18
197 การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวาง ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province นางสาวจารุวรรณ สายพิน Ms. Jaruwan Saipin email: [email protected] อาจารยที่ปรึกษา ผศ.พรพจน สุขเกษม บทคัดยอ การวางและจัดทําผังเมืองที่มีขั้นตอนการจัดประชุมรับฟงขอคิดเห็นของประชาชนตามพระราชบัญญัติการผังเมือง .. 2518 นั้น ในการดําเนินการที่ผานมาพบวา ประชาชนเขามามีสวนรวมคอนขางนอย งานวิจัยฉบับนี้จึงมี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาการมีสวนรวมในกระบวนการวางผังเมืองรวมในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเสนอแนะ แนวทางที่เหมาะสม ใหกับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการวางผังเมืองทั้งในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและพื้นที่อื่นๆ ในการที่จะนําผลการวิจัยไปประยุกตใชปรับปรุงกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในการวิจัยไดใชวิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ และจากแบบสอบถามทั้งหมดจํานวน 191 ชุด จากกลุมประชากรตัวอยางในพื้นที่ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ที่ประกาศบังคับใชแลวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การวิเคราะหใชโปรแกรม SPSS เพื่อพิสูจนสมมติฐานโดยการใชคาสมการถดถอย (Linear Regression) และการ ตรวจสอบหาคาสหสัมพันธที่จะวัดออกมาไดในรูปของสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ หรือ Coefcient of Correlation (โดยมีสัญลักษณคือ r) ผลการวิจัยครั้งนี้พบวาประชาชนสวนใหญยังคงขาดความรูความเขาใจ และการประชาสัมพันธในเรื่องการวางผัง เมืองรวมยังไมเหมาะสม จึงสงผลใหประชาชนไมเห็นความสําคัญในการวางผังเมืองรวม และเมื่อนําเอาบริบทของ พื้นที่ในการวางผังเมืองรวมมาพิจารณารวมกับการมีสวนรวมพบวาพื้นที่ที่มีความเปนเมือง พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท และพื้นที่ที่มีความเปนชนบท มีความแตกตางกัน จึงควรจะใชรูปแบบหรือวิธีการประชาสัมพันธที่เหมาะสมกับ ลักษณะความเปนเมืองของชุมชนนั้นๆ ขอเสนอแนะในเผยแพรขาวสารการวางและจัดทําผังเมืองรวม (1) ดาน การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และ (2) ดานการประชาสัมพันธ เกี่ยวกับการวางผังเมืองรวม ควรใชรูปแบบที่หลากหลาย เชน การจัดทําคูมือสําหรับประชาชน การจัดทําวารสารสิ่งพิมพ การจัดทําแผนพับ การใชสื่อทางวิทยุกระจายเสียง และการบรรจุลงในหลักสูตรการศึกษา ทั้งนี้ขอเสนอแนะของผูวิจัยไดเนนการสราง ความรูความเขาใจและการประชาสัมพันธเกี่ยวกับการวางผังเมืองรวมเปนสําคัญ

การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

197

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาDevelopment of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

นางสาวจารุวรรณ สายพินMs. Jaruwan Saipinemail: [email protected]อาจารยที่ปรึกษา ผศ.พรพจน สุขเกษม

บทคัดยอการวางและจัดทําผังเมืองที่มีขั้นตอนการจัดประชุมรับฟงขอคิดเห็นของประชาชนตามพระราชบัญญัติการผังเมือง

พ.ศ. 2518 นั้น ในการดําเนินการท่ีผานมาพบวา ประชาชนเขามามีสวนรวมคอนขางนอย งานวิจัยฉบับนี้จึงมี

วตัถปุระสงคเพือ่ศึกษาการมีสวนรวมในกระบวนการวางผังเมอืงรวมในพ้ืนทีจ่งัหวดัพระนครศรีอยธุยา เพือ่เสนอแนะ

แนวทางท่ีเหมาะสม ใหกบัเจาหนาทีท่ีเ่ก่ียวของกับการวางผังเมืองทัง้ในพืน้ทีจ่งัหวดัพระนครศรีอยธุยาและพ้ืนทีอ่ืน่ๆ

ในการที่จะนําผลการวิจัยไปประยุกตใชปรับปรุงกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน

ในการวิจัยไดใชวิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ และจากแบบสอบถามทั้งหมดจํานวน 191 ชุด

จากกลุมประชากรตัวอยางในพื้นที่ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ที่ประกาศบังคับใชแลวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

การวิเคราะหใชโปรแกรม SPSS เพ่ือพิสูจนสมมติฐานโดยการใชคาสมการถดถอย (Linear Regression) และการ

ตรวจสอบหาคาสหสัมพันธที่จะวัดออกมาไดในรูปของสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ หรือ Coefficient of Correlation

(โดยมีสัญลักษณคือ r)

ผลการวิจัยครั้งนี้พบวาประชาชนสวนใหญยังคงขาดความรูความเขาใจ และการประชาสัมพันธในเรื่องการวางผังเมอืงรวมยังไมเหมาะสม จึงสงผลใหประชาชนไมเห็นความสําคัญในการวางผังเมืองรวม และเมื่อนําเอาบริบทของ

พื้นท่ีในการวางผังเมืองรวมมาพิจารณารวมกับการมีสวนรวมพบวาพื้นที่ที่มีความเปนเมือง พื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท และพื้นที่ที่มีความเปนชนบท มีความแตกตางกัน จึงควรจะใชรูปแบบหรือวิธีการประชาสัมพันธที่เหมาะสมกับลักษณะความเปนเมืองของชุมชนน้ันๆ ขอเสนอแนะในเผยแพรขาวสารการวางและจัดทําผังเมืองรวม (1) ดาน

การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และ (2) ดานการประชาสัมพันธ เกี่ยวกับการวางผังเมืองรวม ควรใชรูปแบบท่ีหลากหลาย เชน การจัดทําคูมือสําหรับประชาชน การจัดทําวารสารส่ิงพิมพ การจัดทําแผนพับ

การใชสื่อทางวิทยุกระจายเสียง และการบรรจุลงในหลักสูตรการศึกษา ทั้งนี้ขอเสนอแนะของผูวิจัยไดเนนการสรางความรูความเขาใจและการประชาสัมพันธเกี่ยวกับการวางผังเมืองรวมเปนสําคัญ

Page 2: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

198

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

คําสําคัญ : การมีสวนรวมของประชาชน / กระบวนการวางผังเมืองรวม / การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชน

AbstractAccording to the town and country Act 1975, the public can participate in the general planning process through the ‘public hearing’ procedure in which, up to the present, very few local people attend the meeting. Therefore, the purpose of this research is to exampling public participation in urban planning process in case of Phra Nakhon Si Ayutthaya province. The output of this study is to suggest an appropriate and effective people’s participation process for concerned urban planning in Phra Nakhorn Si Ayuthaya as well as to apply the research results to the general public participation process.

The methodology of this research is to study documents and other related researches and to gain knowledge from sampling groups of the total 191 questionnaires in Phra Nakhon si Ayutthaya 4 planning areas. Program SPSS for windows is to be used for data analysis together with linear regression and coefficient of correlation (r). Results of the researches found out that problems are firstly the people’s less acknowledge and the understanding of town planning and secondly ineffective public relation process and insufficient information, therefore, local people in the planning areas are not interested in public participation in urban planning process. Considering public participations effectiveness, the city, town (semi-urbanized), and countryside should have been used different forms of public relation techniques which are (1) public hearing process and (2) public relation process with different format such as periodical, handbill, radio broadcast and course of study. Finally, the researcher’s recommendation is aiming to build up knowledge and understanding as well as a better public relation management for the general plan.

Key Words : Public Participation / Urban Planning Process / Development of Public Participation

ความนําการผังเมืองสมัยใหมในประเทศไทยเริ่มตนตั้งแตสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเปนนายกรัฐมนตรี ที่ไดดําเนินการวางผังเมืองกรุงเทพ – ธนบุรี แลวเสร็จในป 2503 โดยบริษัทที่ปรึกษาอเมริกันชื่อ Litchfield Whiting Bowne and Associates หลังจากสิ้นสุดสัญญา รัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกาโดยหนวยงานที่ชื่อวา The United States Operations Mission to Thailand (USOM) ยังคงใหความชวยเหลือทางเทคนิคและดานวิชาการในการวางผังเมืองตอมาอีกหลายป การผังเมืองในประเทศไทยประสบความสําเร็จที่สําคัญคือการกอตั้งสํานักผังเมือง ในป พ.ศ. 2505 โดยมีวัตถุประสงคใหเปนหนวยงานอิสระดูแลรับผิดชอบการวางผังเมืองทั่วประเทศ ไดมีการนําเสนอราง “พระราชบัญญัติการผังเมือง” และปรับแกหลายคร้ัง จนมาถึงป พ.ศ. 2518 จึงไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 และไดใชบังคับเปนกฎหมายมาจนถึงปจจุบัน กรมโยธาธิการและผังเมืองมีภารกิจเกี่ยวกับงานดานการผังเมืองระดับตางๆ โดยการกําหนดและกํากับดูแลนโยบายการใชประโยชนที่ดิน ระบบการตั้งถิ่นฐานและโครงสรางพื้นฐาน เพื่อใหมี

Page 3: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

199

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

สภาพแวดลอมที่ดี เกิดมาตรฐานความปลอดภัยของสาธารณะ ความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมืองและสิ่งปลูกสรางตามระบบการผังเมืองที่ดี อันจะนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ในปจจุบัน (พ.ศ. 2550) มีผังเมืองรวมที่บังคับใชแลว 103 ผัง ผังที่อยูในขั้นตอนการดําเนินการ 34 ผัง และอีก 32 ผัง เปนผังที่หมดอายุ รวมแลว 190 ผัง

ในการดําเนินการวางและจัดทําผงัเมือง มขีัน้ตอนการดําเนนิการหลายข้ันตอนและไดเปดโอกาสใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในขั้นตอนของการวางและจัดทําผังเมืองรวม การมีสวนรวมของประชาชนตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 นั้นกําหนดไวในมาตรา 19 คือ ในการวางแผนและจัดทําผังเมืองรวมใดใหกรมโยธาธิการและผังเมือง หรือ เจาพนักงานทองถิ่นแลวแตกรณีจัดใหมีการโฆษณาใหประชาชนทราบแลวจัดประชุมไมนอยกวาหนึ่งครั้ง เพื่อรับฟงขอคิดเห็นของประชาชนในทองที่ที่จะมีการวางและจัดทําผังเมืองรวมนั้น ในการรับฟงขอคิดเห็นน้ีจะกําหนดเฉพาะใหผูแทนของประชาชนเขารวมประชุมตามความเหมาะสมก็ได ขั้นตอนของการปดประกาศแผนผังและขอกําหนดเพื่อใหผูมีสวนไดเสียตรวจดูแผนผังและขอกําหนดของผังเมืองรวมและการย่ืนคํารองขอแกไขเปล่ียนแปลงหรือยกเลิกขอกําหนดการใชประโยชนที่ดินภายใน 90 วัน นับตั้งแตวันปดประกาศ

จากการดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมที่ผานมาพบวา ในการประชุมรับฟงขอคิดเห็นของประชาชน ประชาชนเขามามีสวนรวมคอนขางนอยซึ่งอาจจะมีสาเหตุมาจากการไมทราบขอมูล หรือขาดความรูความเขาใจในผงัเมอืงรวม ซึง่จะสงผลใหผงัเมืองรวมท่ีจะนาํมาใชบงัคบัเปนกฎหมายสําหรบัประชาชนนําไปปฏิบตัิตามขอกําหนดไมมีประสิทธิภาพ ระบบโครงสรางพื้นฐานและโครงการพัฒนาเมืองอาจจะมีผลกระทบตอชุมชนหรือตอตนเอง ซึ่งหนวยงานที่ดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวมก็จะไมทราบถึงปญหาและความตองการของประชาชนอยางแทจริงเพื่อที่จะนํามาปรับปรุงแกไขในการจัดทาํผังเมืองรวม

ดังนั้น เพ่ือใหการมีสวนรวมของประชาชนมีผลสัมฤทธ์ิในกระบวนการวางผังเมืองรวม และประชาชนเขามามสีวนรวมในกระบวนการมากข้ึน จงึมคีวามจาํเปนท่ีจะตองศึกษาและวิเคราะห เสนอแนะแนวทางท่ีเหมาะสมที่จะใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการวางผังเมืองรวมมากขึ้น เพื่อใหผังเมืองรวมที่จะนํามาใชบังคับเปนกฎหมายมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน ตอประชาชนในทองถิ่นเปนสวนใหญอยางแทจริง

วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพ่ือศึกษาสถานการณของการมีสวนรวมในการวางและจัดทําผังเมืองรวมของชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดแก พื้นที่ผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน ซึ่งไดวางไวและจัดทําขึ้นในชวงระยะเวลาระหวาง พ.ศ.2527ถึง พ.ศ.25512. เพ่ือศึกษาปญหาของประชาชนในดานความรูความเขาใจท่ีมีตอกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนจากการประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในการวางและจัดทําผังเมืองรวม3. เพ่ือเสนอแนะแนวทางท่ีเหมาะสมใหกับเจาหนาท่ีที่เกี่ยวของกับการวางและจัดทําผังเมืองทั้งในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและพื้นท่ีอื่นๆ ในการท่ีจะนําผลการวิจัยไปประยุกตใชปรับปรุงกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Page 4: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

200

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

ภาพที่ 1 ตัวแปรและขอบเขตการวิจัย

วิธีการวิจัย1. การกําหนดปญหาการวิจัยในการกําหนดปญหาการวิจัย ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารเก่ียวกับการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่วางผังที่ผานมาแลวจึงกําหนดเปนคําถามเพื่อที่จะคนควาหาคําตอบในเร่ืองที่จะวิจัย

2. การกําหนดสมมติฐานการวิจัยผูวิจัยไดกําหนดสมมติฐานการวิจัยคร้ังน้ี โดยกําหนดจากการศึกษากระบวนการวางผังเมืองรวม ทฤษฎีหลักการแนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อกาํหนดคําตอบลวงหนาหรือสมมติฐาน โดยอางอิงจากเอกสารเหลานี้

3. การกําหนดตัวแปรและคํานิยามโดยการกําหนดศึกษาความรูทางทฤษฎี วิชาการตางๆ แลวนํามากําหนดตัวแปรตางๆ ที่เกี่ยวของกับการวิจัยทั้งตัวแปรตน ตัวแปรตาม โดยแสดงเปนแผนภูมิความสัมพันธ ตัวแปร และการกําหนดคํานิยามของตัวแปร

นั้นๆ ในระดับท่ัวไปและปฏิบัติการ โดยอางอิงจากพจนานุกรม คํานิยามตางๆทางดานกฎหมาย เปนตน

4. การกําหนดประชากร กลุมตัวอยาง และวิธกีารสุมตัวอยางการกําหนดกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนของประชากรทั้งหมดในงานวิจัยและวิธีการในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางเหลานี้ โดยประชากรในการวิจัยจะเปนประชากรท่ีอยูในเขตผังเมืองรวมที่มีผลบังคับใชสวนการกลุมตัวอยางจะเปนบุคคลที่เคยเขารวมการประชุมและกลุมบุคคลท่ีไมเคยเขารวมประชุม การสุม

ตัวอยางจะใชวิธีผสมผสานกันระหวางวิธีใชความนาจะเปน (Probability Sampling) และวิธีไมใชความนาจะเปน (Non-Probability Sampling)

Page 5: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

201

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

5. การเก็บรวบรวมขอมูลวิธีการในการรวบรวมขอมูลตางๆที่เกี่ยวของท้ังขอมูลท่ีเกี่ยวกับตัวแปรท่ีไดกําหนดไวและขอมูลท่ีเกี่ยวกับพื้นที่โครงการ ไดแก

- ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ใชวิธีการสํารวจภาคสนามและแบบสอบถาม

- ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ใชวิธีการรวบรวมขอมูลจากแหลงขอมูลที่มีผูรวบรวมเอาไวแลว

6. การวิเคราะหขอมูลโดยวิเคราะหขอมูลที่ไดรวบรวมมาได ไดแกขอมูล

- ขอมูลทั่วไป ใชสถิติเบื้องตน เชน คารอยละ (%) ฐานนิยม (Mode) ในการวิเคราะห- ขอมลูจากแบบสอบถาม วเิคราะหขอมลูดวยโปรแกรมสําเรจ็รปู SPSS (SPSS for Windows Version

11.5)

7. การพิสูจนสมมติฐาน การทดสอบหรือพสิจูนสมมตฐิานทีก่าํหนดไววาถกูตองหรือไม ผูวจิยัไดทาํการพสิจูนสมมตฐิานโดยใชคาสถติิ คือ คา Linear Regression

8. การอภิปรายผลและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายของผลการทดสอบสมมติฐานวามีความหมายอยางไรเกี่ยวกับงานวิจัย และสรุปผลท้ังหมดของการวิจัยที่ไดดําเนินงาน โดยอางทฤษฎีและผลการวิจัยอื่นที่เกี่ยวของ ตารางคํานวณ บริบทของพื้นที่โครงการมาประกอบการอภิปราย สรุปผลการศึกษา ผลที่ไดจากการศึกษาและขอเสนอแนะท้ังหมดของการวิจัยนี้วามีความสําคัญอยางไรตอสภาพการณที่เปนจริง ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัย กลาวถึงการนําผลท่ีไดไปใชใหเปนประโยชนเพื่อปรับปรุงแกไขใหดีขึ้น ขอเสนอแนะเก่ียวกับการวิจัยในขั้นตอไป หรือขอเสนอใหมีการคนควาเก่ียวกับปญหานี้ในแงมุมอื่นๆหรือดานอื่น ในเรื่องความบกพรองและทําอยางไรจึงจะกําจัด

ความบกพรองอันนี้ไดถามีผูสนใจทําเรื่องที่คลายคลึงกันหรือเรื่องเดียวกันในภายหนา การวิจัยในอนาคตอาจจะเปนไปไดในรูปใดบาง

ในบทความเร่ือง “การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมอืงรวมเมือง/ชมุชนจงัหวดัพระนครศรีอยุธยา”นี้มีเนื้อหาครอบคลุมถึงบริบทและสภาพทั่วไปของพื้นที่กรณีศึกษาทั้ง 4 โครงการ คือ

พื้นที่ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา ผังเมืองรวมเมืองเสนา ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ และผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก-โรงชาง-มหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การนําทฤษฎี แนวคิดหลักที่นํามาใชในการวิจัย การดําเนินการวิจัย สรุปสาระสําคัญของสิ่งที่คนพบและขอเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้

สภาพทั่วไปของพื้นที่กรณีศึกษาพื้นที่ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา มีพื้นท่ีทั้งหมด 71.44 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 44,650 ไร ครอบคลุมพื้นที่ตําบลบานใหม ตําบลวัดตูม ตําบลหันตรา ตําบลบานเกาะ ตําบลสวนพริก ตําบลลุมพลี

Page 6: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

202

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

ตําบลคลองสระบัว ตําบลภูเขาทอง ตําบลหัวรอ ตําบลบานปอม ตําบลหอรัตนไชย ตําบลไผลิง ตําบลทาวาสุกรี ตําบลประตูชัย ตําบลกะมัง ตําบลคลองสวนพลู ตําบลสําเภาลม ตําบลปากกราน และตําบลเกาะเรียน อําเภอพระนครศรีอยุธยา ตําบลขาวเมา ตําบลธนู และตําบลคานหาม อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีประชากรท้ังหมด 46,753 คน ในพื้นที่เขตผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา มีแมนํ้า

ลําคลองท้ังคลองธรรมชาติและคลองที่ขุดขึ้นใหมเพื่อใชในการชลประทานที่สําคัญ คือ แมนํ้าเจาพระยา แมนํ้าปาสัก แมนํ้าลพบุรี และคลองอื่นๆ อีกมากมาย ดังนั้นการตั้งถิ่นฐานบานพักอาศัย อาคารรานคาและอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจึงพึ่งพาอยูกับแมนํ้าลําคลองเปนสําคัญ เพราะเปนแหลงอาหารและเปนเสนทางการคมนาคมที่สําคัญในอดีต โดยเฉพาะริมสองฝงแมนํ้าเจาพระยา แมนํ้าปาสัก แมนํ้าลพบุรี และคลองหันตราคลองตะเคียน เปนตน ชุมชนมีลักษณะเปนชุมชนริมแมนํ้าโดยจะเห็นไดจากวัดวาอาราม บานพักอาศัย

ที่กระจายตัวตามแนวสองฝงแมนํ้า ตอมาเม่ือการคมนาคมทางบกสะดวกข้ึน รูปแบบการตั้งถิ่นฐานของชุมชนเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไป คือ มีการกอสรางอาคารบานเรือนเกาะตัวไปตามถนนสายตางๆ ภายในชุมชนมากขึ้น สวนชุมชนขนาดเล็กก็ยังคงมีสภาพเปนชุมชนริมนํ้าใหเห็นอยูทั่วไปและมีการกระจายตัวของชุมชนตามแนวเสนทางคมนาคมท่ีเช่ือมตอกันระหวางชุมชนเดิมและชุมชนใหมมากยิ่งขึ้น

การวางผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยามีวัตถุประสงคและแนวคิดเพ่ือใชเปนแนวทางในการช้ีนําการพัฒนาชุมชนเมืองพระนครศรีอยุธยา เพื่อใหชุมชนเมืองพระนครศรีอยุธยามีการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคมโครงสรางพื้นฐาน ตลอดจนมีแนวทางการใชที่ดินที่เหมาะสม เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาตางๆรวมไปถึงการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย และการอนุรักษพื้นที่เกษตรกรรมไวใหเปนพื้นที่เกษตรกรรมชั้นดีของประเทศ รวมท้ังการจัดรูปแบบโครงขายการคมนาคม เพื่อใหสามารถรองรับปริมาณการจราจรที่นับวันจะเพ่ิมขึ้นโดยไมมีปญหา เพื่อใหมีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคมอยางม่ันคงตอไป จากแนวคิดในการวางผัง มีการกําหนดการใชประโยชนที่ดินโดยกําหนดยานพาณิชยกรรมไว 2 แหง คือ บริเวณเกาะเมือง

พระนครศรีอยุธยา และบริเวณตลาดแกรนด ถนนโรจนะ ในบริเวณรอบนอกสวนใหญจะเปนการกําหนดใหเปนพื้นที่พักอาศัยหนาแนนนอยและพื้นท่ีชนบทและเกษตรกรรม ซึ่งบางสวนในบริเวณเกาะเมืองจะเปนพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร สวนพื้นท่ีทางดานทิศตะวันตกบริเวณทุงนเรศวรจะกําหนดใหเปนพื้นที่อนุรักษชนบทและเกษตรกรรม

ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา ประกาศบังคับใชเปนกฎหมายคร้ังแรก โดยประกาศเปนกฎกระทรวง ฉบับที่ 23 เมื่อวันท่ี 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2529 และไดทําการปรับปรุงผังครั้งที่ 3 คือ กฎกระทรวง ฉบับแกไขเพ่ิมเติม เลมท่ี 120 ตอนที่ 93ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2546 ปจจุบันผังเมืองรวมเมืองพระนครศรอียธุยาฉบบัน้ีไดหมดอายแุลว ขณะนีไ้ดทาํการปรับปรงุผังฯและจัดประชุมรบัฟงความคดิเหน็ของประชาชนในเขตผังเมืองรวมเพื่อที่จะประกาศบังคับใชตอไป การจัดประชุมฯในการวางและจัดทําผังเมืองครั้งแรกที่

ดําเนินการประมาณป พ.ศ.2527 ประชากรที่มีสวนไดเสียในการวางและจัดทําผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยาที่เขามามีสวนรวมในการประชุมรับฟงความคิดเห็น มีจํานวนประมาณ 25 % ของประชากรท้ังหมดในเขตผังเมืองรวม

Page 7: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

203

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

ภาพที่ 2 ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา

ผังเมืองรวมเมืองเสนา มีพื้นท่ีทั้งหมดประมาณ 29.24 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 18,275 ไร ตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงใตของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หางจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยทางหลวง

แผนดินหมายเลข 3263 ประมาณ 20 กิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 9,591 คน การตั้งถิ่นฐานของชุมชน

เมืองเสนา มีลักษณะเกาะกลุมกันอยูบริเวณสองฝงแมนํ้าปลายนาตอเนื่องบริเวณที่ตั้งที่วาการอําเภอเสนา ไปทางดานทศิตะวนัตกและขยายตัวไปทางทิศใตตามถนนธรรมสิทธิเ์สนา ถนนวไิลเสนา ในเขตเทศบาลฯ และกระจายออกไปนอกเขตเทศบาล ลักษณะชุมชนสวนใหญแลวจะเกาะกลุมกันอยูสองฝงแมนํ้าและลําคลอง

กระจายตัวกันอยูทั่วไปในเขตผังเมืองรวม เนื่องจากในอดีตใชเสนทางคมนาคมทางน้ําเปนสําคัญ แตปจจุบันเสนทางคมนาคมทางบกสะดวกข้ึน การกระจายตัวของชุมชนจงึเคล่ือนยายมาอยูตามแนวเสนคมนาคมทางบก

การวางผังเมอืงรวมเมืองเสนามีวตัถุประสงคและแนวความคิดเพือ่ใชเปนแนวทางในการพัฒนาชมุชน เพือ่ใหมีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม โครงสรางพื้นฐาน นอกจากนี้ยังจะไดพิจารณาควบคูไปกับการอนุรักษพื้นที่ที่เปนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สงเสริมการพัฒนาดานที่อยูอาศัย ดานพาณิชยกรรม ดาน

อุตสาหกรรมการเกษตรและบริการ และพัฒนาการบริการทางสังคมใหชุมชนเมืองเปนศูนยกลางการบริหาร

Page 8: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

204

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

การปกครอง การศึกษา และการคมนาคมขนสง เพื่อใหบริการแกชุมชนโดยรอบมากย่ิงขึ้น จากแนวคิดในการวางผัง มีการกําหนดการใชประโยชนที่ดินโดยกําหนดยานศูนยกลางเมืองไว 2 แหง คือ บริเวณในเขตเทศบาลเมืองเสนา และบริเวณเทศบาลตําบลเจาเจ็ด และบริเวณรอบนอกสวนใหญจะเปนการกําหนดใหเปนพื้นที่พักอาศัยหนาแนนนอยและพื้นท่ีชนบทและเกษตรกรรม ทั้งนี้พื้นที่สวนใหญเดิมจะยังคงรักษาไว

เปนพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม

ผงัเมอืงรวมเมืองเสนา ไดดาํเนนิการวางและจัดทาํผงัเมอืงรวม และประกาศบังคับใชเปนกฎกระทรวงคร้ังแรกคือ กฎกระทรวง ฉบับท่ี 324 (พ.ศ.2540) เม่ือวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2540 และทําการปรับปรุงผังฯ ไปแลว 1 ครั้ง ปจจุบันผังเมืองรวมเมืองเสนาประกาศใชบังคับเปนกฎหมายโดยกฎกระทรวงเลมที่ 123ตอนที ่ 73ก เมือ่วนัท่ี 14 กรกฎาคม 2549 การจัดประชุมรบัฟงความคดิเหน็ครัง้แรกดําเนนิการประมาณป พ.ศ. 2538 ประชากรท่ีมสีวนไดเสยีในการวางและจัดทาํผงัเมอืงรวมเมืองเสนาทีเ่ขามามสีวนรวมในการประชุม มีจํานวนประมาณ 20 % ของประชากรทั้งหมดในเขตผังเมืองรวม

ภาพที่ 3 ผังเมืองรวมเมืองเสนา

Page 9: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

205

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ มีพื้นท่ีประมาณ 18.39 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย พื้นที่ตําบลบานรอม ตําบลทาเรือ ตําบลจําปา ตําบลทาหลวง ตําบลทาเจาสนุก และตําบลศาลาลอย อําเภอทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีประชากรทั้งหมด 11,710 คน การตั้งถิ่นฐานของชุมชน โดยทั่วไปตั้งบานเรือนหนาแนนบริเวณริมสองฝงแมนํ้าปาสัก ริมถนนเทศบาล 1-7 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3022 และทางหลวงแผนดิน

หมายเลข 3023

การวางผังเมืองรวมชุมชนทาเรือมีวัตถุประสงคและแนวคิดเพื่อใชเปนแนวทางในการชี้นําการพัฒนาชุมชนเมือง มีการพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม โครงสรางพื้นฐาน ตลอดจนมีแนวทางการใชที่ดินที่เหมาะสมเพ่ือใหสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาในดานตางๆ รวมท้ังการจัดรูปแบบโครงขายการคมนาคม เพื่อใหสามารถรองรับปริมาณการจราจรที่นับวันจะเพิ่มข้ึนโดยไมมีปญหา เพื่อใหมีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคมอยางมั่นคงตอไป จากแนวคิดในการวางผัง มีการกําหนดการใชประโยชนที่ดินโดยกําหนดยานพาณิชยกรรมไว 1 แหง คือ บริเวณเทศบาลตําบลทาเรือ บริเวณรอบนอกสวนใหญจะเปนการกําหนดใหเปนพื้นที่พักอาศัยหนาแนนนอย สวนพื้นท่ีทางดานทิศตะวันตกกําหนดใหเปนพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม

ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม และประกาศบังคับใชเปนกฎกระทรวงครั้งแรก คือ กฎกระทรวง เลมท่ี 113 ตอนท่ี 13ก เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2539 หลังจากนั้นไดทําการปรับปรุงผังฯ 1 ครั้ง และไดทําการตออายุผังฯ ปจจุบันผังเมืองรวมชุมทาเรือ มีการประกาศใชบังคับเปนกฎหมายโดยกฎกระทรวง เลมท่ี 123 ตอนที่ 39ก. เมื่อวันท่ี 20 เมษายน 2549 การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ ครั้งแรกดําเนินการประมาณป พ.ศ.2536 ประชากรที่มีสวนไดเสียในการวางและจัดทําผังเมืองรวมชุมชนทาเรือที่เขามามีสวนรวมในการประชุม มีจํานวนประมาณ 20 % ของประชากรทั้งหมดในเขตผังเมืองรวม

ภาพที่ 4 ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ

Page 10: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

206

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

ผังเมืองรวมชุมชนมหาราช – โรงชาง – บานแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ครอบคลุมพื้นที่ 2 อําเภอ ไดแก บางสวนของอําเภอบานแพรก และบางสวนของอําเภอมหาราช ประกอบดวย ตําบล 10 ตําบล คือตําบลบานใหม ตําบลบานแพรก ตําบลสําพะเนียง ของอําเภอบานแพรก และตําบลโรงชาง ตําบลพิตเพียน บางสวนของตําบลบานขวาง ตําบลเจาปุก ตําบลน้ําเตา ตําบลมหาราช บางสวนของตําบลหัวไผ ของอําเภอ

มหาราช ซ่ึงครอบคลุมพื้นท่ี 3 เทศบาลตําบล ไดแก เทศบาลตําบลบานแพรก เทศบาลตําบลโรงชาง และเทศบาลตําบลมหาราช มีพื้นท่ีเขตการวางผังเมืองรวมประมาณ 65.90 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 7,847 คน การตั้งถิ่นฐานสวนใหญเปนชุมชนเกษตรกรรม มีการตั้งถิ่นฐานกระจายตัวไปตาม 2 ฝงแมนํ้าลพบุรี ระหวางถนนเลียบคลองชลประธานและทางหลวงแผนดินหมายเลข 3196 (ลพบุรี – บางปะหัน) และทางหลวงแผนดินหมายเลข 347 ในแนวเหนือใตทางตอนกลางของพื้นที่วางผัง บริเวณศูนยกลางชุมชน

หนาแนนกระจุกตัวในเขตเทศบาลซึ่งเปนท่ีตั้งของชุมชนเดิม

การวางผังเมอืงรวมชุมชนบานแพรก-โรงชาง-มหาราช ไดกาํหนดการใชประโยชนทีด่นิในอนาคตใหสอดคลองกับสภาพการตั้งถิ่นฐานและการใชประโยชนที่ดินปจจุบัน แนวโนมในการพัฒนาและขยายตัวของเมืองในอนาคต รวมทั้งพิจารณาถึงนโยบายของรัฐ ความตองการของทองถิ่น ตลอดจนศักยภาพในการพัฒนาและความเหมาะสมของพื้นท่ี พื้นท่ีวางผังเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาดานเกษตรกรรมคอนขางสูงมีแมนํ้าลพบุรีและคลองชลประทานที่ไหลผานหลายสาย ดังนั้น แนวคิดหลักในการวางผัง คอื การพัฒนาใหเปนชุมชนท่ีใหบริการทางดานภาคเกษตรกรรมการผลิต อนุรักษและสงวนรักษาพื้นที่เกษตรกรรมท่ีสมบูรณควบคูไปกับการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตลอดจนโบราณสถาน โดยกําหนดใหเปนชุมชนแบบหลายศูนยกลาง มีศูนยกลางหลัก 3 แหง อยูในเขตเทศบาลตําบลโรงชาง เทศบาลตําบลบานแพรก และเทศบาลตําบลมหาราช และมีศูนยกลางยอยอยูในบริเวณแยกเจาปลุกและ ชุมชนสําพะเนียงลอมรอบดวยยานพักอาศัย นอกจากน้ีไดกาํหนดพื้นที่อุตสาหกรรมเฉพาะกิจเพื่อใหบริการแกชุมชน

ผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก-โรงชาง-มหาราช ไดดําเนินการวางและจัดทําผังเมืองรวม และประกาศเปนกฎกระทรวงใชบังคับเปนกฎหมายครั้งแรกคือ กฎกระทรวง เลมที่ 124 ตอนที่ 24 ก เม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม2550 ปจจุบันผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก-โรงชาง-มหาราช ยังมีผลใชบังคับไดตามกฎหมาย การจัดประชุม

รับฟงความคิดเห็นฯ ครั้งแรกดําเนินการในป พ.ศ. 2547 ประชากรที่มีสวนไดเสียในการวางและจัดทําผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก-มหาราช-โรงชางที่เขามามีสวนรวมในการประชุมมีจํานวนประมาณ 25% ของประชากรท้ังหมดในเขตผังเมืองรวม

Page 11: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

207

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

ภาพที่ 5 ผังเมืองรวมชุมชนมหาราช – โรงชาง - บานแพรก

ทฤษฎี และ แนวคิดหลักที่นํามาใชในการวิจัยการศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี ไดดําเนินการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีทางดานการมีสวนรวมของประชาชนเพื่อใหมีผลสัมฤทธิ์ในกระบวนการวางและจัดทําผังเมืองรวม รวมทั้งการศึกษาปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น

และพอจะสรุปกรอบแนวคิด ทฤษฎี ที่สนับสนุนสมมติฐานการวิจัยที่ 1 และ สมมติฐานที่ 2 ไดดังนี้

Page 12: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

208

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

จากสมมติฐานการวิจัยที่ 1 ความรูความเขาใจมีผลตอการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งทฤษฎีการมีสวนรวมของนพวรรณ ธีระพันธเจริญ ไดกลาวถึงปจจัยที่สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมนั้น เปนปจจัยที่เอื้ออํานวย หรือมีสวนผลักดันใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกิจกรรม คือ ดานการพัฒนา โดยการพัฒนาตองมีความเขาใจในเน้ือเรื่องและกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมของประชาชน ดานประชาชน โดยประชาชนจะ

ตองเปนผูตัดสินใจเร่ิมกิจกรรมของตนเอง และดานการไดรบัการสนับสนุน ทั้งภายในและภายนอกตัวของผูมีสวนรวม

จากสมมติฐานการวิจยัที ่2 การประชาสัมพนัธมผีลตอการมสีวนรวมของประชาชน ทฤษฎีการประชาสัมพนัธของจารุวรรณ อรุณฤกษ ไดอธิบายและสรุปเกี่ยวกับการประชาสัมพันธวา เปนการสรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางหนวยงานกับกลุมประชาชนที่เกี่ยวของ ทําใหเกิดความรูความเขาใจ และความรูสึกนึกคิดที่ดีตอกัน ตลอดจนการยอมรับและสนับสนุนความรวมมือซึ่งกันและกัน การดําเนินการวิจัยในการดําเนินการวิจัย ไดกําหนดประชากร กลุมตัวอยาง ขนาดของกลุมตัวอยาง และวิธีการสุมตัวอยาง ดังนี้

ประชากรในการวิจัย (Population of the Research)ประชากรท่ีใชในการวิจัย ไดแก กลุมบุคคลที่อยูในเขตผังเมืองรวมเมือง / ชุมชน ที่บังคับใชแลวในพื้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยในแตละพื้นท่ีสามารถจําแนกได ดังตอไปนี้

- ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา ประชากรจํานวน 46,753 คน- ผังเมืองรวมเมืองเสนา ประชากรจํานวน 9,591 คน- ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ ประชากรจํานวน 11,710 คน- ผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก - โรงชาง – มหาราช ประชากรจํานวน 7,847 คน

การกําหนดกลุมตัวอยาง (Sample)ขนาดของกลุมประชากรท่ีใชในการศึกษาวิจัยเปนกลุมตัวแทนของประชากรท่ีอยูในพ้ืนที่โครงการศึกษาโดยการกําหนดจะใชสูตรการคํานวณของ ทาโร ยามาเน (Yamane, 1970:725) เปนการกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง ในกรณีที่ทราบจาํนวนแนนอน (Finite Population) โดยมีสูตรในการคํานวณดังนี้

n = N (1+Ne²)

n = จํานวนตัวอยาง, ขนาดของตัวอยาง

N = ขนาดของประชากรe = ความนาจะเปนของความผิดพลาดที่ยอมใหเกิดได

ขนาดของกลุมตัวอยางการวิจัย (Sample of the Research)

Page 13: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

209

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

กลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนประชากรท่ีอยูในเขตผังเมืองรวมที่มีผลบังคับใช จากการคํานวนโดยใชสูตรของ ทาโร ยามาเน ไดจํานวน 191 ตัวอยาง โดยมาจากบริเวณเขตผังเมืองรวมตางๆดังนี้

- ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา จํานวน 117 ตัวอยาง- ผังเมืองรวมเมืองเสนา จํานวน 24 ตัวอยาง

- ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ จํานวน 30 ตัวอยาง- ผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก - โรงชาง – มหาราช จํานวน 20 ตัวอยาง

การสุมตวัอยาง (Sampling)การสุมตัวอยางไดใชวิธีการ 2 แบบ คือ

1. การเลือกสุมตัวอยางโดยใชความนาจะเปน (Probability Sampling) - การสุมตัวอยางแบบหลายข้ันตอน (Multi-Stage Sampling) เปนการสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster

Sampling) โดยกําหนดพื้นท่ีผังเมืองรวมแตละผังเปนสวนยอยเพื่อใหไดกลุมตัวอยางทั่วทั้งพื้นที่ผัง เมืองรวม

2. การสุมตัวอยางโดยไมใชความนาจะเปน (Non -Probability Sampling)- การสุมตัวอยางแบบเผอิญ (Accidental Sampling) โดยการไปตามจุดที่มีผูคนมาทํากิจกรรมตางๆ

เชน ตลาด สวนสาธารณะ หางสรรพสินคา กลุมชุมชน ฯลฯ

สรุปสาระสําคัญของสิ่งที่คนพบและขอเสนอแนะการวิจัยเร่ืองการพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีความมุงหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาการการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมของผังเมืองรวมตางๆในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อที่จะสามารถนํามาเปนแนวทางใน

การพัฒนาการมีสวนรวมในการวางผังเมืองใหมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงคในการศึกษาสถานการณปญหา ในการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวม และนํามาวิเคราะหเพื่อเสนอแนะ

แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวม ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยไดกําหนดปญหาการวิจัยในครั้งนี้ คือ

1. เพราะเหตุใดในกระบวนการวางผังเมืองรวมที่ผานมาประชาชนเขามามีสวนรวมนอย

2. แนวทางที่จะทําใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากข้ึนในกระบวนการวางผังเมืองรวมควรจะเปนอยางไร

จากการกําหนดปญหาการวิจัยจึงไดกําหนดสมมติฐานการวิจัยเพื่อเปนคําตอบลวงหนา คือสมมตฐิานการวิจยัที ่ 1 การทีป่ระชาชนเขามามสีวนรวมนอยในกระบวนการวางผังเมอืง เนือ่งจากประชาชนยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องการวางผังเมือง

Page 14: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

210

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

สมมติฐานการวิจัยที่ 2 แนวทางท่ีเหมาะสมท่ีจะใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากข้ึนในกระบวนการวางผังเมือง คือ การสรางความรูความเขาใจในเรื่องนี้มากยิ่งขึ้นโดยเพิ่มการประชาสัมพันธสื่อสารกับประชาชนในลักษณะอื่นๆ เชน การจัดประชุมกลุมยอย การพบปะพูดคุย ฯลฯ นอกเหนือจากการจัดประชุมประชาชนอยางเปนทางการ

สมมติฐานทางสถิติที่ 1 ความรูความเขาใจมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมสมมติฐานทางสถิติที่ 2 การประชาสมัพันธมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวม

การพิสูจนสมมติฐาน ในการพิสูจนสมมติฐานการวิจัยซึ่งเปนการคาดการณคําตอบลวงหนา โดยการพิสูจนจะตองใชคาทางสถิติ ซึ่งในการพิสูจนสมมติฐานทางสถิติวาจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานที่ไดตั้งไว คือ ถายอมรับสมมติฐานทางสถิติก็หมายความวาสมมติฐานการวิจัยนั้นถูกตอง ในทางกลับกันถาปฏิเสธสมมติฐานทางสถิติก็หมายความวาสมมติฐานการวิจัยนั้นไมถูกตอง จากการพสิูจนสมมติฐานในการวิจัยครั้งนี้คือ

- สมมติฐานที่ 1 ไดปฏิเสธสมการท่ี H0 และยอมรับสมการที่ H1 แสดงวาสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไวมี

ความถูกตอง คือ ความรูความเขาใจมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ วางผังเมือง- สมมติฐานที่ 2 ไดปฏิเสธสมการท่ี H0 และยอมรับสมการที่ H1 แสดงวาสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไวมี ความถูกตอง คือ การประชาสัมพันธมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ วางผังเมือง

การอภิปรายผล จากผลการตรวจหาคาสหสัมพันธ พบวาตัวแปรระหวางความรูความเขาใจมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวาง

ผังเมืองมากท่ีสุด คือ ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ (0.887) ลําดับที่ 2 คือ ผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก–โรงชาง–มหาราช (0.685) ลําดับท่ี 3 คือ ผังเมืองรวมเมืองเสนา (0.641) และลําดับสุดทายคือ ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา (0.462)

ตัวแปรระหวางการประชาสัมพันธ มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวาง

ผังเมืองมากท่ีสุด คือ ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ (1.000 ) ลําดับที่ 2 คือ ผังเมืองรวมเมืองเสนา (0.992)ลําดับที่ 3 ผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก – โรงชาง – มหาราช (0.903) และลําดับสุดทายคือ ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยา ( 0.569)

ดานความรูความเขาใจของประชาชน พบวา ประชาชนเขามามสีวนรวมคอนขางนอยเนือ่งจากการท่ีประชาชน

ขาดความรูความเขาใจในผังเมืองรวม ซึ่งจะสงผลใหผังเมืองรวมที่จะนํามาใชบังคับเปนกฎหมายสําหรับประชาชนนําไปปฏิบัติตามขอกําหนดอาจไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ระบบโครงสรางพื้นฐานและโครงการ

Page 15: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

211

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

พฒันาเมอืงอาจจะมีผลกระทบตอชมุชนหรอืตอตนเอง ดงันัน้ เพือ่ใหการมสีวนรวมของประชาชนมีผลสัมฤทธิ์ในกระบวนการวางผังเมืองรวมและใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการมากขึ้น จึงมีความจําเปนที่จะตองสรางความรูความเขาใจใหกับกับประชาชนใหมากขึ้น โดยการจัดประชุมกลุมยอยตามสถานท่ีศูนยรวมชุมชน การทําคูมือ การจัดทําวารสาร การจัดทําแผนพับ การเผยแพรทางวิทยุกระจายเสียง และการเพ่ิม

เนื้อหาที่เกี่ยวของกับการวางผังเมืองในหลักสูตรการศึกษาในสถาบันการศึกษาของทองถิ่นตั้งแตระดับมธัยมขึ้นไป เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจและเห็นความสําคัญในเรื่องของการวางผังเมือง

ดานการประชาสัมพันธพบวาประชาชนเขามามีสวนรวมคอนขางนอย เนื่องจากการที่ประชาชนในเขตผังเมืองรวมไดรับขอมูลขาวสารหรือการประชาสัมพันธที่ยังไมเหมาะสม ดังน้ัน เพื่อใหการมีสวนรวมของประชาชนมผีลสมัฤทธิใ์นกระบวนการวางผงัเมอืงรวมและใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการมากขึน้จงึมคีวามจาํเปนทีจ่ะตองมีการจดัรปูแบบการประชาสัมพนัธในเรือ่งการวางผังเมอืงใหมคีวามเหมาะสมย่ิงขึน้ดวยวิธีการตางๆ ที่จะทําใหประชาชนทราบวาจะมีการวางผังเมืองในพื้นที่ที่ประชาชนเหลาน้ันอาศัยอยู

สรุปการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง / ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีสาระสําคัญของส่ิงที่คนพบสรุปไดตามวัตถุประสงคของการวิจัยดังตอไปนี้

1. สถานการณของการมีสวนรวมในการวางและจัดทําผังเมืองรวมของชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดแก พื้นที่ผังเมืองรวมเมือง / ชุมชน ซึ่งไดวางไวและจัดทําขึ้นในชวงระยะเวลาระหวาง พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ.2551 ปรากฏวา ในชวงระยะเวลาดังกลาวประชาชนเขามามีสวนรวมในการวางผังเมืองรวมนอยมาก

2. ปญหาของประชาชนในดานความรูความเขาใจท่ีมีตอกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนจากการ

ประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในการวางผังเมืองรวมปรากฏวา ประชาชนสวนใหญยังขาดความรูความเขาใจและการเผยแพรประชาสัมพันธในเรือ่งของการวางผังเมอืงรวมในพ้ืนท่ีจงัหวดัพระนครศรอียธุยายังไมเหมาะสม

นอกจากนั้น ยังไดคนพบประเด็นท่ีสําคัญ คือ ประชาชนในพื้นที่โครงการประกอบอาชีพเปนลูกจางในโรงงาน

อุตสาหกรรม และสาเหตทุี่ประชาชนสวนใหญเขามามีสวนรวมในการวางผังเมืองนอย เนื่องจากไมมีเวลามาเขารวมแสดงความคิดเห็นได และจากการซักถามในเบ้ืองตนเกี่ยวกับผังเมือง พบวาประชาชนสวนใหญมี

ความรูเกี่ยวกับผังเมืองคอนขางนอย

3. ขอเสนอแนะแนวทางท่ีเหมาะสมใหกับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการวางผังเมืองท้ังในพ้ืนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและพื้นท่ีอื่นๆ ในการท่ีจะประยุกตนําผลการวิจัยไปปรับปรุงกระบวนการมสีวนรวมของประชาชนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น คือ

1. การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

Page 16: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

212

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

2. การประชาสัมพันธเกี่ยวกับการวางผังเมือง ไดแก- การจัดทําคูมือเกี่ยวกับผังเมือง- การจัดทําวารสารสิ่งพิมพเกี่ยวกับการวางผังเมือง- การจัดทําแผนพับเผยแพรความรูและขอมูลที่เกี่ยวของกับการวางผังเมือง

- การใชสื่อทางวิทยุกระจายเสียง- การบรรจุลงในหลักสูตรการศึกษาของสถาบันการศึกษาในทองถิ่น

บรรณานุกรมภาษาไทยกรรณิการ อัศวดรเดชา. การสื่อสารเพื่อโนมนาวใจ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการประชาสัมพันธ คณะนิเทศศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2550.

จารุวรรณ อรุณฤกษ. การประชาสัมพันธ. เพรชบุรี:โครงการตําราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ. สถาบันราชภัฏ

เพรชบุรี , 2542.

เจษฎา บุญมาโฮม. พฤติกรรมมนุษยกับการพัฒนาคน. นครปฐม: คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม, 2546.

ชินรัตน สมสืบ. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมาธิราช , 2539.

นรนิทรชยั พฒันพงศา. การมีสวนรวม หลกัการพืน้ฐาน เทคนคิ และกรณีตวัอยาง. เชยีงใหม : สริลิกัษณการพมิพ,

2547.

นพวรรณ ธีระพันธเจริญ. การวิจัยเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวมของผูนําชุมชนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในเทศบาลพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา : คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. สถาบันราชภัฏ

พระนครศรีอยุธยา, 2549.

ปญญา โพธิ์ฐิติรัตน. การวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม SAS และ SPSS. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

กฤตญาดา, 2550.

กรมโยธาธิการและผังเมือง. สํานักผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ. ผังเมืองรวมชุมชนบานแพรก-โรงชาง-มหาราช. กรุงเทพฯ : สํานักผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ กรมโยธาธิการและผังเมือง , 2546.

. สํานักพัฒนามาตรฐานตามผังเมือง. โครงการศึกษาเพ่ือพัฒนาการมี สวนรวมของประชาชนในกระบวนการวาง ผังเมืองระดับทองถิ่น. กรุงเทพฯ:บริษัท รําไทยเพรส จํากัด ,2549.

. ผังเมืองรวมชุมชนทาเรือ ปรับปรุงคร้ังที่ 1. พระนครศรีอยุธยาฯ : สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา , 2542.

_________. ผังเมืองรวมเมืองเสนาปรับปรุงครั้งที่ 1. พระนครศรีอยุธยา : สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา , 2545.

_________. ผังเมืองรวมเมืองพระนครศรีอยุธยาปรับปรุง คร้ังที่ 3. พระนครศรีอยุธยา : สํานกังานโยธาธิการ

และผังเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา , 2547.ยุทธ ไกยวรรณ, ผศ.ดร. สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพ,2549.

Page 17: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

213

การพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการวางผังเมืองรวมเมือง/ ชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Development of Public Participation in Urban Planning Process: A Case Study in Phra Nakhorn Si Ayuthaya Province

เสนาะ ตเิยาว. การส่ือสารในองคการ. พมิพคร้ังที ่4 กรงุเทพฯ : โรงพมิพมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร ทาพระจนัทร, 2541.

สนธยา พลศรี. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. พิมพครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร , 2545.

เสรี วงษมณฑา,รศ.ดร. การประชาสัมพันธและทฤษฎีการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : บริษัท ธีระฟลม และเท็กซ จํากัด, 2542.

อรวรรณ ปลันธนโอวาท.การสื่อสารเพื่อการโนมนาวใจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537.

อุบลรัตน ศิริยุวศักดิ์. การสื่อสารมวลชนเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย,

2547.

ภาษาตางประเทศArnstein Sherry . A Ladder of Citizen Participation. Journal of the American Planning Association’

Vol35, No4 : 1969.

Unesco . Connection Concerning the Projection of the world culture and natural heritage. Paris : 1972.

สื่ออิเล็คทรอนิคกรมโยธาธิการและผังเมือง. งานวางผังเมืองรวม:สรุปความกาวหนางานวางผังเมืองรวม (Online).18

December 2007 Available from http://subweb3.dpt.go.th/sus/49_lawmap/mounth /51-02

february.html

สํานักงานสถิติจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ขอมูลสถิติจําแนกตามสาขา : สถิติประชากรศาสตรประชากร และเคหะ (Online).22 December 2007 Available from http:// ayutthaya.nso..go.th/nso/project/

search_option/search_result.jsp

Page 18: การพัฒนาการม ีส วนร วมของ ......197 การพ ฒนาการม ส วนร วมของประชาชนในกระบวนการวางผ

“เมืองและสภาพแวดลอม” ฉบับที่ 1 : 2552-2553

“City & Environment” Vol I : 2009-2010

214