี้ และตัวบงชี้เฉพาะ 3 ตัวบงชี้โดยมีผลการประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 3 เทากับ 5.00 คะแนน อยูในเกณฑดีมาก สําหรับรายละเอียดผลการประเมินแสดงไดดังตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ ในแตละตวับงชี้ของกลุมสาขา

เกษตรศาสตร ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน

(คะแนนเต็ม 3) เกณฑการประเมิน ตัว

บงช้ี 2544 2547 2548

เปาหมาย ป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตามเปาหมาย

ประเมินพัฒนาการ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 ตัวบงช้ีรวม 3.1

76% 34% 61% 60% 3 3 3 1 1 5 25 5 20% 29% 30%

3.2

0% 29% 69% 25% 1 3 3 1 1 5 25 5 15% 24% 25%

3.3

1.50 3.00 4.00 3.00 2 3 3 1 1 5 25 5 1 2 3

3.4 0.00 9,547.19 19,166.78 10,000.00 1 3 3 1 1 5 25 5 5,000 7,499 7,500

ตัวบงช้ีเฉพาะ 3.5 0.00 118.00 26.00 1 3 3 1 1 5 0 0 2 3 4 3.6 0.00 84,592.77 249,116.50 1 3 3 1 1 5 0 0 15,000 19,999 20,000

3.7 2.00 2.00 4.00 2 2 3 1 1 5 0 0 1 2 3 รวม 11 20 21 7 7 100 20

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

สําหรับผลการประเมินในกลุมสาขาที่มีความโดดเดนมากที่สุดระดับ 5 คะแนน ในทุกตัวบงชี้ที่ รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดังตารางที่ 3.2

Page 31: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 27

ตารางที่ 3.2 ผลการประเมินรายคณะตามมาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ ในแตละตัวบงชี ้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 3.1 92% 16% 100% 33% 23% 43% 38% 28% 0% 148% 16% 83% 34% 61% 3.2 39% 73% 59% 57% 46% 83% 28% 28% 100% 36% 0% 6% 29% 69% 3.3 4.00 4.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 4.00 N/A 5.00 0.00 1.00 3.00 4.00 3.4 74 23,894 6,939 16,202 5,804 7,357 40,385 33,708 803 1,593 2,105 67,996 9,547 19,167

3.5 101.00 0.00 6.00 6.00 10.00 10.00 1.00 1.00 0.00 2.00 0.00 7.00 118.00 26.00 3.6 31,678 56,920 613 1,399.83 581,080 1,691,423 6,689 3,547 N/A 12,087 689 50,636 84,593 249,117

3.7 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 333...111 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพท่ีตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตออาจารยประจํา ภาพรวมกลุมเกษตรศาสตร มีจํานวนกจิกรรมหรือโครงการที่จัดขึ้นเพื่อใหบริการทางวิชาการแก

สังคมและชุมชน หรือเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือนานาชาติ ทั้งหมด 297 กิจกรรม/โครงการ และมีจํานวนอาจารยประจํา ไมนับรวมอาจารยทีล่าศึกษาตอ 484 คน คิดเปนรอยละ 61.36 (มากกวารอยละ 30 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5

ในการจดักิจกรรมหรือโครงการที่กลุมเกษตรศาสตร เพื่อใหบริการวิชาการแกสังคมและชมุชน หรือเพื่อตอบสนองความตองการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติหรือนานาชาต ิ นั้น มีลักษณะการใหบริการทางวิชาการที่หลากหลาย ในรูปแบบของการเปนที่ปรึกษา ฝกอบรม สัมมนา งานศึกษาวจิัย งานสํารวจ ฯลฯ ที่สอดคลองกับความตองการของหนวยงานนั้นๆ โดยคณาจารย บุคลากรและนิสิตทีม่ีความเชี่ยวชาญในแตละสาขา

Page 32: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 28

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 333...222 รอยละของอาจารยท่ีเปนท่ีปรึกษา เปนกรรมการวิทยานพินธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชพีในระดับชาติหรือระดับนานาชาตติออาจารยประจํา ภาพรวมของกลุมเกษตรศาสตร มีจํานวนอาจารยประจําที่ไปเปนที่ปรึกษา กรรมการ

วิทยานิพนธระดับบัณฑิตศกึษาภายนอกสถาบัน หรือเปนกรรมการทางดานวิชาการ/วิชาชีพใหกับหนวยงานภายนอกหรือสถาบนั องคการตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งหมด 272 คน และมีจํานวนอาจารยประจําทกุระดับ 534 คน คิดเปนรอยละ 50.94 (มากกวารอยละ 25 ) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกบัปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 3.3) ตารางที่ 3.3 จํานวนอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ

และกรรมการวิชาชีพในระดบัชาติหรือระดับนานาชาต ิของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนอาจารยประจํา

จํานวนอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการฯ

รอยละ

ภาพรวม 534 272 50.94 คณะเกษตร 132 97 73.48 คณะประมง 69 39 56.52 คณะวนศาสตร 72 60 83.33 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 90 25 27.78 คณะเกษตร กําแพงแสน 138 49 35.51 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 33 2 6.06

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 333...333 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพฒันาการเรียน

การสอนและการวิจัย ภาพรวมกลุมเกษตรศาสตร ในรอบปที่ผานมาจนถึงปจจุบันปการศึกษา 2548 มีการจัดทํา

รายละเอียดในการจัดเก็บขอมูลเกี่ยวกับการไดนําองคความรูและมวลประสบการณจากการใหบริการวิชาการแกสังคม ชุมชนและประเทศชาติมาใชประโยชนในการพฒันาการเรียนการสอนหรือการวิจยั มีประเมินผลการประเมินอยูที่ระดับ 4 (มากกวาหรือเทากับ 3 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมพีัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 โดยแตละหนวยงานมกีารนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย สามารถสรุปขอมูลไดตามเกณฑการใหคะแนน ดังนี ้

Page 33: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 29

1. มีแผนในการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการเรียน

การสอนและการวิจยั 2. มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการเรียนการสอน

อยางนอย 1 โครงการ 3. มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการวิจยัอยางนอย

1 โครงการ 4. มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการเรียนการสอน

และการวิจัยอยางนอย 1 โครงการ 5. มีการบูรณาการการจัดการเรยีนการสอนหรือการวิจัยกับการบริการวิชาการ/วิชาชีพอยางนอย 1

โครงการ

ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี ตัวบงชี้ท่ี 333...444 คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชพีเพื่อสังคมตออาจารยประจํา ภาพรวมกลุมเกษตรศาสตร มีจํานวนคาใชจายและมูลคาที่ใชกบัทุกโครงการ/กิจกรรมในการ

บริการวิชาการแกชุมชนสังคม โดยไมเรียกเก็บเงนิใดๆ จากผูรับบริการทั้งหมด 9,276,723 บาท และมีจํานวนอาจารยประจํา ไมนบัรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ 484 คน คิดเปนสัดสวนเทากับ 19,166.78บาท/คน (มากกวาหรือเทากับ 7,500 บาท) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกบัปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 3.5)

ตารางที่ 3.5 คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจําของ

กลุมสาขาเกษตรศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนอาจารย

ประจํา คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคม

รายรับตออาจารยประจํา

ภาพรวม 484 9,276,723 19,166.78 คณะเกษตร 128 3,058,375 23,893.55 คณะประมง 60 972,091 16,201.52 คณะวนศาสตร 56 412,000 7,357.14 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 89 3,000,000 33,707.87 คณะเกษตร กําแพงแสน 127 202,357 1,593.36 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 24 1,631,900 67,995.83

Page 34: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 30

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 333...555 จํานวนแหลงใหบริการวิชาการและวิชาชีพท่ีไดรับการยอมรับในระดับชาติหรือระดบันานาชาต ิภาพรวมกลุมเกษตรศาสตร มีจํานวนแหลงใหบริการวิชาการที่ไดรับการยอมรับในระดับชาตหิรือ

นานาชาต ิ ที่เปนศูนยหรือมีการจัดกิจกรรมทางวิชาการในหนวยงานที่อยูในความรับผิดชอบของหนวยงานเปนประจําหรือทําหนาที่เปนแหลงอางอิงทางวิชาการ เปนที่พึ่งพาในทางวิชาการในรูปแบบตางๆ ที่มีผลตอการพัฒนาขึ้นของชุมชนในดานวิชาการและการพัฒนาความรู ซ่ึงไดรับการยอมรับในระดับชาตหิรือระดับนานาชาติ เทากับ 26 หนวยงาน (มากกวาหรือเทากับ 4 หนวยงาน) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพฒันาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 333...666 รายรับของสถาบันในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบนัตออาจารยประจํา

ภาพรวมกลุมเกษตรศาสตรมีรายรับของสถาบันในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบัน ทั้งหมด 133,054,913 บาท และมีจํานวนอาจารยประจําทุกระดับ 484 คน คิดเปนสัดสวนเทากับ 274,906.85 บาท/คน (มากกวา 20,000 บาท/คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 3.5)

ตารางที่ 3.5 รายรับของสถาบันในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบันตออาจารยประจําของกลุม

สาขาเกษตรศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนอาจารย

ประจํา รายรับของสถาบนัในการใหบริการ วิชาการและวิชาชีพในนามสถาบัน

รายรับของสถาบนัตออาจารยประจํา

ภาพรวม 484 133,054,913 274,906.85 คณะเกษตร 128 7,513,988 58,703.03 คณะประมง 60 97,209 1,620.15 คณะวนศาสตร 56 121,783,600 2,174,707.14 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 89 319,287 3,587.49 คณะเกษตร กําแพงแสน 127 1,669,529 13,145.90 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 24 1,671,300 69,637.50

Page 35: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 31

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 333...777 ระดับความสําเร็จในการบริการวิชาการและวิชาชพีตามพนัธกิจของสถาบัน ภาพรวมกลุมเกษตรศาสตร ยังไมมีการสรุปขอมูลผลการดําเนินงานเกี่ยวกับ ระดบัความสําเร็จใน

การบริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกจิของสถาบัน ในการเปนที่พึ่งทางวิชาการที่เหมาะสมใหแกสังคม ชุมชน ทองถ่ินและประเทศชาติ และไดใชองคความรูจากการพัฒนาหลักสตูร การจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนและสังคมไปในการใหบริการทางวิชาการ วิชาชพีแกชุมชน รวมทั้งไดนําองคความรูจากการวิจัย หรือการคนควาไปใชในการใหบริการทางวชิาการ วิชาชพีแกชุมชน เนื่องจากตวับงชี้นี้พึ่งกําหนดเปนปแรก ทําใหหนวยงานยังไมสามารถสรุปประเมินผลไดทัน โดยระดบัความสําเร็จในการบริการวชิาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน มีการพิจารณาตามเกณฑการใหคะแนน คือ

1. มีแผนหรือโครงการในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพอยางครบถวนตามพันธกิจของสถาบันโดยคณะตางๆ ในกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการจัดทําแผนหรือโครงการในการใหบริการวิชา-การและวิชาชีพที่สอดคลองตามนโยบายและพันธกิจของมหาวิทยาลัย เชน

2. มีการใหบริการทางวิชาการและวิชาชีพแกสังคมตามแผนหรือโครงการในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพอยางครบถวนตามพันธกิจของสถาบัน โดยคณะตางๆ ในกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการดําเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพที่เหมาะสมใหแกสังคม ชุมชน ทองถ่ินและประเทศชาติ ทั้งการประชุมทางวิชาการ การสัมมนา การบรรยาย และการฝกอบรมโครงการตางๆ เชน

3. มีการบูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพแกสังคม และไดใชองคความรูจากการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับบริบทของชุมชนและสังคมไปในการใหบริการทางวิชาการ วิชาชีพแกชุมชน เชน เปนตน

4. มีผลงานวิจัย/ผลงานสรางสรรคหรือการพัฒนาองคความรูที่เกิดจากการบูรณาการงานบริการวิชาการและวิชาชีพแกสังคม ไดนําองคความรูจากการวิจัย หรือการคนควาไปใชในการใหบริการทางวิชาการ วิชาชีพแกชุมชน

5. เกิดเครือขายความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษาและองคกรในชุมชนในการพัฒนาความเขมแข็งของชุมชน และพัฒนาสังคมแหงการเรียนรู

Page 36: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 32

มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ 444 ดานการทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรมดานการทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรมดานการทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมไวจํานวน 4 ตัวบงชี้ ประกอบดวยตัวบงชี้รวม 2 ตัวบงชี้ และตัวบงชี้เฉพาะ 2 ตัวบงชี้โดยมีผลการประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 4 เทากับ 3.50 คะแนน อยูในเกณฑดี สําหรับรายละเอียดผลการประเมินแสดงไดดังตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในแตละตัวบงชี้ของ

กลุมสาขาเกษตรศาสตร ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน

(คะแนนเต็ม 3) เกณฑการประเมิน ตัว

บงช้ี 2544 2547 2548

เปาหมาย ป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตามเปาหมาย

ประเมินพัฒนาการ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 ตัวบงช้ีรวม 4.1

0.23% 2.91% 5.65% 1.40% 1 1 1 1 0 2 10 5 15% 19% 20%

4.2

0.10% 1.35% 2.97% 0.40% 1 3 3 1 1 5 25 5 0.50% 0.90% 1.00%

4.3 0.00 0.00 0.00 2 2 2 1 0 3 0 0 0 0 1 4.4 2.00 2.00 4.00 2 2 3 1 1 5 0 0 1 2 3 รวม 6 8 9 4 2 35

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

สําหรับผลการประเมินในกลุมสาขาที่มีความโดดเดนมากที่สุดระดับ 5 คะแนน ในตัวบงชี้ที่ 4.2 รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดังตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.2 ผลการประเมินรายคณะตามมาตรฐานที่ 4 ดานการทํานบุํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในแตละตวับงชี้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 4.1 4.05% 7.49% 4.18% 4.59% 2.37% 3.22% 1.48% 10.21% 2.34% 4.20% 4.51% 6.73% 2.91% 5.65% 4.2 0.27% 5.26% 3.87% 10.15% 3.91% 1.65% 0.26% 1.57% 0.00% 3.65% 1.28% 3.27% 1.35% 2.97% 4.3 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4.4 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00 2.00 4.00

Page 37: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 33

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 444...111 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษา กลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการจัดกิจกรรมดานการทํานุบาํรุงศิลปะและวัฒนธรรม ไมวาจะเปนการ

มีสวนรวมในการอนุรักษวฒันธรรมและเขารวมกิจกรรมกับจังหวัดในภูมภิาค เพื่อเปนการสืบสานประเพณีอันดีงามรวมงานจัดนทิรรศการเฉลิมพระเกยีรติฯ หรือจัดงานประเพณีสืบทอดวัฒนธรรมไทย เชน การจัดพิธีรดน้ําขอพรจากอาจารยอาวุโส พิธีทําบุญตักบาตรเนื่องในวันคลายวันสถาปนาคณะฯ การจัดบรรยายธรรมะ การวางพวงมาลาสักการะอนุสาวรียฯ เปนตน

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีกิจกรรมที่สถาบันดําเนินการอนุรักษ พัฒนา สรางเสริมวัฒนธรรมอันรวมถึงศิลปวัฒนธรรมและชีวิตวัฒนธรรมใหแกนกัศึกษา จํานวน 289 กิจกรรม และมีนิสิตระดับปริญญาตรีภาคปกติเต็มเวลาเทียบเทา 5,114 คน เทากับรอยละ 5.65 (นอยกวารอยละ 15 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 1 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตไมมีพฒันาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 2 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 444...222 รอยละของคาใชจายและมูลคาท่ีใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะและ

วัฒนธรรมตองบดาํเนินการ ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริม

เอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรม จํานวน 6,225,607.79 บาท ตองบดําเนินการทั้งหมด จํานวน 209,640,852.59บาท เทากับรอยละ 2.97 (มากกวารอยละ 1)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 4.3)

ตารางที่ 4.3 คาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวฒันธรรมตองบดําเนินการของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและ

วัฒนธรรม

งบดําเนินการ รอยละ

ภาพรวม 6,225,607.79 209,640,852.59 2.97 คณะเกษตร 914,155.80 17,376,212.00 5.26 คณะประมง 625,728.32 6,163,546.00 10.15 คณะวนศาสตร 321,969.66 19,509,896.41 1.65 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 1,146,767.03 73,158,728.00 1.57 คณะเกษตร กําแพงแสน 1,557,913.87 42,736,848.00 3.65 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 1,659,073.12 50,695,622.18 3.27

Page 38: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 34

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 444...333 มีผลงาน หรือชิ้นงานการพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร ยังไมมีการสรุปขอมูลผลการดําเนินงานเกีย่วกับ การที่หนวยงานมีผลงานหรือช้ินงานที่เกดิขึน้จากการพัฒนาองคความรูดานศิลปะและวัฒนธรรมที่สามารถนับได และเปนทีย่อมรับของวงวิชาการดานนี้ และมรีองรอยหรือกระบวนการหรอืความสําเร็จของการสรางมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรมที่ชัดเจน ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 444...444 ประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร ยังไมมีการสรุปขอมูลผลการดําเนินงานเกีย่วกับ การที่หนวยงานสามารถแสดงผลใหเปนที่ประจักษไดวา กิจกรรมการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมที่ไดดําเนินการในแตละปการศึกษานั้น บรรลุความสําเร็จตามพันธกิจ เนื่องจากตวับงชี้นี้พึ่งกําหนดเปนปแรก ทําใหหนวยงานยงัไมสามารถสรุปประเมินผลไดทัน โดยประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม มีการพิจารณาตามเกณฑการใหคะแนน คือ

1. มีแผนหรือโครงการเพื่อการอนุรักษ พัฒนาและเสริมสรางเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรม 2. มีการดําเนินตามโครงการขอ 1 3. มีการบูรณาการงานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่นอีก 1 ดาน

อยางนอย 1 โครงการ 4. มีการบูรณาการงานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่นอีก 2 ดาน

อยางนอย 1 โครงการ 5. มีการบูรณาการงานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมเขากับพันธกิจอื่นอีกมากกวา

หรือเทากับ 2 ดาน และมีการนําศิลปวัฒนธรรม หรือภูมิปญญาไทยออกเผยแพรในระดับสากล อยางนอย 1 โครงการ

Page 39: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 35

มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ 555 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากรไวจํานวน 11 ตัวบงชี้

โดยมีผลการประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 5 เทากับ 3.45 คะแนน อยูในเกณฑพอใช สําหรับรายละเอียดผลการประเมินแสดงไดดังตารางที่ 5.1

ตารางที่ 5.1 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 5 ดานการการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ในแตละตัวบงชี้ของ

กลุมสาขาเกษตรศาสตร

ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 3)

เกณฑการประเมิน ตัวบงช้ี

2544 2547 2548

เปาหมายป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตาม

เปาหมาย

ประเมินพัฒนาการ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 5.1

1.33 2.67 4.00 3 1 1 2 1 1 4 7.24 1.81 3 4 5

5.2 1.50 2.50 3.33 3 1 2 2 1 1 4 7.24 1.81 2 3 4 5.3 1.33 2.33 2.83 3 1 2 2 0 1 3 5.46 1.82 2 3 4 5.4 1.00 1.67 2.17 3 1 1 2 0 1 3 5.46 1.82 2 3 4 5.5 0.83 1.50 1.83 3 2 2 2 0 0 2 3.64 1.82 1 2 3 5.6 0.00 0.00 59,120.45 53,982.00 1 1 1 1 0 2 3.64 1.82 65,000 99,999 100,000

5.7 191,897 122,272 135,586 65,000 1 3 2 1 1 4 7.28 1.82 126,397 119,802 114,306

5.8 17.82% 51.88% 30.70% 4% 2 2 2 1 0 3 5.46 1.82 5.0% 10.0% 15.0%5.9 26.23% 32.43% 68.60% 50% 1 1 3 1 1 5 9.1 1.82 40% 59% 60% 5.10 0.00 5,070.45 17,810.36 5,500.00 1 1 3 1 1 5 9.1 1.82 10,000 14,999 15,000

5.11 0% 51% 73% 80% 1 1 2 0 1 3 5.46 1.82 55% 79% 80% รวม 13 17 23 7 8 69.08 20

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

จากตารางที่ 5.1 พบวากลุมสาขาเกษตรศาสตรมีผลการประเมินสวนใหญอยูในเกณฑพอใช ซ่ึงผลการประเมินมากที่สุดระดับ 5 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 5.9 และ 5.10 สวนผลการประเมินที่ไดระดับ 2 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 5.5 และ 5.6 รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดังตารางที่ 5.2

Page 40: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 36

ตารางที่ 5.2 ผลการประเมินรายคณะตามมาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ในแตละตัวบงชี ้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 5.1 4.00 5.00 4.00 5.00 3.00 3.00 5.00 5.00 N/A 5.00 0.00 1.00 2.67 4.00 5.2 3.00 3.00 3.00 3.00 5.00 5.00 4.00 4.00 N/A 3.00 0.00 2.00 2.50 3.33 5.3 4.00 4.00 2.00 2.00 4.00 4.00 4.00 4.00 N/A 2.00 0.00 1.00 2.33 2.83 5.4 4.00 3.00 0.00 0.00 3.00 3.00 3.00 3.00 N/A 3.00 0.00 1.00 1.67 2.17 5.5 3.00 3.00 1.00 1.00 2.00 2.00 3.00 3.00 N/A 1.00 0.00 1.00 1.50 1.83 5.6 N/A 7,408.09 N/A 41,355.32 N/A 85,791.81 N/A 134,588.55 N/A 47,943.61 N/A 114,702.39 0.00 59,120.45

5.7 133,079 109,072 123,975 205,655. 146,353 146,155 215,922 208,353 55,092 58,104 392,610 393,568 122,272 135,586

5.8 5.84% 154.21% -14.66% -265.73% 166.68% 184.42% 25.71% -20.62% N/A 19.45% 31.66% 48.81% 51.88% 30.70%

5.9 0.00% 85.94% 0.00% 55.00% 62.50% 71.43% 104.40% 97.75% 0.00% 22.83% 131.58% 137.50% 32.43% 68.60%5.10 2,575.38 9,650.21 907.67 75,362.32 5,046.01 5,424.41 15,899.7924,382.04 710.85 956.23 9,967.85 9,696.97 5,070.45 17,810.36

5.11 54% 26% 15% 70% 100% 91% 76% 94% 0% 123% 129% 100% 51% 73%

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 555...111 สภาสถาบันและผูบริหารมีวิสัยทัศนท่ีขับเคล่ือนพันธกิจ และสามารถสะทอนถึงนโยบายวตัถุประ-

สงค และนําไปสูเปาหมายของการบริหารจัดการที่ดี มีการบริหารแบบมีสวนรวม เนนการกระจายอํานาจ โปรงใสและตรวจสอบได รวมท้ังมีความสามารถในการผลักดันสถาบันใหสามารถแขงขนัไดในระดับสากล ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร ผูบริหารคณะมีการกําหนดนโยบายในการกํากับดูแลกิจการและ

ใหความสําคญั เพื่อใหการดําเนินงานมปีระสิทธิภาพและประสิทธิผล และมีการพัฒนาสถาบันอยางตอเนื่อง โดยคํานึงถึงความรับผิดชอบและเปนธรรมตอผูมีสวนเกีย่วของทุกฝาย คณบดีกํากับดแูลการดําเนนิงานของหนวยงานโดยผานคณะ กรรมการประจําคณะ ซ่ึงมีบทบาทสําคัญในการผลักดันนโยบาย แผนงาน และกลยุทธในการดําเนินงานใหเปนไปตามนโยบายและเปาหมายของหนวยงานอยางมปีระสิทธิภาพและประสิทธิผล มีระบบตรวจสอบการทํางานตามภารกิจของหนวยงาน ตลอดจนจัดใหมีการตดิตามและประเมินผลการทํางานอยางตอเนือ่งเพื่อปรับปรุงการทํางานและพัฒนา การทํางานที่ใหดียิ่งขึน้ เชน

- มีการนําระบบประกันคณุภาพมาเปนเครื่องมือในการบรหิารจัดการองคกรภายใตองคประกอบที่มีดัชนีช้ีวดัความสําเร็จอยางตอเนื่อง

- มีการบริหารจดัการสารสนเทศ มีการนําระบบสารสนเทศมาใชเพื่อการบริหาร การบริการนิสิต และเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน เชน โดยเฉพาะทางดน e-Learning มีการพัฒนาและจัดหาสื่อการสอน

Page 41: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 37

อิเล็กทรอนิกสคุณภาพสูง เพื่อการจัดการศึกษา และไดพัฒนาประยกุตใชเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นๆ เพื่อความสะดวกในการติดตามประเมนิผลและการตดิตอส่ือสารระหวางนิสิต สถานประกอบการ คณะ และอาจารยที่ปรึกษาหรือผูดูแลนิสิต หรือมีการนาํระบบ e-Office ระบบพัสดอุอนไลน และระบบบัญชีสามมิติ มาใชในการบริหาร ระบบทะเบียนและประมวลผล ฐานขอมูลประวตัินิสิต เพื่อการบริการนิสิต รวมทั้งระบบ wireless lan เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน เปนตน

- มีการบริหารทรัพยากรบุคคล ซ่ึงเปนกําลังสําคัญในการดาํเนินภารกิจตางๆ ใหสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย โดยมีการพัฒนาบคุลากรอยางตอเนื่อง และมนีโยบายสงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรไดมีโอกาสพฒันาศักยภาพของตนเอง ทั้งในรูปของการจัดสรรทุนการศึกษาตอ นําเสนอผลงาน บทความทางวชิาการ การจดัสงบุคลากรไปประชุม อบรม สัมมนา ดูงานทั้งในและตางประเทศ รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชวีิตความกาวหนาใหแกบุคลากรโดยการจัดกิจกรรมตางๆ

- มีการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มีการปรับปรุงระเบียบการเงินเพื่อใหเกิดความสะดวกและคลองตัวในการดําเนินงาน พรอมกับลดงานเอกสารใหนอยลง

ทั้งนี้ ผลการดําเนินงานของกลุมสาขาเกษตรศาสตร ไดมีการดําเนินงานในแตละกิจกรรม ตอไปนี้ 1. คณะกรรมการประจําคณะฯ เปดโอกาสใหมีการตรวจสอบการดําเนินงาน และมีสวนรวมใน

การกําหนดและใหความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร และใหขอสังเกตที่มีนัยสําคัญ โดยมีรายงานการประชุมของคณะกรรมการประจําคณะฯ ในการใหความเห็นชอบตอแผนยุทธศาสตรของคณะฯ

2. คณะกรรมการประจําคณะฯ มีการติดตามผลการดําเนินงานที่สําคัญตามภารกิจหลักของคณะอยางครบถวน โดยมีรายงานการติดตามผลการดําเนินงานที่สําคัญตามภารกิจหลัก

3. มีการประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ อยางสม่ําเสมอ มีกรรมการประจําคณะฯ เขาประชุม เฉลี่ยอยางต่ํารอยละ 80 ของกรรมการทั้งหมด

4. มีการสงเอกสารใหกรรมการประจําคณะฯ กอนประชุมโดยเฉลี่ยอยางต่ํา 7 วัน 5. มีการประเมินผลงานของผูบริหารสูงสุดของคณะฯโดยมีหลักเกณฑที่ชัดเจนและตกลงกันไว

ลวงหนา โดยมีผลการประเมินผลงานของผูบริหารสูงสุดของคณะ ซ่ึงมีหลักเกณฑการประเมินผลงานของผูบริหารอยางชัดเจน

โดยผลการดําเนินงานของกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มีผลการประเมิน อยูในเกณฑระดับ 4 (มากกวาหรือเทากับระดับ 3 แตไมถึงระดับ 5 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4

Page 42: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 38

ตัวบงชี้ 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการกําหนดแผนการจัดการความรูเพื่อสนับสนุนประเดน็ยุทธศาสตรอยางชัดเจน ในเรื่อง การรวบรวมองคความรูที่มีอยูในองคกรซึ่งกระจัดกระจายอยูในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาใหเปนระบบ เพื่อใหทกุคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู รวมทั้งปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหสถาบันมีความสามารถในเชิงแขงขนัสูงสุด

โดยกระบวนการในการบรหิารจัดการความรูในองคกร ซ่ึงประกอบดวย การระบุความรู การคัดเลือก การรวบรวม การจดัระบบจัดเก็บความรู การเขาถึงขอมูลเพื่อสรางเปนความรู และการแลกเปลี่ยนความรูทั้งภายในและภายนอกองคกร การสรางบรรยากาศและวัฒนธรรมการเรียนรูภายในองคกร การกําหนดแนววิธีปฏิบัติงานตลอดจนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิม่ประสิทธิภาพการบริหารจดัการความรูในองคกรใหดียิง่ขึ้น นั้น มีการพจิารณาผลการประเมินในแตละระดับจากการดําเนินงานในแตละขอ ดังนี ้

1. มีการเรียนรูอยางตอเนื่องในทุกระดับของระบบภายในองคการ 2. มีการสรางองคความรูและมกีารแบงปนความรู 3. สนับสนุนการคิดอยางเปนระบบและวิพากษวจิารณใหผูคนไดรูจักวิธีคิดใหมๆ 4. สรางวัฒนธรรมการเรียนรู การใหรางวัลกบัความคิดสรางสรรค วัฒนธรรมการบริหารงานและ

วัฒนธรรมองคการ 5. ยึดคนเปนศูนยกลางคํานึงถึงความเปนอยูที่ปกติสุขมีสวนใหองคการไดรับการพัฒนา โดยผลการดําเนนิงานในกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู โดย

อาศัยผลการประเมิน อยูในเกณฑระดับ 3.33 (มากกวาหรือเทากับระดบั 2 แตไมถึงระดับ 4)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมือ่เทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...333 มีการกําหนดแผนกลยุทธท่ีเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีความพยายามที่จะพัฒนาเพื่อใหการบริหารจัดการของคณะ และมหาวิทยาลัยเปนไปในแนวทางเดียวกันกับแผนยุทธศาสตรของชาติ โดยผลการประเมินพิจารณาจากระดับการดําเนินงาน ดังนี้

1. มีคณะกรรมการ/คณะทํางานกําหนดแผนกลยุทธของคณะ 2. มีแผนกลยุทธของคณะ 3. มีการวิเคราะหความสอดคลองของแผนกลยุทธกับยุทธศาสตรชาติ 4. แผนกลยุทธมคีวามสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ นอยกวารอยละ 80 ของแผน 5. แผนกลยุทธมคีวามสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ มากกวารอยละ 80 ของแผน

Page 43: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 39

เมื่อพิจารณาผลการประเมินในกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มีการกาํหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ อยูในเกณฑระดับ 2.83 (มากกวาหรือเทากับระดบั 2 แตไมถึงระดับ 4 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 3 ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...444 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีความพยายามที่จะบริหารทรัพยากรใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซ่ึงตองมีการใชทรัพยากรกับหนวยอ่ืนๆ ทั้งภายในหรือภายนอกสถาบัน โดยผลการประเมินพิจารณาจาก

1. มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน โดยมคีําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการความตองการในการใชทรัพยากร

2. มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน 3. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกบัหนวยงานอืน่ในสถาบัน 4. มีแผนการใชทรัพยากรรวมกบัหนวยงานอืน่นอกสถาบัน 5. มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกดิจากการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่น เมื่อพิจารณาผลการประเมินกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอก

สถาบันรวมกัน อยูในเกณฑระดับ 2.17 (มากกวาหรือเทากับระดับ 2 แตไมถึงระดับ 4)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 3 ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...555 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีความพยายามในการพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย รวมทั้งมีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล และประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล และมีการพัฒนาระบบใหมีความทันสมัยอยูเสมอ โดยผลการประเมินพิจารณาจากระดับคะแนน ดังตอไปนี้

1. มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 2. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3. มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล 4. มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล และประเมินความพึง

พอใจของผูใชฐานขอมูล 5. มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ 4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล เมื่อพิจารณาผลการประเมินกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มีศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการ

บริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย อยูในเกณฑระดับ 1.83 (มากกวาหรือเทากับระดับ 1 แตไมถึงระดับ 3) ได

Page 44: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 40

คะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และไมมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 2

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...666 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนกัศึกษา (เต็มเวลาเทียบเทา)

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการจัดสรรเงินเพื่อนําไปใชจายหมวดครุภัณฑและการกอสรางอาคาร สินทรัพยถาวร ไดแก ครุภัณฑ อาคารสถานที่ และที่ดิน ซ่ึงแสดงถึงเสถียรภาพทางการเงินและศักยภาพดานทรัพยากรการเงินของสถาบันในระยะยาว จํานวน 371,725,727.74 บาท และมีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา นับรวมทั้งระดับปริญญาตรี และสูงกวาปริญญาตรี จํานวน 6,287.60คน คิดเปนสัดสวนเทากับ 59,120.45 บาท/คน (นอยกวา 65,000 บาท/คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 1 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตไมมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 2 (ตารางที่ 5.3) ตารางที่ 5.3 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนกัศึกษา (เต็มเวลาเทียบเทา) ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนสินทรัพยถาวร จํานวนนักศึกษา (FTES ป.ตรีและบัณฑิตศึกษา)

สินทรัพยถาวรตอจํานวนนิสิต

ภาพรวม 371,725,727.74 6,287.60 59,120.45 คณะเกษตร 10,104,640.00 1,364.00 7,408.09 คณะประมง 25,871,885.79 625.60 41,355.32 คณะวนศาสตร 60,345,956.91 703.40 85,791.81 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 105,813,518.03 786.20 134,588.55 คณะเกษตร กําแพงแสน 109,548,762.40 2,284.95 47,943.61 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 60,040,964.61 523.45 114,702.39

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...777 คาใชจายท้ังหมดตอจํานวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเทา)

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีคาใชจายทั้งหมด จํานวน 693,348,380.19 บาท และมีจํานวนนักศึกษาเต็ม เวลาเทียบเท า นับรวมทั้ งระดับปริญญาตรี จํ านวน 5113.70 คน คิด เปนสัดสวน เท า กับ 135,586.44 บาท/คน (±5-9% ของเกณฑ ) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 (ตารางที่ 5.4)

Page 45: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 41

ตารางที่ 5.4 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนกัศึกษา (เต็มเวลาเทียบเทา) ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร คาใชจายทั้งหมด จํานวนนักศึกษา (FTES ป.ตรีและบัณฑิตศึกษา)

รอยละ

ภาพรวม 693,348,380.19 5,113.70 135,586.44 คณะเกษตร 122,597,208.00 1,124.00 109,072.25 คณะประมง 80,123,342.53 389.60 205,655.40 คณะวนศาสตร 65,740,662.21 449.80 146,155.32 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 91,862,781.00 440.90 208,352.87 คณะเกษตร กําแพงแสน 127,011,342.00 2,185.95 58,103.50 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 206,013,044.45 523.45 393,567.76

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...888 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนรายไดทั้งหมดของสถาบันภายหลังที่หักคาใชจายดําเนินการทั้งหมดออกแลว จํานวน64,368,193.50 บาท เมื่อเทียบกับงบดําเนินการทั้งหมด 209,640,852.59จํานวน บาท เทากับรอยละ 30.70 (มากกวารอยละ 15 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตไมมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 3 (ตาราง ที่ 5.5) ตารางที่ 5.5 เงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนนิการ ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร เงินเหลือจายสุทธิ งบดําเนินการ รอยละ

ภาพรวม 64,368,193.50 209,640,852.59 30.70 คณะเกษตร 26,796,161.00 17,376,212.00 154.21 คณะประมง - 16,378,282.53 6,163,546.00 -265.73 คณะวนศาสตร 35,979,430.07 19,509,896.41 184.42 คณะอุตสาหกรรมเกษตร - 15,082,728.00 73,158,728.00 -20.62 คณะเกษตร กําแพงแสน 8,310,333.00 42,736,848.00 19.45 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 24,743,279.96 50,695,622.18 48.81

Page 46: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 42

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...999 รอยละของอาจารยประจําท่ีเขารวมประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานวิชาการ ท้ังในประเทศและ

ตางประเทศ

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตรมีจํานวนอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชากร หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในและตางประเทศ จํานวน 332 คน เมื่อเทียบกบัอาจารยประจํา ไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ จํานวน 484 คน คิดเปนรอยละ 68.60 (มากกวา รอยละ 60 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมพีัฒนาการเมื่อเทียบกบัปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 5.6) ทั้งนี้ผลงานทางวิชาการ ไดแก

1. ผลงานทางวิชาการที่ไดมีการศึกษาคนควาตามกระบวนการ ระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมกับสาขาวิชา

2. การแสดงออกทางศิลปะอันเปนที่ยอมรับระดับนานาชาติและระดับชาติ 3. งานที่ไดรับสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตรทั้งในและตางประเทศ 4. การแสดงความกาวหนาทางวิชาการ เสริมสรางองคความรูหรือวิธีการที่เปนประโยชนตอ

สาขาวิชา หรือแสดงความเปนตนแบบ ตนความคิดของผลงาน หรือแสดงความสามารถในการบุกเบิกงานในสาขาวิชานั้น

ส่ิงประดิษฐหรืองานสรางสรรคทางดานศิลปกรรม และจิตรกรรม

ตารางที่ 5.6 จํานวนอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร อาจารยประจํา จํานวนอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและ

ตางประเทศ

รอยละ

ภาพรวม 484 332 68.60 คณะเกษตร 128 110 85.94 คณะประมง 60 33 55.00 คณะวนศาสตร 56 40 71.43 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 89 87 97.75 คณะเกษตร กําแพงแสน 127 29 22.83 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 24 33 137.50

Page 47: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 43

ตัวบงชี ้5.10 งบประมาณสาํหรับการพัฒนาคณาจารยท้ังในประเทศและตางประเทศตออาจารยประจํา

คณะในกลุมสาขาเกษตรศาสตรใหความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง ทั้งในรูปของการจัดสรรทุนการศึกษาตอ นําเสนอผลงานบทความทางวิชาการ การจัดสงบุคลากรไปประชุม อบรม สัมมนา ดูงานทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพชีวิตความกาวหนาใหแกบุคลากรทั้งในประเทศและตางประเทศ

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีงบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศ จํานวน 9,510,729.60บาท เมื่อเทียบกับอาจารยประจํา จํานวน 534 คน คิดเปนสัดสวนเทากับ 17,810.36บาท/คน (มากกวาหรือเทากับ 15,000 บาท/คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 5.7) ตารางที่ 5.7 จํานวนงบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตออาจารยประจํา

ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร อาจารยประจํา จํานวนงบประมาณสําหรับการพฒันา

คณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศ รอยละ

ภาพรวม 534 9,510,729.60 17,810.36 คณะเกษตร 132 1,273,828.00 9,650.21 คณะประมง 69 5,200,000.00 75,362.32 คณะวนศาสตร 72 390,557.60 5,424.41 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 90 2,194,384.00 24,382.04 คณะเกษตร กําแพงแสน 138 131,960.00 956.23 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 33 320,000.00 9,696.97

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 555...111111 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนนุท่ีไดรับการพฒันาความรู และทักษะในวิชาชพี ท้ังใน

ประเทศและตางประเทศ คณะในกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการสนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาความรู และทกัษะในวิชาชพี

ใหกับบุคลากรสายสนบัสนนุ ทั้งการสงบุคลากรสายสนับสนุนไปศกึษาตอ อบรม สัมมนาหรือดูงาน รวมทั้งการฝกอบรมที่หนวยงานและมหาวิทยาลัยจัดขึน้เอง เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุน ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตรมีบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู และทกัษะในวิชาชพี ทั้งในประเทศและตางประเทศ จํานวน 409 คน เมื่อเทียบกบัจํานวนบุคลากรสายสนับสนุน โดยนับรวมบุคลากรที่ลาศึกษาตอ จํานวน 562 คน คิดเปนรอยละ 72.78 ไดคะแนนระดับ 2 (มากกวาหรือเทากับรอยละ 55 แตไมถึงรอยละ 80) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 3 (ตารางที่ 5.8 )

Page 48: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 44

ตารางที่ 5.8 จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู และทกัษะในวิชาชพี ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ ของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนบคุลากรประจาํสายสนับสนนุ

จํานวนบคุลากรประจําสายสนบัสนนุที่ได รับการพัฒนาความรู และทักษะในวชิาชีพ

รอยละ

ภาพรวม 562 409 72.78 คณะเกษตร 151 40 26.49 คณะประมง 143 100 69.93 คณะวนศาสตร 92 84 91.30 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 97 91 93.81 คณะเกษตร กําแพงแสน 66 81 122.73 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 13 13 100.00

มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ 666 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอนไวจํานวน 9 ตัวบงชี้

โดยมีผลการประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 6 เทากับ 4.00 คะแนน อยูในเกณฑดี สําหรับรายละเอียดผลการประเมินแสดงไดดังตารางที่ 6.1 ตารางที่ 6.1 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอนในแตละตัวบงชี้ของกลุม

สาขาเกษตรศาสตร ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน

(คะแนนเต็ม 3) เกณฑการประเมิน ตัว

บงช้ี 2544 2547 2548

เปาหมาย ป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตามเปาหมาย

ประเมินพัฒนาการ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 6.1 100% 100% 100% 80% 3 3 3 1 1 5 11.1 2.22 80% 99% 100% 6.2

8.58 14.96 12.99 15 1 1 1 0 0 1 2.22 2.22 22.2 22.0

0 21.0

6.3

50.32% 55.13% 55.62% 55.00% 2 2 2 1 0 3 6.66 2.22 40% 59% 60%

6.4 56.75% 55.51% 53.75% 57.00% 2 2 2 0 0 2 4.44 2.22 45% 69% 70% 6.5

1.33 2.00 3.00 3 1 1 2 1 1 4 8.88 2.22 2 3 4

6.6 1.33 2.67 4.17 3 1 2 2 1 1 4 8.88 2.22 2 4 5 6.7 1.67 3.00 3.75 3 1 2 3 1 1 5 11.1 2.22 2.5 3.49 3.5 6.8 66.61% 70.02% 96.51% 80.0% 3 3 3 1 1 5 11.15 2.23 40% 59% 60% 6.9 42,502.75 23,445.68 7,407.41 350.00 3 3 3 1 1 5 11.15 2.23 4,500 6,999 7,000

รวม 17 19 21 7 6 75.58 20

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

Page 49: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 45

จากตารางที่ 6.1 พบวากลุมสาขาเกษตรศาสตรมีผลการประเมินสวนใหญอยูในเกณฑดี ซ่ึงผลการประเมินที่มากที่สุดระดับ 5 คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 6.1,6.7,6.8 และ 6.9 สวนผลการประเมินที่ไดระดับ 21คะแนน คือ ตัวบงชี้ที่ 6.2 รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดังตารางที่ 6.2

ตารางที่ 6.2 ผลการประเมินรายคณะตามมาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ในแตละตัวบงชี ้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 6.1 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 100% 6.2 12.46 10.66 10.92 10.43 12.94 12.56 8.19 8.83 22.93 17.99 27.00 21.81 14.96 12.99 6.3 57.69% 61.36% 48.48% 46.38% 55.22% 58.33% 66.67% 73.33% 58.78% 55.07% 0.00% 0.00% 55.13% 55.62% 6.4 75.38% 73.48% 50.00% 52.17% 44.78% 50.00% 38.54% 47.78% 67.94% 53.62% 0.00% 3.03% 55.51% 53.75% 6.5 2.00 2.00 2.00 2.00 5.00 5.00 3.00 3.00 N/A 3.00 0.00 3.00 2.00 3.00 6.6 3.00 5.00 5.00 5.00 3.00 3.00 5.00 5.00 N/A 4.00 0.00 3.00 2.67 4.17 6.7 3.00 3.50 4.00 4.00 5.00 5.00 5.00 5.00 N/A 4.00 1.00 1.00 3.00 3.75 6.8 34.42% 100.00% 78.04% 100.00% 151.39% 100.00% 29.75% 84.02% 62.39% 100.00% 106.67% 100.00% 70.02% 96.51% 6.9 106,081.29 5,552.88 12,177.79 8,221.88 8,094.17 13,292.10 13,196.06 12,248.44 3,035.63 6,317.71 3,332.68 6,199.76 23,445.68 7,407.41

ตัวบงชี้ 6.1 รอยละของหลักสูตรท่ีไดมาตรฐานตอหลักสูตรท้ังหมด

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีหลักสูตรที่สถาบันอุดมศึกษาเปดสอนที่ไดรับการรับรองมาตรฐานหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยนับตามสาขาวิชาที่เปดสอนทั้งหมด จํานวน 99 หลักสูตร เมื่อเทียบจากหลักสูตรทั้งหมดที่สถาบันอุดมศึกษาเปดสอนในปการศึกษา 2548 จํานวน 99 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 100 (รอยละ 100ไดคะแนนระดับ 3)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 6.3)

Page 50: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 46

ตารางที่ 6.3 หลักสูตรที่ไดมาตรฐานเทียบกับหลักสูตรทั้งหมดของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

หลักสูตรทั้งหมด กลุมสาขาเกษตรศาสตรศาสตร

ป.ตรี ป.เอก ป.โท รวม ประกาศนียบัตร

หลักสูตรท่ีได

มาตรฐาน

รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐาน

ภาพรวม 23 48 27 98 1 99 100 คณะเกษตร 5 15 7 27 0 27 100 คณะประมง 1 5 5 11 0 11 100 คณะวนศาสตร 3 10 1 14 0 14 100 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 8 7 4 19 1 20 100 คณะเกษตร กําแพงแสน 4 11 10 25 0 25 100 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 2 0 0 2 0 2 100

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 666...222 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) เทากับ 6,288 ตอจํานวนอาจารยประจํา ไมรวมลาศึกษาตอ จํานวนรวม 484 คน เมื่อเทียบกับจํานวนอาจารยประจํา จํานวน 1 คน คิดเปนสัดสวนเทากับ 1: 12.99 คน (±6-10% ของเกณฑ หรือ <- 10 หรือ >10ของเกณฑ )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 1 ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และไมมีพัฒนาการเมือ่เทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 1 (ตารางที่ 6.4) ตารางที่ 6.4 จํานวนนักศกึษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

FTES กลุมสาขาเกษตรศาสตร ปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา รวม

อาจารยประจํา (ไมรวมอาจารยลาศึกษา

ตอ)

FTES ตอ อาจารยประจํา 1 ทาน

ภาพรวม 5,114 1,174 6,288 484 12.99 คณะเกษตร 1,124 240 1364 128 10.66 คณะประมง 389.6 236 625.6 60 10.43 คณะวนศาสตร 449.8 253.6 703.4 56 12.56 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 440.9 345.3 786.2 89 8.83 คณะเกษตร กําแพงแสน 2,185.95 99 2,284.95 127 17.99 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 5,23.45 0 523.45 24 21.81

Page 51: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 47

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 666...333 รอยละของอาจารยประจําท่ีมีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา จํานวน 297 คน

เมื่อเทียบกับจํานวนอาจารยประจํา โดยไมนับรวมอาจารยที่ลาศึกษาตอ จํานวน 534 คน คิดเปนรอยละ 55.62 (ตั้งแตรอยละ40 แตไมถึงรอยละ 60 ไดคะแนนระดับ 2)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว แตไมมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 3 (ตารางที่ 6.5) ตารางที่ 6.5 รอยละของอาจารยประจําทีม่ีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจําของกลุมสาขา

เกษตรศาสตร ตําแหนงทางวิชาการ

กลุมสาขาเกษตรศาสตร อาจารยทั้งหมดรวมศึกษาตอ

ปริญญาเอกหรือเทียบเทา

ปริญญาโทหรือ

เทียบเทา

ปริญญาตรีหรือ

เทียบเทา

ตํ่ากวาปริญญาตรี

รอยละของอาจารยประจํา ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ

เทียบเทา

ภาพรวม 534 297 229 8 0 55.62 คณะเกษตร 132 81 46 5 0 61.36 คณะประมง 69 32 37 0 0 46.38 คณะวนศาสตร 72 42 29 1 0 58.33 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 90 66 24 0 0 73.33 คณะเกษตร กําแพงแสน 138 76 60 2 0 55.07 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 33 0 33 0 0 0.00

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 666...444 รอยละของอาจารยประจําท่ีดํารงตําแหนงวิชาการ

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ ครอบคลุมตําแหนงศาสตราจารย รองศาสตราจารย และผูชวยศาสตราจารย จํานวน 93 คน เมื่อเทียบกับจํานวนอาจารยประจํา จํานวน 534 คน คิดเปนรอยละ 53.75 (ตั้งแตรอยละ 45 แตไมถึงรอยละ 70 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และไมมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 2 (ตารางที่ 6.6)

Page 52: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 48

ตารางที่ 6.6 รอยละของอาจารยประจําทีด่ํารงตําแหนงวิชาการของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

ตําแหนงทางวิชาการ กลุมสาขาเกษตรศาสตร อาจารย

ทั้งหมดรวมศึกษาตอ ศาสตราจารย รอง

ศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย

อาจารย

จํานวนอาจารยที่มีตําแหนง ทางวิชาการ ไมรวม ตําแหนงอาจารย

รอยละของอาจารยประจํา

ที่ดํารง ตําแหนงวิชาการ

ภาพรวม 534 15 118 154 247 287 53.75 คณะเกษตร 132 12 51 34 35 97 73.48 คณะประมง 69 1 12 23 33 36 52.17 คณะวนศาสตร 72 0 11 25 36 36 50.00 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 90 1 16 26 47 43 47.78 คณะเกษตร กําแพงแสน 138 1 28 45 64 74 53.62 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 33 0 0 1 32 1 3.03

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 666...555 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics)

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชพีคณาจารยทีม่หาวิทยาลัยไดมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย อยูที่ระดับ 3 (ตั้งแตระดับ 2 แตไมถึงระดับ 4)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4

โดยผลการประเมินพิจารณาจาก 1. สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร โดยมีคําสั่งแตงตั้ง

คณะทํางานหรือมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการศึกษาวิเคราะหเพื่อกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารยที่เหมาะสมกับมหาวิทยาลัย

2. มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณ โดยมีจัดทําคูมือจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย

3. มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ 4. มีระบบในการดําเนินการกับมีผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณ จากผลการประเมินการปฏิบัติตาม

จรรยาบรรณวิชาชีพ 5. มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิดจรรยาบรรณ

Page 53: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 49

ตัวบงชี้ตัวบงชี้ตัวบงชี้ 666...666 กระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคญัโดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบตัิและประสบการณจริง ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการจัดกระบวนการเรียนรูที่คํานึงถึงความแตกตางเฉพาะตวัของ

นิสิต และการจัดใหนิสิตมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูมากที่สุด เชน การเปดโอกาสใหผูเรียนไดคนควาวิจยัโดยอิสระในรูปโครงการวิจยัสวนบุคคล การเปดโอกาสใหผูเรียนมีโอกาสเลือกเรียนไดหลากหลายวชิาทั้งในและนอกคณะ การเปดรายวิชาเลือกเสรีที่ครอบคลุมองคความรูตางๆ จํานวนหนวยกิตหรือจํานวนชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบัติในหองปฏิบัตกิาร รวมทั้งมกีารฝกประสบการณภาคสนามอยางพอเพียง มกีารจัดสัมมนา จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทําโครงงาน มีการเรียนการสอนทางเครือขายคอมพิวเตอร (Internet) และมีหองสมุดและระบบสืบคนขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่เพียงพอทีจ่ะศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดดวยตนเอง โดยผลการประเมินพิจารณาจาก

1. คณาจารยมีความรูความเขาใจในเปาหมายของการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาอุดมศึกษา

2. คณาจารยมกีารวิเคราะหศกัยภาพของผูเรียนและเขาใจผูเรียนเปนรายบคุคล 3. คณาจารยมีความสามารถในการจัดประสบการณที่เนนผูเรียนเปนสําคญั 4. คณาจารยมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีในการพฒันาการเรียนรูของตนเองและผูเรียน 5. คณาจารยมกีารประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและ

อิงพัฒนาการของผูเรียน 6. คณาจารยมกีารนําผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนใหเต็มตาม

ศักยภาพ 7. คณาจารยมกีารวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการ เรียนรู ของผูเรียนและนําผลไปใชพัฒนาผูเรียน เมื่อพิจารณาผลการประเมินสาขาวิชาเกษตรศาสตร พบวามีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน

สําคัญโดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง อยูที่ระดับ 4.17 (ตั้งแตระดบั 2 แตไมถึงระดบั 5 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 2 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 4 ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 666...777 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีระดับความคดิเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพการสอนของอาจารยในแตละรายวิชา ในดานความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการถายทอดความรู การเตรียมเนื้อหา การบูรณาการ และความรูความสามารถของอาจารยผูสอน มีคาเฉล่ีย 3.75 คะแนน (คาเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.5)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5

Page 54: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 50

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 666...888 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษาตอจํานวนนักศึกษา เพื่อสงเสริมใหการเรียนและการศึกษาหาความรูของนิสิตเปนไปในทิศทางที่ถูกตองและมี

ผลสัมฤทธ์ิที่ดีขึ้น ตลอดจนสงเสริมใหนิสิตมีความพรอมสูการเปนพลเมืองดี สรางศักยภาพ สรางมูลคาเพิ่มและเสริมสรางประสบการณนอกชั้นเรียน สรางความเปนผูนํา สรางโอกาสในการไดงานทําหลังจบการศึกษา ซ่ึงคณะในกลุมสาขาเกษตรศาสตร ไดมีการจัดกิจกรรมสนับสนุนตางๆ เพื่อพัฒนานิสิต และปลูกฝงนิสิตใหมีความคิดสรางสรรค และใฝรูในดานวิชาการมากขึ้น โดยภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เขารวมกิจกรรม / โครงการพัฒนานักศึกษา จํานวน 5,965คน เมื่อเทียบกับจํานวนนักศึกษาทั้งหมด จํานวน 6,181 คน คิดเปนรอยละ 96.51 (มากกวาหรือเทากับรอยละ 60 )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 6.7)

ตารางที่ 6.7 จํานวนนิสิตที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาของกลุมสาขาเกษตรศาสตร

กลุมสาขาเกษตรศาสตร นิสิตที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานิสิต

นิสิตปริญญาตรีท้ังหมด รอยละนิสิตที่รวมโครงการ

ภาพรวม 5,965 6,181 96.51 คณะเกษตร 822 822 100 คณะประมง 789 789 100 คณะวนศาสตร 864 864 100 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 1,136 1,352 84.02 คณะเกษตร กําแพงแสน 1,803 1,803 100 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 551 551 100

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 666...999 คาใชจายท้ังหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา

ภาพรวมกลุมสาขาเกษตรศาสตร มีคาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ จํานวน 37,879,259.57 บาท เมื่อเทียบกับจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาระดับปริญญาตรี จํานวน 5113.7 คน คิดเปนสัดสวนเทากับ 7407.41 บาท/คน (มากกวาหรือเทากับ 7,000 บาท/คน )ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5 (ตารางที่ 6.8)

Page 55: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 51

ตารางที่ 6.8 จํานวนนิสิตที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาของกลุมสาขาเกษตรศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร จํานวนนิสติเต็มเวลา

เทียบเทา คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ

คาใชจายตอจํานวนนิสิต

ภาพรวม 5,113.70 37,879,259.57 7,407.41 คณะเกษตร 1,124.00 6,241,436.64 5,552.88 คณะประมง 389.60 3,203,244.96 8,221.88 คณะวนศาสตร 449.80 5,978,787.96 13,292.10 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 440.90 5,400,335.93 12,248.44 คณะเกษตร กําแพงแสน 2,185.95 13,810,189.35 6,317.71 คณะทรัพยากรธรรมชาติฯ สกลนคร 523.45 3,245,264.73 6,199.76

มาตาฐานที่ มาตาฐานที่ มาตาฐานที่ 7 7 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ ดานระบบการประกันคุณภาพ ดานระบบการประกันคุณภาพ สมศ. กําหนดตัวบงชี้ในมาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพไวจํานวน 2 ตัวบงชี้ โดยมีผล

การประเมินในภาพรวมของมาตรฐานที่ 7 เทากับ 5.00 คะแนน อยูในเกณฑดีมาก สําหรับรายละเอียดผลการประเมินแสดงไดดังตารางที่ 7.1

ตารางที่ 7.1 ผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกนัคุณภาพ ในแตละตัวบงชีข้องกลุมสาขา

เกษตรศาสตร ผลลัพธ ปการศึกษา ผลการประเมิน

(คะแนนเต็ม 3) เกณฑการประเมิน ตัว

บงช้ี 2544 2547 2548

เปาหมาย ป 2548

2544 2547 2548

ประเมินตามเปาหมาย

ประเมินพัฒนาการ

ผลประเมิน

2548

ผลตาม คาถวงน้ําหนัก

คาถวงน้ําหนัก

1 2 3 7.1

1.67 3.50 5.00 4 1 2 3 1 1 5 50 10 2 3 4

7.2

1.50 3.33 4.17 4 1 2 3 1 1 5 50 10 2 3 4

รวม 2 4 6 2 2 100 20

หมายเหต ุ หมายถึง ตัวบงช้ีของ สมศ. ที่มีความสัมพันธกับตัวช้ีวัดของ ก.พ.ร.

จากตารางที่ 1.1 พบวากลุมสาขาเกษตรศาสตรมีผลการประเมินสวนใหญอยูในเกณฑดีมากทั้ง 2 ตัวบงชี้ รายละเอียดของการประเมินรายตัวบงชี้ สรุปไดดังนี้

Page 56: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 52

ตารางที่ 7.2 ผลการประเมินรายคณะตามมาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคณุภาพ ในแตละตัวบงชี้

คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร

คณะอุตสาหกรรม

เกษตร

คณะเกษตร กําแพงแสน

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

สกลนคร

รวม ตัวบงช้ี

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548 7.1 3.00 5.00 3.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 0.00 5.00 3.50 5.00 7.2 3.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 5.00 5.00 4.00 4.00 0.00 4.00 3.33 4.17

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 777...111 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาคณุภาพการศึกษาอยาง

ตอเนื่อง กลุมสาขาเกษตรศาสตร มีการกําหนดระเบียบ วิธีการ ขั้นตอน บคุลากร งบประมาณ และการ

ประเมินคุณภาพภายใน เพื่อการประกันคณุภาพการศึกษาของหนวยงานตามที่มหาวทิยาลัยไดกําหนดไว โดยมีระบบและกลไกตางๆ ที่สนับสนุนใหเกดิการประกันคณุภาพการศึกษาภายใน เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพตามที่ไดกําหนดไว โดยผลการประเมินพิจารณาจาก

1. มีวิธีและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน 2. มีการกําหนดมาตรฐานและตัวบงชี้ของสถาบันที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษา

ระดับอุดมศึกษา และเอกลักษณของสถาบันครอบคลุมปจจัยที่มีผลตอคุณภาพอยางครบถวน ทั้งปจจัยนําเขา กระบวนการจัดการศึกษา และผลผลิต สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก และเทียบระดับ (Benchmarking)

3. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพทีส่มบูรณประกอบดวย การพฒันาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินคณุภาพอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป

4. มีการพัฒนาระบบประกนัคณุภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่เหมาะสมสอดคลองกับแนวทางการจัดการศึกษาของสถาบัน โดยไดรับการสนับสนุนจากตนสังกัดและการมีสวนรวมในการประกันคณุภาพจากทกุภาคีทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะการมีสวนรวมของชุมชน

5. มีการนําเอาผลจากการประเมนิคุณภาพภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานตามพนัธกิจใหเกิดผลด ี

เมื่อพิจารณาผลการประเมินภาพในกลุมสาขาเกษตรศาสตร พบวา มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยูในเกณฑระดับ 5.00 (มากกวาระดับ 4) ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5

Page 57: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 53

ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 777...222 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน

การประเมินประสิทธิผลของการประกันคณุภาพภายในของกลุมสาขาเกษตรศาสตร ซ่ึงพิจารณาจากการดําเนินงานของการประกันคณุภาพภายในของหนวยงานที่ไดนํามาใชเพื่อพฒันาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีการนําเอาผลการประเมินคุณภาพภายในมาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานใหเกดิผลดียิ่งขึ้น โดยผลการประเมินพิจารณาจาก

1. มีการดําเนินการตามระบบและกลไกในการประกันคณุภาพภายในระดบักลุมสาขาอยางตอเนื่อง

2. มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายใน โดยสอดคลองตามพันธกจิของกลุมสาขาวิชา 3. มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในตอคณะกรรมการบริหารคณะวิชาและหนวยงานที่

เกี่ยวของ 4. มีการนําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการดําเนนิงานของหนวยงานอยางตอเนื่อง 5. นวัตกรรมดานการประกนัคุณภาพที่สาขาวิชาพัฒนาขึน้หรือการปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best

Practice) หรือการเปนแหลงอางอิงของกลุมสาขาอื่นๆ กลุมสาขาเกษตรศาสตรมีการดําเนินการตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง

เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยูตลอดเวลา ดังจะเห็นจากผลการดําเนินงานในตัวบงชี้ที่ 7.1 ซ่ึงมีความเกี่ยวโยงมาถึงการดําเนินงานในตัวบงชี้ที่ 7.2 กลาวคือ มีการนําผลการประเมินมาจัดทําแผนพัฒนาปรับปรุงพรอมทั้งรายงานผลการพัฒนาปรับปรุงใหกับมหาวิทยาลัยทราบ นอกจากนี้ยังมีการคนหาแนวปฏิบัติที่ดีของกลุมสาขาเพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน กอใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ยังมีบางคณะวิชาของแตละวิทยาเขตที่เร่ิมดําเนินการดานการประกันคุณภาพในระยะเริ่มตน จึงอาจทําใหประสิทธิผลของการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพภายในของกลุมสาขา ไดระดับคะแนน 4.17 (มากกวาระดับ 4)ไดคะแนนตามเกณฑ สมศ. ระดับ 3 ผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายของกลุมสาขาที่กําหนดไว และมีพัฒนาการเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2544 ทําใหผลการประเมินรวม เทากับ 5

Page 58: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 54

Page 59: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 55

บทที ่ 3 การวิเคราะหตนเอง กลุมสาขาเกษตรศาสตร

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ จากผลการประเมินคณุภาพตามตัวบงชี้ของ สมศ. ในภาพรวมของแตละมาตรฐานกลุมสาขาเกษตรศาสตร

ไดจัดทําแผนพัฒนาปรับปรุง ตาม 7 มาตรฐาน โดยใชขอมูลจากรายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงในแตละสวนมาวิเคราะหจดุแข็ง จดุที่ควรพัฒนา เพื่อนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพโดยมีรายละเอียดดังนี ้

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต ตัวบงชี้ท่ี 1.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ตัวบงชี้ท่ี 1.2 รอยละของบัณฑิตระดับปริญ-ญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาที่สําเร็จการศึก-ษา และประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ตัวบงชี้ท่ี 1.3รอยละของบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ ตัวบงชี้ท่ี 1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการและผูใชบัณฑิต

จุดแข็ง - มีบัณฑิตที่สามารถหางานทําไดภายใน 3 เดือนคิดเปนรอยละ 66 - เงินเดือนเฉลี่ยเริ่มตนของบัณฑิตสูงกวาเกณฑที่กําหนด - บัณฑิตมีคุณภาพตรงตามความตองการของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต - มีจํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่จบการศึกษาไมเกิน 3 ปที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในรอบ 3 ปที่ผานมา อยูในเกณฑสูง - อาจารยที่ปรึกษามีความสามารถ มีโครงการวิจัยที่ดี - นิสิตมีคุณภาพ

จุดที่ควรพัฒนา - ควรมีการเก็บขอมูลเพิ่มเติมดานการไดงานทําตรงตามสาขาที่สําเร็จการศึกษา

แผนพัฒนาปรับปรุง - ทําการเก็บขอมูลเพิ่มเติมดานการไดงานทําตรงตามสาขาที่สําเร็จการศึกษา

- มีความสามารถในการหาทุนสนับสนุนงานวิจัยและการตีพิมพเผยแพร

Page 60: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 56

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง ตัวบงชี้ท่ี 1.5 จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่จบการศึกษา ไมเกิน 3 ป ที่ไดรับการประ-กาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในรอบ 3 ปที่ผานมา (คน) ตัวบงชี้ท่ี 1.6 จํานวนวทิยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปที่ผานมา (ช้ินงาน) ตัวบงชี้ท่ี 1.7 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด ตัวบงชี้ท่ี 1.8 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด

- มีหลักสูตรรวมกับสถาบนัตางประเทศ

มาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค ตัวบงชี้ท่ี 2.1 รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา

จุดแข็ง - คณาจารยมีศักยภาพสูงในการทําวิจัย - มีหนวยงาน(สวพ)สนับสนุนและใหทุนวิจัยเผยแพร - มีหนวยงาน(ศรอ. และสาํนักสงเสริมฯ)สนับสนุนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน

จุดที่ควรพัฒนา - ควรสนับสนุนใหอาจารยเปนหัวหนาโครงการวิจัยยอย ในชุดโครงการวิจัยใหมากขึ้น - ควรหาทุนวิจัยจากภายนอกใหมากขึ้น

Page 61: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 57

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง ตัวบงชี้ท่ี 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา (บาท) ตัวบงชี้ท่ี 2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา (บาท) ตัวบงชี้ท่ี 2.4 รอยละของอาจารยประจําที่รับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 2.5 รอยละของอาจารยประจําที่รับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 2.6 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 2.7 จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตรในรอบ 5 ปที่ผานมา (ช้ินงาน)

- คณะ ฯ มีกองทุนสนับสนุนงานวิจัยของนักวิจัยรุนใหม - คณาจารยมีความสามารถในการหาทุนสนับสนุนงานวิจัย - คณาจารย คณะวิชา และมหาวิทยาลัยเปนที่ยอมรับทางวิชาการจากภายนอก - งานวิจัยมีคุณภาพและเปนที่ยอมรับ - อาจารยมีความสามารถในการพัฒนาผลงานนวัตกรรม - มีหนวยงานสนับสนุนการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร

Page 62: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 58

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ ตัวบงชี้ท่ี 3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตออาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 3.2 รอยละของอาจารยที่เปนปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบันเปนกรรมการวิชาการ และกรรมการวิชาชีพในระดับชาติและนานาชาติ ตออาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) ตัวบงชี้ท่ี 3.4 คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 3.5 จํานวนแหลงใหบริการวิชาการและวิชาชีพที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (จํานวนศูนยเครือขาย) ตัวบงชี้ท่ี 3.6 รายรับของสถาบันในการบรกิารวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบันตออาจารยประจํา (บาท)

จุดแข็ง - มีกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพ ที่หลากหลาย มีหนวยงานในระดับคณะวิชาที่สนับสนุนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพ - มีบุคลากรที่มีศักยภาพและเพียงพอใน การใหบริการทางวิชาการ - มีนโยบายสงเสริมใหบุคลากรไดเปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบันเปนกรรมการวิชาการ และกรรมการวิชาชีพในระดับชาติและนานาชาติ - คณาจารยใหบริการวิชาการตรงตามสาขาที่เช่ียวชาญ - มีการใหบริการทางวิชาการและวิชาชีพมาก - มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อตอบสนองการใหบริการการใหวิชาการและวิชาชีพ

Page 63: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 59

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง ตัวบงชี้ท่ี 3.7 ระดับความสําเร็จในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน (ระดับ)

มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบงชี้ท่ี 4.1 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษา ตัวบงชี้ท่ี 4.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ ตัวบงชี้ท่ี 4.3 มีผลงาน หรือช้ินงานการพัฒนาองคความรู และสรางมาตรฐานศิลปะ และวัฒนธรรม (ช้ิน) ตัวบงชี้ท่ี 4.4 ประสิทธิผลในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรม (ระดับ)

จุดแข็ง - มีการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอสําหรับการจัดกิจกรรมรอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม 1.ขอเสนอแนะ - (จากการที่สมศ. คิดจํานวนกิจกรรมตอจํานวนนิสิตเต็มเวลา ทําใหผลการดําเนินงานต่ํา เนื่องจากนิสิตเต็มเวลามีจํานวนนอยกวา )

มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ตัวบงชี้ท่ี 5.1 สภาสถาบัน/กรรมการประจําคณะและผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ขับเคลื่อนพันธกิจและสามารถสะทอนถึง นโยบาย วัตถุประสงค

จุดแข็ง - มีความสามารถในการบริหารทรัพยากร

จุดที่ควรพัฒนา - ควรมีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล

Page 64: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 60

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง และนําไปสูเปาหมายของการบริการจัดการที่ดี มีการบริหารแบบมีสวนรวม เนนการกระจายอํานาจ โปรงใส และตรวจสอบได รวมทั้งมีความสามารถในการผลักดันสถาบันใหสามารถแขงขันไดในระดับสากล (ขอ) ตัวบงชี้ท่ี 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ) ตัวบงชี้ท่ี 5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เช่ือมโยงกับยุทธศาสตรชาติ (ระดับ) ตัวบงชี้ท่ี 5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน (ระดับ) ตัวบงชี้ท่ี 5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย (ระดับ) ตัวบงชี้ท่ี 5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษา (บาทตอคน) ตัวบงชี้ท่ี 5.7 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษา (รอยละของเกณฑปกติ) ตัวบงชี้ท่ี 5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ (รอยละของงบดําเนินการ)

- มีความสามารถในการบริหารเงินคาใชจายไดเปนไปตามเกณฑ - คณาจารยมีความกระตือรือรนในการพัฒนาความรู - คณาจารยมีผลงานทางวิชาการเปนจํานวนมาก - คณะมีทุนสนับสนุน - คณะใหความสําคัญในการพัฒนาคณาจารย

และประเมินความพึงพอใจ

Page 65: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 61

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง ตัวบงชี้ท่ี 5.9 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและตางประเทศ ตัวบงชี้ท่ี 5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตออาจารยประจํา (บาทตอคน) ตัวบงชี้ท่ี 5.11 รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ

มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน ตัวบงชี้ท่ี 6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด ตัวบงชี้ท่ี 6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา (รอยละของเกณฑปกติ) ตัวบงชี้ท่ี 6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา ตัวบงชี้ท่ี 6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ ตัวบงชี้ท่ี 6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics) (ระดับ)

จุดแข็ง - มีระบบในการจัดทําหลักสูตรใหไดมาตรฐาน - อาจารยมีความเอาใจใสตอการเรียนการสอน และนิสิต - มีระบบผลักดันใหนิสิตเขารวมกิจกรรมในระดับมหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชา - คณะใหความสําคัญในการจัดระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศ - คณะสนองนโยบายการเปน e-university ของมหาวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนา - ควรมีการสงเสริมใหอาจารยศึกษาตอในระดับปริญญาเอก - ควรมีการผลักดันใหอาจารยขอตําแหนงทางวิชาการ

Page 66: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 62

มาตรฐาน/ตัวบงชี้ จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาปรับปรุง ตัวบงชี้ท่ี 6.6 กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง ตัวบงชี้ท่ี 6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู ตัวบงชี้ท่ี 6.8 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา ตัวบงชี้ท่ี 6.9 คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา (บาทตอคน) มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ ตัวบงชี้ท่ี 7.1 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง (ระดับ) ตัวบงชี้ท่ี 7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน (ระดับ)

จุดแข็ง - มีการดําเนินการดานการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง - มีสํานักประกันฯสนับสนุนการดําเนินงานดานประกันคุณภาพของคณะ - มีการนําผลการประเมินไปกําหนดแผนพัฒนาปรับปรุง

Page 67: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 63

การติดตามแผนพัฒนาปรับปรุงจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก จากคณะผูประเมินภายนอกสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2547 และไดรับรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก จากคณะผูประเมินฯ เมื่อวันที ่19 พฤษภาคม 2548 นั้น ซ่ึงในรายงานผลการประเมินฯ ดังกลาว คณะผูประเมนิฯ ไดใหขอเสนอแนะตามรายหนวยงาน ซ่ึงคณะวิชาในกลุมสาขาเกษตรศาสตร ที่ไดรับขอเสนอแนะจาก สมศ. จํานวน 4 หนวยงาน คือ คณะเกษตร คณะประมง คณะวนศาสตร และคณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน โดยมหีนวยงานทีไ่ดจัดทําแผนพฒันาปรับปรุงตามขอเสนอแนะจากรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก ตามแบบฟอรม สปค.01 และรายงานผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงที่ไดนําเสนอในแบบฟอรม สปค.01 จํานวน 3 คณะคือ คณะประมง คณะวนศาสตร และคณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสนโดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 68: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 64

Page 69: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 65

Page 70: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 66

Page 71: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 67

Page 72: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 68

Page 73: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 69

Page 74: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 70

ภาคผนวก

Page 75: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 71

ภาคผนวก ก

สถิติขอมูล ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สวนนี้ประกอบดวยเอกสารเพิ่มเติมของกลุมสาขาเกษตรศาสตร เพื่อเปนหลักฐานในการประเมินคุณภาพ ตามมาตรฐานและตัวบงชี้ของ สมศ. ซึ่งเปนขอมูลพื้นฐานตางๆ ในเรื่อง จํานวนหลักสูตร อาจารย นิสิต ปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน งานวิจัย/งานสรางสรรค การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม งบประมาณ การพัฒนาสถาบันและบุคลากร ฯลฯ รายละเอียดดังตารางตอไปนี้

ขอมูลพื้นฐาน ปการศึกษา 2544 ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548

1. จํานวนกลุมสาขาวิชาที่เปดสอนในสถาบัน (โปรดระบุรายละเอียด แยก worksheet ตางหาก)

6 9 9

2. จํานวนและรายชื่อหลักสูตรที่เปดสอน 47 92 99

2.1 จํานวนและรายชื่อหลักสูตรที่เปดสอนระดับปริญญาตรี

18 23 23

2.2 จํานวนและรายชื่อหลักสูตรที่เปดสอนระดับปริญญาโท

15 45 48

2.3 จํานวนและรายชื่อหลักสูตรที่เปดสอนระดับปริญญาเอก

12 23 27

2.4 จํานวนและรายชื่อหลักสูตรที่เปดสอนระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

0 0 1

2.5 จํานวนหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตามเกณฑ สกอ. 47 92 99

*3. จํานวนอาจารยประจํา 467 517 534 3.1 อาจารยขาราชการ (กรณีสถาบันอุดมศึกษาสังกัดรัฐบาล)

411 393 359

3.2 อาจารยพนักงาน 33 85 125 3.3 อาจารยสัญญาจาง (ต้ังแต 9 เดือนขึ้นไป) 2 0 0

3.4 จํานวนอาจารยที่ลาศึกษาตอ 21 39 50

4. วุฒิการศึกษาของอาจารยประจํา (ใหนับรวมอาจารยประจําตามขอ 3)

467 517 534

4.1 ปริญญาเอกหรือเทียบเทา 235 285 297

Page 76: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 72

ขอมูลพื้นฐาน ปการศึกษา 2544 ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548

4.2 ปริญญาโทหรือเทียบเทา 189 222 229 4.3 ปริญญาตรีหรือเทียบเทา 43 10 8 4.4 ตํ่ากวาปริญญาตรี 0 0 0

5. ตําแหนงทางวิชาการของอาจารยประจํา 467 517 534 5.1 ศาสตราจารย 20 13 15 5.2 รองศาสตราจารย 124 130 118 5.3 ผูชวยศาสตราจารย 121 144 154 5.4 อาจารย 202 230 247 6. จํานวนนักศึกษาทั้งหมด 7,437 7,482 7,920 6.1 ระดับปริญญาตรี 5,696 6,225 6,181 6.1.1 ภาคปกติ 5,365 5,931 5,873 6.1.2 ภาคพิเศษ 331 294 308 6.2 ระดับปริญญาโท 1,501 992 1,449 6.2.1 ภาคปกติ 1,220 750 1,218 6.2.2 ภาคพิเศษ 281 242 231 6.3 ระดับปริญญาเอก 218 232 270 6.3.1 ภาคปกติ 218 170 226 6.3.2 ภาคพิเศษ 0 62 44 6.4 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 0 0 0 6.4.1 ภาคปกติ 0 0 0 6.4.2 ภาคพิเศษ 0 0 0 7. บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาทั้งหมด 1,401 1,668 1,880 7.1 ระดับปริญญาตรี 1,087 1,319 1,457 7.1.1 ภาคปกติ 970 1,260 1,408 7.1.2 ภาคพิเศษ 117 59 49 7.2 ระดับปริญญาโท 279 287 358 7.2.1 ภาคปกติ 234 224 311 7.2.2 ภาคพิเศษ 45 63 47 7.3 ระดับปริญญาเอก 13 62 45

Page 77: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 73

ขอมูลพื้นฐาน ปการศึกษา 2544 ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548

7.3.1 ภาคปกติ 13 52 38 7.3.2 ภาคพิเศษ 0 10 7 7.4 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 0 0 0 7.4.1 ภาคปกติ 0 0 0 7.4.2 ภาคพิเศษ 0 0 0 8. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ป (เทียบกับบัณฑิตที่กรอกแบบสํารวจเทานั้น)

667 627 627

9. จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดทํางานตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา (ขอมูลสํารวจ)

0 173 173

10.จํานวนนิสิตที่ไดเงินเดือนตามเกณฑ (ขอมูลสํารวจ) 667 627 627 11. จํานวนนักศึกษา หรือศิษยเกาที่จบการศึกษาไมเกิน 3 ป ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรอืรางวัลทางวิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ในรอบ3 ป ที่ผานมา

0 12 36

12. จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา

0 24 32

13. จํานวนวิทยานิพนธทั้งหมด 188 456 370 13.1 วิทยานิพนธระดับปริญญาโท 175 359 328 13.2 วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก 13 97 42 14. จํานวนวิทยานิพนธที่ตีพิมพเผยแพร 56 255 245 14.1 บทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาโทที่ตีพิมพ เผยแพร

49 158 176

14.2 บทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพร

7 97 69

15. จํานวนงานวิจัย และงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ

177 409 507

Page 78: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 74

ขอมูลพื้นฐาน ปการศึกษา 2544 ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548

16. จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของสถาบัน

42,986,160 74,255,279 113,192,093

17. เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสรางสรรคของจากภายนอกสถาบัน

96,184,148 159,178,569 180,511,237

18. จํานวนอาจารยประจําที่รับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค 0 157 339

19. จํานวนอาจารยประจําที่รับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบัน

0 130 229

20. จํานวนอาจารยประจําที่รับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบัน

0 132 170

21. จํานวนบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

29 32 310

22. จํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ในรอบ 5 ปที่ผานมา

6 24 32

23. จํานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ

339 163 297

24. จํานวนอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ และกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

0 148 272

25. คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคม

0 4,563,555 9,276,723

26. จํานวนแหลงใหบริการวิชาการและวิชาชีพที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ

0 118 26

27. รายรับของสถาบันในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบัน

0 43,754,624 133,054,913

28. จํานวนกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม

6 169 289

29. คาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม

400,732 4,003,599 6,225,608

Page 79: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 75

ขอมูลพื้นฐาน ปการศึกษา 2544 ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548

30. สินทรัพยถาวร 0 0 371,725,728 31. คาใชจายทั้งหมด 500,363,100 709,950,375 693,348,380 32. งบดําเนินการทั้งหมด 413,048,540 297,253,446 209,640,853 33. เงินเหลือจายสุทธ ิ 73,599,246 154,201,799 64,368,194 34. เงินรายรับทั้งหมด 573,962,346 713,030,477 679,368,101 35. งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศ

0 2,621,423 9,510,730

36. จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและตางประเทศ

0 222 409

37. จํานวนของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา

3,794 4,359 5,965

38. คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา

110,823,806 136,132,657 37,879,260

39. จํานวนบุคลากรสายสนับสนุน ( เฉพาะที่บรรจุที่คณะ) 184 432 562 40. จํานวนอาจารยที่ไดเขาประชุมวิชาการ 117 155 332 41. จํานวนนิสิตเต็มเวลา (เฉพาะ ป.ตรี) 2,607 5,806 5,114 42. จํานวนนิสิตเต็มเวลา (ป. โท และ เอก) 1,221 1,345 1,174 42. ระดับความพึงพอใจของนายจาง/ผูประการ 0 0.00 3.53 43. จํานวนบัณฑิตผูตอบแบบสํารวจ 1,238 1,174 1,174 44. จํานวนบัณฑิตศึกษาตอ 0 225 225 44. มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) (ม. 3.3)

2 3 4

45. สภาสถาบัน/กรรมการประจําคณะและผูบริหารมีวิสัยทัศนที่ขับเคลื่อนพันธกิจและสามารถสะทอนถึง นโยบาย วัตถุประสงคและนําไปสูเปาหมายของการบริการจัดการที่ดี มีการบริหารแบบมีสวนรวม เนนการกระจายอํานาจ โปรงใส และตรวจสอบได รวมทั้งมีความสามารถในการผลักดันสถาบันใหสามารถแขงขันไดในระดับสากล (ขอ) (5.1)

1 3 4

Page 80: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 76

ขอมูลพื้นฐาน ปการศึกษา 2544 ปการศึกษา 2547 ปการศึกษา 2548

46. มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ) (ม. 5.2)

2 3 3

47. มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เช่ือมโยงกับยุทธศาสตรชาติ (ระดับ) (ม. 5.3)

1 2 3

48. การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน (ระดับ) (ม. 5.4)

1 2 2

49. ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย (ระดับ) (ม. 5.5)

1 2 2

50. การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย (Professional Ethics) (ระดับ) (ม 6.5)

1 2 3

51. กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง (ม 6.6)

1 3 4

52. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู (ม. 6.7)

2 3 4

5.3 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง (ระดับ) (ม. 7.1)

2 4 5

54. ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน (ระดับ) (ม 7.2)

2 3 4

Page 81: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 77

ภาคผนวก ข

รายนามผูบริหาร และคณะกรรมการประกันคุณภาพ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คณะเกษตรคณะเกษตร

รายนามผูบรหิาร ศาสตราจารย ดร.ธรรมศักดิ์ สมมาตย คณบดีคณะเกษตร รองศาสตราจารย ดร.บัญญัติ เศรษฐฐิต ิ รองคณบดีฝายพัฒนา รองศาสตราจารย ดร.สมนึก วงศทอง รองคณบดีฝายวิชาการ รองศาสตราจารย ดร.ประภา ศรีพิจิตต รองคณบดีฝายวิจยั ผูชวยศาสตราจารย ดร.ขจีจรัส ภิรมยธรรมศิริ รองคณบดีฝายบริการวิชาการ รองศาสตราจารย ดร.สมศิริ แสงโชติ รองคณบดีฝายประกนัคุณภาพ นางสุภาภรณ ธรรมสโรช เลขานุการคณะเกษตร

คณะกรรมการบริหารการประกันคุณภาพการศึกษา

คณบดีคณะเกษตร ประธานกรรมการ รองคณบดีฝายพัฒนา รองประธานฯ คนที่ 1 รองคณบดีฝายวิชาการ รองประธานฯ คนที่ 2 รองคณบดีฝายบริการวิชาการ กรรมการ รองคณบดีฝายวิจยั กรรมการ หัวหนาภาควชิากีฏวิทยา กรรมการ หัวหนาภาควชิาเกษตรกลวธิาน กรรมการ หัวหนาภาควชิาคหกรรมศาสตร กรรมการ หัวหนาภาควชิาปฐพีวิทยา กรรมการ หัวหนาภาควชิาพืชไรนา กรรมการ หัวหนาภาควชิาพืชสวน กรรมการ หัวหนาภาควชิาโรคพืช กรรมการ หัวหนาภาควชิาสงเสริมและนิเทศศาสตรเกษตร กรรมการ หัวหนาภาควชิาสัตวบาล กรรมการ ผูแทนคณาจารยคณะเกษตร กรรมการ เลขานุการคณะเกษตร กรรมการ

Page 82: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 78

รองคณบดีฝายประกนัคุณภาพ กรรมการและเลขานุการ นายบําเพ็ญ ไชยชนะ กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวเตือนใจ สุขเจริญ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา

ศาสตราจารย ดร.ธรรมศักดิ์ สมมาตย ที่ปรึกษา ดร.ประสิทธิ์ ทองไสว ที่ปรึกษา รองคณบดีฝายประกนัคุณภาพ ประธานกรรมการ รองคณบดีฝายวิชาการ รองประธานกรรมการ รองศาสตราจารย ดร.จริยา จนัทรไพแสง กรรมการ ผูชวยศาสตราจารยทนง ปทมุพงษ กรรมการ ผูชวยศาสตราจารยสุธีลักษณ ไกรสุวรรณ กรรมการ ดร.สุเทพ ทองแพ กรรมการ รองศาสตราจารย ดร.ประภา ศรีพิจิตต กรรมการ อาจารยพัชรียา บุญกอแกว กรรมการ รองศาสตราจารย ดร.อําไพวรรณ ภราดรนวุัฒน กรรมการ อาจารยพนามาศ ตรีวรรณกลุ กรรมการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรรณวดี โสพรรณรัตน กรรมการ นางสุภาภรณ ธรรมสโรช กรรมการและเลขานุการ นายบําเพ็ญ ไชยชนะ กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวเตือนใจ สุขเจริญ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

คณะประมงคณะประมง รายนามผูบรหิาร

รศ.ดร.ยนต มสิุก คณบดีคณะประมง รศ.ดร.นงนุช รักสกุลไทย รองคณบดีฝายบริหาร ผศ.ธีระ เล็กชลยุทธรอง คณบดีฝายพัฒนา รศ.ดร.ประทักษ ตาบทิพยวรรณ รองคณบดีฝายวิชาการ ผศ.ดร.นนทวทิย อารียชน รองคณบดีฝายวิจยั ผศ.ดร.พงษเทพ วิไลพันธ รองคณบดีฝายวางแผน ผศ.ดร.สุริยัน ธัญกิจจานุกจิ รองคณบดีฝายศูนยและสถานีวิจยั ดร.วรัณทัต ดลุยพฤกษ รองคณบดีฝายกิจการนิสิต

Page 83: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 79

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา คณบดีคณะประมง ประธานกรรมการ รองคณบดีฝายบริหาร รองประธานกรรมการ รองคณบดีฝายพัฒนา กรรมการ รองคณบดีฝายวิชาการ กรรมการ รองคณบดีฝายวิจยั กรรมการ รองคณบดีฝายวางแผน กรรมการ รองคณบดีฝายศูนยและสถานีวิจยั กรรมการ รองคณบดีฝายกิจการนิสิต กรรมการ หัวหนาภาควชิาการจัดการประมง กรรมการ หัวหนาภาควชิาชีววิทยาประมง กรรมการ หัวหนาภาควชิาผลิตภัณฑประมง กรรมการ หัวหนาภาควชิาเพาะเลี้ยงสตัวน้ํา กรรมการ หัวหนาภาควชิาวิทยาศาสตรทางทะเล กรรมการ เลขานุการคณะประมง กรรมการและเลขานุการ หัวหนางานบริการการศึกษา ผูชวยเลขานุการ น.ส.ดวงพร นาคะปกษิณ ผูชวยเลขานุการ

คณะวนศาสตรคณะวนศาสตร

รายนามผูบริหาร

อ.ดร.ดํารงค ศรีพระราม คณบดีคณะวนศาสตร อ.ดร.จงรัก วัชรินทรรัตน รองคณบดีฝายบริหาร ผศ.ดร.ลดาวัลย พวงจิตร รองคณบดีฝายการศึกษา อ.ดร.นิคม แหลมสัก รองคณบดีฝายวิจัย ผศ.ดร.วิจักขณ ฉิมโฉม รองคณบดีฝายวิเทศสัมพนัธและเทคโนโลยีสารสนเทศ อ.ดร.ปยวตัน ดิลกสัมพันธ รองคณบดีฝายกิจการนิสิต ผศ.ดร.วิวัฒน หาญวงศจิรวฒัน รองคณบดีฝายพัฒนาสถานวีิจัยและสถานฝีกนิสิต ผศ. ประสงค สงวนธรรม หัวหนาภาควิชาการจัดการปาไม อ.ดร. อุทัยวรรณ แสงวณิช หัวหนาภาควิชาชีววิทยาปาไม ผศ. ทรงกลด จารุสมบัติ หัวหนาภาควิชาวนผลิตภัณฑ ผศ.ดร. มณฑล จําเริญพฤกษ หวัหนาภาควิชาวนวัฒนวิทยา

Page 84: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 80

ผศ.ดร. พยัตติพล ณรงคะชวนะ หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมปาไม รศ.ดร. วิชา นิยม หัวหนาภาควิชาอนุรักษวิทยา นางพรรณี ดชีวย เลขานุการคณะวนศาสตร

รายชื่อคณะกรรมการ ฯ ประกันคุณภาพ รศ.ดร.สามัคคี บุณยะวัฒน ที่ปรึกษา ผศ.ดร.กาญจนเขจร ชูชีพ ที่ปรึกษา รองคณบดีฝายบริหาร ประธานกรรมการ รองคณบดีฝายกิจการนิสิต รองประธานกรรมการ รองคณบดีฝายการศึกษา กรรมการ รองคณบดีฝายพัฒนาสถานวีิจัยและสถานฝีกนิสิต กรรมการ รองคณบดีฝายวิเทศสัมพนัธและเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ รองคณบดีฝายวิจยั กรรมการ อ.รัชนี โพธิแทน กรรมการ อ.ดร.รองลาภ สุขมาสรวง กรรมการ ดร.ลภโชค ถาวรวงษ กรรมการ ผศ.สารัฐ รัตนะ กรรมการ อ.พิศุทธุ ศิริพันธุ กรรมการ อ.ดร.สคาร ทีจันทึก กรรมการ คุณพรรณี ดีชวย กรรมการ คุณวรรณา เปาทอง กรรมการ คุณเกื้อกูล อุตรารัชตกิจ กรรมการ คุณเยาวภา อนุจารวัฒน กรรมการ อ.ดร.รุงเรือง พูลศิริ กรรมการและเลขานุการ คุณลักขณา พนัธุวรวัฒน กรรมการและผูชวยเลขานุการ คุณธนกร เสริมสมัคร กรรมการและผูชวยเลขานุการ

คณะอุตสาหกรรมเกษตรคณะอุตสาหกรรมเกษตร

รายชื่อผูบริหาร รศ.ดร.สิรี ชัยเสรี คณบดีคณะอตุสาหกรรมเกษตร ผศ.ดร.เพ็ญแข วันไชยธนวงศ รองคณบดีฝายวิชาการ ผศ.ดร.ปาริฉัตร หงสประภาส รองคณบดีฝายวิจยั

Page 85: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 81

อาจารยสุขเกษม สิทธิพจน รองคณบดีฝายพัฒนาทรัพยากร ผศ.ดร.สมจิต สุรพัฒน รองคณบดีฝายวิเทศสัมพนัธและกิจการพเิศษ ดร.สุทธิพันธุ แกวสมพงษ รองคณบดีฝายกิจการนิสิต ดร.มาศอุบล ทองงาม ผูชวยคณบดีฝายกิจการนิสิต อาจารยปวริน สุรัสวดี ผูชวยคณบดีฝายประชาสัมพนัธ ดร.ชุติมา ไวศรายุทธ ผูชวยคณบดีฝายบริหารธุรกจิ ดร.ปรารถนา ปรารถนาดี ผูชวยคณบดีฝายสารสนเทศ ผศ.ดร.วาณ ี ชนเห็นชอบ หัวหนาภาควชิาเทคโนโลยีการบรรจุ ผศ.ดร.วิรัตน วาณิชยศรีรัตนา หัวหนาภาควชิาเทคโนโลยีชีวภาพ ผศ.ดร.ไพศาล วุฒิจํานงค หัวหนาภาควชิาพัฒนาผลิตภัณฑ ผศ.ดร.ธนะบูลย สัจจาอนนัตกุล หัวหนาภาควชิาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร อาจารยสําอาง จังไพบูลย หัวหนาภาควชิาวิทยาการสิ่งทอ ผศ.ดร.น้ําฝน ลําดับวงค หัวหนาโครงการจัดตั้งภาควิชาเทคโนโลยีทางกระบวนการเคมีและฟสิกส

ผศ.ดร.รวิพิมพ ฉวีสุข หัวหนาโครงการจัดตั้งภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

นางสุภาวด ี เศรษฐฐิต ิ เลขานุการคณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะกรรมการบริหารการประกันคุณภาพการศึกษา

คณบดีคณะอตุสาหกรรมเกษตร ประธานกรรมการ รองคณบดีฝายประกนัคุณภาพ กรรมการ รองคณบดีฝายวิชาการ กรรมการ หัวหนาภาควชิาเทคโนโลยีการบรรจุ กรรมการ หัวหนาภาควชิาเทคโนโลยีชีวภาพ กรรมการ หัวหนาภาควชิาพัฒนาผลิตภัณฑ กรรมการ หัวหนาภาควชิาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร กรรมการ หัวหนาภาควชิาวิทยาการสิ่งทอ กรรมการ ผูแทนคณาจารย กรรมการ เลขานกุารคณะอุตสาหกรรมเกษตร กรรมการและเลขานุการ นายชัชวาลย คังคายะ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

คณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคณุภาพการศกึษา

คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร ที่ปรึกษา นางสุคนธชืน่ ศรีงาม ประธานกรรมการ น.ส. ปริศนา สุวรรณาภรณ กรรมการ

Page 86: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 82

นายประมุข ภระกูลสุขสถติย กรรมการ นางสุพัณณี วรกิตสิทธิสาธร กรรมการ นางหทัยรัตน ริมคีรี กรรมการ น.ส. นิตยา ทับทมิทยั กรรมการ นางสุภาวด ี เศรษฐฐิติ กรรมการ น.ส.ชุติมา ไวศรายุทธ กรรมการ น.ส. ณัฐชนก อมรเทวภัทร กรรมการ นายชัชวาลย คังคายะ กรรมการและเลขานุการ น.ส. ศศิธร บุรินทรอุทัยกุล กรรมการและผูชวยเลขานุการ

คณะกรรมการดําเนินการประกันคณุภาพการศึกษา

คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร ที่ปรึกษา นางสุคนธชืน่ ศรีงาม กรรมการ น.ส ปริศนา สุวรรณาภรณ กรรมการ นายประมุข ภระกูลสุขสถติย กรรมการ นางสุพัณณี วรกิตสิทธิสาธร กรรมการ นางหทัยรัตน ริมคีรี กรรมการ น.ส.นิตยา ทบัทิมทยั กรรมการ น.ส.ชุติมา ไวศรายุทธ กรรมการ น.ส. ณัฐชนก อมรเทวภัทร กรรมการ นางสุภาวด ี เศรษฐฐิติ กรรมการ นายวรวุฒ ิ ฤทธิ์สนธิ ์ กรรมการ น.ส. อัญชฎา โบวสุวรรณ กรรมการ นายวนัชัย สุนทรวนิิต กรรมการ น.ส.นวรัตน สุพิชญางกูร กรรมการ น.ส.ณัฐฐิดา สงวนถอย กรรมการ น.ส. กนกพร เทียมปาน กรรมการ นายภานพ เพ็งแพ กรรมการ น.ส.บุศรา สีบัว กรรมการ น.ส.ฟารีดา เราะหมานีย กรรมการ นายชัชวาลย คังคายะ กรรมการและเลขานุการ น.ส. ศศิธร บุรินทรอุทยักุล กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 87: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 83

คณะทรัพยคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตรากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร

รายนามผูบรหิาร รศ.ดร. นิตยศรี แสงเดือน ดํารงตําแหนงรักษาราชการแทนคณบดี นางปยมาศ ผองแกว ผูชวยคณบดีฝายบริหารและกิจการพิเศษ นางสาวหทยัรัตน โชคทวีพานิชย ผูชวยคณบดีฝายจัดการศึกษาและพัฒนานสิิต นายเจษฎา เตชมหาศรานนท ผูชวยคณะบดฝีายวิจยัและบริการวิชาการ นายประภาษ กาวิชา หัวหนาสาขาวชิาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ นางสาวโศรยา แสนเมือง หัวหนาสาขาวชิาเทคโนโลยีการอาหาร นางนันทกาญจน เกดิมาลัย เลขานุการคณะ

คณะกรรมการประกันคุณภาพ

คณบด ี ที่ปรึกษา ผูชวยฝายบริหารและกิจการพิเศษ (นางปยมาศ) ประธานกรรมการ ผูชวยฝายจัดการศึกษาและพฒันานิสิต(นางสาวหทัยรัตน) รองประธานกรรมการ ผูชวยฝายวิจยัและบริการวิชาการ(นายเจษฎา) รองประธานกรรมการ หัวหนาสาขาวชิาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ(นายประภาษ) กรรมการ หัวหนาสาขาวชิาเทคโนโลยีการอาหาร(นางสาวโศรยา) กรรมการ เลขานุการคณะ(นางนันทกาญจน) กรรมการ นายธนพร ขจรผล กรรมการ นางสาวกานดา พันสุรินทร กรรมการ นางสาวสุพัตรา โพธิเศษ กรรมการ นางสาวหทยักานต วินจินยัภาค กรรมการ หัวหนางานประกันคณุภาพ (นางสาวปานชีวัน) กรรมการและเลขานุการ นางสาวสรญา วิรงค กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวอัญชัน ไตรธิเลน กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวอมรรัตน อุปพงศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวเสาวคนธ ดวนเทศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ นางสาวจิราวรรณ คลองแคลว กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 88: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 84

ภาคผนวก ค ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คําสั่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ 2096/2549

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประสานงานเพื่อรับการประเมินคุณภาพรอบสอง จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

เพื่อใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสามารถเตรียมรับการประเมินคุณภาพรอบสอง จากสํานกังานรับรองมาตรฐานและประเมนิคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปนไปดวยความเรียบรอย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จึงขอแตงตั้งคณะกรรมการประสานงานเพื่อรับการประเมินคุณภาพรองสองจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุภาพการศกึษา (สมศ.) โดยมรีายนามดังตอไปนี ้

1. อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ปรึกษา 2. รองอธิการบดีฝายบริหาร ที่ปรึกษา 3. รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา ที่ปรึกษา 4. รองอธิการบดีฝายวิชาการ ที่ปรึกษา 5. รองอธิการบดีฝายวิจยั ที่ปรึกษา 6. รองอธิการบดีฝายบริการวิชาการ ที่ปรึกษา 7. รองอธิการบดีฝายทรัพยสิน ที่ปรึกษา 8. รองอธิการบดีฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ปรึกษา 9. รองอธิการบดีฝายกิจการพิเศษ ที่ปรึกษา 10. รองอธิการบดีฝายกิจการนิสิต ที่ปรึกษา 11. รองอธิการบดีฝายวเิทศสัมพนัธ ที่ปรึกษา 12. รองอธิการบดีวิทยาเขตกําแพงแสน ที่ปรึกษา 13. รองอธิการบดีวิทยาเขตศรีราชา ที่ปรึกษา 14. รองอธิการบดีวิทยาเขตเฉลิมพระเกยีรติ จังหวัดสกลนคร ที่ปรึกษา 15. รองอธิการบดีฝายพัฒนาวิทยาเขต ที่ปรึกษา

Page 89: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 85

16. รองอธิการบดีฝายประกันคณุภาพ ประธานกรรมการ 17. ผูชวยอธิการบดีฝายประกนัคณุภาพ รองประธานกรรมการ 18. ผูชวยอธิการบดีฝายบริหาร กรรมการ 19. ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ กรรมการ 20. ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขตกําแพงแสน กรรมการ 21. ผูชวยอธิการบดีศรีราชา กรรมการ 22. ผูชวยอธิการบดีวิทยาเขตเฉลิมพระเกยีรติ จงัหวัดสกลนคร กรรมการ 23. คณบดีคณะเกษตร กรรมการ 24. คณบดีคณะเกษตร กําแพงแสน กรรมการ 25. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการ 26. คณบดีคณะประมง กรรมการ 27. คณบดีคณะมนุษยศาสตร กรรมการ 28. คณบดีคณะวนศาสตร กรรมการ 29. คณบดีคณะวทิยาศาสตร กรรมการ 30. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กรรมการ 31. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร กําแพงแสน กรรมการ 32. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร ศรีราชา กรรมการ 33. คณบดีคณะศลิปศาสตรและวิทยาศาสตร กรรมการ 34. คณบดีคณะศกึษาศาสตร กรรมการ 35. คณบดีคณะศกึษาศาสตร กําแพงแสน กรรมการ 36. คณบดีคณะเศรษฐศาสตร กรรมการ 37. คณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร กรรมการ 38. คณบดีคณะสังคมศาสตร กรรมการ 39. คณบดีคณะสตัวแพทยศาสตร กรรมการ 40. คณบดีคณะเทคนิคการสัตวแพทย กรรมการ 41. คณบดีคณะอตุสาหกรรมเกษตร กรรมการ 42. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการ 43. คณบดีคณะวทิยาศาสตรการกีฬา กรรมการ 44. คณบดีคณะทรัพยากรและสิ่งแวดลอม กรรมการ 45. คณบดคีณะวทิยาการจัดการ กรรมการ 46. คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร กรรมการ 47. คณบดีคณะวทิยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร กรรมการ

Page 90: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 86

48. คณบดีคณะศลิปศาสตรและวิทยาการจัดการ กรรมการ 49. คณบดีวิทยาลยัส่ิงแวดลอม กรรมการ 50. ผูอํานวยการสํานักสงเสริมและฝกอบรม กรรมการ 51. ผูอํานวยการสํานักหอสมุด กรรมการ 52. ผูอํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล กรรมการ 53. ผูอํานวยการสํานักบริการคอมพิวเตอร กรรมการ 54. ผูอํานวยการสํานักประกันคณุภาพ กรรมการ 55. ผูอํานวยการสถาบันวิจยัและพัฒนาแหง มก. กรรมการ 56. ผูอํานวยการสถาบันคนควาและพัฒนาผลติภัณฑอาหาร กรรมการ 57. ผูอํานวยการสถาบันคนควาและพัฒนาผลติผล กรรมการ ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 58. ผูอํานวยการสถาบันคนควาและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร กรรมการ 59. ผูอํานวยการสถาบันอินทรีจันทรสถิตยเพือ่การคนควา กรรมการ และพัฒนาพืชศาสตร 60. ผูอํานวยการสถาบันภาษาศาสตรและวัฒนธรรมศึกษา กรรมการ

ราชนครินทร 61. ผูอํานวยการสถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจเพือ่การคนควา กรรมการ และพัฒนาปศสัุตวและผลิตภัณฑสัตว 62. หัวหนาสํานักงานอธิการบด ี กรรมการ 63. ผูอํานวยการกองแผนงาน กรรมการ 64. ผูอํานวยการกองกิจการนิสิต กรรมการ 65. ผูอํานวยการกองบริการการศึกษา กรรมการ 66. ผูอํานวยการกองยานพาหนะอาคารและสถานที่ กรรมการ 67. ผูอํานวยการกองกลาง กรรมการ 68. ผูอํานวยการกองคลัง กรรมการ 69. หัวหนางานประชาสัมพันธ มก. กรรมการ 70. เลขานุการสํานักประกันคุณภาพ กรรมการและเลขานุการ 71. นางมุกดา เกตุแกว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 72. นายธเนศ ดาวรุงโรจน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 73. นางสาวสุภาพร ดานสวัสดิ ์ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 74. นางกัลยาณ ี รัตนวราหะ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 75. นางสาวดรุณ ี บัวเพชร กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 91: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 87

76. นายจิรพัฒน ธารีสืบ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 77. นางสาวณัฏยา เบาสุภี กรรมการและผูชวยเลขานุการ 78. นางสาวชมพนูุท ภาณภุาส กรรมการและผูชวยเลขานุการ 79. นางสาวคงขวญั เจริญจิต กรรมการและผูชวยเลขานุการ 80. นางสาวเพชรรัตน โชครุง กรรมการและผูชวยเลขานุการ

โดยมีหนาที่ ดงัตอไปนี ้

1. จัดเตรียมวางแผนรับการประเมินคุณภาพการศึกษารอบสอง จากสํานกังานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

2. จัดทําขอมูลตามมาตรฐานและดัชนีบงชี้ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

ทั้งนี้ ตั้งแตบดันี้เปนตนไป จนกวาการประเมินคณุภาพเสร็จสิ้น

ส่ัง ณ วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2549

(รองศาสตราจารยวัฒนา สวรรยาธิปติ) รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 92: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 88

คําสั่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ท่ี 2097/2549

เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจัดทําขอมูลและรายงานกลุมสาขา ประจําป 2548 เพื่อใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสามารถเตรียมรับการประเมินคุณภาพรอบสอง จากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เปนไปดวยความเรียบรอย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จึงขอแตงตั้งคณะกรรมการดาํเนินการจดัทาํขอมูลและรายงานกลุมสาขา ประจําป 2548 เพื่อดําเนินการจดัเก็บและรวบรวมขอมูล รวมทั้งดําเนินการจดัทาํรายงานสรปุกลุมสาขา ประจําป 2548 ในการเตรยีมรับการประเมนิคุณภาพภายนอกรอบสองจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิคุณภาพการศกึษา (สมศ.) ซ่ึงประกอบดวยคณะกรรมการชุดกลุมสาขา ดังตอไปนี ้

1. กลุมสาขาวทิยาศาสตร 1. คณบดีคณะวทิยาศาสตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะศลิปศาสตรและวิทยาศาสตร กรรมการ 3. คณบดีคณะทรัพยากรและสิ่งแวดลอม กรรมการ 4. คณบดีวิทยาลยัส่ิงแวดลอม กรรมการ 5. นางสาวคงขวญั เจริญจิต กรรมการและเลขานุการ

2. กลุมสาขาวศิวกรรมศาสตร 1. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตศรีราชา กรรมการ 3. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน กรรมการ 4. คณบดีคณะวทิยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร กรรมการ วิทยาเขตเฉลิมพระเกยีรติ จังหวัดสกลนคร 5. นางมุกดา เกตุแกว กรรมการและเลขานุการ

3. กลุมสาขาสถาปตยกรรมศาสตร 1. คณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร ประธานกรรมการ 2. นางสาวชมพนูุท ภาณุภาส กรรมการและเลขานุการ

Page 93: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 89

4. กลุมสาขาเกษตรศาสตร 1. คณบดีคณะอตุสาหกรรมเกษตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะประมง กรรมการ 3. คณบดีคณะวนศาสตร กรรมการ 4. คณบดีคณะเกษตร กรรมการ 5. คณบดีคณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน กรรมการ 6. คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร กรรมการ วิทยาเขตเฉลิมพระเกยีรติ จังหวัดสกลนคร 7. นางสาวสุภาพร ดานสวัสดิ ์ กรรมการและเลขานุการ

5. กลุมสาขาบริหารธุรกิจ 1. คณบดีคณะเศรษฐศาสตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะบริหารธุรกจิ กรรมการ 3. คณบดีคณะวทิยาการจัดการ วิทยาเขตศรรีาชา กรรมการ 4. คณบดีคณะศลิปศาสตรและวิทยาการจัดการ กรรมการ

วิทยาเขตเฉลิมพระเกยีรติ จังหวัดสกลนคร 5. นางสาวณัฏยา เบาสุภ ี กรรมการและเลขานุการ

6. กลุมสาขาศึกษาศาสตร 1. คณบดีคณะศกึษาศาสตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะศกึษาศาสตร วทิยาเขตกําแพงแสน กรรมการ 3. นางสาวเพชรรัตน โชครุง กรรมการและเลขานุการ

7. กลุมสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1. คณบดีคณะสังคมศาสตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะมนุษยศาสตร กรรมการ 3. นายธเนศ ดาวรุงโรจน กรรมการและเลขานุการ

8. กลุมสาขาวทิยาศาสตรสุขภาพสตัว 1. คณบดีคณะสตัวแพทยศาสตร ประธานกรรมการ 2. คณบดีเทคนิคการสัตวแพทยศาสตร กรรมการ 3. คณบดีวิทยาศาสตรการกีฬา กรรมการ 4. นางสาวคงขวญั เจริญจิต กรรมการและเลขานุการ

Page 94: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 90

9. กลุมสาขาสหวิทยาการ 1. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ประธานกรรมการ 2. นางสาววไิลรัตน วิริยะวิบูลยกิจ กรรมการและเลขานุการ

โดยมีหนาที่ ดงัตอไปนี ้1. จัดเตรียมวางแผนรับการประเมินคุณภาพการศึกษารอบสอง จากสํานักงานรับรองมาตรฐาน

และประเมนิคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 2. จัดทําขอมูลตามมาตรฐานและดัชนีบงชี้ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิคุณภาพ

การศึกษา (สมศ.) และจดัทํารายงานสรุปกลุมสาขา

ทั้งนี้ ตั้งแตบดันี้เปนตนไป จนกวาการประเมินคณุภาพเสร็จสิ้น

ส่ัง ณ วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2549

(รองศาสตราจารยวัฒนา สวรรยาธิปติ) รักษาการราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 95: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 91

ภาคผนวก ง

เอกสารประกอบการประเมิน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. คูมือระบบประกันคณุภาพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร KU.QA 2548

2. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะเกษตร รอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549)

3. รายงานประจําป 2548 คณะเกษตร

4. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะประมง รอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549)

5. รายงานประจําป 2548 คณะประมง

6. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะวนศาสตร รอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549)

7. รายงานประจําป 2548 คณะวนศาสตร

8. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะอตุสาหกรรมเกษตร รอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549)

9. รายงานประจําป 2548 คณะอตุสาหกรรมเกษตร

10. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน รอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549)

11. รายงานประจําป 2548 คณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน

12. รายงานการประเมินตนเอง (SAR) คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกยีรติ จังหวดัสกลนคร รอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549)

13. รายงานประจําป 2548 คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวดัสกลนคร

Page 96: เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประก ันคณภาพุ มหาวิทยาลัยเกษตร ... · วันที่

รายงานประกันคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2548 กลุมสาขาเกษตรศาสตร 92

เอกสารวิชาการ 24/2549 สํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ท่ีปรึกษา : รศ.กมลพรรณ นามวงศพรหม รองอธิการบดีฝายประกันคุณภาพ รศ.ดร.ชุลีรัตน จรัสกุลชัย ผูชวยอธิการบดีฝายประกันคุณภาพ

คณะบรรณาธิการ : ผศ.ดร.วิจารณ วิชชุกิจ คณบดีคณะเกษตร รศ.ดร.ยนต มุสิก คณบดีคณะประมง ดร.ดํารงค ศรีพระราม คณบดีคณะวนศาสตร รศ.ดร.สิรี ชัยเสรี คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร รศ.ดร.สมบัติ ชิณะวงศ คณบดีคณะเกษตร วิทยาเขตกําแพงแสน รศ.ดร.นิตยศรี แสงเดือน (รักษาการ) คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

จัดพิมพตนฉบับและพิสูจนอักษร : นางสาวสุภาพร ดานสวัสดิ์ สํานักประกันคุณภาพ พิมพคร้ังที่ 1 : สิงหาคม พ.ศ.2549 พิมพท่ี โรงพิมพมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย โทร 0 2954 7300 – 29 โทรสาร 0 2954 7908