4
สายตรงศาสนา 28 อาหารหวานคาวกใสบาตรได เปนการทำบญทำทาน แตบางบาน ไมมพระสงฆผานไปมา กจะไปทำบญทวด ในเรองศล กทำไดยาก เพราะบานไมสงบพอทรกษาศล ในเรองของ การฟงธรรม ในเรองทำจตทำใจแลว กไมเหมาะเปนอยางยง เพราะบานมเรองทจะตองทำใหไดยนไดฟงมากมาย ทำใหใจ วนวาย ไมสงบไดงาย อยูบานกสนใจเรองในบาน ไปวด กสนใจเรองของบญกศล หลกจงมอยูวา ถากายไมไดรบ ความสงบแลว ใจกยอมไมสงบไปดวย เมอใจไมสงบ กเลส กไมสงบเหมอนกน การไปวด พอถงกำหนดวนใหไปวด กตองพากนไป แมเดกเลก ๆ กตองนำไปดวย ในรอบ ๗ วน ไปวด ๑ วน ใชเวลาประมาณ ๑ ชวโมงเปนอยางนอย ไปแลวไดกำไร ไมขาดทน เพราะจะไดทำกจในทางพระพทธศาสนา ทเรยกวา ไดทำบญ เชน ไดพบพระ รกษาศล เจรญจตภาวนาสมถกรรมฐาน วปสสนากมมฏฐาน ทำชวตจตใจใหชมชนเบกบาน ทำใจให สะอาด สวาง สงบ เหมอนซกเสอผาทใชมาแลว ๗ วน ชวตกจะมสาระขน ในรอบ ๗ วนนน จงควรเสยสละเวลา เพอสงทมสาระทางศาสนาบาง การเขาวด ยงเปนการรกษาเศรษฐกจในครอบครว อกดวย เพราะวา แทนทจะพากนไปรนเรงในการใชจายเงน กลบไปหาความสงบทางจตใจ ซงไมตองหมดเปลอง รายจายอะไรเลย เมอถงวนอโบสถกสามารถรกษาศล ๘ ไดทงครอบครว เดอนหนงกงดใชจายไปไดมากพอสมควร โดยเฉพาะเรองอาหารในเวลาวกาล คอตงแตเทยงวนไปแลว ถง ๔ วน นอกจากประหยดคาอาหารแลวยงเปนการรกษา เศรษฐกจไดอกดวย การเขาวด ถอศล ฟงเทศน มกจะเขาใจกนวาเปน เรองของคนแก ๆ ไมใชเรองของคนหนมสาว ถาใครเรมเขาวด ตงแตเปนเดก เปนหนม เปนสาว กจะถูกหาวาเปนคนคร ไมทนสมย หรอมฉะนนกเขาวด อยางคำกลอนวา “อกหัก หลักลอย คอยงาน สังขารกรอบ ชอบพระ สละกิเลส เปรตในวัด” หรอจากสาเหตอน เชน เพราะความประมาท ฉลาดกวาพระเทศน เศรษฐกจไมอำนวย สงขารไมชวย พระบอกหวยไมถูกฯ การเขาวดนน ทานตองการใหเขาวดตงแตเปนเดก เปนหนม เปนสาว เพอใหเกดความคนเคยกบพระพทธศาสนา และไดมโอกาสไดอบรมคณงามความดตาง ๆ หรอดดกาย วาจา ใจ งายเหมอนไมออน ดดงายกวาไมแก เชน ทรงบญญตไวใหบวช เปนสามเณรหรอสามเณร ไดตงแต อาย ๗ ขวบ บวชเปนภกษและภกษณ ไดตงแตอาย ๒๐ ป อโบสถกรรม ในธมมปทฏฐกถา พระธรรมบท กปรากฏวา มผูรกษาอโบสถอยู ๔ พวก คอ ๑. คนแก ๒. กลางคน ๓. หนมสาว ๔. เดก เปนเครองรบรองวา แมในครง พทธกาล กมการรกษาอโบสถตงแตเปนเดก เขาวดตอนแก จะลำบาก เพราะรกษาศล ๘ อดอาหารเยนไมได แรงนอย จะเปนลม จะฟงเทศนนงนานไมได สงขารทรดโทรม เมอยขา ปวดหลง จะทองบทสวดมนตไหวพระความจำไมด ไดหนาลมหลง ไดปลายลมตน สบสนไปหมด ดงพทธภาษตวา ชราชชชรตา โหนต หตถปาทา อนสสวา ยสส วหตตถาโม กถ ธมม จรสสต แปลความวา มอและเทาของผูใด ทรดโทรมไป ความชราเปนอวยวะทไมเชอฟง ผูนนครนมกำลงหยอนลงแลว จะประพฤตธรรมอยางไร ถาทกคนคดวาการเขาวดไมจำเปน ศาสนากเสอม เพราะศาสนาอยูไดเพราะคนเขาวด ทำกจกรรมตาง ๆ ตามหนาทของศาสนกชน การเขาวดแลวไดอะไรบาง ไดบำเพญทาน รกษาศล ฟงเทศน สวดมนตทำวตร ไหวพระ สนทนาธรรม เจรญจตภาวนา ทำจตใหสงบ มโอกาสพจารณา ตวของตวเอง ไดรูธรรม เหนธรรม จะเขาวดหรอไมเขาวดกตองตาย ถาเขาตอนตาย ตองมคนหาม แตถาเขาวดขณะยงมชวตอยูนน เดนเขาไปได อยางสงาผาเผย ถาเราจะมองดูตวเราและสงทอยูรอบตวเรา มอะไรบางทเปนสาระแกนสาร รางกายกเปลยนแปลงไป จนกระทงแตกดบ ชวต คอ ความเปนอยูกไมเทยงแทแนนอน ทรพยสมบตทมอยูกจะตองหมดสนไป จะหาอะไรเปนแกน เปนสาระไมเหนมเลย นอกจากพระธรรม คอ ธรรมะทเปน สารธรรม ๕ ประการ คอ ๑. ศรทธา ความเชอ ๒. ศล การรกษากาย วาจา ๓. สตะ คอ การเปนผูสดบตรบฟง ๔. จาคะ ความเปนผูรูจกเสยสละ ๕. ปญญา คอ ความรู สรป ไดแก ทาน ศล และภาวนา ซงเปนสาระแกนสารทยงยน นบตงแตพระพทธเจาเสดจดบขนธปรนพพานได ๒๕๕๑ ป พระธรรม พระวนยกยงคงอยู แมจะไมใหทาน ทรพยสมบต กถูกใชจายไปในทางอน ไมรกษาศลกตองรกษาอยางอน เชน รกษาคนทรกหรอของทรก แมไมฟงเทศนกตองฟงเขาคยกน ทะเลาะกน ดากน ไมใหทาน ไมรกษาศล ไมฟงเทศนกตองตาย ถงใหทาน รกษาศล ฟงเทศนกตองตาย แตคต คอ ทางไป ของคนนน มอยู ๒ ทาง คอ ๑. ทคต ทางไปไมด ๒. สคต ทางไปด เมอยงมชวตอยู แมจะไมเขาวด เมอตาย เขากหาม เขาไปวด การเขาวดเมอตายแลว จะเปนประโยชนอะไรบาง พระใหศล สวดอภธรรม แสดงธรรมกฟงไมได ซงเปนเรองของ คนทยงมชวตอยูทำใหทงนน แลวแผสวนบญไปให ถาสมครใจ เขาวดเมอมชวตอยูกจะมโอกาสไดทำบญดวยตนเอง ทกคนตองเขาวด ไมเขาเวลามชวต กตองเขาเวลาตาย เขาเวลาไหนถงจะดมประโยชนกวากน กตองพจารณาดูเอาเอง ทำอยางไรจงจะใหคนเขาวด กตองชวยกนชแจงใหเหนคณ ของการเขาวด และผูอยูในวดกตองทำวดใหรนรมย สะอาด สงบ ผูปกครอง เชน บดา มารดา ครู อาจารย ผูบงคบบญชาหรอผูนำ ตองเปนผูนำในการเขาวดดวยตนเอง และ นำผูอยูในปกครองไปเขาวด ผูทเขาวด ตองทำตนใหคนทยง ไมเขาวดเหนวา คนเขาวดมอะไรด ๆ กลบออกมา ดกวาเมอ ยงไมเขาวด เชน เทยวเตรนอยลง ดมนอยลง โทสะนอยลง การงานดขน จตใจดขน เชนน เปนการเชญชวนใหคนทดลอง เขาวดดูบาง กจะไดรบสงทด ๆ ดงกลาว ตดตว ตดใจไป กรมการศาสนา จงขอเชญชวนพทธศาสนกชน เขาวด ทกวนธรรมสวนะ ณ วดใกลบาน หรอรวมเขาวด กบกรมการศาสนาดงน

สายตรงศาสนา - sys.dra.go.th · อุโบสถกรรม ในธัมมปทัฏฐกถา พระธรรมบท ก็ปรากฏว่า

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สายตรงศาสนา - sys.dra.go.th · อุโบสถกรรม ในธัมมปทัฏฐกถา พระธรรมบท ก็ปรากฏว่า

สายตรงศาสนา 28

อาหารหวานคาวก็ใส่บาตรได้ เป็นการทำบุญทำทาน แต่บางบ้าน ไม่มีพระสงฆ์ผ่านไปมา ก็จะไปทำบุญที ่ว ัด ในเร ื ่องศีล ก็ทำได้ยาก เพราะบ้านไม่สงบพอที่ร ักษาศีล ในเรื ่องของ การฟังธรรม ในเรื่องทำจิตทำใจแล้ว ก็ไม่เหมาะเป็นอย่างยิ่ง เพราะบ้านมีเรื่องที่จะต้องทำให้ได้ยินได้ฟังมากมาย ทำให้ใจวุ ่นวาย ไม่สงบได้ง่าย อยู ่บ้านก็สนใจเรื ่องในบ้าน ไปวัด ก็สนใจเรื ่องของบุญกุศล หลักจึงมีอยู ่ว่า ถ้ากายไม่ได้รับ ความสงบแล้ว ใจก็ย่อมไม่สงบไปด้วย เมื่อใจไม่สงบ กิเลส ก็ไม่สงบเหมือนกัน การไปวัด พอถึงกำหนดวันให้ไปวัด ก็ต้องพากันไป แม้เด็กเล็ก ๆ ก็ต้องนำไปด้วย ในรอบ ๗ วัน ไปวัด ๑ วัน ใช้เวลาประมาณ ๑ ชั ่วโมงเป็นอย่างน้อย ไปแล้วได้กำไร ไม่ขาดทุน เพราะจะได้ทำกิจในทางพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่าได้ทำบุญ เช่น ได้พบพระ รักษาศีล เจริญจิตภาวนาสมถกรรมฐาน วิปัสสนากัมมัฏฐาน ทำชีวิตจิตใจให้ชุ่มชื่นเบิกบาน ทำใจให้สะอาด สว่าง สงบ เหมือนซักเสื ้อผ้าที ่ใช้มาแล้ว ๗ วัน ชีวิตก็จะมีสาระขึ้น ในรอบ ๗ วันนั้น จึงควรเสียสละเวลา เพื่อสิ่งที่มีสาระทางศาสนาบ้าง การเข้าวัด ยังเป็นการรักษาเศรษฐกิจในครอบครัวอีกด้วย เพราะว่า แทนที่จะพากันไปรื่นเริงในการใช้จ่ายเงิน กลับไปหาความสงบทางจ ิตใจ ซ ึ ่งไม ่ต ้องหมดเปลือง รายจ่ายอะไรเลย เมื ่อถึงวันอุโบสถก็สามารถรักษาศีล ๘ ได้ทั ้งครอบครัว เดือนหนึ่งก็งดใช้จ่ายไปได้มากพอสมควร โดยเฉพาะเรื่องอาหารในเวลาวิกาล คือตั้งแต่เที่ยงวันไปแล้ว ถึง ๔ วัน นอกจากประหยัดค่าอาหารแล้วยังเป็นการรักษาเศรษฐกิจได้อีกด้วย การเข้าวัด ถือศีล ฟังเทศน์ มักจะเข้าใจกันว่าเป็นเรื่องของคนแก่ ๆ ไม่ใช่เรื่องของคนหนุ่มสาว ถ้าใครเริ่มเข้าวัด ตั ้งแต่เป็นเด็ก เป็นหนุ่ม เป็นสาว ก็จะถูกหาว่าเป็นคนครึ ไม่ทันสมัย หรือมิฉะนั้นก็เข้าวัด อย่างคำกลอนว่า “อกหัก หลักลอย คอยงาน สังขารกรอบ ชอบพระ สละกิเลส เปรตในวัด” หรือจากสาเหตุอื่น เช่น เพราะความประมาท ฉลาดกว่าพระเทศน์ เศรษฐกิจไม่อำนวย สังขารไม่ช่วย พระบอกหวยไม่ถูกฯ การเข้าวัดนั้น ท่านต้องการให้เข้าวัดตั้งแต่เป็นเด็ก เป็นหนุ่ม เป็นสาว เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับพระพุทธศาสนา และได้มีโอกาสได้อบรมคุณงามความดีต่าง ๆ หรือดัดกาย วาจา ใจ ง ่ายเหมือนไม้อ ่อน ด ัดง ่ายกว ่าไม ้แก ่ เช ่น ทรงบัญญัติไว้ให้บวช เป็นสามเณรหรือสามเณรี ได้ตั ้งแต่ อายุ ๗ ขวบ บวชเป็นภิกษุและภิกษุณี ได้ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปี อ ุโบสถกรรม ในธัมมปทัฏฐกถา พระธรรมบท ก็ปรากฏว่า มีผู ้ร ักษาอุโบสถอยู ่ ๔ พวก คือ ๑. คนแก่ ๒. กลางคน ๓. หนุ่มสาว ๔. เด็ก เป็นเครื่องรับรองว่า แม้ในครั้งพุทธกาล ก็มีการรักษาอุโบสถตั้งแต่เป็นเด็ก เข้าวัดตอนแก่ จะลำบาก เพราะรักษาศีล ๘ อดอาหารเย็นไม่ได้ แรงน้อย จะเป็นลม จะฟังเทศน์นั่งนานไม่ได้ สังขารทรุดโทรม เมื่อยขา ปวดหลัง จะท่องบทสวดมนต์ไหว้พระความจำไม่ดี ได้หน้าลืมหลัง ได้ปลายลืมต้น สับสนไปหมด ดังพุทธภาษิตว่า ชราชชฺชริตา

โหนฺติ หตฺถปาทา อนสฺสวา ยสฺส วิหตฺตถาโม กถํ ธมฺมํ จริสฺสติ แปลความว่า มือและเท้าของผู ้ใด ทรุดโทรมไป ความชราเป็นอวัยวะที่ไม่เชื่อฟัง ผู้นั้นครั้นมีกำลังหย่อนลงแล้ว จะประพฤติธรรมอย่างไร ถ้าทุกคนคิดว่าการเข้าวัดไม่จำเป็น ศาสนาก็เสื่อม เพราะศาสนาอยู ่ได ้เพราะคนเข้าว ัด ทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามหน้าท ี ่ของศาสนิกชน การเข ้าว ัดแล้วได ้อะไรบ้าง ได้บำเพ็ญทาน รักษาศีล ฟังเทศน์ สวดมนต์ทำวัตร ไหว้พระ สนทนาธรรม เจริญจิตภาวนา ทำจิตให้สงบ มีโอกาสพิจารณาตัวของตัวเอง ได้รู้ธรรม เห็นธรรม จะเข้าวัดหรือไม่เข้าวัดก็ต้องตาย ถ้าเข้าตอนตาย ต้องมีคนหาม แต่ถ้าเข้าวัดขณะยังมีชีวิตอยู่นั้น เดินเข้าไปได้อย่างสง่าผ่าเผย ถ้าเราจะมองดูตัวเราและสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา มีอะไรบ้างที ่เป็นสาระแก่นสาร ร่างกายก็เปลี ่ยนแปลงไป จนกระทั่งแตกดับ ชีวิต คือ ความเป็นอยู่ก็ไม่เที่ยงแท้แน่นอน ทรัพย์สมบัติที่มีอยู่ก็จะต้องหมดสิ้นไป จะหาอะไรเป็นแก่น เป็นสาระไม่เห็นมีเลย นอกจากพระธรรม คือ ธรรมะที่เป็น สารธรรม ๕ ประการ คือ ๑. ศรัทธา ความเชื ่อ ๒. ศีล การรักษากาย วาจา ๓. สุตะ คือ การเป็นผู ้สดับตรับฟัง ๔. จาคะ ความเป็นผู้รู ้จักเสียสละ ๕. ปัญญา คือ ความรู้ สรุป ได้แก่ ทาน ศีล และภาวนา ซึ่งเป็นสาระแก่นสารที่ยั่งยืน นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ ๒๕๕๑ ปี พระธรรม พระวินัยก็ยังคงอยู่ แม้จะไม่ให้ทาน ทรัพย์สมบัติ ก็ถูกใช้จ่ายไปในทางอื่น ไม่รักษาศีลก็ต้องรักษาอย่างอื่น เช่น รักษาคนที่รักหรือของที่รัก แม้ไม่ฟังเทศน์ก็ต้องฟังเขาคุยกัน ทะเลาะกัน ด่ากัน ไม่ให้ทาน ไม่รักษาศีล ไม่ฟังเทศน์ก็ต้องตาย ถึงให้ทาน รักษาศีล ฟังเทศน์ก็ต้องตาย แต่คติ คือ ทางไป ของคนนั้น มีอยู่ ๒ ทาง คือ ๑. ทุคติ ทางไปไม่ดี ๒. สุคติ ทางไปดี เมื่อยังมีชีวิตอยู่ แม้จะไม่เข้าวัด เมื่อตาย เขาก็หามเข้าไปวัด การเข้าวัดเมื่อตายแล้ว จะเป็นประโยชน์อะไรบ้างพระให้ศีล สวดอภิธรรม แสดงธรรมก็ฟังไม่ได้ ซึ่งเป็นเรื่องของ คนที่ยังมีชีวิตอยู่ทำให้ทั้งนั้น แล้วแผ่ส่วนบุญไปให้ ถ้าสมัครใจ เข้าวัดเมื่อมีชีวิตอยู่ก็จะมีโอกาสได้ทำบุญด้วยตนเอง ทุกคนต้องเข้าวัด ไม่เข้าเวลามีชีวิต ก็ต้องเข้าเวลาตาย เข้าเวลาไหนถึงจะดีมีประโยชน์กว่ากัน ก็ต้องพิจารณาดูเอาเอง ทำอย่างไรจึงจะให้คนเข้าวัด ก็ต้องช่วยกันชี้แจงให้เห็นคุณ ของการเข้าวัด และผู้อยู่ในวัดก็ต้องทำวัดให้รื่นรมย์ สะอาด สงบ ผู ้ปกครอง เช ่น บ ิดา มารดา ครู อาจารย ์ ผู้บังคับบัญชาหรือผู้นำ ต้องเป็นผู้นำในการเข้าวัดด้วยตนเอง และ นำผู้อยู่ในปกครองไปเข้าวัด ผู้ที่เข้าวัด ต้องทำตนให้คนที่ยัง ไม่เข้าวัดเห็นว่า คนเข้าวัดมีอะไรดี ๆ กลับออกมา ดีกว่าเมื่อยังไม่เข้าวัด เช่น เที่ยวเตร่น้อยลง ดื่มน้อยลง โทสะน้อยลง การงานดีขึ้น จิตใจดีขึ้น เช่นนี้ เป็นการเชิญชวนให้คนทดลองเข้าวัดดูบ้าง ก็จะได้รับสิ่งที่ดี ๆ ดังกล่าว ติดตัว ติดใจไป กรมการศาสนา จึงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชน เข้าวัด ทุกวันธรรมสวนะ ณ วัดใกล้บ้าน หรือร่วมเข้าวัด กับกรมการศาสนาดังนี้

Page 2: สายตรงศาสนา - sys.dra.go.th · อุโบสถกรรม ในธัมมปทัฏฐกถา พระธรรมบท ก็ปรากฏว่า

สายตรงศาสนา 27

ปกิณกสารธรรม

ทำไมต้องเข้าวัด

กรมการศาสนา ในฐานะหน่วยงานหลัก ในการส่งเสริมให้ข้าราชการและประชาชน

มีคุณธรรมจริยธรรม จึงได้จัดโครงการเข้าวัดปฏิบัติธรรม หรือฟังธรรมในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา ซึ่งได้ดำเนินการตั้งแต่ ปี ๒๕๔๙ เป็นต้นมา โดยเชิญชวนข้าราชการทุกกระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ผู ้สนใจธรรมเชิญเข้าร่วมกิจกรรมเข้าวัดทุกวันธรรมสวนะ หร ือทุกว ันพระ ข ึ ้น ๘ ค่ำ, ข ึ ้น ๑๕ ค่ำ และแรม ๘ ค่ำ, แรม ๑๕ ค่ำ หรือแรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนขาด ทำไมต้องเข้าวัด ปัจจุบันนี้ชาวพุทธที่นับถือศาสนาพุทธนับตั้งแต่ลืมตาดูโลก จะพูดกันว่าเป็นพุทธตามทะเบียนบ้านก็ได้ แต่ไม่เคยรู้ว่า จะต้องประพฤติปฏิบัติตนอย่างไร คำว่า วัด หมายถึง สถานที่ทางศาสนา สิ่งก่อสร้าง ที่ปรากฏเด่นชัดอยู่ ๓ อย่าง คือ ๑. อุโบสถ หรือพระอุโบสถ (วัดพระอารามหลวง) เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรัตนะ คือ พระประธาน ซึ่งเป็น ประหนึ่งองค์พระพุทธเจ้าฯ ๒. ศาลาการเปรียญ เป็นที่ประดิษฐานพระธรรม-รัตนะ คือ พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เพราะเป็นที่แสดงธรรมและฟังธรรม จึงเรียกว่า ศาลาการเปรียญ แปลว่าเป็นสถานที่เรียนรู้พระปริยัติธรรม ๓. กุฏิ เป็นสถานที ่อยู ่ของพระสังฆรัตนะ คือ พระสงฆ์ กุฏิ แปลว่า กระท่อม ไม่เรียกเคหะหรืออาคาร เพราะว่าพระสงฆ์จะถือว่ากุฏิเป็นกรรมสิทธิ์เฉพาะตนไม่ได้ เป็นเพียงผู้อยู่อาศัยชั่วคราวเท่านั้น ไม่เหมือนเคหะหรืออาคาร ซึ่งเจ้าของมีกรรมสิทธิ์เต็มที่ กุฏิ จึงมีความหมายอันเหมาะสมแก่พระสงฆ์ ศาสนาทุก ๆ ศาสนาจะต้องมีสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เป็นสถานที ่บำเพ็ญศาสนกิจต่าง ๆ ทางศาสนา การที่ต้องมีสถานที่ประกอบศาสนกิจหรือบำเพ็ญศาสนกิจของผู้นับถือศาสนานั้น ๆ ก็เพื่อเป็นการสะดวกในการบำเพ็ญศาสนกิจทางศาสนาของทุก ๆ คน ใครก็ตามมีสิทธิ์

ที่จะเข้าไปบำเพ็ญศาสนกิจในสถานที่เช่นนั้นได้ แม้จะเป็น คนยากจน ก็มีสิทธิที่จะใช้บำเพ็ญศาสนกิจในทางศาสนาได้ทุกคน สถานที่เช่นนี้ในทางพระพุทธศาสนา เรียกว่า “วัด” แปลว่า เป็นที่บำเพ็ญความดี บ้าง เรียกว่า “อาวาส” แปลว่า เป็นที่อยู่ของพระภิกษุสงฆ์ สามเณร บ้าง เรียกว่า “อาราม” แปลว่า เป็นที่รื่นรมย์ใจบ้างฯ ทำไมจึงต้องเข้าวัด คนที่นับถือศาสนาพุทธ ก็ต้องไปวัด เหมือนคนที่ยังเป็นข้าราชการอยู่ ก็ต้องไปยังสถานที่ราชการ ยังเป็นครู เป็นนักเรียนอยู่ ก็ต้องไปโรงเรียน เพราะข้าราชการย่อมมีความผูกพันกับที ่ทำงาน ครูและนักเร ียนก็ย ่อมมี ความผูกพันกับโรงเรียน ถ้าออกจากราชการ ออกจากครู และนักเรียนแล้ว ก็ไม่ต้องไปสถานที ่ราชการ ไม่ต้องไปโรงเรียน ถ้าเช่นนั้น ประชาชนคนทั่วไป ทำไมจึงต้องไปสถานที่ราชการ ไปโรงเรียน ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่ข้าราชการ ไม่ใช่ครู ไม่ใช่ นักเรียน การที่ประชาชนต้องไปสถานที่ราชการ ไปโรงเรียน ก็เพราะมีธุระเกี่ยวข้องกับทางราชการบ้าง มีธุระเกี่ยวข้องกับ ทางโรงเรียนบ้าง ข้อนี้ฉันใด คนที่นับถือศาสนาอยู่ ก็ต้องไปวัด เพราะมีความผูกพันกับศาสนาอยู่ อีกอย่างหนึ่ง คนที่มีโรค ก็มีความจำเป็นต้องไป โรงพยาบาล คนทุกคนย่อมมีโรคใจด้วยกันทุกคน อันเกิด จากกิเลสมากบ้าง น้อยบ้าง จึงจำเป็นต้องไปวัด เพื่อขอรับ การรักษาโรคทางใจ อันได้แก่ พระธรรมคำสอนที่เรียกว่า “ธรรมโอสถ” ไปวัดทำไม ? ไปเพื่อประพฤติความดี ที ่เรียกว่า “บำเพ็ญศาสนกิจ” ได้แก่ งานที ่ทำในทางศาสนา หรือ เรียกอีกอย่างว่า “ไปทำบุญ” นั่นเอง ถ้าเช่นนั้น จะทำบุญ ที่บ้านไม่ได้หรือ ทำได้ แต่ไม่สะดวกเหมือนที่วัด เพราะวัด ได้สร ้างไว ้เป ็นที ่บำเพ็ญศาสนกิจโดยตรง ส่วนบ้านนั ้น สร ้างไว ้ เป ็นท ี ่อยู ่อาศ ัย สมเด ็จพระสัมมาสัมพุทธเจ ้า ทรงแสวงหาธรรมเพื ่อตรัสรู ้ ย ังต้องเสด็จออกผนวช คือ การออกบวช การทำบุญที่บ้าน บางอย่างก็พอทำได้ เช่น การให้ทาน บางบ้านก็มีพระสงฆ์บิณฑบาตผ่านไปมา เรามี

Page 3: สายตรงศาสนา - sys.dra.go.th · อุโบสถกรรม ในธัมมปทัฏฐกถา พระธรรมบท ก็ปรากฏว่า

สายตรงศาสนา 30

ครั้งที่ สถานที่ วัน/เดือน/ปี หมายเหตุ

๒๕. วัดศรีสุดาราม ศุกร์ที่ ๑๗ เมษายน (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๕)

๒๖. วัดนายโรง พฤหัสบดีที่ ๒๓ เมษายน (แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๕)

๒๗. วัดสร้อยทอง ศุกร์ที่ ๑ พฤษภาคม (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๖)

๒๘. วัดบุรณศิริมาตยาราม ศุกร์ที่ ๘ พฤษภาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖) วันวิสาขบูชา

๒๙. วัดมหาพฤฒาราม เสาร์ที่ ๑๖ พฤษภาคม (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๖)

๓๐. วัดมหรรณพาราม เสาร์ที่ ๒๓ พฤษภาคม (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๖)

๓๑. วัดทองศาลางาม อาทิตย์ที่ ๓๑ พฤษภาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗)

๓๒. วัดนาคปรก อาทิตย์ที่ ๗ มิถุนายน (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗)

๓๓. วัดอมรคีรี จันทร์ที่ ๑๕ มิถุนายน (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๗)

๓๔. วัดอาวุธวิกสิตาราม จันทร์ที่ ๒๒ มิถุนายน (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๗)

๓๕. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม อังคารที่ ๓๐ มิถุนายน (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๘)

๓๖. วัดสัมพันธวงศาราม อังคารที่ ๗ กรกฎาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘) วันอาสาฬหบูชา

๓๗. วัดชิโนรสาราม พุธที่ ๑๕ กรกฎาคม (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๘)

๓๘. วัดปฐมบุตรอิศราราม พุธที่ ๒๒ กรกฎาคม (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๘)

๓๙. วัดประสาทบุญญาวาส พฤหัสบดีที่ ๓๐ กรกฎาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๙)

๔๐. วัดดิสานุการาม พฤหัสบดีที่ ๖ สิงหาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๙)

๔๑. วัดประดู่ในทรงธรรม ศุกร์ที่ ๑๔ สิงหาคม (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๙)

๔๒. วัดใหม่พิเรนทร์ พฤหัสบดีที่ ๒๐ สิงหาคม (แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙)

๔๓. วัดบางบำหรุ ศุกร์ที่ ๒๘ สิงหาคม (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๐)

๔๔. วัดอัปสรสวรรค์ ศุกร์ที่ ๔ กันยายน (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐)

๔๕. วัดสุนทรธรรมทาน เสาร์ที่ ๑๒ กันยายน (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๐)

๔๖. วัดหิรัญรูจี เสาร์ที่ ๑๙ กันยายน (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐)

๔๗. วัดเจ้ามูล อาทิตย์ที่ ๒๗ กันยายน (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑)

๔๘. วัดหงส์รัตนาราม อาทิตย์ที่ ๔ ตุลาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑) วันออกพรรษา

Page 4: สายตรงศาสนา - sys.dra.go.th · อุโบสถกรรม ในธัมมปทัฏฐกถา พระธรรมบท ก็ปรากฏว่า

สายตรงศาสนา 29

กำหนดการเข้าวัดปฏิบัติธรรมวันธรรมสวนะของกรมการศาสนา ระหว่างวันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๑-วันอาทิตย์ที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๒

๑. วัดเวฬุราชิณ พุธที่ ๒๒ ตุลาคม (วันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๑)

๒. วัดทองธรรมชาติ อังคารที่ ๒๘ ตุลาคม (แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑)

๓. วัดแก้วแจ่มฟ้า พุธที่ ๕ พฤศจิกายน (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒)

๔. วัดโมลีโลกยาราม พุธที่ ๑๒ พฤศจิกายน (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒)

๕. วัดจักรวรรดิราชาวาส วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ พฤศจิกายน (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๒)

๖. วัดสุทธิวราราม วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ พฤศจิกายน (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒)

๗. วัดราชาธิวาส ศุกร์ที่ ๕ ธันวาคม (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑) ตรงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

๘. วัดพิชยญาติการาม ศุกร์ที่ ๑๒ ธันวาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑)

๙. วัดหัวลำโพง เสาร์ที่ ๒๐ ธันวาคม (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑)

๑๐. วัดราชผาติการาม ศุกร์ที่ ๒๖ ธันวาคม (แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑)

๑๑. วัดชัยพฤกษมาลา เสาร์ที่ ๓ มกราคม (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๒)

๑๒. วัดโสมนัสวิหาร เสาร์ที่ ๑๐ มกราคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๒)

๑๓. วัดอัมพวัน อาทิตย์ที่ ๑๘ มกราคม (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๒)

๑๔. วัดบางเสาธง อาทิตย์ที่ ๒๕ มกราคม (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๒)

๑๕. วัดบางยี่ขัน จันทร์ที่ ๒ กุมภาพันธ์ (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๓)

๑๖. วัดสระเกศ จันทร์ที่ ๙ กุมภาพันธ์ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓) วันมาฆบูชา

๑๗. วัดพลับพลาชัย อังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๓)

๑๘. วัดราชคฤห์ จันทร์ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ (แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๓)

๑๙. วัดนรนาถสุนทริการาม อังคารที่ ๓ มีนาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔)

๒๐. วัดอมรินทราราม อังคารที่ ๑๐ มีนาคม (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔)

๒๑. วัดบพิตรพิมุข พุธที่ ๑๘ มีนาคม (แรม ๘ ค่ำ เดือน ๔)

๒๒. วัดราชนัดดาราม พุธที่ ๒๕ มีนาคม (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔)

๒๓. วัดเศวตฉัตร พฤหัสบดีที่ ๒ เมษายน (ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๕)

๒๔. วัดราชสิทธาราม พฤหัสบดีที่ ๙ เมษายน (ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕)

ครั้งที่ สถานที่ วัน/เดือน/ปี หมายเหตุ