121
บทที2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการวิจัยครั้งนีคณะผูวิจัยไดศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อใช เปนแนวทางในการวิจัยโดยแบงเปนหัวขอ ดังนี1. แนวคิด หลักการ และทฤษฏีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม 1.1 ความหมายเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมตามหลักศาสนา 1.3 หลักการ และทฤษฎีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม 1.4 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.5 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ .. 2550 2. สภาพคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย 2.1 ปญหาดานคุณธรรมจริยธรรม 2.2 บทเรียนการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม 2.3 คุณธรรมจริยธรรมที่จําเปนสําหรับสังคมไทย 2.4 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยรรม 3. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย 3.1 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมโดยหนวยงาน/องคกรของภาครัฐ 3.2 การสงเสริมคุณธรรมในภาคเอกชนและภาคประชาชน 4. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในตางประเทศ 5. ปจจัยและเงื่อนไขในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกีย่วของ

ในการวิจัยคร้ังนี้ คณะผูวิจัยไดศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของเพ่ือใชเปนแนวทางในการวจิัยโดยแบงเปนหัวขอ ดังนี ้ 1. แนวคิด หลักการ และทฤษฏีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม

1.1 ความหมายเกีย่วกับคุณธรรมจริยธรรม 1.2 แนวคิดเกีย่วกับคุณธรรมตามหลักศาสนา 1.3 หลักการ และทฤษฎีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม 1.4 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.5 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2550

2. สภาพคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย 2.1 ปญหาดานคุณธรรมจริยธรรม 2.2 บทเรียนการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม 2.3 คุณธรรมจริยธรรมท่ีจําเปนสําหรับสังคมไทย 2.4 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยรรม

3. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย 3.1 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมโดยหนวยงาน/องคกรของภาครัฐ 3.2 การสงเสริมคุณธรรมในภาคเอกชนและภาคประชาชน

4. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในตางประเทศ 5. ปจจัยและเง่ือนไขในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม 6. งานวิจยัท่ีเกีย่วของ

Page 2: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  10

1. แนวคิด หลักการ และทฤษฏีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม 1.1 ความหมายเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม คําวา คุณธรรม มีผูใหความหมายไวหลายทัศนะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542 กลาววา คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี สวนจริยธรรม หมายถึง ธรรมท่ีเปนขอประพฤติปฏิบัติ สําหรับความหมายอ่ืน ๆ มีผูใหความหมายไว ดังนี้ ประภาศรี สีหอําไพ (2531) ใหความหมายวาคุณธรรมหมายถึง หลักธรรมจริยธรรมท่ีสรางความรูสึกผิดชอบ ช่ัวดีทางศีลธรรม มีคุณงามความดีภายในจิตใจจนเต็มเปยมไปดวยความสุขความยินดี การกระทําท่ีดี ยอมไดรับผลของความดี คือ ความช่ืนชมยกยอง ในขณะที่การกระทําช่ัวยอมไดรับผลของการกระทําช่ัว คือ ความเจ็บปวย การเปนผูมีคุณธรรม คือการปฏิบัติตนอยูในกรอบท่ีดีงาม ความเขาใจเลือกกระทําดีมีคุณธรรม เปนกฎเกณฑท่ีสากลตรงกัน ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2548) กลาววา คุณธรรม หมายถึง ส่ิงท่ีสังคมวาดี ควรทํา จริยธรรมตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง ระบบการทําความดีละเวนความช่ัว นอกจากนี้คําวา จริยธรรม ยังใชครอบคลุม คําวา คุณธรรม คานยิม กฎหมาย กฎระเบียบ หลักศาสนา กฎจราจร บรรทัดฐานของสังคม ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม (2548) สรุปความหมายของคุณธรรม จริยธรรม ไววา คุณธรรม หมายถึง กรอบความประพฤติ ความคิดท่ีสังคม หรือบุคคลมีความเห็นรวมกันวาเปนส่ิงดี มีประโยชนมากกวาโทษ สวนจริยธรรม หมายถึง การปฏิบัติ การทําดี ละเวนความช่ัวอันเปนผลมาจากการคิดดี กรมการศาสนา (2551) ใหความหมายของคุณธรรม วา หมายถึง ส่ิงท่ีมีคุณคา มีประโยชน เปนความดี เปนมโนธรรม เปนเคร่ืองประคับประคองใจใหเกลียดความช่ัว กลัวบาป ใฝความดี เปนเคร่ืองกระตุนผลักดันใหเกิดความรูสึกรับผิดชอบ เกิดจิตสํานึกท่ีดี มีความสงบเย็นภายในและเปนส่ิงท่ีตองปลูกฝงโดยเฉพาะ เพื่อใหเกิดข้ึนและใหเหมาะสมกับความตองการในสังคมไทย วิทย วิทเวทย และเสฐียรพงษ วรรณปก (2530) ใหคํานิยามวาจริยธรรม หมายถึง หลักคําสอนวาดวยความประพฤติสําหรับเปนหลักใหบุคคลยึดถือในการปฏิบัติตน พระเมธีธรรมาภรณ (2541) ไดกลาววา จริยธรรม (Ethics) มาจากภาษากรีกวา Ethos คือ Habit นั่นคือนิสัย ดังนั้น จริยธรรมและจริยศาสตรจึงเปนเร่ืองของการฝกนิสัยตามทฤษฎีของชาวกรีก กลาววา คนเราเกิดมาเหมือนผาขาวแลวมาฝกกันโดยตองทําบอยๆ ทําซํ้าๆ จนเปนนิสัย แลวจะกลายเปนคุณธรรม เปนการเร่ิมจากภายนอกเขาไปสูภายใน เปนลักษณะนิสัย เปนคุณสมบัติท่ีดีในจิตใจ ฉะนั้นการทําดีตองทําบอยๆ จนเปนนิสัย

Page 3: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  11

พระธรรมปฎก (2543) ไดใหความหมายของจริยธรรมไววาจริยธรรม คือการนําความรูในความจริง หรือกฎของธรรมชาติมาใชใหเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตท่ีดีงาม ท่ีกอใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคม สรุปไดวา คุณธรรม หมายถึง ส่ิงท่ีมีคุณคา มีประโยชน เปนความดี เปนมโนธรรม เปนความคิดดีท่ีกระตุนใหมีการประพฤติปฏิบัติอยูในกรอบท่ีดีงามและสามารถจําแนกความถูกผิดได มีสติสัมปชัญญะ มีความรับผิดชอบช่ัวดี มีอุปนิสัยความต้ังใจและเจตนาที่ดีงาม สวนจริยธรรมหมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงออกใหเห็นเปนการปฏิบัติดี ปฏิบัติไดถูกตองท่ีเปนผลมาจากความคิดท่ีสังคม หรือบุคคลเห็นรวมกันวาเปนส่ิงท่ีดีโดยมีกรอบหรือแนวทางอันดีงามท่ีพึงปฏิบัติ ซ่ึงกําหนดไวสําหรับสังคม เพื่อใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอยงดงาม ความรมเย็นเปนสุข ความรักสามัคคี ความอบอุน ม่ันคงปลอดภัยในการดําเนินชีวิต 1.2 แนวคิดเก่ียวกับคุณธรรมตามหลักศาสนา ศาสนา หมายถึง ความเช่ือในส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ส่ิงเหนือธรรมชาติ หลักการ สถาบัน หรือประเพณีท่ีเปนท่ีเคารพ โดยท่ัวไปแลวอาจกลาวไดวา ศาสนาเปนส่ิงท่ีควบคุมและประสานความสัมพันธของมนุษยใหอยูรวมกันไดอยางปกติสุข โดยมีคําอธิบายถึงการเกิดข้ึนและพัฒนาการของศาสนา ไวเปน 3 กลุม กลุมแรก มองวาศาสนาเปนส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึน กลุมท่ีสอง มองวาศาสนาคอย ๆ พัฒนาการไปสูสภาวะแหงความจริงมากข้ึนเร่ือย ๆ และกลุมท่ีสาม มองวาศาสนาบางศาสนาน้ันคือความจริงแท (กรมการศาสนา, 2550) สําหรับประเทศไทย ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา โดยพระมหากษัตริยทรงเปนอัครศาสนูปถัมภทุกศาสนา ไดแก ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ศาสนาสิกข คุณธรรมแตละศาสนา มีดังนี ้ 1.2.1 หลักธรรมของศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธมี 2 นิกายหลักคือ มหายานหรืออาจริยวาท และหินยานหรือ เถรวาท มีผูอธิบายหลักธรรมไวดังตอไปนี ้

เดือน คําดี (2541) กลาวไววา ในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาทรงแสดงหลักธรรมไวมาก กอนท่ีถือวาเปนจริยธรรมนั้น อาจจาํแนกเปน 3 ระดับ คือ

1. ระดับมูลฐาน คือ ศีลหา ไดแก 1) งดเวนจากการฆาสัตว 2) งดเวนจากการลักทรัพยของผูอ่ืน 3) งดเวนจากการประพฤติผิดทางกาม 4) งดเวนจากการพูดปด 5) งดเวนจากการดื่มสุราเมรัยและยาเสพติดใหโทษ

2. ระดับกลาง คือ กุศลกรรมบถ 10 คือ กายสุจริต 3 ประการ คือ 1) งดเวนจากการฆาสัตว 2) งดเวนจากการลักทรัพยของผูอ่ืน 3) งดเวนจากการประพฤติผิดทางกาม วจีสุจริต 4

Page 4: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  12

3. ระดับสูง คือ มรรค 8 คือ 1) สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ 2) สัมมาสังกัปปะ ดําริชอบ 3) สัมมาวาจา เจรจาชอบ 4) สัมมากัมมันตะ การงานชอบ 5) สัมมาอาชีวะ เล้ียงชีพชอบ 6) สัมมาวายามะ ระลึกชอบ 7) สัมมาสติ ระลึกชอบ 8) สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ ยอลงเปน 3 คือ ศีล สมาธิ ปญญา เรียกอีกอยางวาไตรสิกขา

ประทีป สาวาโย (2545) สรุปหลักธรรมของศาสนาพุทธ เฉพาะท่ีนบัวาสําคัญจริง ๆ ไดดังตอไปนี ้

1. โอวาทปาฏิโมกข พระพุทธองคทรงแสดงหลักพุทธศาสนา (หวัใจพระพุทธศาสนา) ในวันข้ึน 15 คํ่า เดือน 3 (มาฆะ) มีใจความสําคัญดังนี ้ 1) ใหเวนจากความช่ัวท้ังหมด 2) ใหสรางความดสีมํ่าเสมอ 3) ใหชําระจิตใหบริสุทธ์ิ

2. อริยสัจ 4 เ ปนหลักธรรมท่ีพระพุทธองคตรัสสอนพระธรรมวินัยไว จัดเปนหัวใจแหงพระพุทธศาสนา อริยสัจ 4 คือ ธรรมท่ีเปนความเปนจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ตอไปนี้ 1) ทุกข หมายถึง ความทุกขท้ังส้ิน 2) สมุทัย เหตุใหทุกขเกิด 3) นิโรธ ความดับทุกข และ 4) มรรค ทางใหถึงความดับทุกข

3. หลักจริยธรรมในพระพุทธศาสนา ซ่ึงเปนหลักท่ีชาวพุทธทุกคนยึดถือปฏิบัติตามกันอยางเครงครัด เพิ่มความสงบสุขในชีวิตและสังคม มี 3 ข้ัน ดังนี ้

3.1 ข้ันพื้นฐาน ไดแก ศีล 5 และธรรม 5 (เบญจศีล เบญจธรรม) เบญจศีล ไดแก เวนจากการฆาสัตว (รวมท้ังมนุษย) เวนจากการลักทรัพย เวนจากการประพฤติผิดทางกาม เวนจากการพดูปด เวนจากการดื่มสุราเมรัย สวนเบญจธรรม ไดแก เมตตาตอสัตว ประกอบอาชีพสุจริต สํารวมในกาม พูดความจริง มีสติสํารวมระวัง

3.2 ข้ันกลาง ไดแก กุศลกรรมบถ 10 ตอไปนี ้ 1) ทางกายมี 3 ขอ ดังนี้ เวนจากการฆาสัตว เวนจากการลักทรัพย เวนจากการประพฤติผิดในกาม 2) ทางวาจามี 4 ขอ ดงันี้ เวนจากการพดู ปด เวนจากการพูดสอเสียด เวนจากการพูดคําหยาบ เวนจากการพดูเพอเจอ 3) ทางใจมี 3 ขอ ดังนี ้ ไมคิดโลภเอาของคนอ่ืน ไมคิดปองรายยผูอ่ืน ไมเห็นผิดจากธรรม เชนเห็นวาทําดีไมไดดีทําช่ัวไมไดช่ัว

3.3 ข้ันสูง ไดแก อริยมรรค 8 (รายละเอียดเร่ืองอริยมรรค)

Page 5: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  13

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลรวมกับกรมการศาสนา (2551 ) กลาวถึงหลักธรรมของศาสนาพุทธไวดังนี้ หลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาไดรับการบันทึกไวเปนพระคัมภีรเรียกวา พระไตรปฎก มีจํานวน 84,000 พระธรรมขันธ แบงออกเปน 3 คัมภีร คือ คัมภีรพระวินัยปฎก วาดวยเร่ือง วินัย ศีล สําหรับพระภิกษุ ภิกษุณี สามเณร สามเณรี อุบาสก อุบาสิกา ปฏิบัตินอกจากนี้คัมภีรพระไตรปฎกยังกลาวถึง ศีลเบ้ืองตน และขอกําหนดกฎเกณฑในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชน เร่ืองการอุปสมบท การผูกพัทธสีมา เปนตน คัมภีรพระสุตตันตปฎก กลาวถึงธรรมช้ันสูง หรือปรมัตถสัจจะท่ีพระพุทธเจาตรัสรู ศาสนธรรมของพระพุทธเจาท่ีรวบรวมไดจากการประชุมคณะสงฆภายหลังพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลวมีมาก อาทิ 1. ไตรลักษณ ไดแก อนิจจงั ทุกขัง อนัตตา 2. อริยสัจ 4 ไดแก ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค 3. ปฏิจจสมุปบาท 4. อริยมรรคมีองค 8 5. นิพพาน คําสอนวาดวยมรรค 8 เปนคําสอนใหดับทุกขท้ังปวง ยอลงมาไดเปน ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญา มีดังนี้

• สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ คือ ศีล

• สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ คือ สมาธิ

• สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ คือ ปญญา ศีล คือ การฝกฝนพัฒนาดานพฤติกรรม ทางกาย และวาจา ใหมีความสัมพันธกับส่ิงแวดลอมอยางถูกตองและเกิดผลดี สมาธิ คือ การฝกฝนพัฒนาในดานจิตใจ เนือ่งจากพฤติกรรมทุกอยางเกดิข้ึนเพราะความตั้งใจ ถาจิตใจไดรับการพัฒนาใหดีงามแลว ก็จะควบคุมดูแลและนําพฤติกรรมไปในทางท่ีดีงามดวย ปญญา คือการพัฒนา เพราะปญญาเปนตัวนําทางและควบคุมพฤติกรรมท้ังหมด เปนตัวปลดปลอยจิตใจท่ีโลงและเปนอิสระ 6. หัวใจพระพุทธศาสนา 3 ประการ เม่ือพระพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาติโมกข โดยสรุป คือ 1. การไมทําบาปทั้งปวง 2. การทํากุศลใหสมบูรณ 3. การทําจิตของตนใหผองแผว ทองหลอ วงษธรรมา (2551) กลาวถึงหลักธรรมทางศาสนาพุทธและจริยธรรมในพุทธศาสนาแบงเปน 1) จริยธรรมระดับพื้นฐาน 2) จริยธรรมระดับกลาง 3) จริยธรรมระดับสูง

Page 6: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  14

1) จริยธรรมระดับพื้นฐาน พุทธศาสนาวางหลักปฏิบัติเพือ่ความดีระดับตนหรือระดับพื้นฐาน ซ่ึงเปนช้ันสามัญอันทําใหคนเปนมนษุยไว ไดแก ศีล 5 และ ธรรม 5 ควรปฏิบัติท้ังสองอยางควบคูกัน หากปฏิบัติเฉพาะศีลกจ็ะเปนความดีเฉพาะตน แตควรปฏิบัติธรรมพรอมกันไป ตารางท่ี 2.1 ศีลคูกับธรรม

ศีลคูกับธรรม ศีล 5 ธรรม 5

1. เจตนางดเวนจากการฆาสัตว 2. เจตนางดเวนจากการลักทรัพย 3. เจตนางดเวนจากการประพฤติผิดประเวณ ี4. เจตนางดเวนจากการพูดปด 5. เจตนางดเวนจากการดื่มของมึนเมา มีสุราและเมรัย เปนตน อันเปนท่ีตั้งแหง ความประมาท

1. เมตตา 2. สัมมาอาชีวะ (หรืออโลภะ) 3. กามสังวร 4. สัจจะ 5. สติ

2) จริยธรรมระดับกลาง หลักปฏิบัติเพื่อความดีระดับกลาง เรียกวา กศุลกรรมบถ 10

แปลวา ทางแหงความดี 10 ประการ โดยแยกออกเปน 3 หมวดคือ กาย วาจา และใจ แปนการปฏิบัติเพื่อใหเกิดความบริสุทธ์ิทางกาย วาจา และใจ ตารางท่ี 2.2 กศุลกรรมบถ 10

หมวดท่ี ช่ือ ความหมาย 1. กาย กายสุจริต 3

1. ปาณาติปาตา เวรมณ ี2. อทินนาทานา เวรมณ ี3. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณ ี

เจตนางดเวนจากการฆาสัตว เจตนางดเวนจากการลักทรัพย เจตนางดเวนจากการผิดประเวณ ี

2.วาจา วจีสุจริต 4

4. มุสาวาทา เวรมณ ี5. ปสุณวาจา เวรมณ ี6. ผรุสวาจา เวรมณ ี7. สัมผัปปลาปา เวรมณ ี

เจตนางดเวนจากการพูดเท็จ เจตนางดเวนจากการพูดสอเสียด เจตนางดเวนจากการพูดคําหยาบ เจตนางดเวนจากการพูดเพอเจอ

3. ใจ มโนสุจริต 3

8. อนภิชฌา 9. อัพยาปาทะ 10. สัมมาทิฏฐิ

ไมเพงเอาของผูอ่ืนมาเปนของตน ไมคิดปองราย พยาบาท จองเวร เหน็ถูกตองตามคลองธรรม

Page 7: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  15

3) จริยธรรมระดับสูง หลักปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงความดีข้ันสูงสุด อันเปนอุดมคติชีวติของมนุษยคือ มรรคมีองค 8 หรือมัชฌิมาปฏิปทา คือมรรค 8 หรือทางสายกลาง ไดแก มรรค 8 คือ (1) สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ (2) สัมมาสังกัปปะ ดําริชอบ (3) สัมมาวาจา เจรจาชอบ (4) สัมมากัมมันตะ การงานชอบ (5) สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ (6) สัมมาวายามะ เพียรพยายามชอบ (7) สัมมาสติ ระลึกชอบ (8) สัมมาสมาธิ ตั้งใจม่ันชอบ

สรุปหลักธรรมสําคัญของศาสนาพุทธ มี 3 ประการ คือ 1. การไมทําความช่ัว หมายถึง ส่ิงใดท่ีทําไปทางกาย วาจา หรือใจแลวจะสงผลให 1)

ตนเองเดือดรอน 2) คนอ่ืนเดอืดรอน 3) ท้ังตนเองและผูอ่ืนเดือดรอน และ 4) ไมเปนประโยชนแกตนและผูอ่ืน ส่ิงนั้นจัดวาเปนความช่ัว จะตองงด ลด ละ เลิก สละ เวน หลีกเล่ียง หางไกลใหได

2. การทําความดีใหเกิดข้ึน หมายถึง ส่ิงใดท่ีทําไปทางกาย วาจา หรือทางใจแลวจะสงผลให 1) ตนเองไมเดือดรอน 2) ผูอ่ืนไมเดือดรอน 3) ตนเองและผูอ่ืนไมเดือดรอน และ 4) เปนประโยชนท้ังแกตนเองและผูอ่ืน ส่ิงนั้นจดัวาเปนความดี

3. การชําระจติใจใหบริสุทธ์ิผองใส หมายถึง ส่ิงใดท่ี ทํา ท่ีพูด หรือส่ิงท่ีคิด แลวทําใหจิตใจสะอาดบริสุทธ์ิผองใส ดวยคุณธรรม เชน การใหทาน สันโดษ เมตตากรุณา และ มีปญญา จะชวยขจดัความโลภ ความโกรธ ความหลง ใหบรรเทาเบาบางหายไปจากจิตใจ 1.2.2 หลักธรรมของศาสนาอิสลาม

หลักธรรมในศาสนาอิสลาม ตั้งอยูบนโครงสรางหลัก 3 ประการ คือ 1) หลักอีมาน คือ หลักศรัทธา 6 ประการ 2) หลักอิสลาม คือ หลักปฏิบัติ 5 ประการ 3) หลักอิทซาน คือ หลักคุณธรรมท่ีอยูในติสํานึกวา การแสดงออกในทุกประการท้ัง

ทางกาย วาจา รวมท้ังส่ิงท่ีอยูในจิตใจในทุกขณะจติอยูในการรับรูของพระเจา (อัลลอย) ท้ังส้ิน เสาวนีย จิตตหมวด (2535, 2544) ไดกลาวถึงรายละเอียดของหลัก 2 ประการ

คือ หลักศรัทธา และหลักปฏิบัติ ดังนี้ 1) หลักศรัทธา 6 ประการ

ผูท่ีเปนมุสลิมจะตองศรัทธาในหลัก 6 ประการ ซ่ึงเรียกวา รุกนอีหมาน ไดแก 1.1)ศรัทธาในพระผูเปนเจา อัลลฮฺ (ซุบฮาฯ) 1.2) ศรัทธาในบรรดามลาอกะฮฺ 1.3) ศรัทธาในบรรดาคัมภีร 1.4) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต 1.5) ศรัทธาในวันพิพากษา และ 1.6) ศรัทธาในกฎกําหนดสภาวการณ ดังรายละเอียดตอไปนี ้

Page 8: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  16

1.1) ศรัทธาในพระผูเปนเจา มุสลิมจะตองศรัทธาในพระผูเปนเจาเพยีงพระองคเดยีว ไมตั้งส่ิงอ่ืนใด

ข้ึนเปนภาคีทําการเคารพสักการะพระเจาในศาสนาอิสลามมีพระนามวา อัลลฮฺ (ซุบฮาฯ) นอกจากมุสลิมจะศรัทธาวามีพระเจาเพยีงพระองคเดยีวแลวมุสลิมจะตองศรัทธา

ตองยอมรับในคุณลักษณะของพระผูเปนเจา (ภาษาอรับเรียกวา ซีฟดวายบิสําหรับอัลลอฮฺ) เชน พระองคทรงรู ทรงเหน็ ทรงไดยินทุกสรรถส่ิงท้ังในท่ีลับและท่ีแจง ตลอดจนในหวัใจของมนษุย ทรงสรางสรรพส่ิงท้ังมวล ทรงยุติธรรม ฯลฯ

1.2) ศรัทธาในบรรดามลาอีกะฮฺ มลาอีกะฮฺเปนบาวของพระเจาประเภทหนึง่มีคุณสมบัติแตกตางไปจาก

มนุษยเชน ไมกิน ไมดื่ม ไมนอน ไมมีเพศ ไมกระทําส่ิงใดตามอารมณชอบ มนษุยไมทราบรูปรางท่ีแทจริง คือไมอาจเห็นตัวตนได แตมหาอีกะฮฺสามารถแปลงรางตาง ๆ ไดตามบัญชาของพระเจา

มลาอีกะฮฺถูกสรางข้ึนมาเปนจาํนวนมาก โดยมีช่ือและหนาท่ีตาง ๆ กัน ญิบรออีล มีหนาท่ีนําโองการจากพระผูเปนเจามาถายทอดใหแกทาน

ศาสดา (ศ็อลฯ) รกิบ-อดิ๊ด ทําหนาท่ีบันทกึความดี ความช่ังของมนุษย อิสรออีล ทําหนาท่ีถอดวิญญาณมนุษยออกจากราง มุนกัร-นกรี ทําหนาท่ีสัมภาษณผูตาย ณ หลุมฝงศพ

1.3) ศรัทธาในบรรดาคัมภรี คัมภีรของศาสนาอิสลามช่ือวา คัมภีรอัล-กรุอาน ซ่ึงเปนคัมภีรฉบับ

สุดทายท่ีพระองคอัลลอฮฺ (ซุบฮาฯ) ประทานมายังมนษุยาชาติโดยผานทางทานศาสดามุฮํามัด (ศ็อลฯ) แตกอนหนาจากนีพ้ระองคไดประทานคัมภีรมาใหมนุษยชาติโดยผานทานศาสดาตาง ๆ มาแลว

คัมภีรท่ีพระองคประทานมาท้ังหมดมีจํานวน 104 เลม แตท่ีสําคัญมี 4 คัมภีร คือ

1. คัมภีรเตารอต (The Old Testament) ประทานใหแกนบี2มูซา (อลัยฮิสลาม)3

2. คัมภีรอินญีล (The New Testament) ประทานใหแกนบีอีซา (อลัยอิสลาม) หรือพระเยซู

3. คัมภีรซาบูรุประทานใหแกนบีดาวูด (อลัยอิสลาม) หรือเดวิด

4. คัมภีรอัล-กรุอานประทานใหแกนบีมุฮํามัด (ศ็อลฯ)

Page 9: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  17

ฉะนั้น จึงเปนหนาท่ีของมุสลิมทุกคนท่ีจะตองศรัทธาในบรรดาคัมภีรตางๆ ท่ีพระองคประทานมา

1.4) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต มุสลิมจะตองศรัทธาวาพระเจาทรงคัดเลือกบุคคลในหมูมนุษยชาติให

เปนผูส่ือสารนําบทบัญญัติของพระองคมาส่ังสอนแกมนษุยชาติทุกยุคทุกสมัย ดังใจความจากคัมภรีอัลกุอานตอนหน่ึงวา

สําหรับทุกประชาชาตินัน้มีผูนํา (13:7) ผูท่ีไดรับโองการจากพระเจา พอจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. นบี หมายถึง ผูท่ีไดรับโองการมาเพ่ือปฏิบัติตามท่ีพระผูเปนเจาทรง

ใชและงดเวนในส่ิงท่ีพระองคทรงหามโดยเฉพาะตนเองเทานั้นไมมีหนาท่ีตองเผยแพรตอบุคคลท่ัวไป 2. รซูล เปนนบีเชนกนั แตมีหนาท่ีมากกวานบีกลาวคือ ตองนํา

โองการท่ีไดรับจากพระเจามาเผยแผแกมนุษยชาติโดยท่ัวไป เชน นบีมูซา (อลัยฮิสลาม) หรือโมเซส นบีอีซาหรือพระเยซู (อลัยฯ) และนบีมุฮํามัด (ศ็อลฯ) ฉะนั้นจึงสรุปไดวา รซูลทุกคนเปนนบีแตนบีทุกคนมิไดเปนรซูล

1.5) การศรัทธาในวันพพิากษา มุสลิมตองศรัทธาวาโลกนี้ (โลกดุนยา) เปนโลกแหงการทดลองเปน

โลกท่ีไมจีรัง จะตองมีวันซ่ึงแตกสลาย ซ่ึงวันนัน้เรียกวา วันกยิามะฮฺ หรือวันแหงการพิพากษา เปนวันท่ีทุกชวีิตจะบังเกิดอีกคร้ังหนึ่ง เพื่อถูกชําระการงาน ท่ีเขาไดประกอบไวในโลกน้ี

1.6) การศรัทธาตอกฎกําหนดสภาวการณ กฎกําหนดสภาวการณ คือ ระเบียบอันรัดกมุท่ีพระผูเปนเจาไดกําหนด

ไวแกจักรวาล แกโลก แกมนุษยชาติ แบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ 1. กฎท่ีตายตัว เม่ือประสบกับผูใดแลวหลีกเล่ียงไมได ทุกอยางดําเนนิ

ไปตามพระประสงค เชน การถือกําเนิด ชาติพันธุ รูปรางหนาตา การโคจรของดวงดาว การแปรปรวนของดินฟาอากาศ ฯลฯ

2. กฎท่ีไมตายตัว โดยดําเนนิไปตามความสัมพันธระหวางเหตุและผล กิจกรรมตางๆ อยูในดุลยพินจิของมนุษยในอันท่ีจะใชสถิปญญาท่ีพระเจาพระประทานมาเลือกปฏิบัติ

2) หลักปฏิบตัิ 5 ประการ เม่ืออิสลามเปนระบอบของการดําเนินชีวติฉะน้ันอิสลามจึงเนนในเร่ืองการ

ปฏิบัติการปฏิบัติอันเปนพืน้ฐานท่ีสําคัญของความเปนมุสลิม เรียกวา รุกนอิสลาม ซ่ึงประกอบดวย

Page 10: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  18

2.1) การปฏิญาณตน หลักปฏิบัติหรือรุกนอิสลามประการแรก ซ่ึงถือไดวาเปนหัวใจของการ

เปนมุสลิม คือ การปฏิญาณตน การปฏิญาณตนเปนหลักปฏิบัติท่ีสรุปมาจากหลักความศรัทธา ท่ีแบง

ออกเปนประการท่ีสําคัญ 2 ประการ คือ 1. การศรัทธาหรือการเช่ือในพระองคอัลลอฮฺ (ซุบฮาฯ) และคําส่ังของ

พระองคคือคัมภีรอัล-กุรอาน 2. การศรัทธาหรือการเช่ือ ในทานศาสดามุฮํามัด (ศ็อลฯ) และคําสอน

รวมท้ังแบบฉบับของทาน คือ ซุนนะห ฺ2.2) การถือศีลอด

คําวานมาซหรือละท่ีใชกันอยูในภาษาไทย คือ คําจากภาษาอรับวา “อัศเศาะลาด”ฺ แปลวา “การขอดุอาอฺหรือการขอพร”

ตามท่ีไดกลาวมาแลววาการปฏิญาณตนคือขอสรุปของความศรัทธาซ่ึงจะควบคุมพฤติกรรมหรือวถีิชีวิตมุสลิมฉะน้ันจึงกลาวไดวาในสวนของหลักปฏิบัติ “การละหมาด” จึงเปนพิธีกรรมท่ีสําคัญท่ีสุด เปนขอปฏิบัติท่ีบังคับแกมุสลิมทุกคนท้ังชายหญิงซ่ึงจะตองปฏิบัติทุกวนั

2.3) การถือศีลอด การ “ถือศีลอด” ท่ีใชในภาษาไทยมากจากภาษาอรับวา “อัศ-ศียาม”

แปลวา การละการงดเวน การระงับยับยั้ง การครองตน ดังนั้นการถือศีลอดจึงหมายถึง การงดเวนจากการบริโภคอาหาร เคร่ืองดื่ม การรวมสังวาส การรักษาอวัยวะทุกสวนใหพนจากการทําช่ัว ท้ังทางดานกายกรรม วจกีรรมและมโนกรรมต้ังแตแสงอรุณข้ึนจนกระท่ังหมดแสง

การละหมาดจดัไดวาเปนการฝกความอดทนอยางหนึ่ง และภาคผลท้ังปวงนั้น จะไดแกผูปฏิบัติโดยตรงสวนการถือศีลอด กลาวไดวาเปนการฝกความอดทนในลําดับสูงข้ึนไป เพราะตองอดทนท้ังทางรางกายและจติใจ กลาวคือนอกจากจะตองทนตอความหิวแลวยังตองอดกล้ันในอารมณความรูสึกตาง ๆ โดยตองฝกเปนเวลา 1 เดือนของทุก ๆ ป เพื่อนําผลจากการปฏิบัติหรือฝกฝนนี้ไปใชในอีก 11 เดือน จึงกลับเขามารับการฝกใหมในเดือนท่ี 9 ของทุก ๆ ป การฝกนี้นอกจากจะไดผลตอตนเองแลวยังเปนบันไดนําไปสูการทําประโยชนหรือการชวยเหลือเพ่ือนมนษุยในสังคมตอไป

Page 11: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  19

2.4) ซะกาต “ซะกาด” เปนคําท่ีมาจากภาษาอรับวา “ซะกาฮฺ” แปลวาความจําเริญ

งอกงามการเพ่ิมทวีการทําใหบริสุทธ์ิหรือการขัดเกลาจิตใจ ซะกาดกลาวไดวาเปนขอปฏิบัติของหลักเศรษฐศาสตรอิสลามท่ีตองการ

ลดชองวางความแตกตางของฐานะทางเศรษฐกิจ กลาวคือเปนท้ังการปองกันและแกไขปญหาความยากจนอันเปนปญหาสําคัญท่ีเกิดข้ึนในสังคมโดยท่ัวไป

ซะกาดเปนหลักปฏิบัติขอหนึ่งในรุกนอิสลามท่ีมุสลิมสวนหนึ่งจะตองปฏิบัติในทุกรอบ 1 ป กลาวคือ ซะกาดเปนการจายทานบังคับสําคัญมุสลิมท่ีมีทรัพยสินเงินทอง ครบตามจํานวนท่ีลูกกําหนดไวจะตองจายใหแกผูท่ีมีสิทธิรับตามอัตราท่ีไดถูกกําหนดไวแลวเชนกนัภายในทุกรอบ 1 ป หรือตามเวลาท่ีกําหนด

2.5) การประกอบพิธีฮัจญและอุมเราะฮฺ อัจญ แปลวาการมุงไปสูหรือการไปเยือน หมายถึงการเดินทางมุงไปสู

บัยดุลลอฮฺ หรืออัล-กะอฺบะฮฺ ณ นครมักกะฮฺ เพื่อประกอบศาสนกิจโดยมีข้ันตอนการปฏิบัติและตามระยะเวลาท่ีกําหนด

อุมเราะฮฺ แปลวาการไปเยี่ยมเยือน หมายถึง การเดินทางไปเย่ียมเยือนยังบัยดุลลอฮฺ เพื่อประกอบศาสนกิจในทํานองเดียวกับการประกอบพิธีอัจญแตข้ันตอนนอยกวาคือไมมีการวูกฟูท่ีทุงอารอฟะหฺและไมมีกําหนดระยะเวลาจะทําเม่ือใดกไ็ด เนือ่งจากการทําอุมเราะฮฺเหมือนกับการทําฮัจญ จงึมีผูเรียกการทําอุมเราะฮฺวา ฮัจญเล็ก

ฮัจญเปนหลักปฏิบัติประการสุดทายใน 5 ประการ ซ่ึงบังคับแตเฉพาะผูท่ีมีความสามารถเพียงพอในปฏิบัติ 1 คร้ังในชีวิต

จะเห็นไดวาหลักท้ัง 3 ประการ คือ หลักอีมาน หลักอิสลาม และ

หลักอิทซาน มีความสัมพันธกับพระเจา หรือ อัลลอฮฺ เนื่องจากอิสลามเปนศาสนาท่ีนับถือพระเจา

เพียงพระองคเดียว ความศรัทธา (อีมาน) และความเคารพยําเกรงในองคพระอัลลอฮฺ (อิทซาน) จะ

เปนฐานในการปฏิบัติตนของมุสลิม การปฏิบัติตามหลักการอิสลามของมุสลิมเปนส่ิงท่ีท้ังมาจาก และ

เปนเพิ่มพนูความศรัทธา และความเคารพยาํเกรง ฉะนัน้การปฏิบัติกิจตาง ๆ ของมุสลิมจึงตองมีเจตนา

วาเพื่อพระองคอัลลอฮฺ

1.2.3 หลักธรรมของศาสนาคริสต หลักการที่สําคัญในศาสนาคริสต ไดแก บัญญัติสิบประการ เปนหลักการที่

เปนรูปธรรมเพ่ือการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ประกอบดวย 1) จงนมัสการพระเจาแตผูเดียว 2) อยาออกพระนามพระเจาโดยไมสมควร 3) วันพระเจาใหถือเปนวันศักดิ์สิทธ์ิ 4) จงนับถือบิดามารดา

Page 12: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  20

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลรวมกับกรมการศาสนา (2551 ) กลาวถึงหลักธรรมคําสอนในพระคัมภีรของศาสนาคริสตท่ีสําคัญ แบงเปน 2 ภาค ไดแก ภาคพันธสัญญาเดิม (Old Testament) และภาคพันธสัญญาใหม (New Testament) ซ่ึงเปนพระคัมภีรของศาสนายิวกับศาสนาคริสตรวมกัน ท้ังสองพันธสัญญานี้รวมเปนคัมภีรเรียกวา Bible หรือ Holy Bible

1. ภาคพันธสัญญาเดิม เขียนในสมัยท่ีอิสราเอลอยูภายใตพันธสัญญาที่พระเจากระทําไวกับอิสราเอลท่ีภูเขาซีนาย

2. ภาคพันธสัญญาใหม เขียนในสมัยท่ีพระเยซูเสด็จมาไถมนุษยใหรอดพนจากพันธนาการแหงความบาป คริสตชนอยูภายใตพันธสัญญาใหม ซ่ึงพระเจาทรงกระทําไวกับบรรดาคริสตชนท้ังหลายท่ีความตายบนไมกางเขน

หลักคําสอนท่ีสําคัญขององคพระเยซูคริสต บัญญัติแหงความรัก “ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจา พระเจาของทานสุดจิตสุดใจ สุดวิญญาณ

สุดสติปญญาของทาน” นี้คือบทบัญญัติเอกและเปนบทบัญญัติแรก บทบัญญัติประการท่ีสองก็เชนเดียวกันคือทานตองรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตัวทานเอง ธรรมบัญยัติและคําสอนของบรรดาประกาศก (ผูเผยพระวจนะ) ก็ข้ึนอยูกับบัญญัติสองประการนี้

หลักความเช่ือของศาสนาคริสต คือ 1) เช่ือวาพระเยซูแหงเมืองนาซาเรธเปนพระบุตรของพระเจาท่ีคนท่ัวไปถือวาเปนศาสดาผูกอต้ังศาสนาคริสต 2) เชื่อวาพระเยซูแหงเมืองนาซาเรธเปนผูสละชีวิตเพื่อไถบาปใหมนุษยชาติ 3) เช่ือวาพระเยซูฟนคืนชีพหรือฟนข้ึนจากความตายจริง 4) เช่ือในพิธีลางบาปหรือพิธีบัพติศมา (Baptism) โดยถือปฏิบัติอยางเครงครัด 5) เช่ือในวันพิพากษาเพื่อการลงโทษและการตอบแทนรางวัล

ทองหลอ วงษธรรมา (2551) กลาววา คําสอนของศาสนาคริสตท่ีถือวามีอิทธิพลตอความคิดและความเชื่อของชาวคริสตโดยท่ัวไป คือ คําสอนเก่ียวกับความรัก การเสียสละ การใหอภัย และการบําเพ็ญประโยชนตอผูอ่ืน จริยธรรมดานหลักความรักในศาสนาคริสต มีความหมายกวางคือความรักสากล มีขอบเขตรวมไปถึงความเช่ือในพระเจา นั่นคือความไววางใจในพระเจาองคเดียว พื้นฐานแหงความถูก ความผิด มาจากพระเจา มนุษยมีหนาท่ีท่ีจะแสวงงหามาตรฐานอันนี้จากพระบัญญัติและคําสอนของศาสดาพยากรณท้ังหลาย ชีวิตของชาวคริสตประกอบดวยมิติ 3 อยางคือ ความเช่ือ ความรัก และความหวัง ความเช่ือ ตองเช่ืออยางสุดจิตสุดใจตอพระเจาองคเดียว ความรักอันยิ่งใหญคือบรรทัดฐานแหงจริยธรรม โดยถือเอาจริยวัตรของพระเยซูเปนตัวอยาง การรักพระเจาและรักมวลมนุษย พระเยซูเองสละชีวิตอยางเจ็บปวดและทรมานอยางแสน

Page 13: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  21

เนื้อหาสาระของจริยธรรมในศาสนาคริสต การละทิ้งความชั่ว เพื่อกําหนดทิศทางตามมาตรฐานทางศีลธรรมในความหมายของคริสต มีขอบเขตพอสรุปไดคือ

1. การเนนคุณธรรม คุณธรรมท่ีศาสนาคริสตเนนคือ ความเช่ือ ความรัก และความหวัง นอกจากนี้ยังกลาวถึงความบริสุทธ์ิ ความสุขุมมีสติ ความออนนอมถอมตน ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ เมตตา ความอดทนตอความทุกขทรมาน และการใหอภัย

2. จริยธรรมท่ีสัมพันธกับสังคม คือความสัมพันธในครอบครัว หมายถึง ความสัมพันธระหวางสามี ภรรยา พอ แม ลูก นาย คนใช เพื่อนบาน และเพื่อนมนุษย การสัมพันธกับบุคคลตาง ๆ ตองใชความเมตตา กรุณาเปนหลัก

3. ความสัมพันธในฐานะเปนสมาชิกของสังคม คือความสัมพันธท่ีมีตอบุคคลท่ัวไปไมเจาะจงวาเปนใคร เชน ความเคารพเช่ือฟงตอผูมีหนาท่ีรักษากฎหมาย ความซ่ือสัตยตอศีลธรรมของพระเจา ความอดทนตอการขมขู เบียดเบียน มีความสํานึก และความรับผิดชอบในหนาท่ี 1.2.4 หลักธรรมของศาสนาพราหมณ-ฮินดู

หลักธรรมของศาสนาพราหมณ-ฮินดูมีผูกลาวไว ดังนี ้ประทีป สาวาโย (2545) กลาวถึง หลักธรรมคําสอนสําคัญของศาสนา

พราหมณ-ฮินดู มีอยู 3 ขอ ตอไปนี ้ อาศรม ปรมาตมัน และโมกษะ 1) อาศรม หมายถึง -ข้ันตอนการดําเนนิชีวิตของชาวฮินดู เฉพาะท่ีเปน

พราหมณวัยตาง ๆ โดยกําหนดเกณฑอายคุนไว 100 ป แบงชวงของการใชชีวิต 4 ตอน ตอนละ 25 ป ชวงชีวิตแตละชวงเรียกวา อาศรม (วัย) อาศรมท้ัง 4 ชวง มีดังนี ้

อาศรมท่ี 1 (ปฐมวัย) เรียกวา พรหมจรยอาศรม เร่ิมต้ังแตอายุ 8-25 ปผูเขาสูอาศรมน้ี เรียกวา พรหมจารี ภายในชวงระยะเวลา 25 ปแรกนี้ พรหมจารีผูอยูในพรหมจรรยอาศรม มีหนาท่ีดังนี ้ 1) ตั้งใจเรียนวชิาการในวรรณะของตน 2) เช่ือฟงและปฏิบัติตามคําส่ังสอนของครูอาจารย 3) ไมยุงเกีย่วกับเร่ืองเพศ 4) ไมคบกับเพศตรงกนัขาม 5) เม่ือสําเร็จการศึกษาแลวตองทําพิธี “เกศนตสันสกา” (ตัดผม) และพิธี “คุรุทักษิณา” มอบส่ิงตอบแทนครูอาจารย

Page 14: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  22

ผูท่ีทําหนาท่ีครบท้ัง 5 ขอนี้แลวถือเปนพราหมณโดยสมบูรณจากฐานะพรหมจารี และจะมีสิทธิพิเศษ 5 ประการ ดังนี ้ (1) ศึกษาคัมภีรพระเวทได (2) สอนพระเวทแกคนอ่ืนได (3) ทําพิธียัคนัม (เกีย่วกับการบริจาค) ได (4) รับทานจากผูศรัทธาได (5) บริจาคทานแกคนยากจน (ผูอยูในวรรณะตํ่า) ได

อาศรมท่ี 2 (มัชฌิมวัย) เรียกวา “คฤหัสถถาศรม” อยูในชวงอายุ 25-50 ป มีหนาท่ีดังน้ี 1) ชวยพอแมทํางาน 2) แตงงานมีครอบครัว 3) ประกอบอาชีพเล้ียงครอบครัว

อาศรมท่ี 3 (ปจฉิมวัย) เรียกวา “วานปรัสถาศรม” อยูในชวงอายุ 50-75 ป มีหนาท่ีท่ีจะตองปฏิบัติ ดังนี้ 1) มอบสมบัติใหบุตรธิดา 2) บําเพ็ญประโยชนเพื่อสวนรวม 3) ออกบวชปฏิบัติธรรม ท่ีเรียกวา วานปรัสถ (ตามศรัทธาไมบังคับ) 4) ทําประโยชนแกสังคมดวยการเปนครูอาจารย

อาศรมท่ี 4 คือ สันยัสตาศรม อยูในชวงอายุตั้งแต 75 ปข้ึนไป สําหรับผูปรารถนาความหลุดพน (โมกษะ) จะออกบวชเปน “สันยาสี” เม่ือบวชแลวจะสึกไมได

2) ปรมาตมัน ปรมาตมัน หมายถึง ส่ิงท่ียิ่งใหญอันเปนท่ีรวมของทุกส่ิงทุกอยางในสากลโลก ไดแก “พรหม” ปรมาตมันกับพรหมจึงเปนส่ิงเดยีวกัน ซ่ึงมีลักษณะ ดังนี ้

2.1 เกิดข้ึนเอง 2.2 เปนนามธรรมสิงสถิตอยูในส่ิงท้ังหลาย และเปนส่ิงท่ีมองไมเห็นดวยตา 2.3 เปนศูนยรวมแหงวิญญาณท้ังปวง 2.4 สรรพส่ิงลวนแยกออกมาจากพรหม 2.5 เปนตัวความจริง (สัจธรรม) เพียงส่ิงเดียว 2.6 เปนผูประทานญาณ ความคิด และความสันติ 2.7 เปนส่ิงท่ีดาํรงอยูในสภาพเดิมตลอดกาล วิญญาณท้ังหมดเปนสวนท่ีแยกออกมาจากปรมาตมัน วิญญาณยอยเหลานี้

เม่ือแยกออกมาแลวก็เขาจุติในชีวิตรูปแบบตาง ๆ เชน เทวดา มนษุย สัตว และพืช มีสภาพดีบาง เลวบาง ตามแตพรหมจะลิขิต

3) โมกษะ ถือวาเปนหลักปฏิบัติเพื่อความดีสูงสุด ดังคําสอนของศาสนาฮินดูสอนวา “ผูใดรูแจงในอาตมันของตนวาเปนหลักอาตมันของโลกพรหมแลว ผูนั้นยอมพนจากสังสาระการเวยีนวาย ตาย เกดิ และจะไมปฏิสนธิอีก” โมกษะ ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 ประการ ดังนี้ 3.1 การนําอาตมันเขารวมกับปรมาตมัน ท่ีเรียกวา “โมกษะ” 3.2 วิธีปฏิบัติเพื่อเขาถึง “โมกษะ” มี 3 ประการ ดังนี ้

Page 15: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  23

3.1) กรรมมรรค (กรรมโยคะ) การประกอบกรรมดีดบัความอยากอันเปนตนเหตุใหเกิดกรรมและการประกอบกรรมแยกไดเปน 2 ประการคือ ประการแรก การประกอบกรรมดวยการหวังผลท่ีจะเกดิข้ึนในอนาคต เรียกวา สภามกรรมโยคะ และประการท่ีสองการประกอบกรรมท่ียึดเอาหนาท่ีเปนหลักปฏิบัติอยางถูกตองและไมหวังผลที่จะเกดิข้ึนในอนาคต เรียกวา นิษกามกรรมโยคะ หลักการประกอบกรรม ในประการท่ี 2 จะตองมีความสํานึก วาเราเกิดมาเปนมนุษยและตองกระทําหนาท่ีของมนุษยโดยไมหวังผลใด ๆ และตองปฏิบัติตอบุคคลหรือตอส่ิงใด ๆ อยางเสมอภาคกัน (ยุติธรรม)

หนาท่ีของมนุษย บุคคลเกิดมาในฐานท่ีเปนมนุษยจะตองปฏิบัติคือ 1. ปตฤธรรม คือ หนาท่ีตอบิดา บุตรธิดา 2. มาตฤธรรม คือ หนาท่ีตอมารดา บุตรธิดา 3. บุตรธรรม คือ หนาท่ีตอบุตรธิดา บิดามารดา 4. ปติธรรม หรือ สามีธรรม คือ หนาท่ีของสามีท่ีจะปฏิบัติตอภรรยา 5. ปตนีธรรม หรือ ภริยาธรรม คือหนาท่ีของภรรยาท่ีจะตองปฏิบัติตอสามี 6. ภราตรีธรรม คือ หนาท่ีของพ่ีนองท่ีจะตองปฏิบัติตอพ่ีนอง 7. ราชธรรม คือ หนาท่ีของราชา (กษัตริย) ท่ีมีตอประชาชน 8. ประชาธรรม คือหนาท่ีของประชาชนตอพระราชา (กษัตริย) 9. สวามีธรรม คือหนาท่ีของผูเปนใหญตอผูนอย 10. เสวกธรรม คือหนาท่ีของมนุษยตอมนุษยดวยกนัในสังคม 11. สมาชธรรม คือหนาท่ีของมนุษยตอมนุษยดวยกนัในสังคม 12. เทศธรรม คือหนาท่ีของประชาชนตอประเทศชาติ 13. มานวธรรม คือหนาท่ีระหวางมนุษยดวยกันท่ัวสากล 3.2) ชญานมรรรค (ชญานโยคะ) การกระทําดวยปญญาณรูแจง ดวยจติ

บริสุทธ์ิ เพื่อผลประโยชนสวนรวมและไมกอใหเกิดโทษแกผูใด 3.3) ภักติมรรค (ภักติโยคะ) หมายถึง มีความตั้งใจรับใชดวยความ

จงรักภกัดีตอภาระหนาท่ีท่ีรับผิดชอบโดยถือหลักวา “ส่ิงท่ีชีวิตท้ังหลายลวนถือกําเนดิมาจากพรหม มีวิญญาณ (อาตมัน) ของพรหมสิงสถิตอยู ผูใดใหความคิดเห็น แนะนํา ชวยเหลือส่ิงมีชีวิตท้ังปวง ผูนั้นไดแสดงออกถึงความจงรักภักดีตอพรหม ยอมไดพบพรหมสมปรารถนา” ทองหลอ วงษธรรมา (2551) กลาวถึงหลักธรรมทาง ศาสนาพราหมณ-ฮินดู สอนใหดําเนินชีวิตตามอุดมคติ โดยยึดหลักอาศรมธรรม 4 ประการ คือ 1) พรหมจารี 2) คฤหัสถ 3) วานปรัสถ 4) สันยาสี

Page 16: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  24

1) พรหมจารี เปนชวงของวัยท่ีตองศึกษาเลาเรียนและประพฤติพรหมจรรย ผูท่ีเขามาสูอาศรมแรกนี้เรียกวา อุปนยสันสการ คือพิธีนําเด็กเขาสูสถานศึกษาของคุรุ (ครู) ครูผูเปนพราหมณจะคลองดายศักดิ์สิทธ์ิ เรียกวา สายธุรํา หรือ ยัชโญปวีต จากน้ันจะตองอยูในสํานกัของครูจนกวาจะพนจากวยัเรียน ขณะท่ีอยูในสํานักของครูจะตองต้ังใจเลาเรียน และปฏิบัตติามคําส่ังของครู 2) คฤหัสถ เปนชวงมัชฌิมวัยจะตองดํารงชีวิตโดยการแสวงหาความสุขทางโลก เขาสูพิธีสมรสเพื่อดํารงวงศสกลุดวยการมีครอบครัว มีบุตรชายอยางนอย 1 คน เปนการใชหนี้บรรพบุรุษ ปองกันมิใหบิดามารดาตกนรกขุม “ปุตตะ” จะตองมีความม่ันคงในอาชีพการงาน ปฏิบัติตนในฐานะหวัหนาครอบครัว หลักปฏิบัติของคฤหัสถ 1. การแตงงาน อาหารการกิน อาชีพ และที่อยูอาศัย เชน การแตงงานจะตองใหถูกตองตามโคตร ตระกูลและวรรณะ จะสับสนลักล่ันกันไมได เร่ืองอาหารการกิน คนในวรรณะตํ่าจะทําอาหารใหคนอยูในวรรณะสูงกินไมได คนตางวรรณะกันจะกินรวมวงเดียวกันไมได และแตะตองอาหารของกันไมได อาชีพก็เชนเดียวกัน ใครเกิดมาในวรรณะใดจะตองทําอาชีพตามท่ีกําหนด และเคหสถานบานเรือน ใครปฏิบัติขาดตกบกพรองในหนาท่ีของตนจะถูกตัดออกจากตระกูล 2. ขอปฏิบัติสังสการ คือขอปฏิบัติของคนทิชาติหรือทวิชาติ (หมายถึงเกิด 2 หน) ไดแก บุคคลท่ีเกิดในวรรณะพราหมณ กษัตริยและแพศย จะตองปฏิบัติสังสการคือ 1) พิธีตั้งครรภ จากวันวิวาห (ครรภาธาน) 2) พิธีกระทําตอเด็กในครรภ เม่ือรูวาเปนทารกชายประมาณ 3 เดือน ภายหลังแตงงาน (ปุงสวัน) 3) พิธีแยกผมหญิง (มารดา) ผูตั้งครรภ ระยะ 4, 6 หรือ 8 เดือน (สีมันโตนยัน) 4) พิธีคลอดบุตร (ชาตกรรม) 5) พิธีตั้งช่ือเด็ก (นามกรรม) ในวันท่ี 12 หรือ 14 ภายหลังคลอดบุตร 6) พิธีนําเด็กออกไปดูพระอาทิตยยามรุงอรุณ เม่ือเด็กอายุได 4 เดือน (นิษกรรม) 7) พิธีปอนขาวเด็กในเดือนท่ี 5 หรือ 6 หลังคลอด (อันนปราคัน) 8) พิธีโกนผมใหเหลือไวเปนจุก (ไวจุก) 3 ปหลังคลอด (จูฑกรรม) 9) พิธีตัดผมเด็ก ถาเปนพราหมณตัดเม่ืออายุครบ 16 ป กษัตริย 22 ป และแพศย 24 ป (เกศานตกรรม) 10) พิธีเขาอาศรม (อุปานยัน) เปนพิธีการรับเขาศึกษาในสํานักของคุรุ 11) พิธีกลับบาน เม่ือสําเร็จการศึกษาแลว12) พิธีแตงงาน (วิวาหกรรม) ผูเปนภรรยาตองไปอยูบานสามี สําหรับวรรณะศูทร จะประกอบพิธีเฉพาะในขอ 7 และ 12 เทานั้น ขออ่ืน ๆ ทําไมได และขอท่ี 12 ถือวาทุกคนตองปฏิบัติไมวาจะเกิดในวรรณะใด หากเกิดเปนผูหญิงจะตองยกเวนขอปฏิบัติท่ี 10 คือพิธีเขาอาศรม นอกนั้นทําได ชาวฮินดูปจจุบันปฏิบัติตามพิธีบางขอ คือการต้ังช่ือพิธีปอนขาว พิธีเร่ิมการศึกษา และพิธีแตงงาน นอกนั้นไมคอยปฏิบัติ

3. ขอปฏิบัติพิธีศราทธ คือพิธีของผูมีศรัทธา (ศารท) ไดแก พิธีพลีใหแกดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ (Ancestor Worship) ชาวฮินดูถือเครงมากจะขาดพิธีนี้ไมได พิธีเร่ิมจากการสังเวยวิญญาณดวยกอนขาว ผูประกอบพิธีจะใหลูกชาย เพราะเช่ือวาจะชวยวิญญาณของบิดามารดา เปนตน

Page 17: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  25

4. ขอปฏิบัติเกี่ยวกับการบูชาเทวดา (Worship of Gods) หลักปฏิบัติอันนี้เขาใจวานาจะเปนมูลเหตุสัมพันธกันกับการบูชาวิญญาณของบรรพบุรุษของลัทธิชาติอ่ืน ๆ โดยเหตุท่ีชาวฮนิดมีูเทพเจามากมาย พิธีกรรมท่ีกระทําการบูชาพระเจาจึงหลากหลาย และชาวฮินดูท่ีอยูในวรรณะตํ่าเม่ือถูกกีดกันไมใหบูชาและนับถือเทพเจาของพวกวรรณะสูง ก็พากันสรางเทวดาของพวกตนข้ึนมาบูชาตามลําพัง ดังนั้น จึงมีเทวดาประจําเทวาลัย ประจําครอบครัวและประจําหมูบาน ตามความเช่ือของชาวฮินดูปจจุบันในเร่ืองการบูชาเทวดา พวกฮินดูท่ีอยูในวรรณะสูงมักจะบูชา เทพเจารุนเกาคือ เทพเจาวิษณุและเทพเจาศิวะ เปนตน ในสมัยหลังเม่ือเกิดลัทธิอวตาร ก็มีการบูชาพระกฤษณะและพระรามเพ่ิมเขามา สวนเทพเจาของพวกฮินดูท่ีอยูในวรรณะตํ่า แตกแยกออกไปมากมายตามวรรณะของตน เชน เจาแมกาลี เทพลิง เทพงู เทพเตา เทพชาง ลึงคเทพ ฯลฯ จนไมอาจพรรณนาได หนาท่ีของสามีและภรรยา ผูท่ีแตงงานแลวจะตองมีหนาท่ีตอกันระหวางสามีภรรยา ซ่ึงมีหลักธรรมใหสามีและภรรยาปฏิบัตคืิอ ปติธรรม คือธรรมอันเปนหลักปฏิบัติของสามีท่ีพึงปฏิบัติตอภรรยา เชน สามีตองรักตองเล้ียงดูภรรยาตลอดชีวิต ตองเอาใจใสตอภรรยาอยางจริงจัง ไมนอกใจเปนชูกับหญิงอื่น โดยถือวาผูหญิงอ่ืนเปนเสมือนมารดา พี่นอง หรือลูกหลานของตน ปตนีธรรม คือธรรมอันเปนหลักปฏิบัติของภรรยาตอสามีดวยความซ่ือสัตยสุจริต เชน ภรรยาตองเอาใจใสปรนนิบัติสามี ไมเปนคนเจาชู รักษาความบริสุทธ์ิ เปนภรรยาเฉพาะสามีของตนเทานั้น หากมิฉะนั้นจะถูกตําหนิติเตียนอยางรุนแรง ชาติหนาจะเกิดเปนหมาปา ไดรับความเจ็บปวดดวยโรคนาเกลียด จะตองอยูอยูรวมเปนสามีภรรยากันตลอดชีวิต เพื่อรักษาชื่อเสียงและวงศตระกูล 3) วานปรัสถ วานปรัสถ แปลวา การอยูปา เม่ือดําเนินชีวิตผานสองวัยมาแลว ยอมไดรับความสุขทางโลกตามฐานะของตน เปนวัยท่ีจะแสวงหาความสงบ โดยมอบทรัพยสมบัติแกบุตรธิดาท่ีครองเรือนแลวหากผูปรารถนาจะอยูครองเรือนตอไปก็อาจทําได แตตองบําเพ็ญประโยชนเพื่อสังคมสวนรวม สวนผูประสงคจะแสวงหาความสงบจะออกไปใชชีวิตในปา เพื่อหาความวิเวกดวยการปฏิบัติธรรม และทํางานใหสังคมดวยการเปนครู อาจารย ทําหนาท่ีใหการศึกษาอบรม หรือสละความ

Page 18: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  26

4) สันยาสี ในวัยชรา เม่ืออายุมากแลวสมควรสละโลกอยางส้ินเชิงควรออกบวชเปนพระฮินดู เรียกวา สันยาสี บําเพ็ญสมาธิเพื่อโมกขธรรม คนหาความจริงวาตนคืออะไร พรหมคืออะไร ในโลกนี้มีอะไรท่ีเปนสาระ เม่ือไดคําตอบก็สอนความรูนั้น โดยถือวามนุษยท้ังหมดเปนสวนหนึ่งของพระพรหม และเปนเพื่อนรวมทุกขรวมสุขกับตน กระทรวงกลาโหม ( 2551) กลาวถึง ศาสนาพราหมณ-ฮินดูในอดีตเรียกวา สนาตนธรรม หมายถึงธรรมอันเปนนิตย คือไมส้ินสุดไมรูจักตาย แปลเอาความหมายถึงพระวิษณุ จึงเรียกอีกอยางหน่ึงวา วิษณุธรรม ตอมามีอีกหลายช่ือคือ ไวทิกธรรม อารยธรรม และตอมามีช่ือวา พราหมณธรรม คือคําส่ังสอนของพราหมณ ตํารับพระเวทยังคงมีอยูโดยอยูในกํามือของพวกพราหมณ โดยเฉพาะพวกพรามหมณผูมีหนาท่ีสาธยาย ทองบน และส่ังสอน ตลอดจนประกอบพิธีกรรมตาง ๆ สําหรับหลักธรรมของศาสนา พราหมณ-ฮินด ูมี 4 ประการดวยกัน คือการปฏิบัติธรรมของพระพรหม เรียกวาพรหมธรรมคือ 1. เมตตา หมายถึงความรัก ความสงสาร ท่ีเกิดจากจิตใจโดยไมมีตณัหามาเกีย่ว จะตองมีพรอมท้ังกาย วาจา ใจ เปนความคิดปรารถนาท่ีจะใหผูอ่ืนมีความสุข 2. กรุณา หมายถึงความปรารถนาใหผูอ่ืนมีสุข โดยท่ีตนจะทําการชวยเหลือเม่ือมีโอกาส และตองทําท้ังกายวาจา ใจ โดยไมมีตัณหามาเกี่ยวของ เปนความคิดปรารถนาใหผูอ่ืนพนทุกข 3. มุทิตา หมายถึงความยนิดี เม่ือเหน็ผูอ่ืนมีความสุข ตองทําท้ังกายวาจาใจ 4. อุเบกขา หมายถึงการวางเฉยในส่ิงท่ีใหรายแกตน และการวางเฉยในฐานะท่ีไมสามารถจะชวยเหลือได ลักษณะธรรมในพระธรรมศาสตร มีอยู 10 ประการดวยกนัคือ 1. ธฤติ ความพอใจ คลายกบัคําวาสันโดษ มีความพยายามอยูดวยความม่ันค เสมอ มีความรูสึกยินดี และพอใจในส่ิงท่ีตนมีอยู โดยปราศจากความโลภ 2. กษมา ความอดกล้ันหรือความอดโทษ มีความพากเพยีรพยายามอดทน โดยถือเอาความเมตตากรุณาเปนท่ีตั้ง 3. ทมะ การระงับจิตใจ รูจักขมใจของตนดวยความสํานกึในเมตตาและมีสติอยูเสมอ ไมปลอยใหหวั่นไหวไปตามอารมณไดงาย 4. อัสเตยะ ไมลัก ไมขโมย 5. เศาจะ ความบริสุทธ์ิ การทําตนเองใหมีความบริสุทธ์ิท้ังกายและใจ

Page 19: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  27

6. อินทริยนิครหะ การอดกล้ันหรือการระงับอินทรียท้ังสิบไดแกประสาท ความรูสึก ทางความรูคือ ตา หู จมูก ล้ิน และผิวหนัง กับประสาทความรูสึกทางการกระทํา มีมือ เทา ทวารหนัก ทวารเบา และลําคอ 7. ธิติหรือธีรหรือพุทธิ หมายถึงปญญา สติ ความคิด ความม่ันคงยืนนาน 8. วิทยา ความรูทางปรัชญาศาสตรคือ รูลึกซ้ึงและมีความรูเกี่ยวของกบัชีวะกับมายาและกับพระพรหม 9. ความจริง ความเห็นอันสุจริต ความซื่อสัตยตอกัน จนเปนท่ีไววางใจกัน เช่ือใจกนัได 10. อโกรธะ ไมโกรธ มีความอดทน สงบเสงี่ยม รูจักทําจิตใจใหสงบ สรุปหลักธรรมในศาสนาพราหมณ - ฮินด ู1) สอนในเร่ืองกรรม คือ ใชเวนช่ัว ทําดี เรียกวา กรรมโยค 2) สอนในเร่ืองความรู ความเหน็ ความถูกตอง คือ ใชความรู ความเห็น เพื่อความเจริญแกสวนรวมฝายเดยีว ไมใชความรู ความเหน็ สรางความทุกขทรมานใหแกผูอ่ืน ซ่ึงเรียกวา ชญาณโยค 3) สอนในเร่ืองเกีย่วกบัความจงรักภกัดี หรือ ความต้ังใจรับใชกรรมดวยความต้ังใจมีความจงรักภกัดีตอการกระทํา ซ่ึงเรียกวา ภักติโยค สําหรับหลักธรรมสําหรับพัฒนาตนเองในศาสนาพราหมณ - ฮินด ู 1) ใหมีความกตญัูกตเวทีตอบิดามารดา ครูบาอาจารย 2) เคารพเช่ือฟงผูท่ีมีความรู และผูสูงอาย ุ 3) รักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณ ี 1.2.5 หลักคุณธรรมของศาสนาซิกข

ศาสนาซิกขมีผูท่ีกลาวถึงหลักธรรมของศาสนา ดังตอไปน้ี ประทีป สาวาโย (2545) กลาววา คุรุนานัก ปฐมศาสดาของศาสนาซิกขได

ประพันธบทสวดยัปยี ซ่ึงเปนบทแรกในคัมภีรครันถสาหิพ แสดงถึงการที่บุคคลจะกาวไปสูสุขอันเปนนิรันดร หรือนิรวาณ มีอยู 5 ข้ัน ดังนี ้

1. ธรรมขันฑ อาณาจักรแหงการกระทําคือ กรรมดี และกรรมช่ัว การทําแตกรรมดี

2. คิอานขัณฑ หรือ ญาณขัณฑ อาณาจกัรแหงปญญา 3. สรมขัณฑ อาณาจักรแหงมหาปต ิ4. กรรมขัณฑ อาณาจักรแหงกาํลัง หมายถึงกําลังทางจิตไมหวาดกลัว 5. สัจขัณฑ อาณาจักรแหงสัจจะ คือความเปนเอกภาพกับพระเจา คําสอนท่ีเปนมูลฐานอยางสําคัญของศาสนาซิกข คือความเปนหนึ่งของพระเจา

และความเปนเพื่อนกันของมนุษย ความรักพระเจาและคุรุหรือศาสดาทางศาสนา อุดมคติอันสูงสุดมิใชเพื่อไดไปอยูในสวรรค แตเพื่อพัฒนาสาระสําคัญท่ีมีอยูในตัวตน เพื่อใหคนผูนัน้หลอมตัวเปนอันเดียวกับพระเจา คําสอนท่ีใหชาวซิกขปฏิบัติเปนกิจประจํา มีดังนี ้

1. จงลุกข้ึนแตเชาตรู

Page 20: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  28

2. จงทําจิตของทานใหเต็มไปดวยความรักในพระเจา 3. จงใหทานเสมอ 4. จงพูดคําสุภาพออนโยน 5. จงถอมตน 6. จงทําดีตอคนอ่ืน 7. อยากินหรือนอนใหมากเกนิไป 8. จงใชจายเฉพาะสวนท่ีทานหามาไดดวยมือของทานเอง 9. จงพยายามอยูกับคนดีท้ังกลางวันและกลางคืน 10. จงรวมกับคนดีสวดบทสรรเสริญของคุรุ

กระทรวงกลาโหม (2551) กลาวถึง ศาสนา ศาสนาซิกข เปนศาสนาท่ีมุงสอนใหคนทําความดี ละความช่ัว สอนใหพิจารณาท่ีเหตุ และใหยับยั้งตนเหตุดวยสติปญญา ตําหนิส่ิงท่ีควรตําหนิ และชมเชยในส่ิงท่ีสมควรชมเชย สอนใหคนรักกันฉันทมิตรพี่นอง รูจักใหอภัยตอกัน สอนใหเขาใจถึงการทําบุญ และการทําทาน สอนใหละเวนบาปท้ังหลาย สอนใหทราบวาไมมีส่ิงใด มีอานิสงฆเสมอการภาวนา สอนใหเห็นวา สรรพส่ิงท้ังมวลยอมแตกดับ ตามกาลเวลา ไมมีส่ิงใดยั่งยืนตลอดไปได แสดงวาชีวิตยอมอุบัติ และแตกดับเปนนิจสิน ดังฟองน้ํา ไดแสดงถึงเร่ืองกฎแหงกรรม วาทุกคนจะตองไดรับผลจากกรรมท่ีไดกอไว ท้ังในทางดีและทางช่ัว กฎแหงกรรมน้ีไมมีการยกเวน ประมุขของศาสนาซิกขในเวลาตอมา ไดประมวลคําสอนของคุรุนานักเปนหลักของซิกข อาจยอเขาเปนหลักใหญไดส่ีประการคือ สามัคคี เสมอภาค ศรัทธา ความรัก (ภักดี) กนกรัตน พนมธนศักดิ์ (2551) กลาวถึง คัมภีรของศาสนาซิกข เรียกวา "ครันถสาหิพ" แปลวา พระคัมภีร สวนใหญบรรจุคําสวดมนตสรรเสริญพระเจา มีพระเจาเพียงองคเดียว คือ สัจจะ พระผูสราง พระองคปราศจากความกลัว ความเคียดแคน เปนอมฤตไมเกิด มีข้ึนดวยพระองคเอง เปนผูยิ่งใหญ ทรงโอบออมอารี พระผูเปนสัจจะมีอยูแลว คัมภีรครันถสาหิพนี้ แบงออกเปน 2 เลม ดังนี้ 1. อาทิครันถ แปลวา คัมภีรแรก คุรุอรชุน เปนผูรวมข้ึนใน ค.ศ. 1604 หรือ พ.ศ. 2147 มีบทนิพนธของคุรุ หรือศาสดาต้ังแตองคท่ี 1 ถึงองคท่ี 5 และมีบทประพันธของนักบุญผูมีช่ือแหงศาสนาฮินด ูและศาสนาอิสลามผนวกอยูดวย 2. ทสมครันถ แปลวา คัมภีรของศาสดาองคท่ี 10 เปนชุมนุมบทนิพนธของศาสดาองคท่ี 10 คือ คุรุโควินทสิงห รวบรวมข้ึนในสมัยหลังจากอาทิครันถ ประมาณ 100 ป ท้ัง 2 คัมภีรบันทึกคําสอนของคุรุสําคัญสรุปลงในหลักการใหญ 4 ประการ คือ

2.1 เร่ืองความสามัคคี 2.2 เร่ืองความเสมอภาค

Page 21: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  29

2.3 เร่ืองความศรัทธาในพระผูเปนเจา 2.4 ความจงรักภักดีตอคุรุท้ัง 10 องค

สองหลักแรกแสดงความสัมพันธระหวางมนุษยกับพระเจาองคเดยีวเทานั้น และระหวางมนษุยดวยกนั สวน 2 หลักหลัง แสดงทางปฏิบัติอันมนษุยจะพึงปฏิบัตติามเพ่ือบรรลุความสุขสูงสุด หลักธรรม คุรุนานัก ปฐมศาสดาของศาสนาสิกขไดประพันธบทสวดยัปย ีซ่ึงเปนบทแรกในคัมภีรครันถสาหพิ แสดงถึงการท่ีบุคคลจะกาวไปสูสุขอันเปนนิรันดร หรือนิรวาณ มีอยู 5 ข้ัน ดังนี ้ 1. ธรรมขัณฑ อาณาจักรแหงการกระทําคือ กรรมดี และกรรมช่ัว การทําแตกรรมด ี 2. คิอานขัณฑ หรือ ญาณขัณฑ อาณาจกัรแหงปญญา 3. สรมขัณฑ อาณาจักรแหงมหาปต ิ 4. กรรมขัณฑ อาณาจักรแหงกําลัง หมายถึงกําลังทางจิตไมหวาดกลัว 5. สัจขัณฑ อาณาจักรแหงสัจจะ คือความเปนเอกภาพกบัพระเจา วิธีปฏิบัติเพื่อสรางจริตอัธยาศัย เพื่อใหบรรลุสัจธรรมช้ันสูงนั้น คือ การสวดเพลงสรรเสริญพระนาม กับการฟงพระธรรม ดังขอความในพระคัมภีรวา โดยการฟงพระธรรม บุคคลยอมเปนประหนึ่ง พระศิวะ หรือ พระพรหม โดยการฟงพระนาม บุคคลยอมบรรลุสัจจะ ความสันโดษ และทิพยปญญา สรุปหลักธรรมที่สําคัญของศาสนาสิกข มีหลักการใหญ 4 ประการ คือ 1) เร่ืองความสามัคคี 2) เร่ืองความเสมอภาค 3) เร่ืองความศรัทธาในพระผูเปนเจา 4) ความจงรักภกัด ี 1.3 หลักการ และทฤษฎีเก่ียวกับคุณธรรมจริยธรรม หลักการ และทฤษฎีเกี่ยวกับคุณธรรมท่ีนําเสนอในท่ีนี้มีรายละเอียด ดังนี้ 1.3.1 พัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต (Piaget, 1965) เนนเกี่ยวกับกระบวนการทํางานภายในตัวบุคคลมากกวาการรับรูภายนอก โดยภาวะขาดความสมดุลในการปรับตัวจะทําหนาท่ีเปนแรงจูงใจหรือตัวกระตุนใหเปนคนเรียนรูและคิดหาเหตุผล การพัฒนาทางดาน สติปญญาของมนุษยจะพัฒนาควบคูไปกับการเติบโตดานวุฒิภาวะหรือพัฒนาตามลําดับการแบงวัยของมนุษย กลาวคือ เด็กจะเร่ิมรับรูหรือเรียนรูกฎเกณฑและส่ิงแวดลอมทางสังคมท่ีเปนรูปธรรมกอน จากนั้นจึงพัฒนาอยางตอเนื่องจนกระท่ังสามารถรับรูและเขาใจส่ิงท่ีเปนนามธรรมได เพียเจตแบงพัฒนาการของมนุษยเปน 4 ระยะ ดังตอไปน้ี ระยะท่ี 1 การเรียนรูดวยประสาทสัมผัสและการเคล่ือนไหว อายุ 0-2 ป เปนชวงที่เด็กรับรูและเรียนรูส่ิงแวดลอมตางๆโดยการสัมผัสทางตรง ระยะท่ี 2 การคิดกอนปฏิบัติการ อายุ 2-7 ป เปนระยะท่ีเด็กสามารถใชภาษาไดมากข้ึน การรับรู และสามารถเรียนรูส่ิงแวดลอมตางๆ ยังมีขอบเขตจํากัด

Page 22: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  30

ระยะที่ 3 การคิดแบบรูปธรรม อายุ 7-12 ป เปนระยะท่ีเด็กสามารถคิดและแกปญหาท่ีเปนรูปธรรมงายๆ และไมซับซอนได เชน แยกประเภทของส่ิงตางๆได บอกความสัมพันธของส่ิงท่ีเปนรูปธรรมได ความคิดแบบรูปธรรมน้ีเปนพื้นฐานของการคิดทางตรรกศาสตรและการคิดเชิงระบบตอไป ระยะท่ี 4 การปฏิบัติการเชิงระบบ อายุตั้งแต 12 ปข้ึนไป เปนระยะท่ีเด็กสามารถแกปญหาที่เปนนามธรรมได หรือแกปญหาตามหลักตรรกศาสตรไดอยางสมเหตุผล และพัฒนาความคดิอยางเปนระบบ สามารถกําหนดการใหเหตุผลได สามารถต้ังสมมุติฐาน ทดสอบสมมุติฐาน และสรุปผลจากการทดสอบสมมุติฐานได 1.3.2 พัฒนาการทางจริยธรรมของเพียเจต (Piaget, 1965) แบงออกเปน 3 ข้ัน ดังนี้ ข้ันกอนจริยธรรม เปนระดับจริยธรรมของเด็กอายุ 0-2 ป ซ่ึงยังไมสามารถรับรูส่ิงตาง ๆ ไดอยางละเอียดทําใหความคิดในการตัดสินความถูกผิดของการกระทํา หรือความคิดในเลือกกระทําหรือไมกระทําเปนไปตามความตองการทางรางกายหรือความคิดเห็นของคนใกลชิด ข้ันปฏิบัติตามคําส่ัง เปนระดับจริยธรรมของเด็ก อายุ 2-8 ป ซ่ึงสามารถเรียนรูส่ิงแวดลอมและบทบาทท่ีควรปฏิบัติตอผูอ่ืนได สามารถประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบได ตัดสินใจไดวาส่ิงใดควรกระทําหรือไมควรกระทําไดดวยตนเอง เร่ิมรับรูและกระทําตามความคิดเห็นและ ความรูสึกของตนเองมากข้ึน หรือใกลเคียงกับการกระทําตามระเบียบและกฎเกณฑของสังคม ข้ันเหตุผลของตนเองเปนระดับจริยธรรมของเด็ก อายุ 8 ปข้ึนไป สามารถคิดและตัดสินใจไดดวยเหตุผลของตนเอง เร่ิมปฏิสัมพันธกับผูอ่ืนดวยความเสมอภาคและเปนธรรม สังเกตและเขาใจความรูสึกของผูอ่ืนไดถูกตองมากข้ึน ประพฤติปฏิบัติเพื่อตอบสนองพัฒนาการดานจิตใจมากข้ึน 1.3.3 พัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอรก (Kohlberg, 1976) ไดกําหนดเกณฑการประเมินจริยธรรมของบุคคลโดยการแบงข้ันพัฒนาการทางสติปญญาและจริยธรรมของเพียเจต ดังนี้

1) การลงโทษ และการเช่ือฟง อายุ 2-7 ป 2) การแสวงหารางวัล หรือการสนองความตองการ อาย ุ7-10 ป 3) การทําตามส่ิงท่ีผูอ่ืนเห็นชอบ หรือการคาดหวังทางสังคม อายุ 10-13 ป 4) การทําหนาท่ีทางสังคมหรือระบบสังคมและมโนธรรม อายุ 13-16 ป 5) การทําตามคําม่ันสัญญาหรือสัญญาสังคมและสิทธิสวนบุคคล อาย ุ16 ปข้ึนไป 6) การยึดถืออุดมคติสากลหรือจริยธรรมสากล (วยัผูใหญ)

โคลเบอรก แบงคุณลักษณะทางจริยธรรมของบุคคลออกเปน 4 ลําดับข้ัน คือ 1. ความรูเชิงจริยธรรม หมายถึง การมีความรูเกี่ยวกับสังคมและสามารถบอกได วาการกระทําชนิดใดดีและควรกระทํา การกระทําชนิดใดเลวและไมควรกระทําพฤติกรรมลักษณะใด

Page 23: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  31

2. เจตคติเชิงจริยธรรม หมายถึง การมีความรูหรือความรูสึกตอพฤติกรรมเชิงจริยธรรมตางๆ ในทางท่ีชอบหรือไมชอบมากนอยเพียงใด เจตคติเชิงจริยธรรมของบุคคลมักจะสอดคลองกับคานิยมของสังคมและการทํานายพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของบุคคลนั้น ควรทํานายตามเจตคติเชิงจริยธรรม ซ่ึงสามารถทํานายไดเท่ียงตรงมากกวาการทํานายตามความรูเชิงจริยธรรม 3. เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึง เหตุผลท่ีบุคคลใชเปนเกณฑในการเลือกหรือไมเลือกกระทําพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง เหตุผลเชิงจริยธรรมเปนเหตุจูงใจซ่ึงอยูเบ้ืองหลังการกระทําของบุคคล อยางไรก็ตาม บุคคลท่ีมีเหตุผลเชิงจริยธรรมในระดับท่ีแตกตางกัน อาจมีการกระทําท่ีคลายคลึงกัน หรือมีการกระทําท่ีแตกตางกันก็ได เหตุผลเชิงจริยธรรมยังมีความสัมพันธกับพัฒนาการทางสติปญญาและทางอารมณดวย 4. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายถึง การแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงคของสังคมและปฏิเสธการแสดงพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของสังคม พฤติกรรมเชิงจริยธรรรมมีความสําคัญตอความสงบสุขและความม่ันคงของสังคมอยางยิ่ง จึงเปนหนาท่ีของสมาชิกในสังคมท่ีจะตองอบรมและปลูกฝงเยาวชนใหเปนผูมีพฤติกรรมเชิงจริยธรรมอยางม่ันคง 1.3.4 การสรางเสริมมโนธรรมและคุณธรรมของเอสเตบาน (Esteban, 1990) มีความเช่ือวา ความแตกตางทางอายุจะมีผลทําใหการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมแตกตางกันไป ท้ังนี้เนื่องจากพัฒนาการทางสมอง ประสบการณและความสามารถ ความสามารถในการตัดสินใจท่ีแตกตางกันจะสงผลใหตัวคุณธรรมจริยธรรมแตกตางกันไปดวย จึงไดเสนอคุณธรรมจริยธรรมท่ีเหมาะกับเด็กแตละวัย พรอมกับแนวทางในการสรางเสริมมโนธรรมและคุณธรรมเปนองคประกอบสําคัญ 2 ประการ ของการศึกษาเพื่อสรางคานิยม (Values Education) เนื่องจาก มโนธรรมเปนเร่ืองของความสามารถในการตัดสินประเด็นทางจริยธรรม และการรูจักนําหลักศีลธรรมมาใชอยางมีเหตุผลและถูกตองในสถานการณตาง ๆ ในขณะท่ีคุณธรรมเปนคุณภาพของจิตใจ ซ่ึงจัดเปนหลักพื้นฐานของการเลือก การตัดสินใจ เอสเตบาน มีความเห็นวา คุณธรรมเปนลักษณะท่ีสามารถพัฒนาไดตามพัฒนาการของแตละวัย เนื่องจากเยาวชนในแตละวัยมีเง่ือนไข มีปจจัยของชีวิตแตกตางกัน จุดเนนเพื่อการพัฒนาคุณธรรมแตละตัว จึงแตกตางกัน 1.3.5 ทฤษฎีตนไมจริยธรรม (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2539) อธิบายถึงทฤษฎีตนไมจริยธรรมวา พฤติกรรมของคนดีและคนเกงนั้นมีลักษณะทางจิตใจท่ีสําคัญ 5 ประการ โดยทฤษฎีนี้เปรียบเทียบพฤติกรรมตาง ๆ ของคนดีและคนเกงเหมือนผลไมบนตน เชน ผลมะมวงจะไดผลมะมวง

Page 24: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  32

1) ทัศนคติ คุณธรรม คานิยม ท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมคนดีและคนเกง คือ มีความพอใจและเห็นความสําคัญของความดีงาม เห็นโทษของความช่ัวรายตาง ๆ พรอมท่ีจะกระทําพฤติกรรมท่ียึดคุณธรรมเปนหลัก

2) เหตุผลเชิงจริยธรรม หรือการเห็นแกผูอ่ืน สวนรวม ประเทศชาติ และหลักสากลมากกวาตนเอง

3) ลักษณะมุงอนาคตและควบคุมตน สามารถคาดการณไกล และสามารถควบคุมตนใหอด ใหรอไดอยางเหมาะสม

4) ความเช่ืออํานาจในตน เช่ือวาผลที่เกิดข้ึนกับตน เปนเพราะการกระทําของตนเองมากกวาการเกิดจากการบังเอิญ โชคเคราะหหรือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ คือเช่ือวาทําดีไดดี ทําชั่วจะตองไดรับโทษ

5) แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์หรือความมุมานะบากบ่ัน ฝาฝนอุปสรรค ประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่ีวางไวอยางเหมาะสมกับความรูความสามารถของตน 1.3.6 ทฤษฎีของแบนดูรา (Bandura, 1977) ไดเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทางการเรียนรูทางสังคมไวดังนี้

1) ส่ิงท่ีเรียนรู โดยการเรียนรูของบุคคลเกิดจากความสัมพันธระหวางส่ิงตาง ๆ ซ่ึงกลายเปนความเช่ือท่ีมีผลตอการควบคุมพฤติกรรม และเม่ือมีเหตุการณเกิดข้ึนบุคคลก็จะมีความคาดหวังลวงหนาเกี่ยวกับการเกิดของผลจากการกระทํานั้นได ทําใหตัดสินใจไดวาควรทําหรือไมควรทํา

2) วิธีการเรียนรู กลาวคือ การเรียนรูเกิดจากประสบการณซ่ึงมีท้ังประสบการณตรงและประสบการณทางออมโดยการสังเกต อาน ฟง การบอกเลาท่ีเกิดจากกับผูอ่ืน ทําใหบุคคลมีการเรียนรูไดอยางกวางขวาง

3) ความเช่ือ ผลจากการเรียนรูอยูในรูปของความเช่ือวาส่ิงหนึ่งจะสัมพันธกับอีกส่ิงหนึ่ง ท้ังนี้เกิดจากการสังเกตและการคิดของบุคคล รวมทั้งการบอกเลาจากบุคคลอ่ืน ความเชื่อนี้สามารถกําหนดพฤติกรรมของบุคคลได

4) การควบคุมพฤติกรรมดวยความรูและความเขาใจ บุคคลมีความรูความเขาใจไดและสามารถถายทอดส่ิงท่ีตนรูได รวมท้ังมองเห็นผลการกระทําท่ีจะเกิดตามมาซ่ึงอาจดีหรือเลว ทําใหสามารถตัดสินใจไดวาควรทําหรือไมควรทํา

5) จริยธรรม เปนหลักเกณฑ กฎเกณฑ แนวทางของการประพฤติปฏิบัติโดยบุคคลสามารถประเมินไดถึงความผิดถูกของการกระทํา

Page 25: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  33

6) การบังคับตนเอง กลาวคือ บุคคลสามารถบังคับตนเองท่ีจะประพฤติหรือละเวนการประพฤติไดตามมาตรฐานของตนเอง ตามการเรียนรูจากประสบการณตรงและออมของตนโดยความสามารถในการบังคับตนเองนี้ข้ึนอยูกับเง่ือนไขทางสังคม หากการเสริมแรงเปนไปในทางบวกก็มีแนวโนมท่ีจะละเวนไมปฏิบัติในส่ิงไมดีและประพฤติในส่ิงดีงาม 1.3.7 ทฤษฎีการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามแนวทฤษฎีคุณลักษณะแฝง

ตามทัศนะของนักอาชญวิทยา ทฤษฎีพัฒนาการถูกจัดวาเปนทฤษฎีท่ีเลือกอธิบายปรากฎการณดวยเหตุผลท่ีดีท่ีสุด(Eclectic Theories) เนื่องจากนักวิชาการในกลุมนี้เช่ือวาคุณลักษณะท่ีไมดีเปนสาเหตุท่ีทําใหเกิดพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคหรืออาชญากรรม ตามแนวทฤษฎีคุณลักษณะแฝงของนักอาชญวิทยาช่ือ โคลวิน (Colvin, 2006) กลาววาบุคคลจะมีคุณลักษณะเฉพาะซ่ึงเปนตัวควบคุมแนวโนมท่ีจะประกอบอาชญากรรม แนวคิดนี้เร่ิมพัฒนาในชวงทศวรรษ 1980 เร่ิมตั้งแต วิลสันและเฮอรสเตล (Wilson and Herrstein, 1985) ไดพยายามพัฒนาทฤษฎีธรรมชาติของมนุษย วาคุณลักษณะแฝงของบุคคลเปนตัวบงช้ีท่ีมีความสําคัญมากกวาตัวแปรทางสังคมใน การเปนสาเหตุของการประกอบอาชญากรรม ซ่ึงคุณลักษณะของการควบคุมตนเองตํ่านี้เปนผลจากการอบรมเล้ียงดูของพอแมท่ีไมถูกตอง ออสกูดและไนทแวนเดอร(Osgood and Nicewander, 1990) ไดทําการวิจัย สรุปวาคุณลักษณะแฝงท่ีเปนสาเหตุของการกระทําความผิดหรืออาชญากรรม ไดแก ความบกพรองทางสติปญญา ความผิดปกติทางกรรมพันธุ ความไมสมดุลของสารเคมีในสมอง ซ่ึงโคลวิน ไดพัฒนาทฤษฎีช่ือ Differential Coercion Theory อธิบายวาการอบรมเล้ียงดูของพอแม ผูปกครองท่ีไมคงท่ีในการอบรมส่ังสอนทําใหเด็กเกิดความสับสน และมีพฤติกรรมเบ่ียงเบนซ่ึงมีแนวโนมท่ีจะกระทําความผิดหรือกออาชญากรรมท่ีรายแรงเม่ือเติบโตเขาสูวัยรุน 1.3.8 ทฤษฎีการเปล่ียนแปลงทางสังคม

การเปล่ียนแปลง หมายถึง การเปล่ียนจากสภาพเดิมเพ่ือไปสูสภาพท่ีตองการและมีการเคล่ือนท่ีจากสภาพปจุบัน ความเช่ือหรือทัศนคติ ในการพิจารณาการเปล่ียนแปลงทางสังคมมุงพิจารณาในระดับพฤติกรรมของบุคคล ซ่ึงเปนการประพฤติปฏิบัติของบุคคลหรือกลุมคนน่ันเอง พฤติกรรมท่ีแสดงออกน้ีจะมีลักษณะบทบาท (Role) ท่ีถูกกําหนดโดยสถานภาพทางสัมคม ฉะนั้นบทบาทท่ีแสดงออกจะสอดคลองกับบทบาทท่ีกลายเปนบทบาทของสถาบันแลว การเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนในระบบสังคมหนึ่ง มาจากสาเหตุท่ีสําคัญ 2 ประการ ไดแก การเปล่ียนแปลงทางสังคมน้ันมีสาเหตุมาจากภายในระบบของสังคม และการเปล่ียนแปลงทางสังคมนั้นมีสาเหตุมาจากภายนอกระบบของสังคม รายละเอียดมีดังนี้

Page 26: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  34

1) การเปล่ียนแปลงท่ีมีสาเหตุข้ึนมาจากภายในของระบบสังคม คือการเปล่ียนแปลงใด ๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการทํางานของระบบเอง ไมมีพลังภายนอกเขามาบีบบังคับ และตัวการสําคัญท่ีทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงนี้แบงออกไดเปน 2 ประการดังนี้

1.1) การประดิษฐคิดคน (Invention) ในสังคมการประดิษฐคิดคนนี้เปนการนําเอาเทคนิควิธีการหรือความคิดท่ีมีอยูเดิมมาผสมผสานกับความรูใหม ๆ เปนการใชความรูท่ีมีอยูเดิมแลวสรางส่ิงใหมข้ึนมา การประดิษฐคิดคนเปนกระบวนการเปล่ียนแปลงแบบคอยเปนคอยไป มีการผสมผสานอยางตอเนื่องกัน การประดิษฐคิดคนนี้ยังจําแนกออกไปไดอีก 2 ประการ ไดแก 1) การประดิษฐคิดคนทางวัตถุ (Technological Invention) เชน เคร่ืองมือเคร่ืองใชตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน และ 2) การประดิษฐคิดคนทางสังคม (Social Invention) เชน การมีกฎหมายใหม ขนบธรรมเนียมประเพณีใหม ลัทธิศาสนาใหม ซ่ึงส่ิงเหลานี้มีผลทําใหการดําเนินชีวิตในสังคมนั้นเปล่ียนแปลงไป

1.2) การอบรมส่ังสอนสมาชิกใหมของสังคมไดไมถูกตองสมบูรณ (Imperfect Socialization) การอบรมส่ังสอนสมาชิกผูเยาวของสังคมนี้ เปนของสถาบันครอบครัว และสถาบันการศึกษาเปนหลัก แตสภาพเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน พอแมท่ีเปนผูใหการอบรมส่ังสอนผูเยาวโดยตรงออกไปทํางานนอกบานและท้ิงใหบุตรหลานของตนตองอยูกับคนแกท่ีเปน ปู ยา ตา ยาย หรือคนใชจะทําใหเด็กขาดความรัก ความอบอุน และอาจเลียนแบบนิสัยของคนใกลชิด ทําใหเรียนรูวัฒนธรรมของสังคมไมถูกตอง ซ่ึงจะมีผลตอพฤติกรรมท่ีไมสอดคลองกับสังคมในอนาคตได

2) การเปล่ียนแปลงท่ีมีสาเหตุมาจากภายนอกระบบสังคม การเปล่ียนแปลงท่ีมีสาเหตุจากภายนอกระบบสังคมนี้เปนการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดจากการรับวัฒนธรรมของแตละสังคมท่ีเขามาติดตอกัน การเปล่ียนแปลงจากสาเหตุนีป้รากฎใหเห็นหลายรูปแบบ ซ่ึงแบงไดดังนี ้

2.1) การแพรกระจาย (Diffusion) หมายถึงการท่ีวัฒนธรรมจากสังคมหนึ่งกระจายไปสูสังคมอื่น การเปล่ียนแปลงทางสังคมสวนใหญจะมาจากการแพรกระจาย ตัวอยางเชน ในสังคมไทยไดรับเอาการแพรกระจายของวัฒนธรรมตะวันตกในเร่ืองเกี่ยวกับการแตงกาย สวมเส้ือนอก ผูกเนคไท สวมกระโปรง สวมรองเทาสนสูง หรือการท่ีคนไทยรับเอาการแพรกระจายทางวัฒนธรรมอินเดียในดานพระพุทธศาสนา รับเอาคานิยมในดานความขยันอดทน การเอาประโยชนจากคนอ่ืนจากวัฒนธรรมจีน เปนตน

2.2) การขอยืมวัฒนธรรม (Cultural Borrowing) ปจจุบันมีการขอยืมกันทางวัฒนธรรมในลักษณะของการแลกเปล่ียน (Exchange) แลวก็นํามาปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมกับวิถีชีวิตของสังคมเชน สังคมไทยปจจุบันไดมีการยืมวัฒนธรรมตะวันตกมาปรับใช ท้ังภาษาพูด การแตงกาย ทัศนคติ คานิยม รวมท้ังเครื่องมือเครื่องใชตาง ๆ เปนตน เนื่องจากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี

Page 27: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  35

1.4 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานคณะกรรมการพฒันาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ ไดกล่ันกรองพระราชดํารัสเกี่ยวกับเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัภูมิพลอดุลยเดช เปนกรอบความคิดเร่ือง “ปรัชญาเศรษกิจพอเพยีง” และเผยแพรเม่ือวันท่ี 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ดังนี้ (สุนยั เศรษฐบุญสราง, 2549) “เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาช้ีแนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหทันตอยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต และใหมีความรูท่ีเหมาะสม สมดุล และพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ท้ังดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี”

1.4.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 สวนดังนี้

1) กรอบแนวคิด เปนปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและการปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปน โดยมีพืน้ฐานมาจากวถีิชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบ มีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยวิกฤติ เพื่อความม่ันคงและความยั่งยืนของการพัฒนา

2) คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติได ทุกระดับโดยเนนการปฏิบัตโิดยทางสายกลาง และการพฒันาอยางเปนข้ันตอน

3) คํานิยาม ความพอเพียงประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอม ๆ กันดังน้ี 3.1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมาก

เกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน เชน การผลิตและการบริโภคท่ีอยูในระดับพอประมาณ 3.2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกบัระดับของความพอเพียง

นั้น จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล ตลอดจนคํานึงผลที่คาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทํานัน้ ๆ อยางรอบคอบ

Page 28: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  36

3.3) การมีภูมิคุมกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดานตาง ๆ ท่ีจะเกดิข้ึนในอนาคตท้ังใกลและไกล

4) เง่ือนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพียงนั้น ตองอาศัยท้ังความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน คือ

4.1) เง่ือนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวชิาการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเช่ือมโยง เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในข้ันการปฏิบัติ

4.2) เง่ือนไขคุณธรรมท่ีจะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวติ

5) แนวทางปฏิบัติ / ผลท่ีคาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช คือการพัฒนาอยางสมดุลและยั่งยนื พรอมรับตอการเปล่ียนแปลงในทุกดานท้ังดานเศรษฐกิจ สังคมส่ิงแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

1.5 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2550

สํานักนายกรัฐมนตรีเห็นความสําคัญของการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรมในสังคมไทย

จึงไดออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ พ.ศ. 2550 (ราชกิจจา

นุเบกษา, 2550) ประเดน็สําคัญเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรมในสังคมไทยตามระเบียบนี้ คือ

ขอ 4 ใหมีคณะกรรมการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ ขอ 8 กําหนดอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการชุดนี้

และ ขอ 11 กําหนดบทบาทหนาท่ีของสํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรมทําหนาท่ีเปนเลขานุการของ

คณะกรรมการ ดังรายละเอียดแตละขอตอไปนี้

ขอ 4 ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกวา “คณะกรรมการสงเสริมคุณธรรมแหงชาติ”

ประกอบดวย

1) นายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ 2) รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม เปนรองประธานกรรมการคนท่ีหนึ่ง 3) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนรองประธานกรรมการคนท่ีสอง 4) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เปนรองประธานกรรมการคนท่ีสาม 5) ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เปนกรรมการ 6) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนกรรมการ 7) ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เปนกรรมการ

Page 29: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  37

8) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เปนกรรมการ 9) ผูทรงคุณวุฒิจํานวนไมเกินสิบคนซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจากบุคคล ซ่ึงมีความรูความสามารถและมีผลงานเปนท่ีประจักษเกี่ยวกับงานสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม เปนกรรมการ ใหปลัดกระทรวงวัฒนธรรมแตงตั้งขาราชการในกระทรวงวัฒนธรรม เปนเลขานุการหน่ึงคนและผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน

ขอ 8 ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาท่ี ดังตอไปนี้ 1) เสนอแนะและใหความเห็นตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทย 2) เสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีใหมีหรือแกไขกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวกับการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทย 3) เสนอแผนแมบทการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทยตอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ 4) ประสานนโยบายและแผน เพื่อเสริมสรางความรวมมือในการปฏิบัติงานของภาคสวนตาง ๆ ในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทย 5) พิจารณาใหความเห็นชอบแผนงานและโครงการตาง ๆ ในการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทยท่ีเสนอตอคณะกรรมการ 6) กําหนดมาตรการในการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทย 7) กําหนดกรอบและแนวทางในการประชุมสมัชชาคุณธรรมแหงชาติเพื่อใหประชาชนและหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของไดมีสวนรวมแลกเปล่ียนองคความรู 8) เชิญขาราชการ พนักงาน ลูกจาง ผูปฏิบัติงานอื่นในหนวยงานของรัฐ หรือบุคคลท่ีเกี่ยวของมาสอบถามขอเท็จจริง รวมท้ังเรียกเอกสารจากหนวยงานของรัฐหรือบุคคลท่ีเกี่ยวของมาเพ่ือประกอบการพิจารณา 9) แตงต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย 10) ดําเนินการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ตามท่ีคณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย

ขอ 11 ให สํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรมทําหนา ท่ี เปนเลขานุการของคณะกรรมการโดยใหมีอํานาจหนาท่ีดังตอไปนี้ 1) จัดทําแผนแมบทการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทยเสนอคณะกรรมการ

Page 30: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  38

2) สงเสริม จัดทําและประสานแผนปฏิบัติการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรมในสังคมไทยรวมกับหนวยงานของรัฐและภาคสวนท่ีเกี่ยวของ 3) สนับสนุนการฝกอบรมดานคุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาเครือขายองคกรท่ีเกี่ยวของ 4) ประสาน ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย แผน แผนงานและโครงการท่ีเกี่ยวกับการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมไทย 5) ปฏิบัติงานอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

2. สภาพคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย 2.1 ปญหาดานคุณธรรมจริยธรรม 1. กระทรวงวัฒนธรรม รวมกับสวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต(มสด.) (2551) สํารวจการรับรูภาพลักษณ ความพึงพอใจและความคิดเห็นตลอดระยะเวลา 4 ปท่ีกอตั้งข้ึนมา ซ่ึงสํารวจคนไทยท่ัวประเทศจากกรุงเทพฯ และอีก 33 จังหวัด จํานวน 1,640 คน โดยระดับคะแนนเต็ม 10 คะแนนผลความพอใจการทํางานได 6.76 คะแนน วัฒนธรรมไทยท่ีประชาชนเห็นวากําลังเปนปญหาและตองการใหกระทรวงวัฒนธรรมแกไขอยางเรงดวน 10 ปญหา ไดแก ปญหาการแตงกายไมสุภาพสอไปในทางยั่วยุของวัยรุนหรือดารา รูปแบบชุดนักเรียน-นักศึกษาท่ีไมเหมาะสม ปญหาดานคุณธรรมจริยธรรม การเส่ือมถอยของจิตสํานึกท่ีดีงามและความซื่อสัตยสุจริต ปญหาการขาดความกตัญูไมเช่ือฟงบิดามารดา ขาดความสํารวมในกิริยามารยาทและการสัมมาคารวะตอผูใหญ ปญหาการสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ขาดการรณรงคเกี่ยวกับวัฒนธรรมอยางพอเพียง ปญหาในเร่ืองอบายมุข การม่ัวสุมของเด็กวัยรุน เชน การดื่มสุรา ยาเสพติด การคาประเวณี การเท่ียวกลางคืน ปญหาการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ปญหาวัฒนธรรมไทยถูกชาวตางชาติกลืน ปญหาส่ือตาง ๆ ท่ีเผยแพรภาพและเนื้อหาท่ีไมเหมาะสม เชน เว็บไซตลามก ฉากเลิฟซีนในละคร ซีดีลามก เปนตน ปญหาความเส่ือมโทรมทางศาสนา และปญหาการขาดระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในหนาท่ีของประชาชน ซ่ึงกระทรวงวัฒนธรรมจะเรงปรับปรุงแกไขการทํางานและสํารวจผลระยะ 6 เดือนอีกคร้ังเพื่อกระตุนเตือนสังคมตอไป สําหรับงานท่ีประชาชนพึงพอใจคือ การจัดบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณร ภาคฤดูรอน การใหบริการคนควาของหอสมุดแหงชาติ โครงการตลาดนัดศิลปะ และการใหบริการของศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย และหออัครศิลปน สวนวัฒนธรรมไทยท่ีประชาชนเห็นวาดีงาม

Page 31: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  39

2. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2551) รายงาน ความเคล่ือนไหวทางสังคมในชวงไตรมาส 4 และภาพรวมภาวะสังคมไทย 2550 พบวา

ปญหายาเสพติดยังคงเพ่ิมข้ึนในกลุมเด็กเยาวชน จาก 6,542 คดี ในป พ.ศ. 2548 เพิ่มเปน 10,279 คดี ในป พ.ศ. 2548 เพิ่มเปน 51,218 คดี ในป พ.ศ. 2550 สวนใหญเปนความผิดเกี่ยวกับทรัพย ยาเสพติด ชีวิตและรางกาย ผูกระทําผิดสวนใหญเปนเพศชายสูงถึงรอยละ 91.1 ระดับมัธยมตนรอยละ 40 ประถมรอยละ 30 นอกจากนี้ยังพบวาเด็กเยาวชนท่ีกระทําผิดซํ้ามีถึงรอยละ 11.8 ของคดีท่ีจับกุมทั้งหมดในป พ.ศ. 2549 และเพิ่มเปนรอยละ 12.9 ในป พ.ศ. 2550 สาเหตุการกระทําผิดเกิดจากการคบเพื่อนมากท่ีสุด รองลงมาคือความคึกคะนอง รูเทาไมถึงการณและปญหาครอบครัว 3. รายงานพิเศษ ขอเสนอเชิงนโยบายการแกปญหาเยาวชนไทย : นําศีลธรรมกลับคืนสูสถานศึกษา โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2549) กลาวถึง ขอมูลวิจัยการเฝาระวังสถานการณเด็กไทย หรือ Child Watch ของ ดร.อมรวิชช นาครทรรพ สถาบันรามจิตติ ไดสรุปภาพรวมของสังคมไทยในสวนท่ีเกี่ยวของกับเด็กและเยาวชนในสองมิติดังนี้

พิจารณาจากมิติทางบวก พบวาสุขอนามัยแมและเด็กดีข้ึนในภาพรวมและเด็กไทยไดรับการศึกษาสูงข้ึน สภาพแวดลอมท่ีเกี่ยวกับเด็กพบวาหลายจังหวัดไดแก แพร พังงา นาน สระแกว ชัยภูมิ ปตตานี มหาสารคาม มีส่ิงยั่วยุนอยกวา ท้ังนี้เปนผลมาจากจังหวัดเล็ก ๆ ดังกลาว ไดจัดกลไกการขับเคล่ือนลงสูพื้นท่ีดีใหกับเด็กและเยาวชนดวยความเอาใจใสเขมแข็งเปนอยางดี ขณะเดียวกันพบวาจังหวัดนนทบุรีแมไมใชจังหวัดเล็กอีกท้ังยังอยูใกลกรุงเทพฯ แตก็ยังเปนพื้นท่ีดี ท้ังนี้นาจะมาจากการเปนจังหวัดท่ีทีมผูบริหารจัดกิจกรรมสําหรับเด็กไดหลากหลายกิจกรรม

แตในมิติทางลบ ขอมูลจากงานวิจัยยืนยันสถานการณของเด็กปจจุบันนาเปนหวงเปนอยางยิ่ง เนื่องจากกําลังเผชิญปญหาหลายดานพรอมกัน อาทิ สภาพครอบครัวออนแอ เด็กเท่ียวกลางคืน ดื่มสุรา สูบบุหร่ี มีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร และอุบัติเหตุท่ีเกี่ยวกับการดื่มสุรา โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาท่ีตองเฝาระวังมากเปนพิเศษในกลุมเยาวชน ไดแก การมีเพศสัมพันธ การตั้งครรภนอกสมรส การใชความรุนแรง ถูกทํารายและอุบัติเหตุมีสถิติท่ีสูงข้ึนอยางนาตกใจ วิกฤติคุณธรรมจริยธรรมในเด็กและเยาวชนไทยนับวันจะรุนแรงข้ึนทุกขณะ ไมวาจะเปนการมีเพศสัมพันธไมเหมาะสม สถานการณเด็กไทยในรอบป 2548-2549 ในโครงการ Child Watch พบวาเด็กอาชีวะ และอุดมฯ ยอมรับวาเคยมีเพศสัมพันธ รอยละ 28 และ 30 ตามลําดับ การกออาชญากรรม / ยาเสพติด ขอมูลจากกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน พบวาเด็กและยาวชนกระทําผิดเพิ่มข้ึนจาก 11,045

Page 32: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  40

สําหรับสถานการณการสอนธรรมในสถานศึกษา ไมสามารถทําใหเด็กถึงแกนธรรม เม่ือพิจารณาถึงการพยายามนําศาสนาเขาไปชวยแกปญหาในมิติดานลบ จากขอมูลการวิจัยของเขตตรวจราชการท่ี 4 ในภาคกลางของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ท่ีไดติดตามประเมินผลการดําเนินโครงการครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจํานวน 4,000 รูป ในป 2548 พบวานักเรียนสนใจนอย สวนใหญไมเขารวมกิจกรรมวันสําคัญทางศาสนา การเรียนการสอนเนนพิธีกรรม ทําใหเด็กไมสามารถเขาถึงแกนธรรมแทจริง ครูพระมีเทคนิคการสอนนอย ไมเขาถึงจิตวิทยาการสอน จําเปนตองปรับการเรียนเปล่ียนการสอนความรูและควรถวายความรูแกครูพระเพื่อใหเด็กเขาถึงเทคนิคและการฝกปฏิบัติศีลธรรมอยางเรงดวนโดยเร็ว 4. จากการสํารวจของสํานักงานเลขาการสภาการศึกษา (สกศ.) กระทรวง ศึกษาธิการรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต “สวนดุสิตโพล” (2550) เกี่ยวกับปญหาคุณธรรมดานสภาพแวดลอม นักเรียน / นักศึกษา ผูบริหาร / ครู / อาจารย ผูปกครอง เม่ือ วันท่ี 10-18 มีนาคม 2550 ผลการสํารวจพบวา ดังน้ี

4.1 ผลการวิจัยเกี่ยวกับ 5 พฤติกรรมเยาวชนไทยท่ีสังคมพึงตระหนัก คือ 1) การใชสินคาฟุมเฟอย ยึดติดกับ วัตถุนิยม 2) การแตงตัวท่ีโปเปลือย ไมถูกกาลเทศะ / ตามแฟช่ันตางชาติ 3) การมั่วสุมอบายมุข เชน สูบบุหร่ี, ดื่มเหลา,ติดยา,เท่ียวกลางคืน,ติดเกม 4) มีอิสระทางความคิด กลาคิดกลาแสดงออกมากเกินไปจนเกินงาม 5) กาวราว ไมเช่ือฟงพอแม ไมมีความกตัญู และ ขาดสัมมาคารวะ

4.2 ผลการวิจยัเกีย่วกับ 5 ปญหา ของสังคมไทยท่ีสงผลกระทบตอการใชชีวิตของเยาวชนไทย คือ

1) ครอบครัวขาดความรัก และความอบอุน 2) การมีความรัก /เพศสัมพนัธกอนวยัอันควร 3) ภัยจากส่ืออินเทอรเน็ต

4) การเขาถึงอบายมุขท้ังเหลา/บุหร่ี /ยาเสพติด ไดงาย

5) ขาดแบบอยางท่ีดี / ไมมีตวัอยางท่ีดใีหเห็นชัดเจน

4.3 ผลการวิจยัเกีย่วกับ 10 คุณธรรมของเยาวชนไทย” ท่ี “ควรเรงสราง/ ปลูกฝงคือ

Page 33: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  41

1) ความมีระเบียบวินัย 2) ความซ่ือสัตย 3) ความขยันหม่ันเพียร 4) ความมีน้ําใจ/เอ้ือเฟอเผ่ือแผ 5) ความสุภาพ/มีสัมมาคารวะ 6) ความกตัญู 7) ปลูกจิตสํานึกท่ีดี 8) ความสามัคคี 9) ความมีเหตุมีผล 10) การเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน

5. บุญเลิศ จีรภัทร และคณะ (2548ก) ไดศึกษาหลักธรรมสําหรับกลุมขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐ โดยการสัมภาษณกลุมตัวอยาง 3 กลุมคือ ผูทรงคุณวุฒิ พระภิกษุผูทรงคุณวุฒิและพระภิกษุผูทําหนาท่ีเผยแผธรรม และขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐ ผลการศึกษาไดกลาวถึงปญหาคุณธรรมของขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐ สาเหตุของปญหา แนวทางแกไข และคุณธรรมท่ีควรสงเสริมเพื่อแกปญหาแตละปญหา สรุปไดดังตารางท่ี 2.3 ตารางท่ี 2.3 ปญหาคุณธรรมของขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐ สาเหตุของปญหา แนวทางแกไข

และคุณธรรมท่ีควรสงเสริมเพื่อแกปญหาแตละปญหา ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมท่ีใช

แกปญหา 1. การประทุษราย และการทํารายรางกายกัน

- ครอบครัวขาดความอบอุน ขาดการอบรมดวยความรักความเมตตา - สถานศึกษาขาดการปลูกฝงความคิดเร่ืองความอดทน อดกล้ันในการขมใจตอส่ิงท่ีมากระทบ ความยืดหยุน กอใหเกิดความขัดแยงทางสังคม -

- สรางปญญาใหคิดเปน รูจกัการใชเหตุผล รูจักหาความจริง จัดต้ังศูนยในชุมชน จัดทําหลักสูตรใหมีการศึกษาหลักธรรม ท้ังทฤษฎีและปฏิบัติในหลักสูตรการเรียนรู การจัดกิจกรรมและการจัดโครงการอบรมเร่ืองศีลธรรมและหลักธรรม - รณรงคใหใชวิธีนุมนวล ใชความรัก ความอบอุนในการอบรมส่ังสอนใหเดก็มีความอดทนในการทํางาน และใชสันติวิธีในการปญหา

สติสัมปชัญญะ เมตตา โยนิโสมนสิการ เบญจศีลเบญจธรรม กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ สัมมาทิฎฐิ อริยสัจ 4 มรรคมีองค 8 สังคหวัตถุ 4 สัปปุริสธรรม 7 ทศพิธราชธรรม พรหมวหิาร 4

Page 34: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  42

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา ส่ือตาง ๆ เผยแพรยัว่ยุ

การใชความรุนแรง ความริษยา ขาดความอดทนตอส่ิงท่ีมากระทบทั้งระดับบุคคล และระดับกลุม - ใชอํานาจในทางมิชอบทําใหเกดิความขัดแยง - การบริหารราชการท่ีขาดความยุติธรรม ไมเปนธรรม

- จัดเทศนาส่ังสอนและจัดสอนวิปสนากรรมฐานใหแกขาราชการและเจาหนาท่ีท้ังในสถานท่ีราชการ การปรับปรุงส่ิงแวดลอมใหดข้ึีน โดยเฉพาะการเปนผูใหบริการ - สงเสริมใหส่ือเสนอเร่ืองท่ีสรางสรรคเปนประโยชนตอสังคม และสงเสริมคนดี มีศีลธรรมเปนตัวอยางท่ีดีของสังคม - ชุมชน วัด สถานศึกษา และรัฐ จัดกิจกรรมในรูปบูรณาการการนําศีลธรรมกลับสูสังคมชุมชน - สงเสริมใหเกิดการใหอภัยแกกัน การอโหสิตอกนั - รณรงคใหปฏิบัติตามกฎอยางเปนธรรม

2. การทะเลาะวิวาทและการขาดความสามัคคีของกลุมคนในสังคม

- การขัดผลประโยชน กันของบุคคล และกลุมคนในสังคมและหนวยงาน ในเรื่องทรัพยสินเงินทองและความคิดเห็น - การเห็นแกพวกพอง จนเกิดการเบียดเบียนผูอื่น และกลุมอื่น - การใชความรูความสามารถในทางท่ีผิด การเอารัดเอาเปรียบผูอื่น

- แกปญหาแบบบูรณาการจากทุกฝาย ท้ังรัฐ ชุมชน สังคม วัด - จัดกิจกรรมปรบัปรุงส่ิงแวดลอม รวมกัน จัดโครงการอบรมเพือ่พัฒนาจิต พัฒนาจริยธรรมของคนในหนวยงานตาง ๆ ของรัฐ ของสถานศึกษา ชุมชนและสังคมรวมกัน - รณรงคการเสนอขาวสารของส่ือใหเกิดการสรางสรรค สงเสริมคนดี คนมีความสามารถ -หนวยงานของรัฐและเอกชนรวมกันรณรงคเพื่อใหเกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และใชกฎหมายใหเปนธรรม

สติสัมปชัญญะ พรหมวิหาร 4 โยนิโสมนสิการ อภัยทาน ปยวาจา ศีล 5 กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ สัมมาทิฎิ มรรคมีองค 8 สังคหวัตถุ 4 สัปปุริสธรรม 7 ทศพิธราชธรรม ปริจาคะ อาชชวะ มัททวะ อักโกธะ อริหงิสา ขันติ อวิโรธนะ พรหมวหิารธรรม ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปญญา สัปปุริสธรรม

Page 35: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  43

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา - ระบบอุปถัมภใน

ระบบราชการ และกระแสการบริโภคนิยม

- จัดกิจกรรมฝกอบรมใหเกิดความรู ฝกการใชเหตุผล ฝกการกําหนดสติ การทํางานดวยความใจเย็น ดวยกระบวนการคิดท่ีชัดเจน ความรวมมอืในการทํางานจนสําเร็จ

- การขาดความอบอุนจากครอบครัว ทําใหมีการแสวงหาความอบอุนจากเพื่อน

- แกไขท้ังสภาพแวดลอมและตัวบุคคลใหเห็นโทษของส่ิงท่ีตามมา ช่ือเสียงเกียรติยศ และคานิยมท่ีถูกตองตอเรื่องชูสาวและแกปญหาโสเภณี

3. ปญหาเรื่องชูสาว โสเภณี โสเภณีเด็ก ปญหารักในวัยเรียน - กระแสการบริโภค

นิยม วัตถุนิยม การทําตามคานิยม ประเพณีวัฒนธรรมตะวนัตก - สื่อเผยแพรขาวสารทางดานกามารมณ มากจนเกินไป จนทําใหเกิดการเลียนแบบ การกระทําโดยขาดสติยั้งคิด - เจาหนาท่ีของรัฐไมปราบปรามส่ือ - การใชกฎหมายอยางไมเปนธรรม

- การรณรงคใหเกิดการทําเปนแบบอยาง/ตัวอยางท่ีดี การครองตนใหเปนแบบอยางของ ผูบริหารของหนวยงานภาครัฐในเรื่องเบญจศีลเบญจธรรม - ยกยองขาราชการท่ีดี ซื่อสัตยสุจริต รักครอบครัว และอยูในศีลธรรมอันดี -สงเสริมใหเกิดคานิยมของการรักครอบครัว ดูแลคนในครอบครัว - เจาหนาท่ีของรัฐใชอํานาจของตนตามกฎหมายและหนาท่ีอยางยุติธรรม ซื่อสัตย ไมลําเอียง - ครอบครัว ชุมชน หนวยงานราชการและวัดรวมกันจัดทําโครงการรณรงคการสรางจิตสํานึกใหเห็นโทษของปญหาชูสาว

โยนิโสมนสิการ สติสัมปชัญญะ เบญจศีลเบญจธรรม ทิศ 6 ทศพิธราชธรรม พรหมวิหารธรรม อิทธิบาท 4 หิริโอตัปปะ ไตรสิขา

Page 36: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  44

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

4. ปญหาการใชจายฟุมเฟอย โดยขาดการประมาณตน

- เลียนแบบ เอาอยางดารา - รับอินเทอรเนต็ และจากส่ือตามกระแสวัฒนธรรมตางประเทศ และตามกระแสบริโภคนิยมและวัตถุนิยม - มีคานิยมท่ีแสวงหาความสุขทางวัตถุ ขาดการประมาณในการใชชีวิตของขาราชการโดยเฉพาะขาราชการผูใหญ - นโยบายของรฐัท่ีกระตุนดวยเงินจนเกิดการใชจาย เกินตัว

- จัดกิจกรรมและการฝกอบรมภายในหนวยงานตาง ๆ ใหเกิดการรูจักขมใจ ความอดทน อดกลั้น ยับยั้งช่ังใจในการใชจาย รูจักตนเอง รูจักประมาณตนเอง ไมใชชีวิตดวยความประมาท ไมสรางหน้ี ไมใชจายเกินตัว เพื่อกระตุนใหเกิดการใชจายอยางพอเพียง - สงเสริมคนดี คนขยันและใหเกียรติแกคนดี คนท่ีสรางประโยชนใหสังคม สรางคานิยมท่ีมองประโยชนสาระท่ีแทจริงมากกวาประโยชนแฝง

โยนิโสมนสิการ สติสัมปชัญญะ สันโดษ มัชฌิมาปฏิปทา สัปปุริสธรรม เศรษฐกิจพอเพียง ฆราวาสธรรม

5. ปญหาการขาดความรับผิดชอบ ขาดความอดทน อดกลั้นตอการทํางาน ตอหนาท่ีท่ีมีตอพอแม ตอเพื่อน ตอครอบครัวและสังคม

- คานิยมของสังคมท่ียกยองคนท่ีมีเงินและอํานาจไมไดยกยองคนท่ีมีความรับผิดชอบ อดทน อดกลั้นทํางานอุทิศใหสังคม รับผิดชอบครอบครัว ดูแลพอแม - ไมสงเสริมคนท่ีมีความสามารถและรับผิดชอบตองาน สังคมและครอบครัว ใหเปนแบบอยาง - ขาดการทําตัวเปนแบบอยาง

- หนวยงานของรัฐและวัดรวมกันจัดทําโครงการอบรมใหเกิดความรับผิดชอบ อดทน ทํางานดวยความภูมิใจจนสําเร็จ - ควบคุมสื่อ

อิทธิบาท 4 ทศพิธราชธรรม สัปปุริสธรรม ไตรสิกขา หิริโอตตัปปะ ศีล ทาน ปริจจาคะ อาชชวะ มัททวะ ตปะ โยนิโสมนสิการ

Page 37: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  45

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

6. ปญหาการฉอโกง การหลอกลวง ฉอราษฎรบังหลวง และเบียดบังของผูอื่นท้ังดานเวลา ทรัพยสิน ผลประโยชน รวมท้ังการปรบัผิดเปนถูก และการหาชองใหเกิดประโยชนแกตนเองและพวกพอง

- ระบบอุปถัมภ - สังคมมีการเจริญทางวัตถุมาก - ใชอํานาจครอบงําเพ่ือใหคนอื่นทําตาม - มีความโลภ ขาดการประมาณตน - ขาดตัวอยางท่ีดี - ขาดการปลูกฝงจิตสํานึกในดานความรับผิดชอบ - ผูบริหารขาดหลักธรรมาภิบาลในการบริหาร ขาดการทําหนาท่ีในการรักษากฎหมายดวยความยุติธรรม มีอคติ ลําเอียง โยนิโสมนสิการ

- หนวยงานของรัฐ เอกชน และวัดรวมกันจัดทําโครงการและกิจกรรมสรางสํานึก สรางคานิยมในการทํางาน ดวยความซ่ือสัตยสุจริตเพื่อใหเกิดประโยชนตอราชการ ประชาชน และสังคม - ลดอํานาจการครอบงํา และการคานอํานาจของผูมีอํานาจ - การเปดเผยขอมูลการใชจายตาง ๆ ของหนวยงานของรัฐ - รณรงคใหขาราชการทํางานดวยความขยัน ประหยัด อดทน และใชหลักคุณธรรมในการบริหารงานราชการ

ทศพิธราชธรรม สันโดษ หิริโอตตัปปะ กฎแหงกรรม พรหมวิหาร ฆราวาสธรรม เบญจศีลเบญจธรรม สันโดษ เศรษฐกิจพอเพียง สติสัมปชัญญะ โยนิโสมนสิการ

7. ปญหาเรื่องการขาดระเบียบวินัย การใชของไมเก็บรักษา การใชของสวนรวมสาธารณะโดยขาดความรับผิดชอบ ขาดการดูแลเพื่อใหทนใชไดนานเพ่ือประโยชนของตนและผูอื่น การนัดหมายและ การเขา-เลิกงานไมตรงเวลา ขาดความรับผิดชอบในหนาท่ีตามภาระหนาท่ีของตน

-ละเลยหนาท่ี ขาดความรับผิดชอบตอสังคม เห็นแกตัว การแสวงหาประโยชนสวนตน ใชอํานาจในทางท่ีผิด ไมไตรตรองถึงผลเสยีท่ีจะตามมาตอตนเองและผูอื่น - ขาดการนํากฎกติกาและกฎหมายมาใชอยางเปนธรรม - ขาดการนําหลักธรรมมาใชในการบริหาร - ขาดแบบอยางท่ีดีในการรักษากฎหมายใหยุติธรรม

- รณรงคใหมีการใชกฎหมาย และสรางคานิยมท่ีใหความสําคัญกับคนท่ีอยูในระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบตอหนาท่ีและงานท่ีทํา มีความซ่ือสัตย และตรงตอเวลา - จัดใหมีการปลูกฝงเรือ่งระเบียบวินัย การรักษากฎหมายใหเกิดความยุติธรรม - ยกยองขาราชการและเจาหนาท่ีท่ีประพฤติตนอยูในระเบียบวินัย รับผิดชอบ และตรงตอเวลา

ทศพิธราชธรรม อิทธิบาท 4 เบญจศีลเบญจธรรม สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ โยนิโสนสสิการ ปฏิจจสมุปบาท

Page 38: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  46

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา 8. ปญหาการขาดความกตัญูกตเวทีตอพอแม ตอสภาพแวดลอม และสังคม

- ระบบสังคมมีคานิยมบรโิภคนิยมและวัตถุนยิมจนลืมดูแลเอาใจใสผูมีพระคุณ พอแม - ยอมรับนับถือบุคคลท่ีมีฐานะ ความร่ํารวยมากกวาความรูความสามารถและคุณธรรมความดี - ใชระบบอุปถัมภในการบรหิารราชการ - เกิดครอบครวัเดีย่วเพ่ิมข้ึนทําใหมีเวลาดูแลผูใหญ ผูสูงอายุในครอบครวัลดลง - ระบบสังคมมีคานิยมตามกระแสบริโภคนิยมและวัตถุนิยมจน ลืมดูแลเอาใจใสผูมีพระคุณ พอแมผูปกครอง - ยอมรับนับถือบุคคลท่ีมีฐานะ ความร่ํารวยมากกวาความรูความสามารถและคุณธรรมความดี - ระบบราชการใชระบบอุปถัมภในการบริหารราชการ - เกิดครอบครัวเดี่ยวเพิ่มข้ึนทําใหมีเวลาดูแลผูใหญ ผูสูงอายุในครอบครัวลดลง

- ชุมชน สังคม หนวยงานของรัฐและเอกชน และวัด จัดกิจกรรมและการจัดโครงการฝกอบรมใหขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐเห็นความสําคัญของความกตัญู - เปนตัวอยางท่ีดีตอลูกหลานและคนใยสังคม - ชุมชน สังคม หนวยงานของรัฐและเอกชน และวัด จัดกิจกรรมและการจัดโครงการฝกอบรมใหขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐเห็นความสําคัญของความกตัญู - เปนตัวอยางท่ีดีตอลูกหลานและคนในสังคม

บุคคลหาไดยาก บุพการี กตัญูกตเวที ไตรสิขา ศีล สมาธิ ปญญา ทศพิธราชธรรม พรหมวิหารธรรม ทิศ 6 โยนิโสนสสิการ ปฏิจจสมุปบาท สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ เบญจศีลเบญจธรรม บุคคลหาไดยาก บุพการี กตัญูกตเวที ไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปญญา ทศพิธราชธรรม พรหมวิหารธรรม ทิศ 6 โยนิโสนสสิการ ปฏิจจสมุปบาท สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ เบญจศีลเบญจธรรม

Page 39: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  47

ตารางที่ 2.3 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใช แกปญหา

9. ปญหาการพนัน

-ขาดการประพฤติปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของทางราชการ และการใชกฎหมายดวยความมีอคติลําเอียง รัฐเองก็นําหวยข้ึนมาบนดิน เปนตัวกระตุนการพนัน - ความไมเห็นโทษของการพนัน - ความโลภ ความหลง - เห็นแกเงินคาจางสินบนในการคุมครองบอน - ขาดแบบอยางของการไมเลนการพนัน การเลี้ยงชีพโดยชอบ

- หนวยงานท่ีเกี่ยวของรวมกันจัดโครงการฝกอบรมใหขาราชการ และเจาหนาท่ีเกิดจิตสํานึกในการปองกันและปราบปรามการพนัน ไมคุมบอน ไมยงุเกี่ยวกับการพนัน - สรางคานิยม ลดเลิกการพนัน

เบญจศีลเบญจธรรม หิริโอตตัปปะ สันโดษ ทศพิธราชธรรม โยนิโสมนสิการ สติสัมปชัญญะ สัปปุริสธรรม

10. ปญหายาเสพติดท่ีมีในรูปลักษณตาง ๆ ท้ังสุรา บุหรี่ เบียร กัญชา เฮโรอีน ฯลฯ

- การยึดติดในวัตถุ ตามกระแสการบริโภคนิยม คนจึงเขาไปเกี่ยวของกับยาเสพติดเนื่องจากหาทรัพยงาย -ขาดการฝกฝนตนแลประพฤติตนในการยับยั้งช่ังใจ - การทําหนาท่ีในการรักษากฎหมายในการปองกันและปราบปรามยาเสพติด

- หนวยงานตาง ๆ จัดกิจกรรมใหขาราชการไดเห็นโทษภัยของยาเสพติด ท่ีมีตอลูกหลาน ประชาชน และคนในสังคม เศรษฐกิจ การเมือง บริหารราชการตามหนาท่ีดวยความซื่อสัตย ชวยกนัปองกันและปราบปรามยาเสพติด - จัดโครงการใหสามารถพัฒนาตนเองใหสามารถพี่งพาตนเองและแกปญหาตนเองได - รณรงคใหหางไกลยาเสพติด

ทศพิธราชธรรม ปฏิจจสมุปบาท เบญจศีลเบญจธรรม สติสัมปชัญญะ หิริโอตตัปปะ สันโดษ อัตตาหิอัตโนนาโถ หลักเศรษฐกิจพอเพียง สัปปุริสธรรม

Page 40: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  48

นอกจากนั้น บุญเลิศ จีรภัทร และคณะ (2548ข) ไดสรุปปญหาคุณธรรมของผูปกครองและประชาชนท่ัวไป สาเหตุของปญหา แนวทางแกไข และคุณธรรมท่ีควรสงเสริมเพ่ือแกปญหาแตละปญหา ดังตารางท่ี 2.4 ตารางที่ 2.4 ปญหาคุณธรรมของผูปกครองและประชาชนท่ัวไป สาเหตุของปญหา แนวทางแกไข และ

คุณธรรมท่ีควรสงเสริมเพื่อแกปญหาแตละปญหา

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

1. การประทุษราย และการทํารายรางกายกัน

- ความขัดแยงต้ังแตระดับครอบครัว ระดับทองถิ่น ระดับจังหวัด และระดับประเทศ - ขาดความอดทนตอการกระทบกระท่ังตอกัน - ริษยาในความเดนความดีท่ีอีกฝายไดมากกวา ไดดีกวา - การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเกิดแรงผลักดันใหประชาชนใชชีวิตดวยการดิ้นรนเพื่อหาความสุขใหตนเอง - สื่อตาง ๆ เผยแพรยั่วยุการใชความกาวราวรุนแรง - ขาดการอบรม กลอมเกลาแตเด็ก

- การใชวิธีการท่ีนุมนวลในการแกปญหาในครอบครัว - ชุมชน หนวยงานของรัฐ และเอกชน จัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อรณรงคและปองกันความรนุแรง ในการแกปญหา - จัดฝกอบรมการใชสันติวิธีในการแกปญหาในหนวยงาน และชุมชน - สรางปญญาใหคิดเปน รูจักการใชเหตุผล รูจักหาความจริง -จัดต้ังศูนยในชุมชนเพ่ือชวยลดและปองกันปญหา - ละวางเรื่องราวและส่ิงตาง ๆ ทําใจใหพนจากปญหาและอยูกับสิ่งแวดลอมได - สงเสริมใหสื่อเสนอเรื่องท่ีสรางสรรคเปนประโยชนเปนตัวอยางท่ีดีตอสังคม และสงเสริมคนดีมีศีลธรรม - ชุมชน วัด โรงเรียน และรัฐ ชวยกันสรางคุณธรรม การใหอภัยแกกัน - สื่อเสนอวิธีการแกปญหาดวยสันติวิธ ี

สติสัมปชัญญะ เมตตา พรหมวิหาร 4 โยนโิสมนสิการ เบญจศีลเบญจธรรม กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ สัมมาทิฎฐิ อริยสัจ

Page 41: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  49

ตารางที่ 2.4 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

2. การทะเลาะวิวาทและการขาดความสามัคคีของกลุมคนในสังคม

- การขัดผลประโยชนกัน ในเรื่องทรพัยสินเงินทองและความคิดเห็น ดานทิฐิ ลัทธิ ศาสนา อุดมการณ และการเห็นแกพวกพอง - การเห็นแกพวกพอง จนเกิดการเบียดเบียนผูอื่น และกลุมอื่น - ขาดการใชเหตุผล มีอคติ ลําเอียง ขาดการหามใจ - ขาดตัวแบบท่ีเหมาะสม

ใชแบบเดียวกับการแกปญหาการประทุษรายแกกัน - แกปญหาแบบบูรณาการจากทุกฝาย ท้ังวัด ชุมชน โรงเรียน ภาครัฐและเอกชนรวมกันคิด รวมกันพัฒนาในการ จัดกิจกรรมปรับปรุงส่ิงแวดลอมรวมกัน จดัโครงการอบรมเพ่ือพัฒนาจิต พัฒนาจรยิธรรมของคนในชุมชนรวมกัน - รณรงคการเสนอขาวสารของส่ือใหเกิดการสรางสรรค สงเสริมคนดี คนมีความสามารถ ทําใหสังคมนาอยู - จัดฝกอบรมใหรูจักการใหทาน - จัดกิจกรรมเพ่ือใหเกิดความรกั ความสามัคคี ดวยการรวมกันทํางาน

สติสัมปชัญญะ เมตตา 4 โยนิโสมนสิการ พรหมวิหารธรรม อภัยทาน ปยวาจา หิริโอตตัปปะ ฆราวาสธรรม เบญจศีลเบญจธรรม ขันติโสรัจจะ กุศลกรรมบท 10 กัลยาณมิตตตา อริยสจั 4

3. ปญหาเรื่องชูสาว โสเภณี โสเภณีเด็ก ปญหารักในวัยเรียน

- แตละฝายขาดการทําหนาท่ี การหลงตามกระแสและการขาดความละอายตอบาปท่ีกระทํา - สิ่งแวดลอมยัว่ยุทางดานกามารมณใหเกิดความอยากทํา - ขาดตัวแบบท่ีดี - การขาดการขมใจ และขาดสติยั้งคิด - การแตกแยกของครอบครัว

- ชุมชน สังคม หนวยงานของรัฐ เอกชนและวัด รวมกันสรางโครงการฝกอบรมในการพัฒนาจิตใจของบุคคลในชุมชน ในสังคม ในหนวยงานของรัฐและเอกชน เพื่อใหเกิดสติยับยั้งใจในการไมสรางปญหา ไมยุงเกี่ยวกับสิ่งท่ีจะสรางปญหา - สรางจิตสํานึกในการไมประพฤติในส่ิงท่ีเปนโทษตอตนและสังคม - ปรับปรุงสภาพสิ่งแวดลอม ลดส่ือและสภาพแวดลอมท่ียั่วยุกามารมณ - สรางกิจกรรมที่ใหคําแนะนําและอธิบายถึงความยากลําบากของคนติดเอดส โทษภัยของปญหาโสเภณี

โยนิโสมนสิการ สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรม เบญจศีลเบญจธรรม ทิศ 6 หิริโอตตัปปะ พรหมวหิารธรรม เมตตา อริยสัจ 4 มรรคมีองค 8

ตารางที่ 2.4 (ตอ)

Page 42: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  50

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

- สื่อเผยแพรขาวสารทางดานยั่วยุกามารมณ มากจนเกินไป จนทําใหเกิดการเลียนแบบ การกระทําโดยขาดสติยั้งคิด

- การรณรงคสงเสริมคนทําดีเพื่อใหเกิดตัวอยางท่ีดใีนดานตาง ๆ แกสังคม และเกิดคานิยมท่ีดีแกสังคม - รณรงคสงเสรมิใหมีความรัก ความซื่อสัตยตอภรรยาหรือสาม ี

4. ปญหาการใชจายฟุมเฟอย โดยขาดการประมาณตน

- กระแสบรโิภคนิยมและวัตถุนิยมผานส่ือ - ขาดแบบอยางท่ีดีของสังคม - นโยบายของรัฐท่ีกระตุนดวยเงินจนเกิดการใชจายเกินตัว จนคนในสังคมลืมวถิีชีวิตด้ังเดมิและละเลยคานิยมทางดานจติใจ

- ฝกใหเกิดการรูสึกขมใจ อดทน อดกลั้น ยับยั้งช่ังใจในการซ้ือของไมจําเปน ไมใชชีวิตดวยความประมาท รูจักประมาณตนในการกิน การใชจาย ไมสรางหน้ี รูจักคุณคาของเงิน และรูจักความยากลาํบากในการหาเงิน - สงเสริมคนดี คนขยันและแสวงหาความสุขทางจิตใจมากกวาวัตถุ

โยนโิสมนสกิาร สติสัมปชัญญะ สันโดษ มัชฌิมาปฏิปทา ทิศ 6 สัปปุริสธรรม ฆราวาสธรรม ทิฏฐิธัมมิกัตกสังวัตตนิกธรรม 4 อุฎฐานสัมปทา อารักขสมัปทา กัลยาณมิตตา

5. ปญหาการขาดความรับผิดชอบ ขาดความอดทน อดกลั้นตอการทํางาน ตอหนาท่ี ท่ีมีตอพอแม ตอเพ่ือน ตอครอบครัว และสังคม

- ขาดการฝกหัดอบรม - ขาดตัวแบบ/แบบอยางท่ีดีในสังคม - ขาดการใชกฎระเบียบอยางเปนธรรม - ระบบอุปถัมภทําใหไมเห็นโทษของการไมรับผิดชอบในงาน - คานิยมของสังคมท่ีไมสงเสริมคนดี คนท่ีทํางานดวยความอดทน อดกลั้น และรับผิดชอบในหนาท่ี - ขาดการอบรมดานความอดทนและความรับผิดชอบ

- จัดทําโครงการฝกอบรมสงเสริมอาชีพและธุรกิจใหแกผูปกครองและประชาชนท่ัวไป - วัด ชุมชน และรัฐจัดกิจกรรมสงเสริมสมาชิกท่ีทํางานดวยความขยัน อดทน รับผิดชอบ และลงโทษตักเตือนคนท่ีไมรับผิดชอบไมอดทน

ฆราวาสธรรม (สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ) อิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) สังคหวัตถุ 4 (ทาน ปยะวาจา อัตถจรยิา สมานัตตา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปญญา) สติสัมปชัญญะ สัปปุริสธรรม

Page 43: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  51

ตารางที่ 2.4 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใช แกปญหา

6. ปญหาการฉอโกง การหลอกลวง เบียดบังของผูอื่นท้ังดานเวลา ทรัพยสิน ผลประโยชน

- เกิดการบริโภคนิยม และวัตถุนิยมมาก ทําใหเกิดอํานาจของเงิน อํานาจของบุคคล และกลุมบุคคลในสังคม - การเลียนแบบการบริโภคโดยขาดการประมาณตน ขาดความเมตตาและความละอายตอบาปท่ีทํา - ขาดการฝกอบรมและตัวแบบท่ีดีของสังคม - ความเห็นท่ีผิด ไมเห็นโทษของการเบียดเบียน

- ชุมชน สถานศึกษา และวัดรวมกันจัดทําโครงการ/กิจกรรมฝกอบรมและสงเสริมการทํากิจกรรมเพือ่ใหเห็น โทษ บาป ของการทุจริต - รณรงคใหคนในสังคมทํางานสุจริต เขาใจและเช่ือในกฎแหงกรรม และมีความเกรงกลัว ละอายตอบาป มีจิตใจเมตตา - รณรงคใหมีการใชกฎหมายอยางเปนธรรม

เบญจศีลเบญจธรรม หิริโอตตัปปะ กฎแหงกรรม สันโดษ พรหมวิหารธรรม ฆราวาสธรรม (สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปญญา) มรรคมีองค 8 สัปปุริสธรรม โยนิโสมนสิการ

7. ปญหาเรื่องการขาดระเบียบวินัย การใชของไมเก็บรักษา การใชของสวนรวมสาธารณะโดยขาดความรับผิดชอบ ขาดการดูแลเพื่อใหทนใชไดนานเพ่ือประโยชนของตนและผูอื่น การนัดหมายการเขา-เลกิงานไมตรงเวลา การทํางานโดยขาดความรับผิดชอบตามภาระหนาท่ีของตน

- ขาดการนํากฎกติกาและกฎหมายมาใชอยาง เหมาะสมเปนธรรม - ระบบอุปถัมภทําใหบางคนสามารถละท้ิงงาน มาไมตรงตามนัดหมาย และเขางานเลิกงานไมตรงเวลาก็ไมเปนไร - ขาดแบบอยางท่ีดีและสังคมไมไดใหการยกยองและเห็นคุณคาของคนท่ีทํางานดวยความรับผิดชอบ ขยันขันแข็ง มีระเบียบวินัย ซื่อสัตย พูดจริงทําจริง มีสัจจะ ตรงตอเวลา - ขาดการอบรมมาต้ังแตเด็ก

- ชุมชน สังคม โรงเรียน วัด ภาครัฐและเอกชนรวมกันจัดกิจกรรมรณรงคใหมีการใชกฎหมาย และสรางคานิยมของสังคมท่ีใหความสําคัญกับคนท่ีมีระเบียบวินัย ซื่อสัตย ซื่อตรง มีความขยันอดทน ใชของประหยัด มีความรับผิดชอบตอสาธารณสมบัติ ตรงตอเวลารับผิดชอบในหนาท่ีของตน ในลักษณะท่ีหลากหลายและสมํ่าเสมอ จนเกดคานิยมท่ีดีตอสังคม

อิทธิบาท 4 ฆราวาสธรรม (สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ) เบญจศีลเบญจธรรม สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรม หิริโอตตัปปะ โยนิโสนสสิการ ปฏิจจสมุปบาท ) สังคหวัตถุ 4 (ทาน ปยะวาจา อัตถจริยา สมานัตตา) สัปปุริสธรรม มรรคมีองค 8

Page 44: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  52

ตารางที่ 2.4 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

8. ปญหาการขาดความกตัญูกตเวทีตอพอแม ตอสภาพแวดลอม และสังคม

- ครอบครัวขาดการอบรมใหมีจิตสํานึกในบุญคุณของพอแม - ขาดศรัทธาตอความรัก ความอดทน ความเหน่ือยยากของพอแมในการอบรมเลี้ยงดู - การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทําใหประชาชนมีเวลาใหครอบครัวและพอแมนอยลง

- ชุมชนโรงเรียน วัด และรัฐ จัดการอบรมใหสํานึกในบุญคุณของพอแม - หาแบบอยางและยกยองคนดี คนกตัญู ตอพอแม และสังคมอยางตอเนื่อง - รณรงคใหมีการปฏิบัติตนใหถูกตองตามจารีตประเพณี - การปฏิบัติตนเปนตัวอยางท่ีดีแกเด็กและเยาวชน

ทิศ 6 โยนิโสมนสิการ ปฏิจจสมุปบาท หิริโอตตัปปะ กฎแหงกรรม เบญจศีลเบญจธรรม สติสัมปชัญญะ ฆราวาสธรรม (สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ) พรหมวหิารธรรม บุคคลหาไดยาก อริยสัจ 4 มรรคมีองค 8 สังคหวัตถุ 4

9. ปญหาการพนัน - คานิยมทางวัตถุและบริโภคนิยม - สภาพแวดลอมท่ีคนใกลชุมชนมีการเลนการพนันกันเปนปกติ - ตนเองไมเห็นโทษภัยของการพนัน - ความโลภ ความหลงผิด - สื่อตาง ๆ เผยแพรการพนันมากข้ึน ทําใหแพรระบาดไปท่ัวสังคม

- ครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา และหนวยงานของรัฐและเอกชน จัดกิจกรรมใหเกิดความรูความเขาใจถึงโทษของการพนันในทุกรูปแบบ - ยกยองบุคคล ชุมชน ท่ีไมเลนการพนนั และหาทางเฝาระวังใหทุกคน ละเลิกการพนัน

สันโดษ ฆราวาสธรรม (สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ) เบญจศีลเบญจธรรม สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรมหิริโอตตัปปะ ทิศ 6 สัมมาอาชีวะ โยนิโสนสสิการ อริยสัจ 4 อิทธิบาท 4

Page 45: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  53

ตารางที่ 2.4 (ตอ)

ปญหา สาเหตุ การแกปญหา หลักธรรมที่ใชแกปญหา

10. ปญหายาเสพติดท่ีมีในรูปลักษณตาง ๆ ท้ังสุรา บุหรี่ เบียร กัญชา เฮโรอีน ฯลฯ

- ขาดความรูความเขาใจในปญหาท่ีเกิดจากยาเสพติด - ขาดความรูความเขาใจในสิ่งท่ีควรพ่ึงพา - เจาหนาท่ีของรัฐละเลยในการทําหนาท่ีปองกันยาเสพติด - กระแสวัตถุนิยม บริโภคนิยม กระตุนใหเขาไปเกี่ยวของกับยาเสพติดเนื่องจากหาทรพัยงาย - ขาดการฝกปฏิบัติตนในการยับยั้งช่ังใจ ขาดความอดทน

- ชุมชน สถานศึกษา วัด และหนวยงานของรัฐ จัดกิจกรรมรณรงคปองกันยาเสพติด - ชุมชน สถานศึกษา วัด และหนวยงานของรัฐ จัดโครงการใหความรู ความเขาใจโทษ ภัย และวิธีปองกันยาเสพติด - บําบัดรักษาผูท่ีติดยาเสพติดท้ังกาย และจิตใจ - จัดโครงการใหสามารถพัฒนาตนเองใหสามารถพี่งพาตนเองและแกปญหาตนเองได

เบญจศีลเบญจธรรม สติสัมปชัญญะ กฎแหงกรรม อริยสัจ 4 สัมมาอาชีวะ สันโดษ โยนิโสมนสิการ อัตตาหิอัตโนนาโถ ทิศ 6 สหทมิตร

2.2 บทเรียนการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ปจจุบันมีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในกระทรวงและสวนราชการตาง ๆ ท่ีไดจัดทํามาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมตามท่ีรัฐธรรมนูญกําหนดแลว ดังนี ้ 1. กระทรวงการคลังและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สํานกังานปลัดกระทรวงการคลัง และสํานักงานเศรษฐกจิการคลัง 2. กระทรวงการตางประเทศและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมวิเทศสหการ 3. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยและสวนราชการในสังกัด ไดแก สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 4. กระทรวงเกษตรและสหกรณและสวนราชการในสังกดั ไดแก กรมชลประทาน กรมพัฒนาท่ีดิน สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมประมง และกรมสงเสริมสหกรณ 5. กระทรวงคมนาคมและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมการขนสงทางบก

Page 46: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  54

6. กระทรวงพลังงานและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมธุรกิจพลังงาน และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 7. กระทรวงพาณิชยและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมทะเบียนการคา 8. กระทรวงมหาดไทยและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมท่ีดิน กรมบริหารงานบุคคลทองถ่ินและสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 9. กระทรวงยตุิธรรมและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมคุมประพฤติ และกรมราชทัณฑ 10. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 11. กระทรวงศึกษาธิการและสวนราชการในสังกัด ไดแก สํานักงาน ก.ค. และสํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 12. กระทรวงสาธารณสุขและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมการแพทย และกรมสุขภาพจิต 13. สํานักนายกรัฐมนตรีและสวนราชการในสังกัด ไดแก กรมประชาสัมพันธ การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในกระทรวงและสวนราชการตาง ๆ มีหลายหนวยงานท่ีไดดําเนินการ ดังนี้ 2.2.1 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ก.พ.ร. (2549) จัดทําวาระแหงชาติ ดานจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการปองกันการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครัฐนี้ มีสาระครอบคลุมยุทธศาสตรและมาตรการตางๆ อยางสมดุล ท้ังในสวนของรูปแบบการผลักดันใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายและประมวลจริยธรรม/จรรยาบรรณอยางจริงจัง และรูปแบบการเสริมสราง กระตุน ยกระดับใหหนวยงานภาคราชการและตัวขาราชการเกิด “ความเขาใจ เขาถึง และพัฒนา” โดยมีเปาประสงคสําคัญ 2 ประการ คือ เปาประสงคท่ี 1 ลดและปดโอกาสการทจุริตและประพฤติมิชอบในวงราชการเพือ่สรางความโปรงใส ซ่ือสัตยสุจริต ลดความสูญเสียและขจดัรูร่ัวไหลในการปฏิบัติราชการ ตวัช้ีวดัของเปาประสงคนี้คือ

1) ระดับความสําเร็จของกําหนดกฎหมายเพื่อการพัฒนาระบบและมีการดําเนินการตามมาตรการปองกันปราบปรามทุจริตและสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาล

2) ระดับคะแนนความโปรงใสของภาครัฐเมื่อเปรียบเทียบกับนานาชาติดีข้ึน 3) ระดับความสําเร็จในการเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการท่ีประชาชนเขาถึงได 4) ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการดําเนนิการ

ของสวนราชการภาครัฐ 5) ระดับความเช่ือม่ันของประชาชนตอการทํางานของภาคราชการสูงข้ึน 6) สัดสวนขาราชการ/ลูกจางท่ีถูกลงโทษทางวินยัลดลง

Page 47: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  55

7) จํานวนกรณีการกระทําผิดวินยัท่ีตรวจพบไดอยางรวดเร็ว 8) รอยละของจํานวนเร่ืองกระทําผิดมาตรฐานวิชาชีพ/จรรยาบรรณวิชาชีพท่ีพบและไดรับ

การแกไขภายในเวลาท่ีกําหนด เปาประสงคท่ี 2 สรางจิตสํานกึในการประพฤติชอบใหยึดม่ันในหลักศีลธรรมคุณธรรม

จริยธรรมและจรรยาบรรณ ความสุจริต ซ่ือตรง เท่ียงธรรม เปนกลาง ไมเลือกปฏิบัติ รวมถึงการปฏิบัติราชการอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยดั เกดิความคุมคา มีคุณภาพมาตรฐาน ถูกตอง ตอบสนองความตองการของประชาชน และมีความรับผิดชอบตอสังคม ตัวช้ีวดัของเปาประสงคนี้คือ

1) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามยุทธศาสตรการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาลในระบบราชการ

2) รอยละของขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐท่ีเขาใจและประยุกตหลักคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการปฎิบัตริาชการและการดําเนินชีวิตเพิ่มสูงข้ึน

3) รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการตอการใหบริการที่โปรงใสเปนธรรม ของภาคราชการเพ่ิมสูงข้ึน การขับเคล่ือนวาระแหงชาติดานจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ จําแนกเปน 3 ระดับ คือ 1) ระดับรัฐบาลท่ีขับเคล่ือนในภาพรวมท้ังระบบในภาครัฐ 2) ระดับหนวยงานที่มุงใหในแตละสวนราชการกําหนดกลยุทธ/โครงการ/นวัตกรรมใหม ๆ เพ่ือเสริมสรางระบบคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาล และ 3) ระดับบุคคล คือขาราชการแตละคนจะตองมุงเนนการปลูกฝงอุดมการณ คุณธรรม และจริยธรรมใหหยั่งลึกลงไปในมโนจิตจนเปนพฤตินิสัย เพื่อเสริมสรางศักดิ์ศรีและคุณคาแหงชีวิตของตน สําหรับยุทธศาสตรสําคัญในการดําเนินการนั้น ไดแก การยกรางพระราชบัญญัติสงเสริมธรรมาภิบาลภาครัฐ โดยมีองคประกอบหลัก ไดแก 1. การจัดต้ัง “สภาธรรมาภิบาลแหงชาติ” ประกอบดวยผูท่ีเกี่ยวของทุกภาคสวนจํานวนประมาณ 20 คน เพื่อเปนองคกรหลักในการขับเคล่ือนกระแสคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาลของสังคม 2. การจัดตั้งองคกรสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาครัฐ ไดแก “สํานักงานสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาลภาครัฐ” เพื่อรับผิดชอบในการพัฒนา สงเสริม ปองกัน และปราบปราม ตลอดจนจัดทํามาตรฐานจรรยาบรรณสําหรับขาราชการการเมือง ขาราชการประจําและเจาหนาท่ีภาครัฐในทุกระดับ 3. การสร างกระบวนการเรียนรู ในระดับองค การและระดับบุคคลด านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในภาคราชการเพ่ือผลักดันใหเกิดองคการสุจริตธรรมท่ีมีศักดิ์ศรี ในภาคราชการทุกระดับในวงกวางสําหรับกระบวนการทํางานในกระทรวง กรม ตาง ๆ ประกอบดวย 7 ยุทธศาสตร ดังนี้

Page 48: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  56

ยุทธศาสตรท่ี 1 การสรางกลุมผูนําและองคการตนแบบ มีกลยุทธหลัก ดังนี ้ 1. .สรางผูนําการเปล่ียนแปลงในทุกองคการและทุกระดบัเพื่อเปนแบบอยางท่ีดีสําหรับการเรียนรูและขยายผล 2. การพัฒนาองคการแหงศักดิ์ศรีและสุจริตธรรม 3. การพัฒนาองคการใหมีขีดสมรรถนะสูง ยุทธศาสตรท่ี 2 การปรับเปล่ียนกระบวนทัศน วัฒนธรรม คานิยม และการพัฒนาขาราชการ มีกลยุทธหลัก ดังนี ้ 1. .การนอมนาํแนวทางการประพฤติปฏิบัติตนเปนขาราชการท่ีดีตามรอยพระยุคลบาท สูการปฏิบัติ 2. การพัฒนาดานคุณธรรมและจริยธรรมของขาราชการ 3. การพัฒนาขาราชการรุนใหมใหมีคุณธรรม จริยธรรมและขีดความสามารถสูงเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลง ยุทธศาสตรท่ี 3 การใหคําปรึกษา แนะนํา และการจดัการความรู มีกลยุทธหลัก ดังนี้ 1. การพัฒนาระบบการใหคําปรึกษาแนะนําดานจริยธรรม 2. การวางระบบขอมูลและการจัดการความรูดานจริยธรรมและธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรท่ี 4 การปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคลใหเอ้ือตอการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม มีกลยุทธหลัก ดังนี ้ 1. การทดสอบขาราชการเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม 2. การวางเง่ือนไขดานคุณธรรมและจริยธรรมเปนองคประกอบของการแตงต้ังบุคคลเขาสู การดํารงตําแหนงผูบริหารของหนวยงาน 3. การจัดทําสมุดพกขาราชการเพื่อบันทึกผลงานและคุณงามความด ี 4. การเสริมสรางความเขมแข็งของการพิทักษระบบคุณธรรม 5. การจัดใหมีระบบเฝาระวังและรับขอมูลเกี่ยวกับทุจริตประพฤติมิชอบในวงราชการ 6.. การวางระบบปองกันความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตัวและผลประโยชน สวนรวม 7. การสรางโอกาสและทางเลือกใหมในการปฏิบัติราชการใหกับขาราชการ 8. การกําหนดมาตรการท่ีเกี่ยวของกับเงินสินบนนําจับ ยุทธศาสตรท่ี 5 การพัฒนาระบบบริหารจดัการดานคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภบิาล มีกลยุทธหลัก ดังนี ้

Page 49: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  57

1. การสรางเกณฑตัวช้ีวดัเพือ่วัดผลดานจริยธรรมในสวนราชการภาครัฐ 2. การวางระบบบริหารความเส่ียงและควบคุมความเส่ียงดานจริยธรรมและธรรมาภิบาล 3. .การผลักดันใหสวนราชการภาครัฐดําเนนิการตามมาตรการสรางราชการใสสะอาด 4. .การพัฒนาผูรับผิดชอบดานจริยธรรม ยุทธศาสตรท่ี 6 การวัดผลและตรวจสอบดานจริยธรรม มีกลยุทธหลัก ดังนี ้ 1. การพัฒนาแบบประเมินผลจริยธรรมดวยตนเองของขาราชการ 2. การตรวจสอบจริยธรรม 3. การจัดทําและผลักดันใหมีการปฏิบัติตามประมวลจรรยาบรรณของขาราชการ 4. การเสริมสรางความเขมแข็งใหกับคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ยุทธศาสตรท่ี 7 การวางระบบสนับสนุนและปจจัยพื้นฐานดานจริยธรรมและธรรมาภิบาล มีกลยุทธหลัก ดังนี ้ 1. การสรางเง่ือนไขเพื่อยกระดับประเทศสูมาตรฐานสากลดานจริยธรรม 2. การยกรางกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผนดินของคณะรัฐมนตรี 3. จัดทํากฎหมายเพ่ือสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาล 4. การสงเสริมและผลักดันใหทุกสวนราชการ ภาครัฐปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 5. การจัดต้ังสํานักงานสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนา สงเสริม ปองกันและปราบปรามการทุจริตในวงราชการ 6. การส่ือสารเพื่อการเปล่ียนแปลงดานจริยธรรม 7. การศึกษาวจิัยเชิงลึกเพือ่สรางองคความรู ดานคุณธรรมจริยธรรม และธรรมาภิบาล 8. การเสริมสรางบทบาทและสงเสริมการมีสวนรวมของภาคีประชาชน ในการพัฒนา จริยธรรมธรรมาภิบาล และวัดผลดานจริยธรรม 9. การสรางเยาวชนใหเปนกลไกการสงผานจริยธรรมไปสูครอบครัว 10. การจัดใหมีกลไกหรือชองทางรับขอรองเรียน ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะและ คําชมเชยจากประชาชน 2.2.2 ชมรมจริยธรรม กระทรวงสาธารณสุข (ชมรมจริยธรรม กระทรวงสาธารณสุข, 2545) ไดจดัทํามาตรฐานกลางทางคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากรสาธารณสุขข้ึนในป พ.ศ. 2545 มาตรฐานกลางทางคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากรสาธารณสุข ประกอบดวย 5 มาตรฐาน 24 ตวับงช้ี แบงเปนมาตรฐานเก่ียวกับการบริหารจัดการองคกร 3 มาตรฐาน 14 ตัวบงช้ี และมาตรฐาน

Page 50: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  58

1. มาตรฐานเก่ียวกับการบริหารจัดการองคกร มี 3 มาตรฐาน 14 ตัวบงช้ี มาตรฐานท่ี 1 ทุกองคกรในกระทรวงสาธารณสุขพึงกําหนดทิศทางการพัฒนาคุณธรรม

และจริยธรรมขององคกรท่ีชัดเจน ตัวบงชี ้1. มีนโยบายการพัฒนาบุคลากรดานคุณธรรมและจริยธรรมเปนลายลักษณอักษร 2. มีการประกาศนโยบายการพัฒนาบุคลากรดานคุณธรรมและจริยธรรมใหเปนท่ี

รับทราบกันอยางกวางขวาง 3. มีการกําหนดหนวยงาน หรือผูรับผิดชอบพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมอยางชัดเจน 4. มีแผนพัฒนาดานคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากรในองคกร 5. บุคลากรในองคกรมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย วิสัยทัศน หรือแผนการ

ดําเนินงานอยางท่ัวถึง 6. บุคลากรในองคกรทุกคนไดรับรู และเขาใจในนโยบาย วิสัยทัศน หรือแผนการ

ดําเนินงาน 7. มีงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานตามนโยบายอยางเพยีงพอ มาตรฐานท่ี 2 ทุกองคกรในกระทรวงสาธารณสุข พึงเสริมสรางส่ิงแวดลอมใหเอ้ือ

อํานวยตอการพัฒนาและสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมขององคกรท่ีชดัเจน ตัวบงชี ้1. มีสถานท่ีพรอมอุปกรณท่ีเหมาะสมสําหรับเปนท่ีปฏิบัติงาน การประกอบศาสนกิจ อัน

เอ้ือตอการสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม 2. มีการเสริมสรางและยกยองเชิดชูผูมีคุณธรรมและจริยธรรมในองคกรใหสาธารณชน

ไดรับรู 3. มีการสงเสริมบรรยากาศการทํางานท่ีเอ้ือตอการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ การ

ทํางานเปนทีม การแขงขันกฬีาเช่ือมความสามัคคี การทักทาย หรือยกมือไหวตอนเชา เปนตน 4. มีการจัดบรรยายธรรมะ หรือสงเสริมการปฏิบัติธรรมเปนประจําอยางนอยเดือนละ 1 คร้ัง มาตรฐานท่ี 3 ทุกองคกรในกระทรวงสาธารณสุขพึงพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของ

บุคลากรทุกระดับอยางตอเนือ่ง

Page 51: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  59

ตัวบงชี ้1. บุคลากรทุกคนในองคกรผานการอบรมดานคุณธรรมและจริยธรรมอยางนอย 1 คร้ัง/

คน/ป 2. มีการจัดอบรมดานคุณธรรมและจริยธรรมใหแกบุคลากรในองคกรอยางตอเนื่อง และ

ครอบคลุม 3. ผูบริหารพึงเปนแบบอยาง และผูนําทางคุณธรรมและจริยธรรมท่ีดีแกบุคลากรใน

องคกร 2. มาตรฐานเก่ียวกับเจาหนาท่ีสาธารณสุข มี 2 มาตรฐาน 10 ตัวบงช้ี

มาตรฐานท่ี 4 เจาหนาท่ีในกระทรวงสาธารณสุขพึงพัฒนาความรู ศึกษา คนควา วิจยัตามหลักวิชาการอยางมีคุณธรรมและจริยธรรมอยูเสมอ และใชความรู ความชํานาญปฏิบัติตามหลักวิชาการอยางรับผิดชอบ และมีคุณธรรม

ตัวบงชี ้1. มีการศึกษา หาความรูทางวิชาการจากแหลงความรูตาง ๆ ในหนาท่ีท่ีตนปฏิบัติ และ

วิชาชีพของตนอยูเสมออยางมีคุณธรรมและจริยธรรม 2. มีการศึกษา คนควา วจิัยดวยตนเองอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม ตลอดจนเผยแพร

ผลงานของตนเองตามขอเท็จจริงใหสาธารณชนไดรับรูอยางมีคุณธรรม และรับผิดชอบ 3. พึงละเวนการคัดลอกเลียนแบบ หรือแอบอางผลงานของผูอ่ืนมาเปนของตน 4. พงึละเวนการนําผลงานวิชาการของทางราชการไปแสวงหาผลประโยชนสวนตนโดยมิชอบ มาตรฐานท่ี 5 เจาหนาท่ีผูใหบริการพึงมีพฤติกรรมท่ีดีท้ังกาย วาจา และใจ ตัวบงชี ้1. ผูใหบริการพึงแตงกายสุภาพ เปนระเบียบเรียบรอย 2. ผูใหบริการพึงปฏิบัติงานตรงตามเวลา พึงละเวนการนําเวลาราชการไปประกอบ

ภารกิจสวนตัว 3. ผูใหบริการพงึบริการอยางเสมอภาค โปรงใส และเปนธรรม 4. ผูใหบริการพึงปฏิบัติหนาท่ีดวยความอดทน อดกล้ัน ดวยใบหนายิ้มแยม แจมใส 5. ผูใหบริการพึงประพฤติอยูในกรอบของศีลธรรม พึงละเวนการละเมิด ลวงเกนิ หรือ

ประพฤติผิดทางเพศ 2.2.3 สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (2552) กระทรวงการพัฒนาสังคม

และความม่ันคงของมนุษย รวมกับสถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหดิล

ดําเนินโครงการจัดทํามาตรฐานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงและมาตรฐานครอบครัวเขมแข็งข้ึน

Page 52: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  60

แผนผังครอบครัวเขมแข็ง

ครอบครัว

ครอบครัว

เปนปกแผน

พ้ืนฐาน

สุขภาพ 2. พึ่งพาตนเอง -ประกันสุขภาพ เศรษฐกิจ - ประกันสังคม

- หลักประกันในชีวิต

เขาถึงขอมูลขาวสาร

ระบบเตือนภัย

บริการทางสังคม - ศึกษา ชีวิตครอบครัวศึกษา

ทักษะชีวิต

- สุขภาพ

-สวัสดิการ

-กฎหมาย

-บริการดูแลเด็กปฐมวัย

และผูสูงอาย ุ

ระดับตํ่ากวาพ้ืนฐานปกติ เพื่อน/ ญาติ

ที่ชวยเหลือพึ่งพาได

กลุมในชุมชนทีเ่ก้ือกูลกัน ปลอดภัยไวใจได

กฎหมาย และการบังคับใช นโยบายสาธารณะพัฒนาครอบครัว

IT รูทันและใชประโยชน เฝาระวังหลีกเล่ียงภยัอันตราย

และเตรียมพรอมรับมือ

ฟนตัวไดเมื่อประสบปญหา

คุมครองผูบริโภค

1. สัมพันธภาพ 4. การปรับตัวได

3. ทุนทางสังคม

5. ปจจัยเส่ียง / ตัวชี้วัด

สื่อ สื่อ

และการตอบสนองทันเหตุการณ

เครือขาย/ ประชาคม ชวยกันเฝาระวัง กํากับดูแล

Page 53: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  61

สรุปมาตรฐานครอบครัวเขมแข็ง

มาตรฐานท่ี 1 ดานสัมพนัธภาพ : ครอบครัวท่ีสมาชิกมีความมุงม่ันในการสรางและคงความเปน

ครอบครัวรวมกัน มีความรัก ความผูกพันตอกัน ซ่ึงแสดงออกโดยการส่ือความหมาย ยกยอง รับฟง

ทํากิจกรรมรวมกัน เอาใจใส ดูแลทุกขสุขกันและกัน อยางสมํ่าเสมอ

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

1. รอยละของอัตราการจดทะเบียนสมรสตอ

1,000 ครัวเรือน ในรอบปเปรียบเทียบกับ ป

เปาหมายที่มีอัตราการจดทะเบียนสมรสสูงท่ีสุด

2. รอยละของอัตราการจดทะเบียนหยาตอ

1,000 ครัวเรือน ในรอบปเปรียบเทียบกับ

ปเปาหมายที่มีอัตราการจดทะเบียนหยาต่าํท่ีสุด

3. รอยละของครัวเรือนท่ีมีความอบอุน มี

การเอาใจใส ดูแล ชวยเหลือสนับสนุนซ่ึง

กันและกัน แสดงซ่ึงความรัก และ

สัมพันธภาพท่ีดีตอกัน (จปฐ.)

4. อัตราการลดลงของครัวเรือนท่ีมีผูถูก

ทอดท้ิง/ หนีออกจากบาน/ ฆาตัวตายในแต

ละปเม่ือเทียบกับปเปาหมาย

1. จํานวนคูสมรสท่ีมีการบอกกลาวการใชชีวิตคูตาม

ประเพณใีหเปนท่ีรับทราบ และยอมรับในหมูญาติมิตร

2. สมาชิกในครอบครัวมีการแสดงออกถึงความรัก

เคารพนับถือ และเอ้ืออาทรซ่ึงกันและกัน ทางกาย

วาจา ใจ ( เชน ไหวผูใหญ ลูบหวัลูก กอด สัมผัส

อยางออนโยน ถามทุกขสุข)

3. สมาชิกในครอบครัวมีโอกาสอยูพรอมหนากัน และ

ทํากิจกรรมรวมกันเปนประจําอยางนอย 1 คร้ัง/สัปดาห

4. สมาชิกในครอบครัวมีสวนรวมในการปรึกษาหารือ

และตัดสินใจเร่ืองสําคัญตางๆ ของครอบครัว และลง

มือทํารวมกัน

5. ครอบครัวท่ีมีสมาชิกรวมกันรับผิดชอบภาระการ

งานของครอบครัว

6. สมาชิกในครอบครัวแกปญหาขอขัดแยงดวยเหตุผล

ไมใชความรุนแรง ดานรางกาย วาจา จิตใจ และเพศ

ตอกัน และตอตนเอง

7. คูสามีภรรยารักใครปรองดองกัน

8. สมาชิกในครอบครัวไดรับการยอมรับเปนสวนหนึ่ง

ของครอบครัว

Page 54: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  62

 

มาตรฐานท่ี 2 ดานการพึง่พาตนเองทางเศรษฐกิจ : ครอบครัวสามารถบริหารจัดการรายรับรายจาย

ใหเกดิความมัน่คงในความเปนอยูและอาชีพ

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

5. รอยละของครัวเรือนท่ีมีรายไดมากกวา

รายจายอยางนอย รอยละ 10 ตอครัวเรือน

ท้ังหมด

6. รอยละของครัวเรือนท่ีมีการทําบัญชี

รายรับ-รายจาย

7. อัตราการลดลงของหน้ีสินครัวเรือนในแต

ละปเม่ือเทียบกับปเปาหมาย

8.รอยละของครัวเรือนท่ีมีท่ีอยูอาศัยเปนของ

ตนเอง

9.ครอบครัวมีรายไดและทรัพยสินเพยีงพอสําหรับ

รายจายท่ีจําเปนในการดํารงชีวิตครอบครัวตามหลัก

เศรษฐกิจพอเพียง

10.ครอบครัวมีเงินออมสามารถนํามาใชจายในยาม

ฉุกเฉินหรือจําเปนได

11.ครอบครัวปราศจากหน้ีสินหรือในกรณีท่ีมีหนีก้็มี

ความสามารถในการปลดหนี้

12.ครอบครัวมีท่ีอยูอาศัยท่ีม่ันคง โดยไมตองกังวลวา

จะมีปญหาไรท่ีอยู

มาตรฐานท่ี 3 ดานการพึง่พาตนเองทางสุขภาพ : ครอบครัวสามารถสงเสริม และดูแลสุขภาพของ

สมาชิกได

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

9.สัดสวนครัวเรือนท่ีสมาชิกมีสิทธิไดรับ

หลักประกนัสุขภาพ

13.ครอบครัวดูแลการกินการอยูอยางถูกสุขลักษณะ

14.ครอบครัวท่ีสามารถดูแลรักษาสุขภาพของสมาชิก

เบ้ืองตน เชน มีตู/กลองยาสามัญประจําบาน

15. ครอบครัวท่ีมีการออกกําลังกายเปนประจํา อยาง

นอยสัปดาหละ 3 วัน

16.ครอบครัวท่ีมีการปองกนัอุบัติเหตใุนบาน และใน

การเดินทาง

17.สมาชิกครอบครัวไดรับการตรวจสุขภาพ และสราง

ภูมิคุมกันดวยวัคซีนตามกําหนด

Page 55: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  63

มาตรฐานท่ี 4 ดานการพึง่พาตนเองทางขอมูลขาวสารและโอกาสในการเรียนรูและพัฒนา : ครอบครัว

สามารถเขาถึงขอมูลขาวสารและมีโอกาสเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติครอบครัวได

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

10. อัตราสวนของครัวเรือนท่ีสมาชิกใช

เทคโนโลยีในการส่ือสาร เชน คอมพิวเตอร

โทรศัพท

11. สัดสวนส่ือท่ีมีเนื้อหาสาระเอ้ือตอชีวิต

ครอบครัว

12. จํานวนปเฉล่ียของการศึกษาของ

ประชากรที่มีอายุเกิน 15 ป

13. สัดสวนของครัวเรือนท่ีมีสมาชิกเขารับ

การฝกอบรม ฝกอาชีพ และหรือการศึกษา

ตอเนื่อง

14. รอยละของหลักสูตรการศึกษาทุกระดบั

ท่ีจัดการเรียนรูเกี่ยวกับทักษะชีวิต และชีวติ

ครอบครัวศึกษา

18. สมาชิกในครอบครัวไดรับความรู และทักษะดาน

ชีวิตครอบครัว อาชีพ การงาน โดยการศึกษาตอเนื่อง /

ตามอัธยาศัย

19. ครอบครัวท่ีมีเด็กอายตุ่ํากวา 15 ป ไดรับ

การศึกษาอยางเปนระบบ

20.ครอบครัวไดรับขอมูลขาวสารจากส่ือ ส่ิงพิมพ

วิทย ุ โทรทัศน และนํามาพดูคุยอยางสรางสรรค

21. สมาชิกในครอบครัวรวมกันศึกษา และ

ปฏิบัติเพื่อพัฒนาจิตใจและคุณธรรม

มาตรฐานท่ี 5 ดานทุนทางสังคม หมายถึง ครอบครัวมีความไววางใจ รูสึกปลอดภัย และภาคภูมิใจท่ี

เปนสวนหนึ่งของชุมชน/สังคม

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

15. รอยละของครัวเรือนท่ีมีสมาชิกใน

ครอบครัวเปนสมาชิกกลุมท่ีชวยเหลือเกื้อกูล

กัน ในชุมชน เชน กลุมอาชีพ

16. อัตราการลดลงของคดีอาชญากรรม

เปรียบเทียบกบัปเปาหมาย

22. สมาชิกในครอบครัวมีความรูสึกปลอดภัย และ

ไววางใจตอบุคคลในครอบครัว

23.สมาชิกในครอบครัวมีความรูสึกปลอดภัย และ

ไววางใจตอบุคคลในชุมชน

 

Page 56: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  64

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

17.รอยละของครัวเรือนท่ีสมาชิกเขารวม

กิจกรรมเพื่อสวนรวม/สาธารณประโยชนใน

รอบปท่ีผานมา

24. เม่ือมีปญหาสมาชิกในครอบครัวไดรับความชวยเหลือจาก

ภายในครอบครัว เพื่อน คนรูจักหรือญาติ

25. ครอบครัวมีผูเปนสมาชิกกลุมในชุมชน เชน กลุม

อาชีพ / มีสวนรวมใหความชวยเหลือเพ่ือนบาน/

ชุมชน

26. ครอบครัวสรางคุณคาความเปนอันหนึง่อันเดียว

โดยการทํากจิกรรมทางศาสนา/ สงเสริมคุณธรรม หรือ

สุนทรียภาพรวมกัน

7. เม่ือประสบปญหายากลําบาก สมาชิกเช่ือม่ันวา

ครอบครัวจะสนใจใยดี รับฟงและชวยเหลือ

มาตรฐานท่ี 6 ดานการปรับตวัไดในภาวะยากลําบาก หมายถึง ครอบครัวมีการติดตามรูเทาทัน

สถานการณ สามารถปรับตัวไดอยางสรางสรรค และฟนตัวไดเม่ือเผชิญกับภาวะยากลําบาก

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

18. สัดสวนครอบครัวท่ีสามารถฟนตัวได

เม่ือประสบปญหาและเหตุภัยพิบัต ิ

19.ประเทศมีระบบเฝาระวังและเตือนภัย

เตรียมพรอมรับมือกับอันตรายท่ีมีตอ

ครอบครัว เชน ภัยพิบัติ, เศรษฐกิจตกตํ่า,

โรคระบาด

20. อัตราการเพ่ิมข้ึนของจํานวนเงินตอ

ครัวเรือนของการทําประกันชีวิต ประกันภยั

ประกันอุบัติเหตุเปรียบเทียบกับปเปาหมาย

28. ครอบครัวมีการติดตามสถานการณ และวางแผน

เตรียมรับมือกบัความเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึน

29. ครอบครัวมีการทําประกนัชีวิต ประกนัภัย

ประกันอุบัติเหต ุ

30. ครอบครัวมีประสบการณแกไขปญหา มี

ความสําเร็จปรับตัวได

 

 

Page 57: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  65

มาตรฐานท่ี 7 ดานการหลีกเล่ียงภาวะเสี่ยง : ครอบครัวสามารถปองกันและแกไขปญหา ทําใหไม

ตองเกิดปญหา หรือตกอยูในภาวะเส่ียง

ตัวช้ีวดัระดับประเทศ ตัวช้ีวดัระดับครอบครัว

21. อัตราการลดลงของครัวเรือนท่ีสมาชิก

เลนการพนันและ ติดส่ิงเสพติด ไดแก สุรา

บุหร่ี สารเสพติด เปนตน ในแตละปเทียบกบั

ปเปาหมาย

22. รอยละของพ้ืนท่ีท่ีมีบริการปรึกษาแนะ

แนวแกครอบครัวในระดับทองถ่ิน

23. การลดลงของรอยละของครัวเรือนท่ีมี

พอ หรือแมท่ีเล้ียงลูกตามลําพัง

31. คูสมรสท่ีไดรับการเตรียมความพรอมชีวิต

ครอบครัว/ การเปนพอแม/ เตรียมสูวัยทอง

32. ครอบครัวท่ีไมมีสมาชิกหนีออกจากบาน ฆาตัวตาย

33. ครอบครัวท่ีสมาชิกไมมีสมาชิกเสียชีวติ หรือพิการ

จากอุบัติเหตุ

34. สมาชิกในครอบครัวไมเลนการพนันและไมใชส่ิง

เสพติด ไดแก สุรา บุหร่ี สารเสพติด เปนตน

35. ครอบครัวสามารถจัดการกับความเส่ียงได เชน ยาย

ของกอนน้ําทวม

36. ครอบครัวท่ีสมาชิกไมใชความรุนแรงในการ

แกปญหาความขัดแยง

37. ครอบครัวดํารงชีวิตโดยไมประมาท รูจักเฝาระวัง

อุบัติภัย อุบัติเหตุ ส่ิงเสพติด ความรุนแรง การพนัน

และพฤติกรรมเส่ียงทางเพศ

2.3 คุณธรรมจริยธรรมท่ีจําเปนสําหรับสังคมไทย

2.3.1 คุณธรรม 4 ประการของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (สํานักงาน ก.พ. , 2551)ไดแก 1) การรักษาความสัจ ความจริงใจตอตนเอง ประพฤติปฏิบัติแตส่ิงท่ีเปนประโยชนและเปนธรรม 2) การรูจักขมใจตนเอง ฝกใจตนเองใหประพฤติปฏิบัติอยูในความสัจ ความดีนั้น

Page 58: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  66

3) การอดทน อดกล้ัน และอดออม ไมประพฤติลวงความสัตยสุจริต ไมวาดวยเหตุประการใด

4) การรูจักละวางความช่ัว ความทุจริต และรูจักเสียสละประโยชนสวนนอยของตน เพื่อประโยชนสวนใหญของบานเมือง

2.3.2 คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ กระทรวงศึกษาธิการ (2550) ไดประกาศนโยบายเรงรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนําความรูสรางความตระหนักสํานึกในคุณคาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท สันติวิธี วิถีประชาธิปไตยพัฒนาคนโดยใชคุณธรรมเปนพื้นฐานของกระบวนการเรียนรูท่ีเช่ือมโยงความรวมมือของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษาเพ่ือพัฒนาเยาวชนใหเปนคนดี มีความรู และอยูดีมีสุขโดย 8 คุณธรรมพื้นฐานประกอบดวย

1) ขยัน คือ ผูท่ีมีความต้ังใจ เพียรพยายามทําหนาท่ีการงานอยางจริงจังและตอเนื่องในเร่ืองท่ีถูกท่ีควร สูงานมีความพยายาม ไมทอถอย กลาเผชิญอุปสรรค รักงานท่ีทํา ตั้งใจทําหนาท่ีอยางจริงจัง

2) ประหยัด คือ ผูท่ีดําเนินชีวิตความเปนอยูอยางเรียบงาย รูจักฐานะการเงินของตน คิดกอนใช คิดกอนซ้ือ เก็บออมถนอมใชทรัพยสินส่ิงของอยางคุมคา ไมฟุมเฟอย ฟุงเฟอ รูจักทําบัญชีรายรับ – รายจาย ของตนเองอยูเสมอ

3) ซ่ือสัตย คือ ผูท่ีมีความประพฤติตรงท้ังตอเวลา ตอหนาท่ี และตอวิชาชีพ มีความจริงใจปลอดจากความรูสึกสําเอียง หรืออคติ ไมใชเลหกลคดโกงท้ังทางตรงและทางออม รับรูหนาที่ของตนเองปฏิบัติอยางเต็มท่ีและถูกตอง

4) มีวินัย คือ ผูท่ีปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบัน องคกร และประเทศ โดยท่ีตนยินดีปฏิบัติตามอยางเต็มใจและต้ังใจยึดม่ันในระเบียบแบบแผนขอบังคับและขอปฏิบัติ รวมถึงการมีวินัยท้ังตอตนเองและสังคม

5) สุภาพ คือ ผูท่ีมีความออนนอมถอมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ มีสัมมาคารวะ เรียบรอยไมกาวราว รุนแรง หรือวางอํานาจขมผูอ่ืนท้ังโดยวาจาและทาทางเปนผูมีมารยาทดีงาม วางตนเหมาะสมกับวัฒนธรรมไทย

6) สะอาด คือ ผูท่ีรักษารางกาย ท่ีอยูอาศัย และส่ิงแวดลอมไดอยางถูกตองตามสุขลักษณะ ฝกฝนจิตไมใหขุนมัว มีความแจมใสอยูเสมอ ปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ใจและสภาพแวดลอม มีความผองใสเปนท่ีเจริญตาทําใหเกิดความสบายใจแกผูพบเห็น

7) สามัคคี คือ ผูท่ีเปดใจกวาง รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน รูบทบาทของตนท้ังในฐานะผูนําและผูตามท่ีดี มีความมุงมั่นตอการรวมพลัง ชวยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อใหการงานสําเร็จ

Page 59: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  67

8) มีน้ําใจ คือ ผูใหและผูอาสาชวยเหลือสังคม รูจักแบงปน เสียสละความสุขสวนตน เพื่อทําประโยชนใหแกผูอ่ืน เห็นอก เห็นใจ และเห็นคุณคาในเพ่ือนมนุษยและผูท่ีมีความเดียดรอน มีความเอื้ออาทรเอาใจใส อาสาชวยเหลือสังคมดวยแรงกายและสติปญญา ลงมือปฏิบัติการเพื่อบรรเทาปญหา หรือรวมสรางสรรคส่ิงดีงามใหเกิดข้ึนในชุมชน

จากนโยบายเรงรัดการปฏิรูปการศึกษาคุณธรรมพื้นฐานขางตน สถาบันการศึกษาจึงเรงรัดนําไปปลูกฝงคุณธรรม พัฒนาใหกับเยาวชนของชาติ เพ่ือใหเปนคนดี มีความรู และอยูดีมีสุข กาวสูสังคมคุณธรรมนําความรู โดยขอความรวมมือจากสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษาอ่ืนๆ เพื่อใหการดําเนินการประสบความสําเร็จสามารถนําไปสูการปฏิบัติยุทธศาสตรท่ีสําคัญท่ีจะนําไปสูความสําเร็จนั้น ทุกฝายจะตองมีความต้ังใจ และลงมือปฏิบัติอยางจริงจัง ผูใหญควรเปนตัวอยางท่ีดีแกเยาวชน พอแมตองดูแลเอาใจใสลูกอยางใกลชิด ครูตองมีจิตสํานึกและวิญญาณของความเปนครูเพิ่มข้ึน ภาครัฐและเอกชน องคการศาสนา และส่ือมวลชน ตองต่ืนตัว กระตือรือรน และผนึกกําลังเพื่อการพัฒนาไปสูความกาวหนาอยางม่ันคงอยางนอยท่ีสุดทุกคนควรทํางานใหเต็มกําลัง เต็มความสามารถ และเต็มเวลาดวย 8 คุณธรรมพื้นฐานคือ ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีน้ําใจ หากเกิดข้ึนกับครอบครัว ชุมชน หนวยงาน สถาบัน ตลอดจนประเทศใดแลว โดยเฉพาะประเทศไทยนั้นก็จะพนวิกฤติท้ังทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม พัฒนาชาติใหมีความเจริญกาวหนา เปนสังคมคุณธรรมนําความรู ชีวิตของคนในชาติ คงจะดีกวาเดิม สังคมไทยจะสงบสุขกวานี้ ประเทศไทยก็คงเปนไทยอยูตลอดไป มีการพัฒนาอยางรุดหนาไมดอยกวาประเทศใดในโลกน้ีท้ังในปจจุบันและอนาคตอยางแนนอน

2.3.3 ตัวบงชี้คุณธรรมจริยธรรม นงลักษณ วิรัชชัย, ศจีมาศ ณ วิเชียรและพิศสมัย อรทัย (2551) ไดกลาวถึงตัวบงช้ีคุณธรรมจริยธรรมพ้ืนฐาน ดังนี้

1) ความเปนอิสระ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการเคารพ ศรัทธา และนับถือตนเอง มีความเปนตัวของตัวเอง ดูแลเอาใจใสรักษาสุขภาพดานรางกายและจิตใจอยางเหมาะสม (Self Care) มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองในการปฏิบัติงาน และดําเนินชีวิตอยางถูกตอง

2) การมุงผลสัมฤทธ์ิของงาน หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความต้ังใจ กระตือรือรน ใฝรู ขวนขวายหาความรูและประสบการณใหม ๆ อยูเสมอ มีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง มุงม่ัน จริงจังท่ีจะปฏิบัติหนาท่ีตามความรับผิดชอบอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Page 60: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  68

3) ความมีวินัย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเคารพและปฏิบัติตามหลักเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ กฎหมาย รวมถึงคานิยมท่ีดี และจารีตประเพณีของสังคม

4) ความอดทน หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเขมแข็งทางรางกายและจิตใจ สามารถปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จลุลวงตามเปาหมายท่ีกําหนดไว มีความมุงม่ัน ไมยอทอตอปญหาอุปสรรค และสามารถควบคุมอารมณและพฤติกรรมใหเปนปกติ และปรับตัวไดแมเผชิญกับปญหาอุปสรรคและส่ิงยั่วยุตาง ๆ

5) ฉันทะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความพอใจ ความยินดี และความรักในส่ิงท่ีถูกตองดีงามท่ีจะทําใหไดผลดียิ่ง ๆ ข้ึนไป

6) ความขยันหม่ันเพียร หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความปรารถนาอันแรงกลาท่ีจะมุงม่ันสูความสําเร็จ / ความเปนเลิศ ทุมเทท้ังกําลังกาย กําลังใจ โดยไมเห็นแกเหนื่อยยาก เพื่อใหสัมฤทธ์ิผลดียิ่งข้ึน

7) ความประหยัด หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการดําเนินชีวิตอยางพอเพียง โดยใชเวลา แรงงาน และทรัพยากรทั้งของตนเอง และสวนรวมอยางคุมคา

8) ความซ่ือสัตยสุจริต หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงการยึดม่ันความจริง ความถูกตองดีงามเปนหลักในการดําเนินชีวิตท้ังทางกาย วาจาและใจ มีความจริงใจ ใหขอมูลท่ีถูกตองไมบิดเบือน รูจักรักษาความลับ หลีกเล่ียงการมีผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interest) มีความละอายและเกรงกลัวท่ีจะประพฤติช่ัว

9) ความมีสติสัมปชัญญะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการรูตัวท่ัวพรอม การรูเทาทันในส่ิงตาง ๆ โดยสามารถพิจารณาหาวิถีทางท่ีถูกตอง และมีประสิทธิภาพในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ โดยใชเหตุผลท่ีดีประกอบการตัดสินใจท่ีจะกระทําหรือไมกระทําการใด ๆ

10) ความรับผิดชอบ หมายถึง ความรับผิดชอบ (หมายรวมถึงความรับผิดชอบท้ังตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ) คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเอาใจใส จดจอและมุงม่ันตอหนาท่ีอยางเต็มความสามารถ เพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีตั้งไวภายในเวลาท่ีกําหนด การเสียสละกําลังกาย กําลังใจและกําลังทรัพย เพื่อประโยชนของสวนรวม ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย การรูจักสิทธิหนาท่ีของตน และบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ พรอมท่ีจะยอมรับผลการกระทําของตนเองและปรับปรุงแกไขใหดีข้ึน

11) ความยุติธรรม หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการใหเกียรติในความเปนมนุษย การยอมรับและเขาใจในอารมณ ความรูสึก ความคิดของผูอ่ืน การคิด และการปฏิบัติตอผูอ่ืนอยางเสมอภาค เทาเทียมกัน และมีความเท่ียงตรงในการตัดสินใจ

12) ความสามัคคี หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน ปฏิบัติหนาท่ีอยางประสานสอดคลองกันใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนดไวรวมกัน

Page 61: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  69

13) ความเปนกัลยาณมิตร หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการมีสัมมาคารวะ ความปรารถนาใหผูอ่ืนมีความสุข การเปนเพื่อนท่ีดี สามารถแนะนําชวยเหลือเกื้อกูลใหผูอ่ืนประพฤติชอบ และมีความเจริญกาวหนา

14) ความกตัญูกตเวที หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการรูจักสํานึกในบุญคุณผูอ่ืน ความเคารพบูชาผูมีพระคุณ และการตอบแทนบุญคุณทั้งกําลังกาย กําลังใจ และกําลังทรัพย

ผลการจัดลําดับความสําคัญของตัวบงช้ีคุณธรรมจริยธรรมท่ีมีความสําคญในสังคมไทยเรียงลําดับจากมากไปนอย คือ 1) ความซ่ือสัตยสุจริต 2) ความรับผิดชอบ 3) ความมีสติสัมปชัญญะ 4) ความขยันหมั่นเพียร 5) ความมีวินัย 6) ความอดทน 7) การมุงสัมฤทธ์ิ 8) ความยุติธรรม 9) ความเปนกัลยาณมิตร 10) ความสามัคคี 11) ความกตัญูกตเวที 12) ฉันทะ 13) ความประหยัด และ 14) ความเปนอิสระ

สําหรับตัวบงช้ีคุณธรรมจริยธรรมท่ีจําเปนเรงดวนสําหรับการเฝาระวังระดับคุณธรรมจริยธรรม (Moral watch) ในสังคมไทยมี 5 ตัวบงช้ี คือ 1) ความซ่ือสัตยสุจริต 2) ความรับผิดชอบ 3) ความมีสติสัมปชัญญะ 4) ความขยันหม่ันเพียร 5) ความมีวินัย

2.3.5 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของคนไทยในอนาคต เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2546)ไดทําการวิจัยเพื่อหาคําตอบเก่ียวกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของคนไทยในอนาคต เพื่อนํามากําหนดกรอบและแนวทางของการจัดการเรียนรูอยางเหมาะสมและตรงกับความเปนจริงของสังคมในอนาคตอยางแทจริง ทายสุดคําตอบท่ีไดจากการวิจัยเชิงเอกสารและการระดมความคิดเห็นของทานผูรู สรุปไดวาคุณลักษณะของคนไทยในอนาคตพึงมี 5 มิติ คือมิติทางดานรางกาย มิติดานจิตใจ มิติดานความรู มิติดานทักษะความสามารถ และมิติดานลักษณะชีวิต โดยมีแนวคิด ดังนี้

1) มิติดานรางกาย คือ เปนผูท่ีมีสุขภาพรางกายสมบูรณแข็งแรง มีพัฒนาการในดานรางกายและสติปญญาอยางสมบูรณตามเกณฑแตละชวงวยั

2) มิติดานจติใจ คือ เปนผูท่ีรูจกัและเขาใจตนเอง เขาใจความรูสึกของผูอ่ืน เขาใจสถานการณการเปล่ียนแปลงและสภาพแวดลอมตาง ๆ รอบตัวไดเปนอยางด ี

3) มิติดานความรู คือ เปนผูท่ีสามารถรูลึกในแกนสาระของวิชา สามารถรูรอบตัวในเชิงสหวิทยาการ และเปนผูท่ีสามารถรูไดไกล โดยสามารถคาดการณเกี่ยวกับอนาคตท่ีจะมาถึงได

4) มิติดานทักษะความสามารถ คือ เปนผูท่ีมีทักษะในดานการคิด ทักษะในการส่ือสาร ทักษะภาษาตางประเทศ รวมท้ังทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางสังคม ทักษะการอาชีพ ทักษะทางสุนทรียะ ทักษะการจัดการท่ีด ี

Page 62: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  70

5) มิติดานลักษณะชีวิต คือ เปนผูท่ีมีลักษณะชีวิตแหงความขยัน อดทน ทุมเททํางานหนัก มีระเบียบวินัย มีความซือ่สัตย มีวิสัยทัศน ทําทุกอยางอยางดเีลิศ มีจิตสํานึกประชาธิปไตย เห็นคุณคาในเอกลักษณความเปนไทย มีจติสํานึกตอผูอ่ืนและสวนรวม รวมท้ังมีชีวติแหงการประหยัดอดออม

จากท้ัง 5 มิตินี้ สวนท่ีเกี่ยวของกับกรอบความคิดเร่ืองคุณธรรมจริยธรรม คือ มิติท่ี 2 และที่ 5 ไดแก มิติทางดานจิตใจและมิติทางดานลักษณะชีวติ 2.3.6 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนิสิตนกัศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา นฤมล โอสถานุเคราะห (2549) ไดศึกษาาแนวทางการพฒันาคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาตามพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวผลการวิจัยท่ีสําคัญมีดังนี้

1) คุณธรรมจริยธรรมท่ีควรปลูกฝงใหแกนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คุณธรรมจริยธรรมหลักท่ีควรปลูกฝงใหเปนคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของ

นิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา คือ ความซ่ือสัตย ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความมุงม่ัน อดทน พากเพียร ความมีสติ รอบคอบ ความมีศรัทธาและความจริงใจ การมีทักษะชีวิต ความเสียสละ การมีจิตของความเปนผูให การมีจิตประชาธิปไตยและจิตสาธารณะ รูรักสามัคคี การมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ความเขาใจผูอ่ืนและเขาใจโลก และการใชปรัชญาแบบพอเพียง โดยสรุปเปนทิศทางทารพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงคใหแกนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา จากคุณธรรมจริยธรรมดังกลาว 3 กลุม คือ คุณธรรมจริยธรรมประจําตัวหรือคุณธรรมจริยธรรมในการดํารงชีวิต คุณธรรมจริยธรรมเพ่ือความสําเร็จของการทํางานและการประกอบอาชีพ และคุณธรรมจริยธรรมท่ีมีตอสังคมสวนรวม

2) สภาพปจจุบันของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ปจจุบันสถาบันอุดมศึกษาสวนใหญไดดําเนินงานตามโครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตั้งแตป พ.ศ. 2540 เปนตนมา ท้ังนี้เพ่ือพัฒนานิสิตนักศึกษาใหเปนบัณฑิตท่ีพึงประสงค มีความรูท้ังทางดานวิชาการและวิชาชีพควบคูกับการมีคุณธรรมจริยธรรม โดยการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนิสิตนักศึกษาเปน 3 รูปแบบ คือ การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานิสิตนักศึกษา และการสรางรายวิชาเฉพาะดานคุณธรรมจริยธรรมในหมวดศึกษาท่ัวไป

3) ปจจัยท่ีเปนอุปสรรคตอการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาและขอเสนอแนะเพ่ือการแกไข

ดานการบริหารจัดการ ผูบริหารสถาบันอุดมศึกษาเห็นความสําคัญแตยังขาดการสรางระบบและกลไก การกํากับดูแล ผลักดัน และติดตามการดําเนินงานใหเกิดสัมฤทธ์ิผลในทาง

Page 63: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  71

ดานการดําเนินงานพัฒนาการเรียนการสอนและกิจกรรมตามรูปแบบท่ีเหมาะสมในการเสริมสรางและพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย ยังขาดการวางแผนท่ีชัดเจนและสอดคลองระหวางฝายวิชาการและฝายกิจการนักศึกษา ยังไมไดนําคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคมากาํหนดเปนแนวทางในการจัดกิจกรรม กิจกรรมยังไมหลากหลายและขาดหลักการมีสวนรวมของนักศึกษา การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในรายวิชายังไมถูกกําหนดเปนนโยบายอยางชัดเจน ผูสอนยังขาดความตระหนักถึงความสําคัญในการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม การสรางรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปยังมีจํานวนนอย เพราะขาดความรูและขาดการสนับสนุนท่ีชัดเจน

ขอเสนอแนะสําหรับสถาบันอุดมศึกษา ควรใหความสําคัญตอการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตของสถาบันและการพัฒนา

ศักยภาพและขีดความสามารถของคณาจารยเพิ่มข้ึน โดยจัดใหเปนระเบียบวาระสําคัญของมหาวิทยาลัย (University Agenda) ควรยึดม่ันในปณิธานและคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคของสถาบันและเผยแพรใหบุคลากรในสถาบันทราบ ควรทบทวนภารกิจการปฏิบัติงานของอาจารยใหมเพื่อใหอาจารยเปนกลไกสําคัญในการพัฒนานิสิตนักศึกษา ควรกําหนดใหการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาท่ัวไปเปนการพัฒนานิสิตนักศึกษาในดานคุณธรรมจริยธรรมอยางแทจริง และกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพของแตละสาขาวิชาใหชัดเจน และควรทบทวนภารกิจดานการเรียนการสอนใหสอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนเปาหมายและปรับปรุงหลักสูตรท่ีมุงเนนการเรียนการสอนท่ีเนน “ความรูคูคุณธรรม” เปนสําคัญ

4) แนวทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาตามพระบรมราโชวาท

4.1) แผนพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย กําหนดเปนนโยบายอยางชัดเจนในการจัดโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอยางตอเนื่อง กําหนดเปาหมายคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคของสถาบัน กําหนดคุณธรรมจริยธรรมที่พึงประสงคในการพัฒนาคุณภาพของนสิิตนักศึกษา กําหนดตัวบงช้ีและพฤติกรรมท่ีแสดงออกทางดานคุณธรรมจริยธรรมของสถาบันอยางเดนชัด กําหนดกลยุทธในการดําเนินงานเพ่ือพัฒนานิสิตนักศึกษา จัดต้ังคณะกรรมการเพื่อติดตามดแูลและประเมินภาพรวม และประสานความรวมมือในการดําเนินภารกิจดานการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมกับทุกฝาย

4.2) บทบาทของสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม นักพัฒนาและนักบริหารตองเปนผูนําเชิงคุณธรรมจริยธรรมและปฏิบัติตนเปนแบบอยาง ตระหนักถึงความสําคัญและมีบทบาทในการสงเสริมและพัฒนา จดัการวิเคราะหและกําหนดประเด็นทางคุณธรรม

Page 64: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  72

4.3) การสรางหลักสูตรและการพัฒนาการเรียนการสอน หลักสูตรตามแนวพระบรมราโชวาทควรมีความสมดุลระหวางรางกาย จิตใจและสติปญญา ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมคานิยมท่ีถูกตองและลักษณะชีวิตท่ีดี ใหผูเรียนมีโอกาสพัฒนาศักยภาพอยางเต็มท่ี มีความสมดุลระหวางความเปนสากลกับทองถ่ินและทฤษฎีกับการปฏิบัติ เอ้ือใหผูเรียนเช่ียวชาญเฉพาะศาสตรพรอมกับรอบรูสหวิทยาการและสรางจิตสํานึกเพื่อสวนรวม เนนผูเรียนเปนสําคัญท่ีสุด และชวยใหคนคิดเปน วิเคราะหเปน และประยุกตใชความรูท่ีมีอยูเปน

4.4) บทบาทและหนาท่ีของครูอาจารยและผูใหการศึกษา ครูอาจารยตองปฏิบัติบทบาทและหนาท่ีตามจรรยาบรรณของอาจารยมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะการเปน “ครูตนแบบ” ในดานคุณธรรมจริยธรรม กําหนดทิศทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตนักศึกษารวมกันและเปนไปในแนวทางเดียวกัน วางแผนหรือกําหนดคุณธรรมจริยธรรมใหชัดเจนในแผนการสอน มีการสอดแทรกการสอนคุณธรรมจริยธรรมและมีการประเมินในทุกรายวิชา ศึกษาและพัฒนากระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมนิสิตนักศึกษาใหสอดคลองกับการปฏิรูปการเรียนการสอน โดยยึดหลักผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด รวมท้ังมีการศึกษาวิจัยดานการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

4.5) บทบาทของนิสิตนักศึกษาและบัณฑิต ควรสรางจิตสํานึกและตระหนักในบทบาทหนาท่ีความรับผิดชอบของตน เห็นการเรียนรูและการพัฒนาตนเองในการฝกฝนใหเปนคนดี คนเกง และมีประโยชนตอสังคมเปนเร่ืองสําคัญ และพัฒนาคุณลักษณะ “บัณฑิตพันธุใหม” ใหเกิดข้ึนในตนใหกาวทันความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศและกระแสโลกาภิวัตน ขอเสนอแนะจากการวิจัย ขอเสนอแนะสําหรับสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

1. สกอ. ควรประกาศเปนนโยบายใหสถาบันอุดมศึกษาพฒันาการเรียนการสอนท่ีมุงเนน “ความรูคูคุณธรรม” มุงใหมีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในทุกรายวิชาท่ีสอน และการสรางรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

2. สกอ. ควรกําหนดใหทุกสถาบันจัดทําคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค จัดกิจกรรมพัฒนานิสิตนกัศึกษาอยางตอเนื่องทุกช้ันป ควรจัดสัมมนาผูบริหารสถาบันและหนวยงานพัฒนานิสิตนักศึกษาเกีย่วกับปรัชญาและแนวคิดสําคัญตามพระบรมราโชวาทอันเปนแนวทางในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตนักศึกษา

Page 65: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  73

3. สกอ. ควรกําหนดการพัฒนานิสิตนักศึกษาแบบองครวม ควรกําหนดนโยบายใหสถาบันนําระบบประกันคุณภาพมาเช่ือมโยงกับการพฒันาบัณฑิตท่ีพงึประสงค ควรสงเสริมการดําเนินเครือขายสถาบันอุดมศึกษา และควรสงเสริมการวิจยัดานการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตนักศึกษา

ขอเสนอแนะสําหรับสถาบันอุดมศึกษา ผูบริหาร ครูอาจารย ผูใหการศึกษาและนกัการศึกษา

1. ควรนําแกนแทและสาระหลักคําสอนมาวเิคราะห เพื่อพจิารณาทําแผนยุทธศาสตรหรือแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาความรูคูคุณธรรม และจัดเปนรูปแบบการบริหารจัดการ บทบาทของอาจารย หลักสูตรและการจดักระบวนการเรียนรู และบทบาทนิสิตนักศึกษาของสถาบันใหสอดคลอง เหมาะสม และเปนไปในทิศทางเดียวกัน

2. ควรจัดใหเปน “ระเบียบวาระสําคัญของมหาวิทยาลัย” ดวยการกําหนดวิสัยทัศนและกลยุทธในการดําเนินงานพัฒนาความรูคูคุณธรรมท่ีชัดเจน

3. ควรคัดสรร “ตัวอยางท่ีดี” ในการรักษาคุณธรรมจริยธรรมของแตละสาขาวิชาชีพเพื่อเปนแบบอยางท่ีดีรวมท้ังใช “การรวมพลังเพื่อเกียรติภูมิแหงวิชาชีพ” มาชวยเสริมสรางคานิยมเร่ืองการยึดม่ันในความถูกตอง ชอบธรรม และการเห็นแกประโยชนสวนรวม 2.4 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

2.4.1 รูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550) ไดทําการวิจัยเร่ืองการจัดทําโครงการวิจัยศึกษารูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค หลังจากนํามาวิเคราะหสังเคราะหไดพบรูปแบบของการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค 4 รูปแบบ คือ รูปแบบของบาน (ครอบครัว) วัด โรงเรียน (สถานศึกษา) และชุมชน โดยทุกรูปแบบมีเนื้อหาท่ีควรรูท้ังทางกายและทางจิตใจ วิธีการปลูกฝงและการวัดผล มีรายละเอียดดังนี้

1) รูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยครอบครัว มีเนื้อหาสําคัญ คือ ดานความรู ไดแก ความรูเร่ืองความดี/ความช่ัว พระคุณ หนาท่ี ระเบียบวินัย กติกาสังคมและศาสนาวัฒนธรรม ความรูเหลานี้ฝกพฤติกรรมทางกายได โดยปลูกฝงความสุภาพ มีน้ําใจ กตัญู มีระเบียบ ทําตามหนาท่ี พึ่งตนเอง และอดออม ดานการสรางทัศนคติใหตระหนัก รัก เคารพ เช่ือม่ัน อดทน มีสํานึกขณะจะกระทํา สําหรับวิธีการอบรมปลูกฝงทําไดโดยวิธีอบรมดวยวาจา ดวยการปฏิบัติเอง ดวยการปฏิบัติใหเห็นและกระตุนใหคิด ท้ังนี้ตองอาศัยความใกลชิดและทําตัวเปนแบบอยางของพอแม

ในกรณีท่ีเด็กทําดี ควรชมเชย ย้ําผลการกระทําความดีท่ีเด็กทําใหเด็กฟง และควรยกยองตอหนาผูอ่ืน เม่ือเด็กกระทําผิดควรพูดคุยอธิบาย ย้ําผลการกระทําผิดใหเด็กฟง และพยายามลด

Page 66: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  74

2) รูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยโรงเรียน (สถานศึกษา) มีเนื้อหาท่ีสําคัญ คือ ดานความรู ไดแก ความรูในเร่ืองความดี/ความช่ัว พระคุณ หนาท่ี ระเบียบวินัย การพัฒนาตน ความเปนไทย ส่ิงแวดลอม และศาสนาวัฒนธรรม ความรูเหลานี้ฝกพฤติกรรมทางกายได โดยปลูกฝงความมีสัจจะ มีน้ําใจ กตัญู ทําหนาท่ี มีระเบียบวินัย ฝกฝนสมํ่าเสมอ เรียนรูจากความคิด พึ่งตนเอง ปฏิบัติตามคําสอน รักษาวัฒนธรรม/ส่ิงแวดลอม และทําตนใหเปนประโยชน ดานการสรางทัศนคติใหตระหนัก รัก/ภาคภูมิ มุงม่ัน เช่ือฟง มีเหตุผล มีสํานึกขณะจะกระทําอยางรอบคอบ สําหรับวิธีการอบรมปลูกฝงและการประเมินผลทําเชนเดียวกับรูปแบบของครอบครัว แตรูปแบบนี้ ผูท่ีตองทําตัวเปนแบบอยางคือ ครู อาจารยผูสอน ผลท่ีคาดวาจะไดรับ คือ เด็กมีสัจจะ มีน้ําใจ กตัญู รูหนาท่ี มีระเบียบวินัย เรียนรูผิดถูก รักษาวัฒนธรรม สรางประโยชน มีความภาคภูมิ มุงม่ัน มีเหตุผล และมีสํานึก

3) รูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม โดยสถาบันศาสนา มีเนื้อหาที่สําคัญ คือ ดานความรูและวิธีการอบรมเชนเดียวกับรูปแบบครอบครัว แตผูท่ีทําหนาท่ีขัดเกลา คือ พระ นักบวช บุคลากรทางศาสนา สวนผลท่ีคาดวาจะไดรับ คือ เด็กเปนคนสุภาพ มีน้ําใจ กตัญู เอ้ือเฟอ มีระเบียบวินัย ขยัน ซ่ือสัตย ประหยัด อดทน ตระหนักในความดี เคารพตัวเอง เชื่อม่ัน มีความรักและเมตตา รวมท้ังมีสํานึกท่ีจะทําดี

4) รูปแบบการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยชุมชน มีเนื้อหาท่ีสําคัญ คือ ดานความรู ไดแก ความรูวิธีการอบรมปลูกฝง เชนเดียวกับรูปแบบท่ี 1 แตผูท่ีทําหนาท่ีอบรม คือ กระบวนการภายในชุมชน สวนผลท่ีคาดวาจะไดรับคือ เด็กรับผิดชอบตอสังคม เสียสละ รักษาส่ิงแวดลอม บําเพ็ญประโยชน และเคารพกติกา พฤติกรรมและทัศนคติของเด็ก

2.4.2 รูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม นลินี ทวีสิน และคณะ (2549) ไดทําวิจัยหารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม ท่ีมีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อ วิเคราะหหาความจําเปนท่ีบงช้ีวาตองพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การจัดทําขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนา รูปแบบการสอนที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และจัดทําตัวแบบสําหรับสถานศึกษาในการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม โดยขอบเขตการศึกษาเฉพาะในกลุมระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานสายสามัญ

วิธีการศึกษา คือ การวิจัยเชิงเอกสาร การประชุมแบบเนนกลุมเปาหมาย การสัมภาษณเชิงลึก และการทําเดลฟายเทคนิค รวมกลุมผูเช่ียวชาญทั้งหมดจํานวน 68 ทาน

Page 67: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  75

ผลการศึกษาท่ีสําคัญ คือ กรอบในการศึกษาการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมจําเปนตองคํานึง 6 องคประกอบหลัก เปนกรอบในการศึกษา ตลอดจนการจัดทําโครงการวิจัยนี้ ไดแกองคประกอบดานบริบทชุมชน กระแสโลกาภิวัตน กระบวนทัศนจัดการศึกษาสมัยใหม กระบวนจัดการเรียนการสอน ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน และตัวแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

แนวทางในการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม พบวามีหลายปจจัยเขามาเกี่ยวของ มิไดมีเพียงปจจัยดานการสอนในช้ันเรียนเทานั้น แตยังเกี่ยวกับการบริหารจัดการของสถานศึกษาที่มีบทบาทคอนขางมาก รวมถึงปจจัยภายนอกสถานศึกษาท่ีตองมีสวนเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาในการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรม เชน บทบาทและแนวทางดําเนินงานของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐบาล โดยจะดําเนินการตามบทบาทหนาท่ีและศักยภาพของแตละหนวยงาน ทํางานสนับสนุนเกื้อกูลกัน ไมซํ้าซอน และตอเนื่อง จึงจะมีสวนเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรมไดอยางเกดิผล ดังนี้

แนวทางระดับสถานศึกษา สถานศึกษาเปนองคกรท่ีมีบทบาทสําคัญท่ีสุดในการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เพราะมีความใกลชิด มีอํานาจบริหารจัดการและจัดสรรทรัพยากรในการสนับสนุนโดยตรงตอการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรมของครู โดยสถานศึกษาควรดําเนินงานดานตาง ๆ อยางสอดรับกันไมวาจะเปน ดานผูบริหารสถานศึกษา ดานบริหารจัดการสถานศึกษา ดานบริหารบุคลากร ดานระบบสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพงานสอน ดานบริหารกิจกรรมสําหรับผูเรียน ดานการพัฒนางานสอนคุณธรรมจริยธรรมรวมกันของกลุมครู ดานการจัดการเรียนการสอนของครู ซ่ึงจะตองมีนโยบายท่ีชัดเจนในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม มีการวิเคราะหทรัพยากร ระดมและสนับสนุนทรัพยากร รวมถึงการประยุกตใชทรัพยากรที่มีในสถานศึกษาและองคกรในพื้นท่ี/ชุมชนไดอยางคุมคา/เกิดประโยชนสูงสุด

แนวทางระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เขตพื้นท่ีการศึกษานับเปนองคกรสําคัญในการชวยสนับสนุนการพัฒนาและเสริมสรางการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เนื่องดวยมีความใกลชิด และเปนหนวยงานระดับพื้นท่ีท่ีดูแลและสนับสนุนจัดการศึกษาในภาพรวมของเขต อีกทั้งมีศักยภาพในการจัดสรรและระดมทรัพยากรสนับสนุนสถานศึกษาจากองคกรในพื้นท่ี/ชุมชน โดยเขตพื้นท่ีการศึกษาแตละแหงควรกําหนดเปาหมาย นโยบาย และยุทธศาสตรท่ีชัดเจน การสํารวจประเด็นและระดับความรุนแรงของปญหาคุณธรรมจริยธรรมในพื้นท่ี การสนับสนุนองคความรูและศึกษานิเทศกท่ีเชี่ยวชาญดานการจัดการสอนคุณธรรมจริยธรรม โดยสามารถประยุกตใชทรัพยากรในสถานศึกษาและทองถ่ินไดคุมคาและเต็มท่ี การระดมทรัพยากรและ

Page 68: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  76

แนวทางระดับกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องดวยความชัดเจนดานทิศทาง นโยบายและการสนับสนุนของกระทรวงศึกษาธิการเปนส่ิงจําเปนยิ่ง สําหรับการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของสถานศึกษา โดยเฉพาะในระยะแรกของการพัฒนา โดยกระทรวงศึกษาควรกําหนดทิศทางและนโยบายมาตรการท่ีชัดเจนในการปฏิรูปการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในผูเรียน การกําหนดเปาหมายการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผูเรียนในแตละชวงวัยที่ชัดเจนและเช่ือมโยงสูชวงช้ันที่สูงข้ึน การปรับเปล่ียนสาระการเรียนรูโดยลดเนื้อหาวิชาการและมุงพัฒนาดานคุณธรรมจริยธรรมมากข้ึน การสนับสนุนดานตาง ๆ ในการพัฒนาการจัดการสอนคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาระบบการประเมินผลดานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ การพัฒนาผูบริหารและครูใหเอ้ือตอการพัฒนาการสอนคุณธรรมจริยธรรมท่ีประสิทธิภาพ และการพัฒนาแนวทางเสริมอ่ืน ๆ เพื่อพัฒนาการสอนคุณธรรมจริยธรรม การประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ใหมีระบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่ชัดเจนและมีคุณภาพ รวมถึงการกําหนดเกณฑคัดเลือกเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษา โดยพิจารณาสัดสวนคะแนนคุณธรรมจริยธรรมของผูสมัครสอบรวมดวย

แนวทางระดับรัฐบาล เนื่องดวยการดําเนินงานหลายประการ เปนอํานาจและบทบาทของระดับรัฐ เพื่อกําหนดทิศทางและนโยบาย รวมถึงมีสวนชวยสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหเกิดข้ึนได โดยรัฐบาลควรกําหนดทิศทาง นโยบาย แผนงาน กลยุทธ และการสนับสนุนทรัพยากรที่ชัดเจนท่ีมุงแกปญหาและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในผูเรียนทุกชวงวัย การพัฒนากฎหมายตาง ๆ ท่ีมีสวนสกัดกั้นความเส่ียงกระทําผิดคุณธรรมจริยธรรมของเด็กและเยาวชน การพัฒนาดัชนีช้ีวัดระดับคุณธรรมจริยธรรมของสังคมเพ่ือสงสัญญาณเตือนสูระบบการศึกษา การสนับสนุนการขยายผลการปฏิบัติตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตสูการพัฒนาการสอนคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาโครงงานตาง ๆ ของรัฐ ใหมีสวนรวมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเด็กและเยาวชน เชน เปดโอกาสและสงเสริมการเปนอาสาสมัครในโครงการตาง ๆ ของรัฐหรือเอกชนท่ีเปนประโยชนตอสาธารณะ การสนับสนุนทุกองคกรศาสนาใหมีสวนรวมและมีบทบาทชัดเจน ในการจัดทําโครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในเด็กและเยาวชนรวมกับสถานศึกษา การกําหนดกฎหมาย มาตรการและดําเนินการจริงจังในการนําเสนอส่ือเชิงสรางสรรค รวมถึงการสกัดกั้นและลงโทษส่ือไมพึงประสงค การสนับสนุนส่ือท่ีมุงพัฒนาปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกลุมเด็กและเยาวชน และการพัฒนาระบบกระตุนสังคมดานคุณธรรมจริยธรรมเปนระยะตอเนื่อง เปนตน

Page 69: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  77

ตัวแบบในการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เปนการศึกษาองคประกอบและตรรกะความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ เพื่อใหสถานศึกษานําไปใชเปนกรอบพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมดังภาพท่ี 2.1 ซ่ึงองคประกอบแตละตัวในตัวแบบ จะกําหนดตัวแบบยอยและแนวทาง/กลยุทธดําเนินการไวชัดเจน

ภาพท่ี 2.1 ตวัแบบของสถานศึกษาในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ

ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม สัญลักษณ การปฏิสัมพันธ การนําไปสู � การเกื้อกูลสูง การยอนกลับ

แนวทางหมายเลข 4–7 ในกรอบสีเทาใหความหมายถึงทุกแนวทางในกรอบนี้มีความสัมพันธเชิงปฏิสัมพันธกันท้ังหมด เชน แนวทางหมายเลข 4 มีการปฏิสัมพันธกับแนวทาง 5, 6 และ 7 ตัวแบบของสถานศึกษาในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม เปนการอธิบายวาสถานศึกษาควรดําเนนิการดานใดบางและมีแนวทางอยางไร โดยคําอธิบายตัวแบบนีค้รอบคลุม 3 มิติ ดังนี้ โครงสรางหรือองคประกอบของตวัแบบ แบงออกเปน 2 สวน คือ

สวนแรกเปนเปาหมายสูงสุดของตัวแบบนี้คือ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม (หมายเลข 1 ในภาพที่ 2.1) ซ่ึงจะเปนส่ิงกําหนดแนวทางระดับสถานศึกษาในระดับลางลงมา

Page 70: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  78

สวนท่ีสองเปนแนวทางระดับสถานศึกษา คือ แนวทางดานตาง ๆ ในการดําเนินงานของสถานศึกษาตามบทบาทหนาท่ีและอํานาจของสถานศึกษาบนฐานการบริหารโรงเรียนเปนฐาน (School - based Management) (หมายเลข 2-8 ในภาพท่ี 2.1) เพื่อมีสวนในการดําเนินการใหบรรลุไดตามเปาหมายสูงสุดของตัวแบบคือการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในผูเรียน ขอเสนอแนะในการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม จากการวิจัย มีขอคนพบระหวางการวิจัยหลายประการ ซ่ึงอาจจะเปนประโยชนตอสถานศึกษาในการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรมใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยอาจเปนผลท้ังทางตรงหรือทางออมท่ีมีผลตอการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ การกําหนดเปาหมายพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในผูเรียน จําเปนอยางยิ่งท่ีหนวยงานท่ีเกี่ยวของโดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการ ตองกําหนดเปาหมายการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผูเรียนในแตละชวงชั้นท่ีชัดเจน โดยสอดคลองตามพัฒนาการของผูเรียน และมีความตอเนื่องเช่ือมโยงสูชวงช้ันการศึกษาท่ีสูงข้ึน รวมถึงมีมาตรการสรางความเขาใจใหแกกลุมครูและผูบริหารการศึกษาท่ีชัดเจน รูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแตละสถานศึกษาจะ

แตกตางกัน ซ่ึงจะขึ้นอยูกับศักยภาพและทรัพยากรของสถานศึกษาและชุมชนน้ัน โดยควรใชจุดแกรงทางศักยภาพและทรัพยากรของตนและชุมชนอยางคุมคาในการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรม ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการวิเคราะหและประเมินทรัพยากรของสถานศึกษา รวมถึงการวิเคราะหทรัพยากรขององคกรในพื้นท่ี/ชุมชน วามี จุดแกรง จุดออน โอกาสและความเส่ียงใดบาง เพ่ือเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการนําทรัพยากรที่มีมาใชอยางคุมคา ปจจัยขับเคล่ือนภายในสถานศึกษาท่ีสําคัญ ปจจัยภายในสถานศึกษาท่ีมีผลตอการขับเคล่ือนการพัฒนารูปแบบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมมี 3 ปจจัยหลัก คือ 1) ปจจัยดานผูบริหารสถานศึกษา จะตองมีภาวะผูนํา สามารถนําพาการเปล่ียนแปลง สรางขวัญกําลังใจ บริหารจัดการทรัพยากรเพื่อใชประโยชนไดคุมคา/เกิดประโยชนสูงสุด ฯลฯ 2) ปจจัยดานครู จะตองมีความรู ทักษะและทัศนคติท่ีดีในการสอนคุณธรรมจริยธรรม สามารถเลือกใชวิธีการและเทคนิคการสอนท่ีดีและเหมาะสมท่ีสุด และสามารถประยุกตใชทรัพยากรของสถานศึกษาและชุมชนท่ีมีในการจัดการสอน และ 3) ปจจัยดานการสรางแรงจูงใจและขวัญกําลังใจใหแกครู เนื่องดวยครูเปนปจจัยท่ีมีผลโดยตรงตอการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรม

การบูรณาการศาสตรตาง ๆ เขามาพัฒนาการสอนคุณธรรมจริยธรรม เนื่องดวยการพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรมท่ีมีประสิทธิภาพ มีความซับซอนตองใชขอมูลและองคความรูหลากหลายแขนงมาประกอบรวมกัน โดยเฉพาะในระยะแรกของการพัฒนา จึงตองมีการสนับสนุนการ

Page 71: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  79

การจัดสรรทรัพยากรจากทุกองคาพยพรวมกัน ท่ีผานมาพบวาการจัดการสอนคุณธรรมจริยธรรมในหลายสถานศึกษาไมประสบความสําเร็จเทาท่ีควร เนื่องดวยความจํากัดทางทรัพยากรของสถานศึกษา ในขณะท่ีมีหลายหนวยงาน/องคกรมีทรัพยากรที่สามารถนํามาใชรวมกันได โดยนํามาตอยอดองคความรู และใชทรัพยากรท่ีมีอยูมาใชประโยชนอยางคุมคา โดยเฉพาะองคกรในพ้ืนท่ี/ชุมชน เชน องคกรทางศาสนา องคกรชุมชน องคกรท่ีทํางานดานการพัฒนาทางวัฒนธรรม องคกรการพัฒนาและปรับพฤติกรรมกลุมเด็กที่มีปญหาคุณธรรมจริยธรรม เปนตน

การเชื่อมตอการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมจากปฐมวัยถึงการอุดมศึกษา การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมจะตองพัฒนาทั้งการศึกษาปฐมวัย การศึกษาข้ันพื้นฐาน การอุดมศึกษาอยางสอดคลองกัน โดยประสานงานกับหนวยงานเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของเด็กปฐมวัย ใหมีการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมท่ีชัดเจนและมีคุณภาพ โดยเฉพาะชวงวัย 3-6 ป ซ่ึงเปนวัยสําคัญท่ีเปนพื้นฐานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และมีการกําหนดเกณฑคัดเลือกเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษา ใหพิจารณาสัดสวนคะแนนคุณธรรมจริยธรรมของผูสมัครสอบรวมดวย เชน ประสบการณเขารวมกิจกรรมการสาธารณะ การเคยทําประโยชนตอผูอ่ืนหรือชุมชน ฯลฯ การจัดกิจกรรมเสริมท่ีหลากหลาย แมจะมีการพัฒนารูปแบบการสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพในหองเรียนมากสักเพียงใด อาจไมเพียงพอตอการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในผูเรียน แตควรจัดกิจกรรมเสริมอ่ืนรวมดวย โดยใชศักยภาพและทรัพยากรของสถานศึกษาและชุมชนใหเกิดประโยชนอยางคุมคา มีการจัดอยางตอเนื่อง อีกท้ังควรจัดกิจกรรมท่ีผูเรียนมีความถนัดและสนใจ และมีระบบการสอดแทรกการสอนคุณธรรมจริยธรรมรวมดวย เชน การมีตัวแทนครู ตัวแทนผูปกครองหรือคณะกรรมการสถานศึกษา เขาไปมีสวนใหคําปรึกษา หรือเปนกรรมการชมรม/โครงงานกิจกรรมตาง ๆ เพื่อมีสวนในการสอดแทรกเน้ือหา แนวคิดในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมรวมกับสถาบันครอบครัว สถาบันครอบครัวมีอิทธิพลมากตอการหลอหลอมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในผูเรียน ดังนั้นสถานศึกษาควรสรางความรวมมือกับผูปกครองอยางใกลชิด ไมวาจะเปนการสรางความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมควบคูกับการพัฒนาทางวิชาการอยางสมดุล การใหความรูความเขาใจแกพอแม/ผูปกครองในเบ้ืองตนเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหบุตรหลาน การมีสวนรวมสอดสองดูแลความประพฤติ และ

Page 72: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  80

2.4.3 รูปแบบนวัตกรรมท่ีสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมของตางประเทศ สุรศักดิ์ หลาบมาลา และ รสสุคนธ มกรมณี (2549) ไดศึกษารูปแบบนวัตกรรมที่สงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมของตางประเทศ และไดเสนอแนะรูปแบบนวัตกรรมท่ีสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมสําหรับประเทศไทย

ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ 1. จัดสภาพแวดลอมการเรียนรูท้ังระบบใหเปนการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม

โดยทุกคนในชาติปฏิบัติตนเปนตัวแบบท่ีดีแกเด็ก พฒันาสภาพแวดลอมและทรัพยากรมนุษยใกลตวัผูเรียน โดยเฉพาะสถานศึกษา ใหมีลักษณะเปน Knowledge Management ดานคุณธรรมจริยธรรม ครู ผูปกครอง และส่ิงแวดลอมท่ีบานและโรงเรียนเปนผูใชและผูจัดการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม

2. พัฒนาครูและหลักสูตรใหมีลักษณะ KPI (Knowledge–Practice–Implementation) ดานคุณธรรมจริยธรรม

3. สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในกิจกรรมเสริมหลักสูตรและทุกกลุมสาระการเรียนรู ตวัอยางเชน โครงการบริการชุมชนของญ่ีปุนหรือโครงการพลเมืองฝกหัดของสวิตเซอรแลนดท่ีนํานักเรียนเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมของสังคม ตลอดท้ังศึกษาปญหาและสาเหตุของปญหาทางคุณธรรมจริยธรรมในสังคม แลวรวมกนัเสนอแนะแนวทางแกไข

4. วิจัยและพฒันารูปแบบการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะการปฏิบัติท่ีไดผลจริงดังตัวอยางการวิจยัการสอนคานิยมศึกษาแบบสอดแทรกโดยตรงของนิวซีแลนด เปนตน ศึกษารูปแบบการพัฒนาการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมของตางประเทศแบบครอบคลุมในเชิงลึก เพื่อพิจารณานํามาประยุกตใชในประเทศไทย โดยเนนการปฏิบัติมากกวาทฤษฎี

5. จัดการฝกอบรมดานคุณธรรมจริยธรรมตามลําดับต้ังแตปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา อยางสอดคลองกับพัฒนาการของเด็ก โดยรัฐเปนผูกําหนดกรอบการดําเนินงานและจัดทําคูมือสําหรับเปนแนวปฏิบัติ

6. ควรมีการพจิารณา ทําความเขาใจประเดน็คุณธรรมจริยธรรมท่ีตองการสงเสริม และดําเนินงานใหมีการนําไปปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ

7. สงเสริมกิจกรรมและนิทรรศการท่ีเกี่ยวของกับคุณธรรมจริยธรรม โดยไมใชการบังคับ แตเปนการจูงใจ การพัฒนาการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมไมเนนทฤษฎีหรือหลักการ แตเนนการปฏิบัติและการปองกัน

Page 73: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  81

8. จัดทําหลักสูตรวิชาสัมมนาการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม 1 หนวยกิต ทุกภาคเรียน (ลงทะเบียนโดยไมนับหนวยกิต ใหเกรดผานกบัไมผาน) ครูมอบการบานดานคุณธรรมจริยธรรมโดยใหผูปกครองมีสวนรวม

9. กระทรวงศกึษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย องคกรการปกครองสวนทองถ่ิน กระทรวงวฒันธรรม และส่ือสารมวลชนทุกแขนง ควรรวมมือกันในการสงเสริมการพฒันาคุณธรรมจริยธรรมโดยจัดเปนวาระแหงชาติ

10. กระทรวงศึกษาธิการและองคกรการปกครองสวนทองถ่ิน ควรร้ือฟนการสอนหนาท่ีพลเมืองและศีลธรรม รวมท้ังจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม เชน ลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี ดนตรี กีฬา และศิลปะ เปนตน

11. สรางความเปนหุนสวนระหวางครอบครัวและโรงเรียนในการอบรม ส่ังสอน และพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใหกับนักเรียน การพฒันาการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมตองดําเนินงานประสานกันท้ัง 3 ดานคือ บาน สถานศึกษา และส่ิงแวดลอมโดยบานใหความรูความเขาใจและเปนแบบอยางแกเด็ก สถานศึกษาใหความรู ความเขาใจ จากครู จากเพ่ือน ตลอดจนสรางสภาพแวดลอมในสถานศึกษาท้ังท่ีเปนรูปธรรมและนามธรรมใหเอ้ือตอการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และดานส่ิงแวดลอมในสังคม ควรมีผูนําประเทศและผูนาํชุมชนเปนแบบอยาง มีการปฏิบัติพฤติกรรมท่ีดี และยกยองผูมีคุณธรรมจริยธรรมใหเปนท่ีประจักษ

12. กําหนดกรอบหลักสูตร เนื้อหา ส่ือ วิธีสอน วิธีจัดการเรียนรู กิจกรรม วิธีการประเมินผลและคูมือการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรม ตั้งแตระดับกอนวยัเรียนถึง ระดับอุดมศึกษาและประชาชนท่ัวไป ไวเปนแนวทางสําหรับผูปฏิบัติงานดานคุณธรรมจริยธรรม

13. สถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม พัฒนาบุคลิกภาพ และจิตสํานึกของนักเรียนเปนประจําโดยเฉพาะอยางยิ่งโรงเรียนประจํา

14. สอนวิชาอันเปนพืน้ฐานความเช่ือในคุณธรรมจริยธรรม เชน ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ตรรกศาสตร จริยศาสตร การคิดวิเคราะห และปรัชญา ในโรงเรียน

15. สอนวิชาปรัชญา จริยศาสตร คุณธรรมจรยิธรรม ศาสนาในวงกวาง และการคิดวิเคราะหใหกับนักศึกษาครูทุกคน ตลอดท้ังอบรมครูประจําการในการสอนคุณธรรมจริยธรรมดวย

16. กิจกรรมสําหรับนักเรียนท่ีควรปฏิบัติ ไดแก นํานักเรียนไปศึกษาดูงานการปฏิบัติกิจกรรมท่ีมีลักษณะเดียวกับคุณธรรมจริยธรรมของสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกตางไปจากของตน และปฏิบัติกิจกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมโดยตัวนักเรียนเองดวย ใหนักเรียนมีโอกาสบําเพ็ญกิจกรรมคุณธรรมจริยธรรม และบริการสังคมมากข้ึน โดยเฉพาะการชวยเหลือและเขาใจสภาพชีวิตของคนยากจน คนดอยโอกาส และผูที่อยูในถ่ินทุรกันดาร ใหนักเรียนท่ีทําผิดระเบียบวินัยของโรงเรียน ทําการ

Page 74: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  82

17. ใหนักเรียนอภิปรายปญหาคุณธรรมจริยธรรมท่ีพบเห็นจากส่ือตางๆ และปญหาของนักเรียนเอง แลวรวมกันเสนอแนะแนวทางแกปญหา รวมท้ังรวมกันอภิปรายปญหาคุณธรรมจริยธรรมท่ีพบเห็นในการเรียนวิชาตางๆ เชน ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร และความสัมพันธระหวางประเทศ เปนตน และใหนักเรียนมีโอกาสอภิปรายปญหาคุณธรรมจริยธรรมกับผูทรงคุณวุฒิในปญหาตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมปจจุบัน

18. ใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสวงหาและเสนอช่ือบุคคลท่ีเปนตัวอยางในการประกอบคุณธรรมจริยธรรมในสังคมเพื่อการยกยองเชิดชูเกียรติ และยกยองชมเชยนักเรียนท่ีเปนตัวอยางในการประกอบคุณธรรมจริยธรรม

19. จัดโครงการแลกเปล่ียนนักศึกษา นักเรียน ครู และผูปฏิบัติงานดานการสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมกับตางประเทศ เพื่อใหบุคคลเหลานั้นมีสายตาและแนวความคิดท่ีกวางไกลยิ่งข้ึน จัดใหนักเรียนมีโอกาสแลกเปล่ียนเรียนรูแนวปฏิบัติและกิจกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมกับเพื่อนตางประเทศในระดับเดียวกัน ซ่ึงอาจกระทําโดยผานทางอินเทอรเน็ต เชนตัวอยางโครงการวัฒนธรรมเยาวชนของสวิตเซอรแลนด เปนตน

20. ยกยองเชิดชู นักเรียน ครู ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนท่ีเปนตัวแบบดานคุณธรรมจริยธรรมและส่ือมวลชนแขนงตางๆ ยกยอง ชมเชย และเชิดชูบุคคลท่ีมีผลงานดีเดนดานคุณธรรม จริยธรรมของสังคม

21. ใชศิลปะ บทเพลง ดนตรี ลีลาศ การละคร ภาพยนตร และจุลสาร เปนส่ือ เคร่ืองมือ หรือเวทีแสดงความคิดเห็นและเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน

22. จัดทําหนังสืออานสําหรับเด็กท่ีเปนการสอนเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมตั้งแตระดับกอนวัยเรียน (ผูปกครองอานใหฟงกอนเขานอน) จนถึงระดับอุดมศึกษาโดยความรวมมือกับสมาคมนักเขียน จัดประกวดการแตงหนังสือ/นิทาน/เร่ืองส้ันเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมที่ผูแตงมีวัยตางๆ กัน

23. อุตสาหกรรมบันเทิง เชน ภาพยนตร โทรทัศน วิทยุ วีซีดี ซีดี ดีวีดี มีการแทรกขอคิดเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมไวในงานเหลานั้น

24. การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม ควรประกอบดวย 3 ข้ันคือ สรางความตระหนัก ดําเนินการสงเสริม และสนับสนุน

25. ประชาชนยกยอง นับถือ และใหเกียรติผูท่ีมีคุณธรรมสูงในสังคมของตน ท้ังในอดีตและปจจุบัน และไมใหความนับถือแกบุคคลท่ีไมคํานึงถึงคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินงาน ท้ังนี้ควรปราศจากการโนมนําทางการเมือง

Page 75: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  83

ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. กําหนดความหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร และขอบเขตงานดานคุณธรรม

จริยธรรมระดับประเทศ ตลอดท้ังทําหนาท่ีเปนท่ีปรึกษาและแนะแนวดานคุณธรรมจริยธรรมแกประชาชน

2. จัดใหมีกฎหมายปกปอง คุมครองการปฏิบัติงานดานคุณธรรมจริยธรรม 3. จัดระบบโครงสรางการบริหารงานดานคุณธรรมจริยธรรม โดยจัดต้ังชมรม

อาสาคุณธรรมจริยธรรมในระดับจังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน ชุมชน สถานศึกษา องคกรของรัฐและเอกชน และบุคคลเปนเครือขาย พรอมกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานรวมกัน

4. จัดต้ังกองทุนคุณธรรมจริยธรรมจากงบประมาณแผนดิน เงินการออกสลากกินแบง เงินบริจาคท้ังหลายท้ังภายนอกและภายในประเทศ และอ่ืน ๆ เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานสงเสริม ฝกอบรม วิจัย พัฒนา และรณรงคตอตานส่ิงท่ีเปนภัยตอคุณธรรมจริยธรรม โดยใชมาตรการสังคมทางกฎหมายและการลดหยอนภาษีเขาชวยกัน

5. ศึกษาสํารวจสภาพคุณธรรมจริยธรรมในสังคมปจจุบัน นําขอมูลท่ีไดมากําหนดแนวทางสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมท่ีจําเปนตอการแกปญหาเหลานั้นทุกปไป ยอมรับความแตกตางทางวัฒนธรรมและปญหาของแตละภูมิภาคของประเทศโดยใชวิธีการเขาถึงท่ีแตกตางกันไป

6. สงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจยึดม่ันในคุณธรรมจริยธรรมของผูเกี่ยวของ เชน อุตสาหกรรมการทองเท่ียว ธุรกิจ อาหารและยา เกษตร และบริการตางๆ เปนตน

7. ติดตาม สงเสริม รับรู และเชิดชูผลงานดานการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของหนวยงานและบุคคลท่ีเปนตัวอยางในการผดุงรักษาและสงเสริมพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมใหเปนท่ีประจักษแกสายตาประชาชน

8. จัดทําคูมือการเรียนการสอน การฝกอบรมการปฏิบัติจนตามหลักคุณธรรมจริยธรรมสําหรับประชาชนท่ัวไป ใหสอดคลองกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมทองถ่ิน เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินงานของชมรมอาสาคุณธรรมจริยธรรมตอไป

9. สงเสริมใหมีหลักสูตรคุณธรรมจริยธรรมศึกษาในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงอาจจะสอดแทรกอยูในสาระการเรียนรูสังคมศึกษาก็ได แตควรใหเปนวิชาหลักในระดับปริญญาตรีและสูงกวาปริญญาตรี (สิงคโปร อินเดีย ฯลฯ เปนวิชาหลักท่ีตองศึกษา)

10. สํารวจและพัฒนาแหลงปลูกฝงและสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดยเร่ิมตนจากครอบครัว ชุมชน ส่ือมวลชน สถาบันการศึกษา สมาคมวิชาชีพและอ่ืนๆ เพื่อเปนพลังรวมปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมและเปนแบบอยางท่ีดีใหแกเยาวชน

Page 76: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  84

11. รวมมือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของกับคุณธรรมจริยธรรมของตางประเทศท่ีคัดสรรแลว ตลอดท้ังองคกรระหวางประเทศ เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมและวิธีการสงเสริมการเรียนรู เพื่อมาปรับใชกับประเทศตอไป

12. จัดรายการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมทางวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน ส่ือมวลชน อินเทอรเน็ต ขอความรวมมือจากนักแตงเพลง ศิลปน และนักเขียน ในการเผยแพรคุณธรรมจริยธรรมใหถึงประชาชนทุกยางกาว โดยหยิบยกปญหาคุณธรรมจริยธรรมท่ีพบในสังคมปจจุบันมาประกอบ นอกจากน้ีแลว ควรจัดต้ังคณะละครคุณธรรมจริยธรรมออกแสดงตามสถาบันการศึกษาและชุมชน เพื่ออบรมคุณธรรมจริยธรรมอีกทางดวย โดยอาจจะมีบทใหผูชมรวมแสดงดวย

13. ทําการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะห สังเคราะหและวิจัยเพื่อพัฒนาเกี่ยวกับความเช่ือและพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรม และท่ีเกี่ยวของกับการสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม เพื่อประโยชนในการกําหนดนโยบาย แนวทางแกไขการเรียนการสอน และการบริหารหนวยงานตอไป

14. กําหนดและควบคุมคุณภาพและมาตรฐานพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมอันเปนที่ยอมรับของสังคมโดยรวมเพื่อเปนบรรทัดฐานในการปฏิบัติและประเมินงานดานคุณธรรมจริยธรรมตอไป

15. จัดตั้งหองสมุดและพิพิธภัณฑสถานดานคุณธรรมจริยธรรมไวเปนแหลงศึกษาคนควา รวบรวม เผยแพร ตลอดทั้งทําหนาท่ีเปนสถาบันฝกอบรมความรูและการบริหารงานดานคุณธรรมจริยธรรมแกอาสาสมัครคุณธรรมจริยธรรมและประชาชนทั่วไปคณะผูวิจัยเช่ือวามาตรการดังกลาวจะชวยสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมไดเปนอยางดี

3. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย 3.1 การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยหนวยงาน/องคกรของภาครัฐ การสงเสริมคุณธรรมโดยหนวยงาน/องคกรของภาครัฐ หลายหนวยงานท่ีไดดําเนินการ เชน 3.1.1 โครงการเมืองไทยเมืองคนดีของกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม (2551)

วัตถุประสงคของโครงการ เพื่อสงเสริมใหบุคคล นักเรียน นักศึกษา เยาวชน ประชาชนท่ัวไป หนวยงาน และองคกรตาง ๆ รวมกันทําความดี โดยมีความมุงหวังท่ีจะทําใหคนไทยเปนแบบอยางของผูมีความประพฤติปฏิบัติดีและทําใหประเทศไทยเปนท่ียอมรับในสังคมแหงอารยประเทศ

การดําเนินงานตามโครงการเมืองไทยเมืองคนดี เปนการจัดใหมีกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม การคัดเลือก/สรรหาคนดี การยกยองประกาศเกียรติคุณและนําประวัติของผูท่ีไดรับการคัดเลือกวาเปนคนดีจัดเก็บไวในฐานขอมูลของบุคคลท่ีทําความดี และเผยแพรผานทาง

Page 77: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  85

1. การคัดเลือก/สรรหาบุคคลลงในฐานขอมูลเมืองไทยเมืองคนดี โดยแบงออกเปน 2 ระดับ คือ 1) การยกยองคนดีในสังคมระดับภูมิภาค ซ่ึงจังหวัดเปนผูดําเนินการ 2) การยกยองคนดีในสังคมระดับประเทศ ซ่ึงกรมการศาสนาดําเนินการ โดยในแตละระดับยังแบงประเภทของผูไดรับการคัดเลือกออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทบุคคล และประเภทหนวยงาน/องคกร

2. การใชตัวบงช้ีคุณลักษณะคนดี ตามแนวพระบรมราโชวาท พระราชดํารัสแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมทางศาสนา โดยกรมการศาสนาไดกําหนดเกณฑในการคัดเลือก/สรรหาคนดีไวดังนี้ 1) เปนผูประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบลักษณะของคนดีอยางตอเนื่องจนเปนท่ีปรากฏและเปนท่ียอมรับในสังคม/ชุมชน 2) เปนผูปฏิบัติตนและบําเพ็ญประโยชนตอสังคม/ชุมชนอยางตอเนื่อง และ 3) เปนผูมีความกตัญูตอบุพการี และผูมีพระคุณสําหรับตัวบงช้ีคุณลักษณะคนดีตามแนวพระบรมราโชวาท พระราชดํารัสแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมทางศาสนาแสดงดังตารางท่ี 2.5 ตารางท่ี 2.5 ตวับงช้ีคุณลักษณะคนดี ตามแนวพระบรมราโชวาท พระราชดํารัสแนวปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพียง และหลักธรรมทางศาสนา

คุณลักษณะ ตัวบงชี้คุณลักษณะคนด ี1. การรักษาความสัจ ความจริงใจตอตนเอง ปฏิบัติแตส่ิงท่ีเปนประโยชนและเปนธรรม 2. การรูจักขมใจตนเอง ฝกใจตนเองใหประพฤติปฏิบัติอยูในความสัจ ความดีนัน้ 3. การอดทน อดกล้ัน และอดออม ไมประพฤติลวงความสัตยสุจริตไมวาดวยเหตุประการใด

1. คุณธรรม 4 ประการ

4. การรูจักและวางความช่ัว ความทุจริต และรูจักเสียสละประโยชนสวนนอยของตน เพื่อประโยชนสวนใหญของบานเมือง

Page 78: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  86

ตารางท่ี 2.5 (ตอ)

คุณลักษณะ ตัวบงชี้คุณลักษณะคนด ี1. พึ่งตนเอง ขยันหม่ันเพยีร และมีความรับผิดชอบ 2. ประหยดั และอดออม 3. มีระเบียบวนิัย และเคารพกฎหมาย 4. ปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนา

2. คานิยมพื้นฐาน 5 ประการ

5. รักชาติ ศาสน กษัตริย 1. ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง 2. ความสํานึกในคุณธรรม 3. ความซ่ือสัตยสุจริต

3. แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

4. ความอดทน ความเพยีร ความมีสติปญญา 1. ใหความอุปการะ ชวยเหลือ ดูแลบุพการี 2. มีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผตอผูมีพระคุณ 3. ใหความรักและความเช่ือฟงตอบุพการีและผูมีพระคุณ

4. ความกตัญูกตเวทีตอบุพการีและผูมีพระคุณ

4. มีความออนนอมถอมตนตอบุพการีและผูมีพระคุณ

3.1.2 โครงการยกยองเชดิชูเกียรติบุคคลและสถาบันดีเดนทางวัฒนธรรมของ

สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม (2550) วัตถุประสงค เพื่อสงเสริม สนับสนุนใหประชาชนมีคานิยมและพฤติกรรมท่ี

เหมาะสม มีความภูมิใจ และสืบทอดวัฒนธรรมอันเปนอัตลักษณของตนเองและชุมชน รวมท้ังสามารถประยุกตใชใหเกิดประโยชนตอการดําเนินชีวิตและการพัฒนาท่ียั่งยืน

การดําเนินงาน สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ไดดําเนินกิจกรรมการยกยองเชิดชูเกียรติบุคคลและสถาบันดีเดนทางวัฒนธรรม โดยการสรรหาและคัดเลือกผูมีผลงานดีเดนทางดานวัฒนธรรมองคกรดีเดนทางวัฒนธรรม จังหวัดดีเดนทางวัฒนธรรม และสภาวัฒนธรรมดีเดน

การยกยองเชิดชูเกียรติบุคคลและสถาบันดีเดนทางวัฒนธรรมมี 2 ระดับ คือ ระดับทองถ่ินและระดับประเทศ ในแตละระดับยังแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ประเภทบุคคล และประเภทสถาบัน สําหรับสาขาท่ียกยองเชิดชูเกียรติมีอยู 4 สาขา ไดแก สาขามนุษยศาสตร สาขาผูทําคุณประโยชนทางวัฒนธรรม สาขาภูมิปญญา และสาขาส่ือสารมวลชน ในสวนของวิธีการคัดเลือก/สรร

Page 79: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  87

1. เปนผูท่ีมีความรู ความเขาใจในเร่ืองวัฒนธรรมเปนอยางดี มีความสนใจ ตระหนักในคุณคาและประโยชนของวัฒนธรรมท่ีมีตอการดําเนินชีวิต และสังคมของประชาชนในชุมชน สังคม และชาติบานเมือง

2. เปนผูท่ีมีความต้ังใจ มุงม่ัน พากเพียร คิดริเร่ิม ดําเนินการสงเสริม สนับสนุนใหเกิดกิจกรรมทางวัฒนธรรมหรือสรางสรรคผลงานทางวัฒนธรรม หรืออุทิศทรัพยสินดําเนินการสงเสริม สนับสนุนงานดานวัฒนธรรม

3. ผลงานท่ีเกิดข้ึนสรางสรรคคุณคา คุณประโยชนใหกับงาน และกระบวนการทางวัฒนธรรมเปนอยางมาก เปนท่ียอมรับ ยกยองสรรเสริญจากบุคลากร และหนวยงานทางวัฒนธรรม รวมท้ังประชาชนโดยท่ัวไป

4. ตองเปนผูประพฤติปฏิบัติและดําเนินชีวิตดวยหลักธรรมของศาสนา และครรลองของวัฒนธรรมอันดีงาม ไมเคยมีประวัติเสียหาย และยังมีชีวิตอยูจนถึงวันแตงต้ังใหเปนผูทําคุณประโยชนทางวัฒนธรรม 3.1.3 โครงการธรรมะในสวนของกรงุเทพมหานคร (2550)

วัตถุประสงคมี 4 ขอ คือ 1) เพื่อใหสวนสาธารณะเปนศูนยรวมการอยูรวมกันอยางศานติ 2) เพ่ือใหสวนสาธารณะเปนสถานท่ีออกกําลังกาย และพักผอนหยอนใจ 3) เพ่ือสงเสริมการศึกษาธรรมะ และเผยแผธรรมแกพุทธศาสนิกชน 4) เพื่อใหธรรมะสรางกําลังใจใหเขมแข็ง สามารถดําเนินชีวิตอยูไดในสังคมดวยความม่ันใจและใชสติปญญาคิดแตส่ิงดี ๆ

การดําเนินงาน โครงการธรรมะในสวน จัดใหมีทุก ๆ วันเสารหรืออาทิตย สัปดาห สุดทายของเดือน เวลาประมาณ 7 นาฬิกา ณ บริเวณสนามหนาเวทีบันเทิงสวนลุมพินี กรุงเทพฯ โดยมีกิจกรรมการทําบุญตักบาตรและฟงธรรมจากพระสงฆ เชน หลวงพอปญญานันทภิกขุ พระพะยอมกัลยาโณ เปนตน แมวาโครงการนี้ จะเปนโครงการของกรุงเทพมหานคร แตทางกรุงเทพมหานครก็ไดเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามารวมใหการสนับสนุนดวยดียิ่งจากกลุมบริษัทวองวานิช การรวมใหการสนับสนุนของภาคเอกชนจะชวยใหโครงการนี้ไดแพรขยาย และเปนประโยชนตอเพื่อนรวมสังคมในวงกวางสืบตอไป 3.1.4 โครงการหนวยงานใสสะอาดของกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน (2545) วัตถุประสงค เพื่อพัฒนาจติสํานึกและวัฒนธรรมการทํางาน โดยสงเสริมการยึดถือคุณธรรมตามพระบรมราโชวาท และการยกยองคนด ี

Page 80: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  88

การดําเนินงาน กรมการจัดหางานไดจดัทําแผนกลยทุธหนวยงานใสสะอาด โดยมีการกําหนดกลยทุธหลักและตัวบงช้ีสําหรับการประเมนิผลการดําเนินงานของโครงการ แสดงดังตารางท่ี 2.6 ตารางท่ี 2.6 กลยุทธหลักและตัวบงช้ีตามแผนกลยุทธหนวยงานใสสะอาดของกรมการจัดหางาน

กลยุทธหลัก ตัวบงชี ้1. ระดับความรู ความเขาใจของเจาหนาท่ี 1. สงเสริมใหปฏิบัติราชการตาม พ.ร.บ. วธีิ

ปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539 2. จํานวนกรณีถูกรองเรียน 1. ระดับความรู ความเขาใจของเจาหนาท่ี 2. สงเสริมการยึดถือปฏิบัติตามหลัก 4 ประการ 2. ทัศนคติของประชาชนตอเจาหนาท่ี 1. ระดับความรู ความเขาใจของเจาหนาท่ี 3. สงเสริมการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ขอมูลขาวสาร

ของราชการ พ.ศ. 2540 2. ระดับความพึงพอใจของประชาชน 1. จํานวนเร่ืองที่บุคลากรภายนอกมีสวนรวม 4. เปดโอกาสใหประชาชน องคกรเอกชน

หนวยงานท่ีเกีย่วของมีสวนรวมกําหนดนโยบาย แนวปฏิบัติท่ีสําคัญ

2. จํานวนคร้ังการจัดประชุมกับบุคคลภายนอก

1. ระดับความพึงพอใจของประชาชน 5. สรางจิตสํานึกในการปฏิบัติราชการและใชมาตรการทางวินัยเพื่อสงเสริมความรับผิดชอบตอหนาท่ี

2. จํานวนการรองเรียน

6. รณรงคการใชวัสดุ ครุภณัฑ สาธารณูปโภคอยางประหยัด

1. จํานวนคาใชจายเกีย่วกับวัสดุ ครุภณัฑ และกิจการสาธารณูปโภคลดลง 1. อัตราสวน/รอยละของขาราชการท่ีรูและเขาใจในหลักคุณธรรม 2. อัตราสวน/รอยละของขาราชการท่ีติดตามพระบรมราโชวาท 3. ทัศนคติของประชาชนตอบุคลากรของกรมฯ

7. พัฒนาจิตสํานึกและวัฒนธรรมการทํางาน โดยสงเสริมการยึดถือคุณธรรมตามพระบรมราโชวาทและยกยองคนด ี

4. อัตราสวน/รอยละขาราชการท่ีไดรับการเสนอช่ือเปนขาราชการดีเดน

Page 81: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  89

ตารางท่ี 2.6 (ตอ)

กลยุทธหลัก ตัวบงชี ้1. สัดสวนของสถานท่ีทํางานท่ีดําเนนิกิจกรรม 5ส 2. รอยละของขาราชการท่ีปฏิบัติกิจกรรม 5ส 3. รอยละความพึงพอใจของผูมาติดตอ 4. รอยละคาใชจายดานวัสด ุสาธารณูปโภคท่ีลดลง

8. พัฒนาสภาพแวดลอมทางกายภาพ โดยดําเนินกิจกรรม 5ส รณรงคการใชวสัดุ ครุภัณฑ สาธารณูปโภคอยางคุมคา มีการตรวจสุขภาพประจําป

5. รอยละของขาราชการท่ีตรวจสุขภาพประจําป 1. อัตราสวน/รอยละของขาราชการท่ีมีความรู ความเขาใจตอ พ.ร.บ. ดังกลาว 2. รอยละของขาราชการท่ีถูกรองเรียนจากการไมปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ 3. รอยละของผูใชบริการขอมูลขาวสาร 4. ความรวดเร็วในการใหบริการ

9. ปรับปรุงวิธีการทํางานโดยปฏิบัติ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539 พ.ร.บ. ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหประชาชน องคกรเอกชน หนวยงานท่ีเกีย่วของมีสวนกําหนดแนวทางปฏิบัติราชการท่ีสําคัญ

5. จํานวนบุคคลภายนอกท่ีมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย/แนวทาง และจํานวนคร้ังการประชุม

3.2 การสงเสริมคุณธรรมในภาคเอกชนและภาคประชาชน การสงเสริมคุณธรรมโดยภาคเอกชนและภาคประชาชนมีหลายหนวยงานท่ีไดดําเนินการ เชน 3.2.1 ศูนยสงเสริมการใหและการอาสาชวยเหลือสังคม (ศกอส.) ภายใตการดูแลของสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จึงไดจัดต้ังข้ึนเพื่อใหจิตสํานึกการใหและการอาสาชวยเหลือสังคมไดขับเคล่ือนอยางเปนรูปธรรมในหลากหลายรูปแบบและราบร่ืนบรรลุตามนโยบาย ทางศูนยสงเสริมการใหและการอาสาชวยเหลือสังคม (ศกอส.) ไดริเร่ิมจัดการงานดานขอมูลกิจกรรม ขาว เร่ืองเลาเกี่ยวกับการใหและการอาสาเพ่ือชวยเหลือสังคม (หรือ การทําดี) ข้ึนจากประชาชน หนวยงานและภาคตางๆ และจัดการระบบเช่ือมตอขอมูลระหวางผูใหและผูรับ ผานเว็บไซตของทาง ศกอส. หรือเว็บไซตคนใจดี www.konjaidee.com โดยไดรับการสนับสนุนจากเครือขายจิตอาสา ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม เพื่อใหเกิดเปนรูปธรรมมากข้ึน ศกอส. จึงมี

Page 82: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  90

แผนท่ีทําดีท่ัวประเทศไทย เปนคูมือท่ีรวบรวมขอมูลกิจกรรมการทําดีงาย ๆ ในเขตพื้นท่ีตาง ๆ จากทุกจังหวัดท่ัวประเทศไทย ประกอบดวยเนื้อหากิจกรรมการให (ตัวอยางของการให เชน การบริจาคเงิน โลหิต อวัยวะหรือส่ิงของ) และการอาสาเพ่ือชวยเหลือสังคม ท่ีมีรูปแบบกิจกรรมและประเด็นในการชวยเหลือสังคมที่หลากหลาย พรอมแนะนําสถานท่ีและขอมูลติดตอ เพ่ือใหบุคคลท่ัวไปสามารถนําไปปฏิบัติไดโดยงายและสะดวก ท้ังนี้ทางคณะผูรวบรวมขอมูลจากทางศูนยสงเสริมการใหและการอาสาชวยเหลือ สังคม (ศกอส.) ไดจัดทํา “๘๐ ตนแบบทําดี เพื่อในหลวง” (แผนท่ีทําดี ในพื้นท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ฉบับ พ.ศ. 2550) เพื่อเปนตัวอยางใหแตละหนวยงานนําไปเปนแนวทางในการทํา “แผนท่ีทําดี” ในเขตพื้นท่ีของแตละบุคคล 3.2.2 มูลนิธิศุภนิมิตร

มูลนิธิศุภนิมิตมีโครงการท่ีชวยเหลือสังคมและสงเสริมคุณธรรม เชน 1) โครงการอุปการะเด็ก การอุปการะเด็ก คือการเขาสูสายสัมพันธแหงความ

เอ้ืออาทร ผูท่ีอุปการะเด็กจะสุขใจ ปลาบปล้ืมยินดีท่ีไดฟูมฟก การพัฒนาของเด็กเล็กๆ คนหนึ่งใหเติบโตข้ึนเปนคนดีของสังคม ซ่ึงใชเวลายาวนานติดตอกันหลายป การดูแลและความหวงใยท่ีเสียสละ นอกจากจะไปถึงเด็กท่ีอุปการะแลว ครอบครัวของเด็ก และชุมชนท่ีเด็กอาศัยอยู ยังไดรับการเปล่ียนแปลงชีวิต ไดเรียนรูการพึ่งตนเอง ไดรับการพัฒนาอยางยั่งยืนในอนาคต และยังมีสวนรวมจุดประกายความหวัง เปนกําลังใจใหเด็กเหลานั้นตอสูกับความยากจน กอใหเกิดความรัก ความผูกพันและสันติสุขในสังคม ในสังคมไทยยังมีเด็กยากไรดอยโอกาสอยูอีกเปนจํานวนมาก ท่ีกําลังรอคอย "ผูอุปการะ" แบงปนน้ําใจใหอนาคตของเด็กเหลานั้นไดมีความหวัง โดยโครงการอุปการะเด็กจะมุงเนนการใหความชวยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กยากไร ใหไดรับการศึกษาอยางตอเนื่อง ไดรับการดูแลสุขภาพอนามัย มีอาหารเพียงพอและถูกสุขลักษณะ รวมทั้งพัฒนาอาชีพของครอบครัวและชุมชนใหมีรายไดเพิ่มจนสามารถพึ่งพาตนเองไดในท่ีสุด การบริจาคดวยเงินบริจาคเพียงวันละ 15 บาท หรือ 450 บาท อยางตอเนื่องทุกๆ เดือนจากผูอุปการะ จะนําการเปล่ียนแปลงไปสูชีวิตเด็กยากไรหนึ่งคน พรอมท้ังครอบครัวและชุมชนของเด็ก

2) โครงการอาหารกลางวัน เปนการรับบริจาคจากผูมีจิตเมตตา ผานกลอง "อาหารกลางวันของหนู" เพื่อสมทบทุนชวยเหลือในกิจกรรมการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันแกโรงเรียนท่ีขาดแคลนเงินบริจาคท่ีมูลนิธิศุภนิมิตฯ ไดรับบริจาคผาน "โครงการอาหารกลางวัน" นั้น มูลนิธิฯ จะพิจารณาใหการสนับสนุนโรงเรียนชนบทที่ยากไรและขาดแคลน ใหจัดทําโครงการการเกษตรเพ่ือ

Page 83: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  91

3.2.3 บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพีเอฟ) บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ ตระหนักอยูเสมอวา บริษัทฯ ไดรับโอกาสและแรง

สนับสนุนในการดําเนินธุรกิจจากประเทศชาติและสังคม หนาท่ีประการหน่ึงของบริษัท คือจะตองสนับสนุนกิจกรรมอันเปนประโยชนตอสาธารณชน และธํารงไวซ่ึงสถาบันพระมหากษัตริย รวมทั้งในภาวะท่ีเกิดภัยพิบัติในทุกๆ คร้ังๆ ซีพีเอฟยังไดเขาไปชวยเหลือเปนการเรงดวน เพื่อลดผลกระทบตอพี่นองประชาชนผูประสบภัยใหไดมากท่ีสุด นอกจากนี้ซีพีเอฟยังมีการจัดจําหนายผลิตภัณฑ อาหารในราคาพิเศษ เพื่อลดทอนผลกระทบของผูบริโภคอันเนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจ ท้ังนี้ ซีพีเอฟยังมุงเนนท่ีจะตอบแทนประเทศชาติและสังคมไทยตอไป ซ่ึงกิจกรรมสาธารณประโยชนท่ีดําเนินการ อาทิ การใหความชวยเหลือผูประสบภัยยามเกิดภัยพิบัติ ในยามท่ีคนไทยตองประสบภัยพิบัติ เชน สึนามิ อุทกภัย หรือภัยธรรมชาติรายแรงอ่ืนๆ ซีพีเอฟในฐานะผูผลิต อาหารของโลก ไดนําอาหารเขาไปชวยเหลือผูประสบภัยดวยความเต็มใจและดวยความรวดเร็ว ดวยความพรอม ดานสํานักงานสาขาท่ีมีอยูท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งภัยพิบัติ คร้ังท่ีรายแรงท่ีสุด คือ เหตุการณสึนามิ เม่ือป 2547 ซีพีเอฟไดนําอาหารเขาชวยเหลือผูประสบภัยอยางเรงดวน และถือเปนรายแรก ท่ีเขาไปถึงพื้นท่ีประสบภัย โดยมีมูลคารวมกวา 15 ลานบาท รวมทั้งการใหความชวยเหลือในเหตุการณ อุทกภัยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต อุทกภัยใน จ.เพชรบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ และอุทกภัยในภาคเหนือ นอกจากนั้นยังมีการสนับสนุนกิจกรรมคายอาสาพัฒนาชนบทของนิสิต นักศึกษา ซีพีเอฟใหการสนับสนุนการออกคายอาสาพัฒนาชนบทของนิสิตนักศึกษาจากหลายสถาบัน อาทิ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ฯลฯ และยังใหการสนับสนุนผลิตภัณฑอาหารในวันเด็กแหงชาติ แกสถาบันหรือชุมชนตางๆ โดยใหการสนับสนุนเปนอยางดี มาตลอด ตั้งแตป 2544 จนถึงปจจุบัน

3.2.4 โครงการพระดาบส แนวความคิดในการดําเนินงานโครงการพระดาบส การดําเนินงานตาม

โครงการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระราชประสงคจะไมจัดเปนรูปแบบงานธุรกิจ โดยใหจัดเปนรูปแบบการศึกษานอกระบบและงานสาธารณกุศลอยางแทจริง ดังน้ัน หากผูใดมีความต้ังใจจริงท่ี

Page 84: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  92

ผูท่ีจะสมัครเขารับการฝกอบรมตามโครงการน้ีไมมีขอจํากัดเร่ือง เพศ วัย และ

คุณวุฒิ ขอเพียงใหอานออกเขียนบวก ลบ คูณ หารได และมีความต้ังใจศรัทธาอยากไดความรูเปนวิชาชีพใสตนเทานั้น โดยปกติจะพิจารณาคัดเลือกผูท่ีมาจากครอบครัวท่ียากจนมีปญหาชีวิต ประจําวัน ขาดแคลนทุนทรัพยและความรูพื้นฐานท่ีจะเขาศึกษาตอในสถาบันการศึกษาวิชาชีพระดับตางๆ ได ถาปลอยไวจะเสียอนาคต เกิดเปนปญหาแกสังคมสวนรวม เชน ติดยาเสพติด เปนอาชญากร ฯลฯ นอกจากนี้ทาง มูลนิธิฯ ยังยินดีชวยเหลือฝกอบรม ใหแก ขาราชการ ทหาร ตํารวจ พลเรือน ซ่ึงทุพพลภาพในการปฏิบัติหนาท่ีปองกัน ประเทศชาติท่ีสามารถชวยตัวเองไดพอสมควร

ผูท่ีจะอาสาสมัครเปนพระดาบสชวยสอน โดยเสด็จพระราชกุศลตามโครงการน้ี จะตองมีคุณลักษณะพิเศษประจําตัว คือ มีจิตใจเปยมไปดวยเมตตากรุณาท้ังศรัทธาท่ีจะเสียสละถายทอดความรู ประสบการณของตนเองใหเปนวิทยาทานโดยไมหวังผลตอบแทนใดๆ ท้ังส้ิน หากบุคคลใดมีจิตศรัทธาท่ีจะถายทอดความรู ประสบการณของตนในสาขาวิชาการตางๆ เปนวิทยาทาน โดยเสด็จพระราชกุศลตามโครงการน้ี อาจดําเนินการดวยตนเองเปนเอกเทศ ณ บานพักของตนเอง หรือสถานท่ีแหงหนึ่งแหงใดก็ได โดยไมจําเปนตองมาทําการสอนท่ีมูลนิธิพระดาบสเสมอไป เพราะการปฏิบัติทํานองนี้ยอมบังเกิดกุศล เปนการสงเสริมบารมีแก ตนเอง และถือไดวาเปนการสนองกระแสพระราชดําริและโดยเสด็จพระราชกุศลเชนกัน โครงการพระดาบสนี้ไดเร่ิมดําเนินการมาต้ังแตป พ.ศ. 2518 จนถึงปจจุบัน โรงเรียนผูใหญพระดาบสไดทําการสอนวิชาชีพ แขนงตางๆ ไปแลว ไดแก หลักสูตรเตรียมชาง ใชระยะเวลาการศึกษา 3 เดือน หลักสูตรชางไฟฟากําลัง ใชระยะเวลาการ ศึกษา 1 ป หลักสูตรชางประปาภายในอาคาร และชางเคร่ืองสุขภัณฑ ใชระยะเวลาการศึกษา 9 เดือน และหลักสูตรพนักงาน ขับรถ ใชระยะเวลาการศึกษา 5 เดือน มีผูท่ีผานหลักสูตรดังกลาวสามารถออกไปประกอบอาชีพไดตามแนวกระแสพระราชดําริ จํานวน 632 คน ในจํานวนนี้ เปนผูท่ีไดเขารับการอบรมครบถวนตามหัวขอวิชา และช่ัวโมงเรียนตามท่ีไดกําหนดไวในหลักสูตร คือ หลักสูตรชางไฟฟาวิทยุโทรทัศน และหลักสูตรชางเคร่ืองยนต จํานวน 232 คน อนึ่ง เม่ือป พ.ศ. 2533 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหโรงเรียนชางฝมือมักกะสัน การรถไฟแหงประเทศไทยเปล่ียนช่ือเปน โรงเรียนชางฝมือพระดาบส การรถไฟแหงประเทศไทย โดยจะทําการฝกอบรมบุตร หลานของพนักงานรถไฟใหเปนชางฝมือเจริญรอยตามแนวกระแสพระราชดําริเกี่ยวกับโครงการพระดาบส

Page 85: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  93

3.2.5 บริษัทปนูซีเมนตไทย จํากัด บริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด ไดจัดทําโครงการท่ีชวยพัฒนาสังคม เชน 1) โครงการพัฒนาชุมชนรอบโรงงาน บริษัทฯ มีเจตนารมณอันแนวแนและ

จริงใจ ท่ีจะรวมกับชุมชนทองถ่ินในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเปนอยูของชุมชนรอบโรงงานใหดียิ่งข้ึน ดวยการรับพนักงานทองถ่ิน การสนับสนุนและชวยเหลือกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป พรอมกับงบประมาณท่ีเพิ่มข้ึนทุกป โดยผานโครงการชุมชนสัมพันธ ซ่ึงแบงเปน 5 สาขาหลัก ดังนี้

1.1) สาขาส่ิงแวดลอมและสาธารณสุข เชน การออกหนวยแพทยเคล่ือนท่ี การรวมปลูกปากับชุมชน

1.2) สาขาสาธารณประโยชน เชน การสรางศาลาพักรอน การมอบกระถางปลูกตนไม

1.3) สาขาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เชน การรวมงานประเพณีทองถ่ิน

1.4) สาขาพัฒนาอาชีพ เชน การฝกอาชีพเสริมใหกับพอบาน แมบาน 1.5) สาขากิจกรรมพิเศษ เชน การนําผูนําชุมชนทองถ่ินเยีย่มชมโรงงาน การ

แขงขันกฬีาเช่ือมความสัมพันธ 2) โครงการปูนเสือเพื่อเมืองไทย บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการมี

สวนรวมพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมใหดีข้ึน จึงสนับสนุนกิจกรรมเพ่ือสังคมอยางจริงจังและตอเนื่องเสมอมา ภายใตโครงการ "ปูนเสือเพ่ือเมืองไทย" โดยสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนในระดับประเทศ เชน

Page 86: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  94

2.1) การชวยเหลือและบรรเทาทุกข ผูประสบภัยธรรมชาติตางๆ เชน อุทกภัย ภัยแลง อัคคีภัย และภัยหนาว มุงชวยเหลือประชาชนในพ้ืนท่ีท่ีไดรับความเดือดรอน และยังขาดความชวยเหลือจากหนวยงานอ่ืน

2.2) การสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมประเพณีทองถ่ินและอนุรักษกีฬาไทย เชน สนับสนุนและอนุรักษศิลปะแมไมมวยไทย โดยจัด "ศึกชิงแชมปสุดยอดมวยไทย พันธุแทปูนเสือ" หรือการสงเสริมพัฒนากีฬาเซปกตะกรอเพ่ือคนหานักกีฬาระดับประเทศ

3.2.6 บริษัท อังกฤษตรางู (แอล.พี.) จํากัด 1) โครงการ “เซนลุกซจีเนียส” บริษัทฯ รวมกับ มูลนิธิวองวานิช มุงม่ันต้ังใจ

พัฒนาสังคมดวยการเปนสวนหนึ่งในการเสริมสรางเยาวชนใหรูจักใชสติ และสมาธิ พรอมท้ังสามารถนํามาปรับใชในชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี ดวยการเปดอบรมสมาธิสําหรับเยาวชนท่ีมีอายุ 8-12 ป กับโครงการ “เซนลุกซจีเนียส” (St. Luke’s Genius) โครงการท่ีเนนการพัฒนาเยาวชนสูการเปนผูนําเร่ิมเปดการสอนต้ังแตป 2543 จัดอบรมปละ 3 รุน เพื่อเปนการคืนกําไรใหกับสังคม โดยมีวัตถุประสงค (1) เพื่อเสริมสรางใหเยาวชนรูจักใชสติ และสมาธิ ในการดํารงชีวิตประจําวัน (2) เพื่อเสริมสรางทักษะการเรียนรู การคิดอยางมีระบบข้ันตอน 3) เพื่อมุงเนนการพัฒนาเยาวชนสูการเปนผูนํา ผลท่ีคาดวาจะไดรับ คือ (1) ทําใหผูเขารับการอบรมเกิดทักษะในดานความคิด ความจํา ความอดทน และความพยายาม อันจะสงผลตอการแสดงออกทางพฤติกรรมท่ีดีข้ึน (2) ทําใหผูเขารับการอบรมมีความกตัญูกตเวทีตอบิดามารดา และผูมีพระคุณ (3) ทําใหผูเขารับการอบรมเกิดความมั่นใจในตนเอง กลาแสดงออกในทางท่ีเหมาะสม (4) ใชหลักธรรมเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต

2) โครงการอบรม “พัฒนาจิต” เปดการอบรมหลักสูตร “พัฒนาจิต” สําหรับพนักงานและประชาชนท่ัวไป อายุ 15-45 ป โดยวัตถุประสงค 1) เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจในเร่ืองสติ สมาธิ และสามารถนํามาปรับใชในชีวิตประจําวันและการทํางาน 2) เพ่ือเสริมสรางความรูความเขาใจในเร่ืองพระพุทธศาสนา กฎแหงกรรม ความกตัญูกตเวที โดยดําเนินการการปฏิบัติธรรม การสวดมนต ไหวพระ เดินจงกรม อริยาบถกับสติ การสมาทานศีล การบริหารกายดวยสติ ธรรมะรับอรุณ การชมวีซีดีการบรรยายเร่ือง “ภพภูมิ” การฟงบรรยายเร่ือง “พระในบาน” ระยะเวลาในการอบรม คือ 2 คืน 3 วัน และ 3 คืน 4 วัน

3.2.7 บริษัท เอ็มดีเค คอนซัลแทนล (ประเทศไทย) จํากัด บริษัทมีการจดักิจกรรมเพื่อสงเสริมคุณธรรมโดยการจัดเสวนาธรรมเปนประจํา

ทุกสัปดาห เชน เสวนาธรรม เร่ือง “การพัฒนาจิตดวยการเจริญสติ ” เสวนาธรรม เร่ือง “ธรรมะกับชีวิต” เสวนา เร่ือง “การปรับสมดุลกายและจิตดวยวิถีธรรมชาติ”

Page 87: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  95

3.2.8 โครงการคนดีศรีสังคมของมูลนิธิหมูบาน (2550) มูลนิธิหมูบานรวมกับมูลนิธิหนังสือพิมพไทยรัฐ โดยการสนับสนุนของบริษัท

มรกตอินดัสตรีสจํากัด ไดจัดทําโครงการคนดีศรีสังคม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาระบบการยอมรับคุณคา และสงเสริมผูท่ีทํางานดวยความเสียสละเพ่ือสังคม สวนรวม เปนกําลังใจใหพวกเขาทําดวยคุณธรรมยิ่ง ๆ ข้ึน เพื่อเปนแรงบันดาลใจใหคนอ่ืนนําเปนแบบอยาง 2) คนหา คนดีท่ีมีอยูในสังคมท่ียังไมเปนท่ีรูจัก หรือรูจักกันในวงแคบ เปรียบเสมือนเพชรในตม และเผยแพรคุณธรรม ความรู ประสบการณของพวกเขาสูสังคมวงกวาง และ 3) สงเสริมบทบาทและขยายผลจากประสบการณ ความรู ความสามารถของคนดีศรีสังคมใหสงผลตอการพัฒนาสังคมอยางกวางขวาง

การดําเนินงาน การสรรหา/คัดเลือกคนดีศรีสังคมจะมีคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลจากแตละภาค ภาคละ 1 คน ปละ 4 คน และไดมีการประกาศเกียรติคุณบุคคลเหลานั้นมาต้ังแตป พ.ศ. 2532 จนถึงปจจุบันและในปจจุบันมีคนดีศรีสังคมจํานวนทั้งส้ิน 52 คน สําหรับเกณฑท่ีใชในการสรรหา/คัดเลือกคนดีศรีสังคม มีดังนี้

1. เปนผูท่ีอยูในชุมชนเกษตรกร พระสงฆ ครู ผูนําชุมชน ไมจํากัดเพศและวัย 2. เปนคนดีมีคุณธรรม มีความรู ความสามารถในวิชาชีพตาง ๆ มีผลงานดาน

การพัฒนาทองถ่ินของตน และไดรับการยอมรับจากชาวบานท่ัวไป 3. เปนคนเสียสละ ทํางานเพ่ือสวนรวม เปนแบบอยางท่ีดีของชาวบานท่ัวไป 4. มีประสบการณทํางานดีเดน มีเอกลักษณ และเปนตัวของตัวเอง

4. การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในตางประเทศ ในแตละประเทศไดมีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในรูปแบบตาง ๆ ท่ีหลากหลาย ดังรายละเอียดตอไปนี้ (สุรศักดิ์ หลาบมาลา และ รสสุคนธ มกรมณี , 2549 ; เจือจันทร จงสถิตอยู และรุงเรือง สุขาภิรมย, 2550) 4.1 ญ่ีปุน มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี ้ 4.1.1 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในสมัยตางๆ ประกอบดวยบูชิโดในสมัยเอโดะ ชูชินในสมัยชาตินิยม และจริยศึกษาสมัยประชาธิปไตยท่ีจัดในโรงเรียน โดยมีหลักสูตรดานคุณธรรมจริยธรรมระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาซ่ึงไดกําหนดคานิยมไวหลายประการ 4.1.2. การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในระดับรัฐบาล ประกอบดวยการ สงเสริมใหเด็กดําเนินชีวิตอยางมีความสุข (The Zest for Living) การเผยแพรหนังสือเกี่ยวกับศีลธรรมท่ีมุงใหเด็กไดมีโอกาสคิดและมีความเขาใจเชิงลึกเกี่ยวกับศีลธรรมและคานิยมของตนเอง รวมทั้ง

Page 88: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  96

4.1.3 การสงเสริมการเรียนรู คุณธรรมจริยธรรมในระดับโรงเรียนประกอบดวยการสอนจริยศึกษาเปนวิชาอิสระ การสอนจริยศึกษาแทรกในวิชาอ่ืน การสอน จริยศึกษาในกิจกรรมพิเศษและการสอนจริยศึกษาในกิจกรรมประจําวนั 4.2 สิงคโปร มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.2.1 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมระดับรัฐบาล มีหลักสูตรการศึกษาท่ีกําหนดคุณลักษณะของแรงงานท่ีพึงประสงค 3 ประการคือ ผูเรียนรู ผูสรางสรรค และผูส่ือสาร ซ่ึงจะเกิดข้ึนไดดวยการพัฒนาดานคานิยม ความรับผิดชอบตอสังคม และบุคลิกภาพ ซ่ึงโดยภาพรวมจะเปนการจัดการเรียนการสอนวิชาหนาท่ีพลเมืองและจริยศึกษา 4.2.2 โครงการสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรม มีการนํากิจกรรมของโครงการคานิยมศึกษาเพื่อการดําเนินชีวิต ซ่ึงออกแบบสําหรับพัฒนาคานิยมสวนบุคคลและคานิยมสวนรวมจํานวน 12 รายการไปใชในการพัฒนาคานิยมศึกษาใหแกเด็กในโรงเรียนและบุคคลท่ัวไป ซ่ึงรูปแบบกิจกรรมท่ีใช ไดแก การวาดมโนภาพ การสะทอนความคิด การสงบเงียบ/ ผอนคลาย 4.3 เกาหลี มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี ้ 4.3.1 ผูนําประเทศใชกุศโลบายที่ดีที่ใชกระบวนการทางสังคมควบคูไปกับกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ ไดแก การใหความสําคัญท่ีฐานรากของสังคม คือ สถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษาท่ียังถายทอดคําสอนของขงจ้ือโดยเฉพาะอยางยิ่งการรูจักหนาท่ี การเคารพผูอาวุโส ความกตัญู ควบคูไปกับการปลูกฝงคุณลักษณะท่ีจําเปนในการทํางานและดํารงชีวิตในโลกการเปล่ียนแปลง การดําเนินงานตามโครงการแซมาอึลวุนดง เปนอีกหนึ่งกุศโลบายในการพัฒนาชนบทเพื่อแกปญหาความยากจน โดยเนนใหชาวบานเช่ือม่ันในอนาคตวา สามารถอยูดีกินดีได ถามานะ พากเพียร ขยันทํางานและรวมมือกันดี มีจิตใจพ่ึงตนเอง แทนท่ีจะอาศัยแตชะตากรรม โครงการนี้เปนขบวนการทางสังคมระดับชาติท่ีรวมพลังขนาดใหญจากทุกภาคสวนตั้งแตระดับชาติจนถึงหมูบาน การเปล่ียนวิธีคิดใชกระบวนการฝกอบรมที่มุงปลูกฝงจริยธรรมในการทํางาน คือ ความขยันหม่ันเพียร การชวยตนเองและความรวมมือ ซ่ึงเปนปรัชญาหลัก จนโครงการนี้ประสบความสําเร็จเปนอยางดี 4.3.2 การอบรมเล้ียงดูสมาชิกในครอบครัวเปนลักษณะพิเศษเฉพาะท่ีเปนอัตลักษณหนึ่งของเกาหลี แมโครงสรางสังคมของเกาหลีจะเปล่ียนแปลงไป ภาวะเศรษฐกิจท่ีทําใหสตรีท่ีแตงงานไปแลวและมีลูกตองออกไปทํางานนอกบานยังคงใหความสําคัญในการดูแลลูกอยางใกลชิด

Page 89: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  97

4.3.3 การปฏิรูปการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพของประชากรใหเตรียมรับกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ไมไดละเลยการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมควบคูไปดวย เปนการพัฒนาเยาวชนเกาหลีใหเปนคนท่ีมีคุณภาพพรอมท่ีจะพัฒนาประเทศ ในการจัดหลักสูตรใหมมีการระบุลักษณะคุณธรรมจริยธรรมที่ตองปลูกฝงแกเด็กและเยาวชนอยางชัดเจน ตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา และแมกระท่ังการศึกษาผูใหญยังเพิ่มการเรียนรูเร่ืองหนาท่ีพลเมืองดวย การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในระดับโรงเรียน เปนการจัดการเรียนรู จริยศึกษาใหเปนวิชาอิสระโดยใชช่ือวิชาวาชีวิตท่ีถูกตองจริยธรรมจริยศาสตร มีการกําหนดวัตถุประสงคและเนื้อหาของแตละระดับช้ันอยางชัดเจน ครอบคลุมจริยธรรมในวิถีชีวิต 5 ดาน สาระการเรียนรูในแตละดานของแตละระดับช้ันมีการระบุไวอยางชัดเจนเชนกัน รวมทั้งแนวการสอนและการประเมินผล การจัดการเรียนการสอนมีท้ังการสอนในระดับหองเรียนท่ีใหมีการอภิปรายเนนการหาเหตุหาผลในการประพฤติตนเปนคนดีตามหลักจริยธรรมและการสอนท่ีใหผูเรียนไดเรียนรูจากสถานการณและส่ิงแวดลอมท่ีเปนจริง ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีไมไดกําหนดไวเปนทางการ 4.3.4 การฝกหัดครูและการพัฒนาครูจริยศึกษา มีการพัฒนาครูจริยศึกษาประจําการ 3 ลักษณะ คือโปรแกรมจัดโดยสถาบันการศึกษา โปรแกรมจัดโดยโรงเรียน และโปรแกรมท่ีครูเลือกศึกษาเอง 4.3.5 การมีสวนรวมในสังคมในระดับตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากโครงการเซมา อึลวุนดงประสบความสําเร็จเพราะการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ตั้งแตในชนบทจนถึงระดับชาติ นอกจากนี้ยังมีสวนรวมจากส่ือมวลชนที่ชวยเผยแพรประชาสัมพันธความสําคัญของการศึกษาท่ีบาน การลดการเสนอขาวความรุนแรง และการมีสวนรวมอยางไมเปนทางการ เชน ผูอาวุโสชวยอบรมวากลาว ตักเตือนเด็กในสังคม หรือการรวมตัวประทวงหนวยงานเม่ือเห็นวามีการดําเนินงานไมถูกตอง 4.4 ออสเตรเลีย มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.4.1 หลักปฏิบัติดานจริยธรรมสําหรับครู มีการเสนอหลักการ 20 ขออาทิ เปนผูใหแรงบันดาลใจกระตุนและเสนอส่ิงท่ีถูกตอง เปนแบบอยางท่ีสะทอนใหผูเรียนเห็นคุณลักษณะท่ีดีงามปฏิบัติตอผูเรียนอยางยุติธรรมและเสมอภาค เปนตนแบบคุณลักษณะหนาท่ีพลเมืองแบบประชาธิปไตยใหแกผูเรียน เปนตน 4.4.2 วิธีสอนคานิยมในมิติดานหลักสูตร มีแนวโนมวาการศึกษาไมยุงเกี่ยวกับศาสนาและเนนคานิยมท่ีเปนกลาง จึงกําหนดคานิยมหลักสําหรับบุคคลและสังคมใหโรงเรียนและครูนําไปปฏิบัติ 3 ดานคือความตั้งใจสวนบุคคลดานการศึกษา หลักคุณธรรมสวนบุคคลและจิตสํานึกความเปนพลเมือง มีการทดลองสอนโดยใชวิธีการสอดแทรกโดยตรงเขาไปในหลักสูตรในฐานะโปรแกรมคานิยมศึกษาอยางเปนทางการ ผลปรากฏวาท้ังครูและนักเรียนมีการปล่ียนแปลง คานิยมไปในทิศทางท่ี ตองการอยางมีนัยสําคัญ

Page 90: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  98

4.4.3 การสงเสริมการเรียนรูสันติศึกษา มีการจัดประชุมสัมมนาเร่ืองการปลูกฝง ปญญาพัฒนาสันติซ่ึงใหขอสรุปวาคานิยม คุณธรรม และหลักการทางจริยศาสตร ซ่ึงจรรโลงและ สรางสันติ สามารถกล่ันกรองออกมาไดจากหลากหลายความเช่ือ วัฒนธรรมและอารยธรรม ซ่ึงความดีงามเหลานี้ควรนํามาบูรณาการเปนศาสตรใหมท่ีเรียกการศึกษาเพื่อวัฒนธรรมแหงสันติ พรอมท้ังจัดทําขอเสนอแนะเพ่ือสงเสริมการดําเนินงานดานสันติศึกษา 4.5 นิวซีแลนด มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.5.1 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในยุคตาง ๆ มีระบบการศึกษาเปน อิสระจากศาสนา แตมีการสอนคุณธรรมโดยกําหนดคุณธรรมหรือคานิยมไวในหลักสูตรท่ีจะตองสอนการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมระหวาง ค.ศ.1970–1990 เรียกวา คานิยมศึกษา มีการจัดพิมพหนังสือวา ดวยคานิยมศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรท่ีเนนคานิยมความเทาเทียมทางเพศและเช้ือชาติ สวนในยุค 2000 มีการกําหนดคานิยมศึกษาไวในวิชาสังคมศึกษาและวิชาสุขศึกษา 4.5.2 โครงการเกี่ยวกับคานิยมศึกษา ไดแก โครงการคุณธรรม มีสาระเก่ียวกับภาษาคา นิยม เวลาท่ีควรจะสอนคานิยม ขอบเขตของคานิยมแตละรายการ 4.5.3 โครงการสงเสริมการเรียนรูคานิยมพื้นฐาน มีการจัดทําโครงการริเร่ิมการเรียนรูคานิยมพื้นฐานของนิวซีแลนด 2005 ซ่ึงผูจัดทําหวังวาโรงเรียนและชุมชนจะรับไปปฏิบัติดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาดานคานิยมของนิวซีแลนด ซ่ึงกอต้ังข้ึนเม่ือ ค.ศ.1993 เพื่อใหทุนในการเตรียมการพิมพ และสงเสริมหลักสูตรการศึกษาดานคานิยม 4.5.4 หลักสูตรคานิยมศึกษา มีการจัดพิมพคูมือการนําหลักสูตรไปปฏิบัติและแนวทางการสอนคานิยมพื้นฐาน จัดทําขอตกลงเบ้ืองตน นิยามศัพท และกรอบของคานิยมพื้นฐาน 8 ประการสําหรับเปนแนวปฏิบัติกําหนดใหคานิยมศึกษาเปนสวนประกอบของหลักสูตรในนิวซีแลนด โดยมีเปาหมาย 2 ประการคือสรางบุคลิกภาพโดยการสอนคานิยมพื้นฐานและพัฒนาความสามารถในการรับรูและปฏิบัติตามคานิยมพื้นฐาน 4.5.5 การใชหลักสูตรคานิยมศึกษาในโรงเรียน สามารถประยุกตใชกับผูเรียนทุกระดับปรัชญาและหลักการของคานิยมมีความคงท่ี แตวิธีการและแหลงการเรียนรูตองปรับใหเหมาะกับอายุของผูเรียน คานิยมพื้นฐาน 8 ประการแตละหัวขอในหลักสูตร จะประกอบดวย 3 ตอน คือ ความรูความเขาใจจริยธรรม ความรูสึกจริยธรรม และพฤติกรรมจริยธรรม 4.5.6 วิธีสอนคานิยมพื้นฐานใหแกลูกและเปนบุคคลที่ทําได ดีที่ สุดด วย เนนวาผูปกครองเปนครูคนแรกและสําคัญท่ีสุดในการสอนคานิยม แตโรงเรียนก็มีบทบาทสําคัญ เชนกัน วิธีการสอนท่ีดีท่ีสุดในโรงเรียนคือ การใหหลักการ นิสัยและตัวอยางท่ีเห็นเปนปกติวิสัย ดวยเหตุนี้คานิยมศึกษาจึงจัดแบบสอดแทรกเขาไปในหลักสูตรท่ีมีอยูแลว หัวใจของการสอนคานิยมพืน้ฐานคือวรรณกรรม สวนวิธีสอนคานิยมพื้นฐานมี 2 ลักษณะคือ การสอนใหสัมผัสรูอยางต้ังใจและการสอน

Page 91: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  99

4.6 อังกฤษ มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี ้ 4.6.1 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานไมมีวิชาเฉพาะเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม แตเปาหมายการเรียนรูของแตละวิชามีสวนเกี่ยวของกับการ สงเสริมคุณธรรมจริยธรรม 4.6.2 การสอนศาสนศึกษาและจริยศึกษาเปนวิชาบังคับในสกอตแลนด กําหนดใหศาสนศึกษาและจริยศึกษาเปน 1 ใน 5 สาขาวิชาของหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จัดทําแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการสอนเพื่อชวยครูใหสามารถจัดการเรียนการสอนวิชาน้ีไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.6.3 มีโครงการ Electronic Media and Religion: ELMAR ซ่ึงประกอบดวยโครงการยอย 4 โครงการ คือ โครงการสําหรับสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนศาสนศึกษาและ จริยศึกษาในโรงเรียนโครงการสําหรับสนับสนุนการศึกษาวิชาการดานปรัชญา เทววิทยาและศาสนา โครงการสําหรับสนับสนุนชุมชนศาสนจักรและการศึกษาคริสตศาสนา โครงการสําหรับสนับสนุนการศึกษาเกี่ยวกับศาสนาและสุขภาพ 4.6.4 มีโครงการ Religious Education Exchange Service: RE-XS มีจุดมุงหมายในการสนับสนุนการสอนและการเรียนรู ศาสนศึกษาและจริยศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ชวยการศึกษาคนควาตามความตองการของครูและนักเรียน โดยสรางแหลงทรัพยากรการเรียนรูออนไลนและรวบรวมส่ือตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับศาสนศึกษาและจริยศึกษาไวใหมีการออกแบบใหครูและนักเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธตอกันได แมจะแตกตางกันในดานสถานท่ี วัฒนธรรมและภูมิหลังทางศาสนา 4.7 เดนมารก มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.7.1 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมระดับชาติ มีกําหนดในรัฐธรรมนูญให Evangelical Lutheran เปนศาสนจักรแหงชาติและไดรับการสนับสนุนจากรัฐมีขอกําหนดใหพระมหากษัตริยเปนสมาชิกของศาสนจักร สวนประชาชนท่ัวไปเปนสมาชิกโดยสมัครใจ มีการออกกฎหมายใหความคุมครองตอการปฏิบัติตามวันถือศีลอดของศาสนา และมีการสนับสนุนงบประมาณแผนดินใหแกศาสนจักร 5% ท้ังอนุญาตใหศาสนจักรสามารถเก็บเงินคาบํารุงจากสมาชิกดวย 4.7.2 การสอนศาสนศึกษาเปนวิชาบังคับ มีการกําหนดในหลักสูตรใหวิชาศาสนาศึกษา เปนวิชาบังคับท่ีตองเรียนสัปดาหละ 1 บทเรียน (45 นาที) ตลอด 9 ปของการศึกษาภาคบังคับ แตรัฐก็อนุญาตใหพอแมเลือกไดวาตองการใหลูกเรียนหรือไมโดยแสดงขอพิสูจนวามีความเช่ือท่ี แตกตางออกไป 4.7.3 มุมมองเก่ียวกับการสอนคานิยมศึกษาใหเยาวชน มีการเสนอใหสอนคานิยมศึกษาใน

Page 92: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  100

4.8 สวิตเซอรแลนด มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี ้ 4.8.1 ชาวสวิสเช่ือวา พอแมมีสวนสําคัญท่ีสุดในการอบรมเล้ียงดูบุตรท่ีไมมีใครทดแทนได โดยเฉพาะบทบาทของความเปนแม ซ่ึงมีสายใยผูกพันกับลูกตามธรรมชาติ และความรูสึกดานคุณธรรมจะกอเกิดข้ึนในตัวเด็ก ถาไดรับการตอบสนองความตองการจากแมดวยบรรยากาศท่ีรูสึกไดถึงความรักความปลอดภัย ดังนั้น เม่ือมีบุตร ฝายหญิงสวนใหญจึงลาออกจากงานเพ่ือทําหนาท่ีแมบานเต็มเวลา ซ่ึงถือวาเปนการเสียสละอยางมาก แมจะทําหนาท่ีเปนครูของลูก ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหเกิดกับตัวลูกดวยวิถีชีวิตความเปนอยูประจําวัน 4.8.2 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนไมมีวิชาศาสนศึกษาหรือ วิชาดานคุณธรรมจริยธรรมเปนวิชาเฉพาะ แตกฎหมายการศึกษาภาคบังคับโดยภาพรวมจะใหความสําคัญตอคุณธรรมจริยธรรมโดยระบุใหโรงเรียนสงเสริมการพัฒนาดานจิตวิญญาณ ศาสนา เสรีภาพ ความเชื่อ จิตสํานึกและขันติ การเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนของรัฐจึงเปนแบบบูรณาการ เขาไปในรายวิชาตาง ๆ อยางไรก็ตามในโรงเรียนท่ีเปดเสรีหรือโรงเรียนของกลุม ศาสนา จะมีการสอนวิชาท่ีเกี่ยวกับศาสนาดวย 4.8.3 การเรียนรูคานิยมจากบทเรียนทางอินเทอรเน็ตสําหรับเยาวชนมีการออกแบบและจัดทําบทเรียนออนไลนเร่ืองวัฒนธรรมเยาวชนข้ึน เพื่อเปนส่ือการเรียนการสอนทางอินเทอรเน็ต ใหครูใชกับผูเรียนอายุระหวาง 16-20 ป ในการสรางคานิยม คุณธรรมจริยธรรม และทัศนคติของแตละคน โดยเนนใหเยาวชนคิดวิเคราะหหาเหตุผล หาหนทางและตัดสินใจดวยตนเองโดยสรางโอกาสใหเยาวชนไดเปรียบเทียบทัศนคติและคานิยมกับผูอ่ืน ชวยใหมีการอภิปรายประเด็นตางๆ อยางสรางสรรคเพื่อนําไปสูการตัดสินใจเลือกส่ิงท่ีเหมาะสมกับตนเอง 4.8.4 การพัฒนาการสอนหนาท่ีพลเมืองศึกษาในโรงเรียน เนนการเรียนการสอนเกี่ยวกับหนาท่ีพลเมืองศึกษา ซ่ึงมีการจัดในโรงเรียนต้ังแตระดับปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาและการ ฝกหัดครูอยางตอเนื่องมานาน โดยเรียกช่ือวิชาแตกตางกันไปตามยุคสมัย ขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาการสอนหนาท่ีพลเมืองศึกษามี 4 ประการคือ สงเสริมความมีขันติและมีใจกวาง นําเสนอส่ิงท่ีเปนประเด็นขัดแยงในสังคม เนนการมีสวนรวมทางการเมืองอยางตอเนื่อง และนําเสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับคานิยมทางสังคม 4.8.5 โครงการฝกหัดการเปนพลเมือง เปนโครงการท่ีจัดข้ึนเพื่อใหครูและนักเรียนนําไปบูรณาการเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอนวิชาตาง ๆ กิจกรรมของโครงการ เปนเร่ืองของการใหนักเรียนออกไปใชชีวิตนอกโรงเรียนไดสัมผัสกับชุมชนภายในพื้นท่ีโดยเลือกมีสวนรวม ในระดับเขต เมือง ประเทศ ฯลฯ ตามประเด็นท่ีตนสนใจ เพื่อใหมีประสบการณตรงท่ีสอดคลองกับเนื้อหาสาระ

Page 93: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  101

4.9 สวีเดน มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี ้ 4.9.1 การสอนศาสนาในโรงเรียนชวงศตวรรษท่ี 19 มีการกําหนดในหลักสูตรการศึกษาใหเรียนวิชาศาสนาและประวัติของคัมภีรไบเบิล และวิชาการรองเพลงสวด เนนคานิยมมาก กวาเปาหมายของการศึกษาใหทองจําคําสอนทางศาสนาในตําราปุจฉาวิสัชนา ความเชื่อในพระเจา มีความสําคัญมากกวาความรู หนังสือท่ีเรียกวาปุจฉาวิสัชนานี้เปนเร่ืองของคําถามและคําตอบ ซ่ึงคําตอบสําหรับคําถามนั้น ๆ ถือวาเปนตัวแบบสําหรับทุกคนท่ีจะนําไปปฏิบัติ 4.9.2 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมแบบประชาธิปไตยโดยใชหลักวิทยาศาสตรมีการสนับสนุนวิสัยทัศนของโรงเรียนตามระบอบประชาธิปไตย ใหสงเสริมความมีเสรีภาพสวนบุคคลโดยโยงการศึกษาดานจริยธรรม (Ethical Education) เขากับการใชเหตุผลตามหลักวิทยาศาสตร เสนอแนะวิธีการสอนใหเปนแบบปรนัย แมในเร่ืองของจริยศาสตรและปรัชญาธรรมและเจตนารมณท่ีจะคนหาความจริงใหโรงเรียนสงเสริมการเคารพตอสัจ 4.9.3 การสงเสริมการเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมแบบเนนเด็กเปนศูนยกลาง นักเรียนไดรับการมองวาเปนมนุษยและเปนประชาชนของประเทศ ดังนั้นโรงเรียนตองสอนเกี่ยวกับปทัสถานทางคุณธรรมจริยธรรม ซ่ึงนาจะใชไดกับมนุษยท่ีอยูรวมกัน สงเสริมบุคลิกภาพและการพัฒนาทางสังคมของนักเรียนเปนรายบุคคล รวมท้ังศาสนาของนักเรียนและการพัฒนาดานคุณธรรม มีการพยายามจัดคุณธรรมซ่ึงคาดวาทุกคนตองการในสังคมท่ีดีมาระบุเปนลายลักษณอักษร ประชาธิปไตยเปนพื้นฐานของการศึกษาดานจริยธรรมของโรงเรียน 4.9.4 การใชเกมคอมพิวเตอรสอนจริยศึกษา มีการสรางเกมคอมพิวเตอรข้ึนเพื่อใชสอนจริยศึกษาโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการอยูดีกินดีของมนุษย การใชสัตวเปนเคร่ืองทดลองและการวิจัยดานเภสัชเนนมุมมองดานจริยธรรม 5 ประการ ผูเลนจะตองเผชิญสถานการณปญหาดานจริยธรรม และตองรวมกันปรึกษาหารือเพื่อเลือกทางออก เม่ือเกมส้ินสุดลง ทีมผูเลนจะไดรับรายงานผลเกี่ยวกับจริยธรรมท่ีใชในชุมชน และอานประเด็นความรูเพิ่มเติม หรืออภิปรายประเด็นท่ีสนใจกับทีมผูสรางไดทางอินเทอรเน็ต 4.10 ฟนแลนด มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.10.1 การเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในครอบครัว สถาบันครอบครัวมีสวนชวย ฝกสอนบุตรธิดาใหเปนคนซ่ือสัตย มีวินัยในตนเอง และรับผิดชอบตอการกระทําของตน ผูปกครองจะออกกฎเขมงวด พาไปทํากิจกรรมกีฬาหรือดนตรี ใหทําบัตรหองสมุดสาธารณะเม่ือพออานหนังสือไดและมีการสง เสริมใหเด็กใชหองสมุดสาธารณะซ่ึงมีอยูทุกเมือง 4.10.2 การเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในระดับการศึกษาปฐมวัยมีหลักสูตรแกน

Page 94: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  102

4.10.3 การเรียนรูวิชาศาสนาในระดับหลังการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีจุดมุงหมายใหผูเรียนมีความรูอยางลึกซ้ึงเกี่ยวกับศาสนาและมรดกทางวัฒนธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมทั้งมีมุมมองตอโลกโดยเรียนรูเกี่ยวกับศาสนาอ่ืนๆ ทําใหความเขาใจศาสนาตางๆ ในฐานะท่ีเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมและสังคม และเปนสวนหนึ่งของชีวิต มีทักษะท่ีจะปฏิสัมพันธกับผูท่ีมีวัฒนธรรมธรรมเนียมและความเช่ือท่ีแตกตางไปจากตนเอง 4.10.4 การเรียนรูวิชาปรัชญาชีวิต จัดข้ึนสําหรับผูท่ีไมประสงคจะเรียนหลักสูตรวิชาศาสนา มีจุดมุงหมายใหผูเรียนมีความคิด ความรูและทักษะในการแกปญหาเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมเนื้อหาสาระเปนคําถามพื้นฐานเกี่ยวกับชีวิตมนุษย มีวิชาบังคับคือ ชีวิตท่ีดีงาม การแสวงหาความจริง และสังคมท่ีดีงาม สวนวิชาท่ีตองศึกษาเชิงลึกจะเปนวิชาเก่ียวกับวัฒนธรรมตางๆ ท่ีผูเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ 4.10.5 การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมผานทางหนังสือสําหรับเด็ก หนังสือเด็กใน ศตวรรษท่ี 20 เนนแนวคิดพ้ืนฐานของสังคมที่เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เด็กดีคือผูมีทัศนคติท่ีถูกตองสามัคคี มีน้ําใจและเปนมิตร เด็กๆ ไมจําเปนตองเช่ือฟงพอแมและพระเจา แตสามารถโตแยง หรือเหน็ดวยกับกฎเกณฑของชุมชน ซ่ึงเอนเอียงไปในดานการมีจิตใจท่ีสนุกสนานราเริงและอารมณดี สวนลักษณะของเด็กไมดีก็เปล่ียนจากคนท่ีมีความผิดบาป ประเภททะนงตัว เห็นแกตัว และโกหก ไปเปนคนท่ีมีทัศนคติท่ีไมดี ใชชีวิตแบบท่ีไมเหมาะสมและเปนปจเจกบุคคลท่ีวางตัวไมเหมาะสมโดยการแยกตนเองออกจากสังคม 4.10.6 สังคมท่ีแวดลอมมีบทบาทสนับสนุนการเรียนการสอนคุณธรรมและหลักการตาง ๆ ของครูและโรงเรียน ในการบริหารจัดการภาครัฐ ฟนแลนดกําหนดใหขาราชการระดับสูงสุดตองแสดงความมุงม่ันตอหนาท่ีโดยไมประกอบอาชีพท่ีสอบหรือไมมีตําแหนงใดอีก รวมถึงผูดํารงตําแหนงรัฐมนตรีหรือบุคคลในคณะรัฐบาลตองไมดํารงตําแหนงในองคกรของรัฐหรือธุรกิจท่ีอาจกีดขวางการปฏิบัติหนาท่ี

Page 95: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  103

4.11 ไตหวัน มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.11.1 ผูนําองคกรเปนแบบอยางท้ังดานการปฏิบัติสวนตัวและเปนผูนํากิจกรรมตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนในวงกวาง 4.11.2 เผยแพรธรรมะดวยส่ือตาง ๆ และหลายรูปแบบอยางมีคุณภาพเหมาะสมกับวัย โดยเฉพาะสําหรับเด็กและเยาวชน วัยรุน ท่ีสําคัญคือการใชระบบส่ือมวลชน คือ จัดต้ังสถานีโทรทัศนเปนของตนเอง ทําใหสามารถผลิตรายการธรรมะเผยแพรสูประชาชนไดในวงกวางและตลอดเวลา ออกหนังสือพิมพรายวัน และการประยุกตใชความเจริญทางเทคโนโลยีส่ือสารธรรมะขามประเทศ 4.11.3 เผยแพรธรรมะผานกิจกรรมตาง ๆ ท้ังดานการบริการสังคม การชวยเหลือผูอ่ืนดวยความเมตตา ความรัก การใหความรูดานการแพทย การพยาบาล จัดกิจกรรมตาง ๆ สําหรับเยาวชน เชน จัดคายฤดรูอน ฤดูหนาวเพื่อฝกท้ังภายนอกและภายใน 4.11.4 จัดโครงสรางองคกรอยางเปนระบบ เปดกวาง มีการบริหารจัดการองคกรท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถขยายเครือขายท้ังในประเทศและตางประเทศอยางกวางขวาง 4.11.5 ใหการศึกษาผานสถาบันการศึกษาท่ีตั้งข้ึนเองในระดับตาง ๆ ถึงอุดมศึกษา เพื่อผลิตบุคคลท่ีไดคุณภาพทั้งในดานวิชาการและมีคุณธรรม และมีวิทยาลัยสงฆเพื่อผลิตนักบวชท้ังชายและหญิงท่ีทรงความรูเปนนักบวชท่ีเปนภาพลักษณท่ีดีและสามารถเผยแพรธรรมะไปตางประเทศไดดวย สถาบันการศึกษาหลายแหงท่ีตั้งโดยองคกรศาสนาไดกลายเปนตนแบบใหโรงเรียนอ่ืน ๆ 4.11.6 จัดต้ังแหลงเรียนรูตาง ๆ เชน หองสมุด พิพิธภัณฑทางศาสนาพุทธ และพิพิธภัณฑศาสนาตาง ๆ รวมท้ังสถาบันคนควาและวิจัยดานพุทธศาสนาระดับสูง 4.11.7 รัฐใหการสนับสนุนองคกรศาสนาดําเนินการไดอยางอิสระ ประกอบกับสังคมไตหวันเปดรับกับแนวคิดใหม ๆ จึงทําใหมีผูสนใจเขามาศึกษาและสมัครเปนสมาชิกองคกรมากข้ึน และใหการสนับสนุนปจจัยในการดําเนินกิจกรรมขององคกร 4.12 เวียดนาม มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.12.1 ผูนําประเทศในอดีตเปนตนแบบของความรักชาติ ความขยัน อดทน ความเสียสละ ไดถายทอดอุดมการณและตอกย้ําคุณลักษณะเดนนี้ไวตลอดเวลา สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา รวมท้ังรัฐบาลและส่ือมวลชนมีสวนอยางยิ่งในการชวยถายทอดดวย 4.12.2 ไดมีการปฏิรูปการศึกษาโดยเนนการสรางคุณลักษณะของผูเรียนท่ีพึงประสงค ซ่ึงมีท้ังคุณลักษณะสําหรับการเตรียมคนใหมีทักษะตางๆ สามารถทํางานในเศรษฐกิจสมัยใหมไดในขณะเดียวกันยังสามารถรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรมของประเทศ และรักษาคุณธรรมจริยธรรมของสังคม 4.12.3 เวียดนามมีระบบการปกครองแบบสังคมนิยม ส่ือมวลชนทุกแขนงยังอยู

Page 96: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  104

4.13 ศรีลังกา มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.13.1 ศรีลังกาใหความสําคัญในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมทางพุทธศาสนาแกเด็กและเยาวชนศรีลังกา เพราะเยาวชนเปนฐานสําคัญของสังคม โดยจัดการศึกษาในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย เพื่อใหเด็กและเยาวชนไดรับการตอกยํ้าคุณธรรมของพุทธศาสนา ปจจุบันมีโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตยถึง 8900 แหง มีจํานวนนักเรียนท่ีเขาเรียนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย 2.2 ลานคน 4.13.2 การจัดโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตยประสบผลสําเร็จดี เพราะความรวมมืออันดีระหวางบาน โรงเรียน วัด ชุมชนและรัฐ กลาวคือ ครอบครัวนิยมสงลูกหลานเขาเรียนและบางครอบครัวอยูปฏิบัติธรรมในวัดและรอรับลูกกลับบาน โรงเรียนต้ังอยูในวัด พระภิกษุหรือภิกษุณีในวัดจะนําอาราธนาศีลกอนเขาเรียน ครูท่ีสอนสวนใหญเปนอาสาสมัครท่ีสอนอยูในโรงเรียนปกติมาสอนใหฟรี ชุมชนเปนผูสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ สวนรัฐรับผิดชอบการจัดทําหลักสูตรและผลิตตํารา แจกตําราเรียนฟรี ดูแลเร่ืองมาตรฐานการศึกษา อีกท้ังยังมีมาตรการจูงใจในการใหเด็กนิยมเรียนเพิ่มข้ึน เชน การใหคะแนน พิเศษ 10 คะแนน สําหรับผูจบระดับ 10 ท่ีตองการเรียนตอในมหาวิทยาลัยของรัฐ สนับสนุนครูผูสอนดวยการจัดงานยกยองครูท่ีสอนมาเปนเวลานาน 4.13.3 การจัดหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนท่ีเปนระบบและไดมาตรฐานท่ัวประเทศ ดังจะเห็นไดวา รัฐเปนผูจัดทําหลักสูตรและหนังสือเรียน มีระบบการจัดสอบ คือ ถาเปนระดับช้ัน 1 – 4 โรงเรียนรับผิดชอบจัดสอบ ช้ัน 5 – 9 พุทธิกสมาคมเปนผูจัดสอบ และช้ัน 10 จะเปนการสอบท่ัวประเทศ โดยรัฐเปนผูรับผิดชอบการจัดสอบ การจัดทําหนังสือเรียนสําหรับเด็กนั้น นาอานนาเรียนเหมาะกับวัย สวนกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครูสวนใหญเปนครูท่ีสอนมานานมีใบอนุญาตสอน ใชหลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนการสอนและจะเนนการจัดกิจกรรมใหเด็กมีสวนรวม 4.13.4 ส่ือมวลชนมีบทบาทชวยใหชาวพุทธผูกพันกับพระพุทธศาสนา คือ ทุกเชา ผานทางวิทยุกระจายเสียงพระจะใหไตรสรณาคมณและศีล 5 หลังจากพระใหศีลแลวจะสอดแทรกมหามงคลสูตร 38 ประการ เปนแนวทางเพื่อการดําเนินชีวิตท่ียกระดับจิตใจ ซ่ึงวันธรรมดาชาว ศรีลังกาจะรับศีล 5 ท่ีบาน สวนวันพระชาวศรีลังกาเรียก โปยะ จะรักษาศีล 8 โดยไปรับศีลจากพระท่ีวัดใกลบาน 4.14 อินเดีย มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.14.1 ประเทศอินเดียเปนประเทศกวางใหญไพศาล มีประชากรมากกวาพันลานคน มากเปนอันดับสองรองจากประเทศจีน พลเมืองมีความแตกตางมากท้ังในดานศาสนาและภาษา ประชากรสวนใหญยังยากจน แตประเทศอินเดียยังคงคุณลักษณะเดนและอัตลักษณของประเทศไดอยางดี คนอินเดียยังเครงครัดในศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี มุงทําแตกรรมดี ท้ังนี้เปนผลจากพื้นฐานการ

Page 97: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  105

4.14.2 สําหรับสถาบันการศึกษาไมสามารถสอนหลักศาสนาใดใหลึกซ้ึงเปนการเฉพาะได เพราะขัดกับรัฐธรรมนูญ ทําใหนักวิชาการวิจารณวา เปนเร่ืองท่ีนาเสียดายท่ีเด็กขาดโอกาสเรียนรูมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศ 4.14.3 สถานีโทรทัศนของอินเดียเร่ิมมีชองรายการทางศาสนา 2 ชอง เปนของเอกชน สวนโทรทัศนของรัฐบาลเร่ิมออกอากาศรายการทางศาสนาในชวงเชาตรู ขณะน้ีมีหลายชองเพ่ิมรายการทางศาสนา ซ่ึงเปนอีกชองทางหนึ่งในการใชส่ือมวลชนในการชวยเผยแพรคุณธรรมจริยธรรมแกประชาชน 4.15 เยอรมนี มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.15.1 พอแมมีบทบาทสําคัญยิ่งในการหลอหลอมเด็กใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค รัฐจึงสงเสริมใหพอแมมีความสามารถในการอบรมเล้ียงดูเด็ก 4.15.2 เยอรมนีมีระบบการศึกษาเปนรากฐานสําคัญท่ีหลอหลอมคนใหมีคุณภาพดีอยางตอเนื่อง 4.15.3 การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยใชการศึกษาต้ังแตอนุบาลและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีเนนวิชาการกับการทํางานและชีวิตจริง คือ 1) ความรับผิดชอบตอตนเอง ไดแก ซ่ือตรงตอหนาท่ี ซ่ือสัตยสุจริต โดยไมตองมีใครควบคุม ตรงตอเวลา เอาจริงเอาจังกับงานท่ีทํา มีวินัยกับงานและชีวิต และ 2) ความรับผิดชอบตอประเทศชาติ ไดแก คนเยอรมนีมองภาพรวมของประเทศไดดี และพรอมท่ีจะทําทุกอยางเพื่อสังคมและประเทศชาติ โดยการถายทอดส่ิงท่ีดี มีระบบ มีคุณภาพสูอนุชนรุนหลัง 4.15.4 เด็ก ๆ ไดรับการอบรมส่ังสอนในเร่ืองของการรักษาส่ิงแวดลอมต้ังแตเด็ก เชน การแยกขยะ การเก็บส่ิงของ การจัดระเบียบตาง ๆ เปนการปลูกฝงใหเด็กตั้งแตเล็ก ๆ เม่ือเดก็โตกจ็าํไปปฏิบัติ ส่ิงนี้กลายเปนอุปนิสัยประจําตัว เม่ือไปท่ีไหน ๆ จึงเห็นประเทศเยอรมนีเปนระบบระเบียบสะอาดสะอาน ไมมีการท้ิงขยะ ทุกส่ิงทุกอยางอยูเปนระเบียบเรียบรอย 4.15.5 ระบบการศึกษาของเยอรมนีใหสิทธิกับเด็กทุกคนเทาเทียมกัน รวมถึงคนพิการ หรือแมแตเร่ืองการเคารพศักดิ์ศรีของคนงานท่ัวไป หัวหนางานหรือผูบริหารท่ีเรียนจบสูง ๆ ระดับปริญญาเอกจะไมมีการดูถูกคนงานเหลานี้ คนเยอรมันภูมิใจท่ีตนเปนชางชํานาญงาน เพราะฉะนั้นไมไดแบงระดับคนในสังคมท่ีปริญญาเปนหลัก ทุกคนภูมิใจในอาชีพของตนเอง เพราะวาเงินเดือนไมตางกันมาก ทุกคนใหเกียรติซ่ึงกันและกัน 4.16 แคนาดา มีการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้ 4.16.1 การกําหนดวิสัยทัศนของประเทศท่ีระบุวา “Canada for All” หรือแคนาดา

Page 98: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  106

4.16.2 แคนาดามีการวางแผนและดําเนินการอยางเปนระบบ ตอเนื่องมีระบบควบคุมและกํากับการดําเนินการท่ีมีประสิทธิภาพ มีการเก็บขอมูลท่ีมีระบบและมีประสิทธิภาพ ท่ีนํามาสูการใชเปนดัชนีบงช้ีความสําเร็จของการดําเนินงาน 4.16.3 การดําเนินงานท่ีเปนการประสานความรวมมือ และการดําเนินงานระหวางหนวยงานและองคกรหลัก มีการกําหนดภารกิจของแตละหนวยงานในการปฏิบัติหนาท่ีอยางชัดเจน มีแนวทางการปฏิบัติอยางชัดเจน มีแนวทางการปฏิบัติท่ีประสานกันท้ังในแนวราบระดับเดียวกัน และการประสานงานในแนวดิ่งตามข้ันตอนของหนวยงานระดับตาง ๆ และท่ีสําคัญมีการปฏิบัติตามแนวทางที่วางไว 4.16.4 ส่ิงท่ีรัฐบาลแคนาดาใหความสําคัญ ในการท่ีจะทําใหประเทศชาติมีการพัฒนา กาวหนา มีความม่ันคง รัฐบาลใหความสําคัญอยู 3 เร่ือง คือ เยาวชน สถาบันครอบครัวและการศึกษา ความสําคัญแรก คือ เด็กและเยาวชน รัฐบาลใหความสําคัญของเยาวชน โดยไดมีคําขวัญท่ีเขียนไววา “ Our Children are our Future ” โดยใหความสําคัญวา เด็กคืออนาคตของชาติ และเด็กสมควรไดรับโอกาสท่ีจะมีชีวิตท่ีมีความสุขและมีคุณคา แตรัฐบาลเช่ือวา การที่เด็กจะเติบโตเปนบุคคลท่ีมีความสุข ความสมบูรณท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพื่อเปนบุคคลที่มีคุณคา สามารถมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ โดยการสรางและเพ่ิมผลผลิตใหแกประเทศชาติไดนั้น สถาบันท่ีมีความสําคัญยิ่ง คือ พอแม ผูปกครอง หรือสถาบันครอบครัวนั่นเอง เพราะเปนสถาบันแรกท่ีอยูกับเด็กและเยาวชนของประเทศ และตองทําหนาท่ีในการหลอหลอมใหเยาวชนเหลานั้นเปนพลเมืองท่ีมีคุณคาของประเทศ และแคนาดาเช่ือในความสําคัญของการศึกษา และระบุไววาการศึกษาคือทรัพยสินของประเทศ แคนาดามอบบทบาทของการศึกษาในการเตรียมคน เช่ือในการศึกษาตลอดชีวิต แคนาดาไมเช่ือวา การศึกษาส้ินสุดเม่ือบุคคลสําเร็จการศึกษา ซ่ึงรัฐบาลตระหนักวาการพัฒนาคุณลักษณะนี้เปนส่ิงท่ีไมส้ินสุดและตองดําเนินการอยางตอเนื่อง ท้ังนี้ในการดําเนินการจัดการศึกษานี้ ไมไดอยูในความรับผิดชอบของหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งเปนการเฉพาะ แตมีการเช่ือมโยงสัมพันธระหวางสวนตาง ๆ ท่ีทําหนาท่ีในการใหการศึกษา แคนาดายึดหลักการในการสงขอมูลขาวสารท่ีสําคัญและจําเปนตอการปฏิบัติใหมีเนื้อหาไปในทิศทางเดียวกัน ซ่ึงชวยใหประชาชนมีความเขาใจในเร่ืองนั้น ๆ ไปในทิศทางเดียวกัน กอใหเกิดผลกระทบที่เปนจริงตอแนวคิดหลักการปฏิบัติของประชาชนในทิศทางเดียวกันในเร่ืองนั้น ๆ อีกท้ังขอมูลขาวสารที่นําเสนอตอประชาชนน้ันไดผานการตรวจสอบพิจารณาอยางรอบคอบและการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนการใชภาษาเพื่อการส่ือสารท้ังในดานการรับสารและการสงสาร 4.16.5 การสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเปนนโยบายของรัฐ

Page 99: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  107

4.16.6 การวางและการใชมาตรการทางกฎระเบียบในการดําเนินการในเร่ืองตางๆ แคนาดาจะออกกฎระเบียบ ขอปฏิบัติและกฎหมาย เพื่อรองรับและสงเสริมการดําเนินการใหบรรลุเปาหมาย แตลักษณะกฎหมายของประเทศแคนาดาเปนไปเพื่อการปองกันมากกวาการลงโทษ ซ่ึงการลงโทษจะเปนมาตรการสุดทายท่ีจะนํามาใช 4.16.7 สังคมธรรมรัฐ การบริหารประเทศแบบสังคมธรรมรัฐซ่ึงนํามาสูสังคมปลอดภัย การมีสวนรวม และความโปรงใสในการดําเนินงานของรัฐนั้น รัฐเปดโอกาสใหประชาชนและกลุมตัวแทนมีสวนรวมในทุกเร่ืองทุกข้ันตอน เชน ในกระบวนการจัดการศึกษาท่ีประชาชนท่ีสวนรวมต้ังแตการเลือกบุคคลท่ีเขาไปเปนผูบริหารการศึกษา การมีตัวแทนประชาชนเขาไปเปนคณะกรรมการการศึกษาในระดับทองถ่ิน เปนตน 4.16.8 การดําเนินการเปนแบบอยางของรัฐ นอกจากรัฐบาลไดดําเนินการในเร่ืองการกําหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการตาง ๆ ท่ีชัดเจนแลว รัฐยังตระหนักถึงการเปนแบบอยางในหนวยงานของรัฐบาลเองนั้น ดังนั้นในการปฏิบัติในเร่ืองใด ๆ รัฐไดแสดงแบบอยางในเร่ืองนั้น เชน นโยบายเร่ืองความเสมอภาคทางเพศ และการไมเหยียดสีผิด จะเห็นไดวา ในองคกรของรัฐบาลนั้นจะมีเจาหนาท่ีท่ีมีความสามารถหลากหลาย เปนคนท่ีมาจากตางเชื้อชาติ ตางศาสนา ตางภาษาและตางวัฒนธรรม เพื่อเปนแบบอยางใหแกองคกรตาง ๆ ในการรับบุคคลเขาทํางาน ดังนั้นแคนาดาจึงเปนประเทศท่ีนับถือบุคคลท่ีความดีและความสามารถ 4.16.9 ลักษณะของสังคมท่ีใชความรูเปนฐานในการดําเนินการในเร่ืองใด ๆ ก็ตาม รัฐมีเปาหมาย แผนการปฏิบัติการ การควบคุมและติดตามอยางใกลชิด เปนรูปธรรม บนพื้นฐานของการวิจัยท่ีมีคุณภาพ และใชกระบวนการทางการศึกษาในการพัฒนาบุคคลกลุมเปาหมาย ไมวาจะเปนเจาหนาท่ีของรัฐ กลุมตัวแทนตาง ๆ กลุมชุมชน และประชาชนทั่วไป รัฐใชทุกชองทางในการใหความรู สรางความเขาใจในเร่ืองตางๆ สนับสนุนการผลิตและการใชชองทางการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติการ จากรายละเอียดของการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในแตละประเทศ สามารถนํามาสรุปไดดังตารางท่ี 2.7

Page 100: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  108

ตารางท่ี 2.7 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในประเทศตาง ๆ

การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม

ประเทศ

ครอบครัวสนับ สนุน

กําหนดเปนหลัก สูตร

กําหนดเปน

นโยบายของรัฐ/รัฐธรรมนูญ

การบูรณาการเขากับการเรียนรู

จัดกิจกรรม /โครงการสงเสริมคุณธรรม

การกําหนดเปนชุดวิชา

เฉพาะ/บังคับ

การพัฒนาครู

สื่อการเรียนรู /แหลงการเรียนรู

มีผูนํา/ รัฐเปนแบบ อยาง

สื่อ มวล ชน

การมีสวนรวมของสังคม

1. ญี่ปุน 2. สิงคโปร 3. เกาหลี

4. ไตหวัน 5. เวียดนาม 6. ศรีลังกา 7. อินเดีย 8. ออสเตรเลีย 9. นิวซีแลนด 10. เดนมารก 11. สวีเดน 12. ฟนแลนด 13.เยอรมนี 14.อังกฤษ 15. สวิต เซอรแลนด

16. แคนาดา รวม 5 10 5 12 5 5 2 5 3 4 2

จากตารางท่ี 2.7 พบวา การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในประเทศตาง ๆ สวนใหญเปนการสงเสริมโดยการบูรณาการเขากับการเรียนรู จํานวน 12 ประเทศ รองลงมา คือ การกําหนดเปนหลักสูตร จํานวน 10 ประเทศ นอกจากนั้นก็จะเปนการกําหนดเปนนโยบายของรัฐ การจัดกิจกรรม/โครงการ การกําหนดเปนชุดวิชาเฉพาะ การผลิตส่ือการเรียนรู และการปลูกฝงหรือสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมโดยครอบครัว

Page 101: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  109

นอกจากนั้น เจือจันทร จงสถิตอยู และรุงเรือง สุขาภิรมย (2550) ไดสังเคราะหงานวิจัยคุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ ผลการวิจัยไดสรุปคุณลักษณะเดนดานคุณธรรมจริยธรรมของคนในประเทศตาง ๆไว ดังรายละเอียด ดังนี้ ตารางท่ี 2.8 คุณลักษณะเดนดานคุณธรรมจริยธรรมของคนในประเทศตาง ๆ

ประเทศ คุณลักษณะ เกาหลี ขยัน ไมยอทอ ทุมเทการทํางาน รักชาติ (รักหมูเหลา รักในองคกร) รัก

การศึกษา มีวนิัย เคารพในอาวุโส รูจักหนาท่ีและปฏิบัติหนาท่ีอยางเขมแข็ง (ละอายตอการกระทําผิด การพึ่งตัวเองและความรวมมือ)

ไตหวนั จริงจัง เพยีรทํางานหนกัดวยความอดทน ประหยดั ขยันศึกษาหาความรู ออนนอม เครงครัดในระเบียบ เปนตัวของตัวเอง ตื่นตัวทางการเมือง มีจิตสํานึกเร่ืองเวลาสูง เคารพในคุณคาความเปนคน กลาให กลาบริจาค เช่ือตองตอสูถึงชนะ

เวียดนาม ขยัน อดทน รักชาติ กตัญู รักการศึกษาเลาเรียน ศรีลังกา ออนนอม กตัญู เคารพในอาวุโส ซ่ือตรง รับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน มีชีวิต

พอเพียง อินเดีย ขยัน อดทน ประหยดั ขยันอานหนังสือ คนควาหาความรู รูจักแยกแยะและ

รับผิดชอบตองานท่ีไดรับมอบหมาย ชอบความเรียบงายและความสะดวก เครงครัดในศาสนาและวัฒนธรรม เช่ือในโชคชะตา มุงทํากรรมดี จิตใจออนโยน ไมเบียดเบียน ไมนิยมความรุนแรง-อหิงสา

สวิตเซอรแลนด ตรงตอเวลา ซ่ือสัตยสุจริต ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส และความพิถีพิถัน เปนตัวของตัวเอง (มีวินยั)

ฟนแลนด ซ่ือสัตยสุจริต มีวินัย เยอรมน ี มีระเบียบวินยั ความรับผิดชอบ รูจักหนาท่ี สุจริต ซ่ือตรง ตรงตอเวลา ประหยดั แคนาดา มีระเบียบวินยั เปนคนมีเหตผุล มีจิตใจเขมแข็ง รักสันติ อดทนอดกล้ัน

ไมนิยมใชความรุนแรง ใหเกยีรติเพื่อนมนษุย ใฝรู รักการอาน นิวซีแลนด มีวินัย ซ่ือสัตย เคารพในความแตกตาง เคารพคนอ่ืน ญ่ีปุน ตรงตอเวลา รับผิดชอบ ออนนอมถอมตน ซ่ือสัตยสุจริต จงรักภกัดี ประหยัด ใส

ใจรายละเอียด ทํางานเปนทีม ระลึกบุญคุณ สะอาดเปนระเบียบ แยกแยะเร่ืองสวนตัวและความรับผิดชอบในหนาท่ี ทํางานอยางกระตือรือรน

อังกฤษ ตรงตอเวลา มีระเบียบ รักษาความสะอาด อิสระ ประหยดั รูคาเงิน รักการผจญภยั

Page 102: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  110

5. ปจจัยและเง่ือนไขในการสงเสริมคุณธรรมจรยิธรรม เจือจันทร จงสถิตอยู และรุงเรือง สุขาภิรมย (2550) ไดจัดทํารายงานการสังเคราะหงานวิจัยคุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของประเทศตาง ๆ จํานวน 10 ประเทศ โดยรายงานดังกลาวสามารถสังเคราะหและสรุปเปนปจจัยและเงื่อนไขตอการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไดดังนี้

1. ปจจัยเกี่ยวกับองคกรท่ีมีสวนในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ไดแก 1) องคกรทางศาสนา 2) สถาบันครอบครัว 3) ส่ือมวลชน 4) องคกรชุมชน มูลนิธิและเครือขายประชาสังคม และ 5) องคกรภาครัฐ

2. ปจจัยจากบุคคลในสังคม ไดแก 1) ผูนําประเทศ 2) ผูนําทางศาสนา 3) นักคิด นักปราชญของแตละประเทศ

3. ปจจัยจากบริบทและส่ิงแวดลอม ไดแก 1) ประวัติศาสตรของประเทศ 2) สภาพภูมิศาสตร

4. ปจจัยดานกระบวนการในการปลูกฝงคุณธรรม ไดแก 4.1 การออกกฎหมาย ระเบียบ หรือนโยบายสาธารณะในการสงเสริมคุณธรรมท่ีมี

เปาหมายเดียวกัน 4.2 การใชประวัตศิาสตรเปนส่ิงหลอหลอมคุณธรรมใหคนในชาติ 4.3 สืบทอดหลักคิดและคําสอนของบุคคลท่ีเปนศูนยรวมความศรัทธาของประเทศ

ไดแก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และผูนําทางศาสนาสูการปฏิบัติโดยการวางกลไกถายทอดผานสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว ส่ือและส่ือมวลชน และเครือขายประชาสังคม

4.4 การใชคําสอนของผูนําเปนรากฐานในการกระตุนคุณธรรม 4.5 การสนับสนุนใหองคกร มูลนิธิใหมีสวนรวมในการหลอหลอมพฤติกรรมท่ีพึง

ประสงค 4.6 การปลูกฝงคุณธรรมอยางตอเนื่องยาวนานและเช่ือมโยงกับวิถีชีวิต 4.7 การใหภาครัฐมีบทบาทในการดําเนินการหรือสนับสนุนภาคสวนตาง ๆ ใน

สังคมในการพัฒนาคุณธรรม เชน (1) สนับสนุนและสงเสริมการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ขององคกร มูลนิ ธิ

อาสาสมัคร หรือการรวมตัวในชุมชนท่ีมีจุดมุงหมายในการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมใหแกเด็กและประชาชนท่ัวไป ดวยกลไกของรัฐท่ีมีอยูหรือสรางเพิ่มข้ึน

Page 103: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  111

(2) มีมาตรการกํากับดูแลส่ือมวลชนอยางเหมาะสมแทนการปลอยเสรีจนเกินไป อีกทั้งควรจัดสรรเวลาผานส่ือมวลชนของรัฐเพื่อการเผยแพรหลักธรรมคําสอน การเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม วัฒธรรมท่ีเปนวิถีชีวิตที่ดีงามของไทยมากข้ึนและในเวลาท่ีเหมาะสมกับกลุมเปาหมายและรัฐควรสนับสนุนใหมีชองการศึกษาและศาสนาโดยตรง 1 ชองเปนอยางนอย

4.8 การเรงฟนฟูและสรางความเขมแข็งใหกับสถาบันครอบครัวใหมีบทบาทสําคัญในการกลอมเกลาเล้ียงดูบุตรหลานดานคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมไทย ควบคูไปกับพัฒนาการดานตาง ๆ

4.9 ดําเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรู ท่ีเกี่ยวของกับการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมไทยผานสถาบันสังคมตางๆ อยางตอเนื่อง รวมทั้งการวิจัยเพื่อติดตามการดําเนินงานของศาสนสถาน บุคลากรทางศาสนา องคกร มูลนิธิ ชุมชน หนวยงานของรัฐและเอกชนอ่ืน ๆ และสืบคนแบบอยางท่ีเปนตัวอยางท่ีเผยแพรตอสาธารณะและขยายผลในวงกวาง

4.10 การปรับการเรียนการสอนในการศึกษาระดับตาง ๆ ท่ีเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของผูเรียน โดยเนนการสอนคิดวิเคราะห รูเหตุรูผล รูแยกแยะผิดถูก และใหการเรียนการสอนถายทอดแนวคิดคําสอนของศูนยรวมความศรัทธาของประเทศสูการปฏิบัติ

4.11 การสนับสนุนสถาบันศาสนาและพัฒนาศาสนบุคคล รวมท้ังอาจารยท่ีเปนหลักในสถานศึกษาใหเปนหลักในการถายทอดคุณธรรมจริยธรรมจากฐานศาสนาสูสังคม เชน การเรงพัฒนาโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตยใหมีมาตฐานและภาพลักษณเพื่อดึงดูดเด็กและเยาวชนใชเวลาวันอาทิตยใหเปนประโยชน การสงเสริมโรงเรียนวิถีพุทธใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ตลอดจนพัฒนาโรงเรียนพระปริยัติธรรมใหจัดการเรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพไดมาตรฐานท้ังดานศาสนาและวิชาการท่ัวไป รวมท้ังการปรับปรุงการสอนของโรงเรียนสอนศาสนาตาง ๆ ใหมีคุณภาพเชนกัน

4.12 การเช่ือมโยงพลังทางสังคม พลังวิชาการความรู พลังทางคุณธรรมและพลังทางการเมืองเปนเครือขายขับเคล่ือนการพัฒนาคุณธรรม

4.13 การมีระบบการกํากับติดตามท่ีดีเกี่ยวกับการดําเนินการดานการพัฒนาคุณธรรม 4.14 ใหศูนยคุณธรรมเปนหลักในการจัดเวทีอภิปรายระหวางผูเกี่ยวของ และภาคสวน

ตางๆ เพื่อใหไดผลและเปนท่ียอมรับอยางกวางขวาง ศูนยสงเสริมคุณธรรม ไดเสนอปจจัยสําคัญท่ีกระทรวงและสวนราชการตาง ๆ ในสังกัดควรคํานึงถึงและนํามาใชประกอบการพิจารณาในการจัดทํามาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรม ไวดังนี้

Page 104: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  112

1. ภารกิจหลักขององคกร พันธกิจของหนวยงานจะเปนตัวบงช้ีคุณลักษณะท่ีตองการสําหรับผูปฏิบัติงานใน แตละภารกิจท่ีมีความแตกตางกัน 2. หลักคุณธรรมและจริยธรรมในวิชาชีพขาราชการของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวอันประกอบดวย 1) ความสามารถ หมายถึง ความชํานาญในการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ใหเปนผลสําเร็จไดดียิ่งกวาผูมีโอกาสเทา ๆ กัน 2) ความเพียร หมายถึง ความกลาหาญไมยอทอตอความลําบาก และบากบ่ันเพื่อจะขามความขัดของใหจงได โดยใชความวิริยะมิไดลดหยอน 3) ความมีไหวพริบ หมายถึง รูจักสังเกตเห็นโดยไมตองมีใครเตือนวา เม่ือมีเหตุเชนนั้น จะตองปฏิบัติการอยางนั้น เพื่อใหบังเกิดผลดีท่ีสุดแกกิจการท่ัวไป และรีบทําการอันเห็นควรนั้นโดยฉับพลัน 4) ความรูเทาถึงการณ หมายถึง รูจักปฏิบัติการอยางไรจึงจะเหมาะสมแกเวลา และอยางไรท่ีไดรับเหตุผลสมถึงจะเปนประโยชนท่ีสุด 5) ความซ่ือตรงตอหนาท่ี หมายถึง ตั้งใจกระทํากิจการซ่ึงไดรับมอบใหเปนหนาท่ีดวยความซ่ือสัตยสุจริต 6) ความซ่ือตรงตอคนท่ัวไป หมายถึง ใหประพฤติซ่ือตรงตอคนท่ัวไป รักษาตนใหเปนคนท่ีจะเช่ือถือได 7) ความรูจักนิสัยคน ขอนี้เปนขอสําคัญสําหรับผูมีหนาท่ีติดตอกับผูอ่ืน ไมวาจะเปนผูใหญหรือผูนอย 8) ความรูจักผอนผัน หมายความวา ตองเปนผูท่ีรูจักผอนส้ันผอนยาววาเม่ือใดควรตัดขาดและเม่ือใดควรโอนออน หรือผอนผันกันได มิใชแตจะยึดถือหลักเกณฑหรือระเบียบอยางเดียว ซ่ึงจะกอใหเกิดผลเสีย ควรจะยืดหยุนได 9) ความมีหลักฐาน ประกอบดวยหลักสําคัญ 3 ประการคือ มีบานอยูเปนท่ีเปนทาง มีครอบครัวอันม่ันคง และต้ังตนไวในท่ีชอบ 10) ความจงรักภักดี หมายความวา ยอมเสียสละเพ่ือประโยชนแหงชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย 3. หลักการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี (Good Governance) 6 ประการ คือ 1) หลักนิติธรรม การใชกฎ ระเบียบท่ีเปนธรรม เปนท่ียอมรับได ไมตามกระแสหรืออํานาจตัวบุคคล และมีความเสมอภาค 2) หลักคุณธรรม การยึดม่ันในความถูกตอง ดีงาม ประพฤติตนเปนตัวอยางแกสังคมดวย ความซ่ือสัตย จริงใจ ขยัน อดทน

Page 105: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  113

3) หลักความโปรงใส การทํางานอยางโปรงใส เปดเผยขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน ตรงไปตรงมา ตรวจสอบได 4) หลักความมีสวนรวม การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู เสนอความเห็น 5) หลักความรับผิดชอบ ตระหนักในสิทธิหนาท่ี มีความสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม มุงแกปญหา กลายอมรับผลการกระทําของตน 6) หลักความคุมคา บริหารจัดการและใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิดประโยชนสูงสุด 4. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 กฎหมายท้ังสองฉบับมีความเช่ือมโยงกัน กลาวคือ มาตรา 3/1 ไดวางกรอบแนวทางของการบริหารราชการแผนดินไววา ตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิตอภารกิจของรัฐมีประสิทธิภาพ คุมคา อํานวยความสะดวกและตอบสนองความตองการของประชาชน จุดเนนของวิธีการปฏิบัติราชการตามมาตรา 3/1 ระบุวา สวนราชการตองใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีในการปฏิบัติหนาท่ี โดยเฉพาะอยางยิ่งใหคํานึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน สําหรับพระราชกฤษฎีกา คือการนํากรอบแนวทางตามมาตรา 3/1 มากําหนดเปนวิธีดําเนินการเพ่ือผลักดันใหเกิดผลในทางปฏิบัติ และถือเปนบทบังคับไมใชขอพึงปฏิบัติ ทุกสวนราชการจึงตองถือเปนปจจัยสําคัญท่ีตองนํามาพิจารณาเพื่อสรางขอประพฤติปฏิบัติของผูปฏิบัติงาน ใหมีพฤติกรรมท่ีชวยสงเสริมใหสามารถบรรลุเปาหมายขางตนได ท้ังนี้ขอบังคับดังกลาวมีความเกี่ยวของกับเร่ืองความซ่ือสัตยสุจริต ความรับผิดชอบ ความโปรงใส ความคุมคาในการดําเนินงาน การพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง การทํางานเปนทีม และการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจ 5. คานิยมสรางสรรค 5 ประการ คณะอนุกรรมการปรับปรุงวัฒนธรรมและคานิยมของเจาหนาท่ีของรัฐ ไดกําหนดคานิยมสรางสรรค 5 ประการข้ึน เพื่อเปนคุณคาหลักใหเจาหนาท่ีของรัฐไดยึดถือ และกระตุนใหเกิดวัฒนธรรมในการทํางานใหม โดยไดสังเคราะหเนื้อหาจากพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานแกขาราชการพลเรือนในวันขาราชการพลเรือนของทุกป หลักทศพิธราชธรรม ปรัชญาในการรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ลักษณะท่ีพึงคาดหวังตามวิสัยทัศนของแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐและหลักปฏิบัติราชการของตางประเทศมากําหนดเปนคานิยมสรางสรรคกลาง ท่ีมีความหมายสะทอนพฤติกรรมท่ีพึงประสงคสําหรับการปฏิบัติงานในภาครัฐ ดังนี้ 1) กลายืนหยัดทําในส่ิงท่ีถูกตอง (Moral Courage) โดยยึดม่ันในความถูกตองดีงาม ความชอบธรรม ความเสียสละ หลักวิชาและจรรยาวิชาชีพ ไมโอนออนตามอิทธิพล

Page 106: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  114

2) ซ่ือสัตยและมีความรับผิดชอบ (Integrity and Responsibility) ปฏิบัติหนาท่ีอยางตรงไปตรงมา แยกเร่ืองสวนตัวออกจากหนาท่ีการงาน และมีความรับผิดชอบตองานในหนาท่ีตอผลงานตอองคกรและตอประชาชน 3) โปรงใสและตรวจสอบได (Transparency and Accountability) ปรับปรุงกลไก และวิธีการทํางานใหมีความชัดเจน โปรงใส สามารถตรวจสอบความถูกตองได และพรอมเปดเผยขอมูลอันไมตองหามตามกฎหมาย 4) ไมเลือกปฏิบัติ (Nondiscrimination) ใหบริการโดยเสมอภาค เปนธรรม เนนความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดและถูกตอง ดวยความมีน้ําใจ เมตตา 5) มุงผลสัมฤทธ์ิของงาน (Result Orientation)โดยปฏิบัติหนาท่ีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลงานแลวเสร็จตามวัตถุประสงค เกิดผลดีตอหนวยงานและสวนรวม โดยใชทรัพยากรอยางคุมคา 6. หลักในการสรางมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรม การสรางมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมควรยึดหลักสําคัญ ดังนี้ 6.1) ควรระบุวัตถุประสงคของการจัดทําใหชัดเจน 6.2) ตองจัดทําโดยผูอยูในวิชาชีพนั้นหรือโดยการมีสวนรวมของเจาหนาท่ีของหนวยงานนั้น 6.3) เม่ือจัดทํารางมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมแลวเสร็จ ควรจัดใหมีการแสดงความคิดเห็นจากผูเกี่ยวของ 6.4) มาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรม ควรเขียนเปนเชิงพฤติกรรม 6.5) ควรกําหนดเปนขอพึงปฏิบัติ และอยูในวิสัยท่ีจะปฏิบัติตามได 6.6) ควรส้ัน กระชับ เขาใจงาย และ 6.7) หลักการหรือแนวทางปฏิบัติท่ีมีระบุอยูแลวในรูปแบบวินัย ขอบังคับ คําส่ัง ไมควรนํามากลาวซํ้า เพราะเปนขอท่ีตองปฏิบัติควบคูกันอยูแลว 7. มาตรการในการนําไปสูการปฏิบัติ

ศูนยสงเสริมคุณธรรม ไดเสนอมาตรการผลักดันใหมีการนํามาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมท่ีจัดทําข้ึนไปใช เพื่อใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม ไวดังนี้

7.1 มาตรการทางการบริหาร 1) กําหนดเปนองคประกอบสําคัญในกระบวนการคัดเลือก/สรรหา 2) สรางเปนเงื่อนไขในการปฐมนิเทศ 3) บรรจุและสอดแทรกไวในหลักสูตรการพัฒนาเจาหนาท่ี 4) ใชเปนองคประกอบในการพิจารณาเล่ือนข้ันเงินเดือนหรือเล่ือนตําแหนง 5) ยกยองเชิดชูเกียรติผูท่ีประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมให

เปนท่ีปรากฏอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง 6) ผูบริหารใชเปนเคร่ืองมือในการสรางวัฒนธรรมองคการ 7) ผูบริหารประพฤติตนในฐานะตนแบบ (Role Model)

Page 107: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  115

7.2 มาตรการเสริม/สนับสนุน 1) สรางความรูและทัศนคติ ใหทุกคนในองคการรับรูและเขาใจในขอพึงปฏิบัติตาม

มาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมท่ีจัดข้ึน รวมท้ังตระหนักถึงผลดีและคุณคาท่ีจะไดรับจากการประพฤติปฏิบัติโดยถองแท

2) การใชมาตรการยกยองใหรางวัล จัดใหมีมาตรการยกยอง ชมเชย มอบโลประกาศเกียรติคุณ หรือใหรางวัลแกผูประพฤติปฏิบัติตนอยูในกรอบของมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมจนเปนท่ีประจักษชัด

3) การสรางแบบอยางท่ีดี คือการนําตัวอยางท่ีดีมาช้ีใหสังคมไดเห็นและรับรู จุดเนนคือผูบังคับบัญชาทุกระดับตองใชภาวะผูนําในการทําตัวเปนแบบอยางท่ีดี สรางศรัทธาใหเกิดข้ึนแกผูใตบังคับบัญชา และชักนําไปสูการประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรม

4) การต้ังชมรม/สรางเครือขาย สนับสนุนใหเกิดชมรมหรือเครือขายในการเสริมสรางและพัฒนามาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมโดยสมัครใจ

5) จัดกิจกรรมรณรงค เปนการจัดใหมีกิจกรรมท่ีเปนตัวอยางท่ีดีในรูปแบบตาง ๆ เชน ประกวดเจาหนาท่ีหรือหนวยงานดีเดน โดยใชหลักการปฏิบัติตามมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมขององคกรเปนแนวพิจารณา หรือจัดประกวดคําขวัญ กลอน บทความ หรือภาพเขียนในเนื้อหาท่ีเกี่ยวของ

6) การประชาสัมพันธ การเผยแพรความรู ความเขาใจ กระจายขาวในรูปแบบของส่ือประเภทตาง ๆ อยางตอเนื่องและสมํ่าเสมอ เพื่อใหเจาหนาท่ีในองคการ ผูรับบริการ ประชาชน และสังคมไดรับทราบ ก็จะเปนประโยชนใหเจาหนาท่ีตื่นตัว เกิดความตระหนักและจิตสํานึกในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม รวมท้ังจะเปนประโยชนในการควบคุมโดยสังคม

7) การศึกษาดูงาน การศึกษาดูงานจากหนวยงานอ่ืนท่ีสามารถนําเอาแบบอยางเปนแนวปฏิบัติท่ีดีได หรือการใหหนวยงานอ่ืนมาดูงานของหนวยงาน จะเปนส่ิงกระตุนใหเกิดความตองการปรับเปล่ียนพฤติกรรมดวยตัวเจาหนาท่ีเอง

8.3 ปจจัยสูความสําเร็จ มาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมของหนวยงาน/องคกรใดก็ตาม จะบรรลุผลสําเร็จได

ข้ึนอยูกับปจจัย 3 ประการคือ 1) ผูท่ีอยูในหนวยงานนั้นมีความเขาใจเนื้อหาและความหมายท่ีกําหนดไวอยางถองแท

(Understanding) 2) ผูท่ีอยูในหนวยงานนั้นมีความยอมรับ ศรัทธาตอคุณคาของมาตรฐานทางคุณธรรม

จริยธรรมท่ีกําหนด และนํามายึดถือเปนหลักหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน (Internalization) 3) เม่ือผูท่ีอยูในหนวยงานนั้นยอมรับแลว ไดนําไปปฏิบัติจนเปนวิถีปกติของชีวิต

(Commitment as Way of Life)

Page 108: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  116

6. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 6.1 งานวิจัยท่ีเก่ียวของในประเทศ งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม สามารถสรุปเปนประเด็นท่ีมีผูวิจัยไดทําวิจัยไว ดังน้ี

6.1.1 การพัฒนา/สงเสริมคุณธรรมจริยธรรม การพฒันา/สงเสริมคุณธรรมจรยิธรรมโดยการจดักิจกรรม/โครงการเพื่อพัฒนา

คุณธรรมจริยธรรม จําแนกตามระดับการศึกษา ดังนี ้ระดับปฐมวัย ภัททิยา กฤษณะพันธ (2540) วิจยัผลของการใชกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมท่ีมี

ตอการลดพฤติกรรมกาวราวของเด็กปฐมวัยพบวา เด็กปฐมวัยท่ีไดรับการจัดกจิกรรมสงเสริมคุณธรรมโดยการนําคุณธรรม 4 ประการคือ ความมีระเบียบวินยั ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความขยนัม่ันเพยีรและความประหยัดมาจัดเปนกิจกรรมเสริมแนวการจัดประสบการณประจําวนั เสริมแผนการจัดประสบการณปกติมีพฤติกรรมกาวราวลดลงเม่ือเปรียบเทียบกับกอนไดรับกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม อีกทั้งเม่ือส้ินสุดการทดลองแลว พฤติกรรมกาวราวนั้นยงัคงอยู

ระดับประถมศึกษา อภิชา แดงจํารูญ (2548) ไดศึกษาการจดักจิกรรมการพฒันาคุณธรรมใน

โรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพฯ ผลการวิจัย พบวา กิจกรรมท่ีจัดใหนักเรียนมีสวนรวม ไดแก การสวดมนตไหวพระตอนเชากอนเขาเรียน การอบรมศีลธรรมในช่ัวโมงเรียน การตกับาตรประจําป ท้ังนี้พบวาหลังจากท่ีไดเขารวมกิจกรรม นกัเรียนมีพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดข้ึีน ส่ิงท่ีสามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนไดมากท่ีสุด คือ นิทานและวดีิทัศน ตามลําดับ

กิจกรรมท่ีพัฒนาคุณธรรมตามแนวทางการบริหารจิตเจริญปญญามีการประยุกตใชหลักธรรมคําสอนทางพระพุทธศาสนาใหเหมาะสมกับวยั โดยพบวาหลังจากท่ีนกัเรียนไดฝกกิจกรรมสําคัญ ไดแก การนั่งสมาธิ การเดินจงกรม การกําหนดอิริยาบถยอย การฟงธรรมและการรวมกิจกรรมอ่ืน ๆ นักเรียนไดเรียนรูและสามารถแยกแยะไดวาส่ิงใดถูกส่ิงใดผิด เขาใจเรื่องความดีความช่ัว สามารถควบคุมอารมณและมีสติสัมปชัญญะเพิ่มข้ึน

ระดับมัธยมศึกษา แสงนภา ภกัดีศิริวงษ (2548) ไดศึกษาการมีสวนรวมของสถาบันศาสนาในการสงเสริม

คุณธรรมจริยธรรมนกัเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ จังหวัดนนทบุรี ผลการวิจยัพบวา

Page 109: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  117

1) ดานการส่ังสอนอบรมทางดานจริยธรรม พระภิกษุสวนมากใหการส่ังสอนอบรมมากกวาสัปดาหละ 1 คร้ัง และเม่ือนักเรียนมาประกอบกิจกรรมท่ีวัด เนื้อหาท่ีพระภิกษุส่ังสอนมากท่ีสุด คือ ความเมตตา กรุณา ความกตัญู

2) ดานการสนับสนุนกิจกรรมทางดานการสงเสริมจริยธรรม พระ ภิกษุสวนมากมีสวนรวมในการจดักิจกรรมในวนัสําคัญทางศาสนาตาง ๆ การจัดโครงการอบรมศีลธรรมนักเรียนในภาคฤดูรอน การจัดโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน โดยเปนผูใหความรวมมือแกคณะครู-อาจารยและผูจัด และใหการสนับสนุนดานอุปกรณและสถานท่ี

3) ดานการใหคําแนะนําปรึกษาแกนักเรียน พระภกิษุสวนมากใหคําแนะนําปรึกษาเกีย่วกบัปญหาท่ัวไป ไดแกปญหาทางดานการเรียน การเงนิ สุขภาพ วิธีการใหคําแนะนําปรึกษาโดยสวนมากใหคําแนะนําปรึกษาท่ีวดั เม่ือนักเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมท่ีวัด

4) ดานการเปนส่ือกลางระหวางโรงเรียนกับชุมชน พระภิกษุสวนมากเคยมีสวนรวมในการชักชวนฆราวาสเขารวมกิจกรรมในวนัสําคัญทางศาสนา การทําบุญ ตักบาตร และพิธีพุทธมามกะ วิธีการท่ีพระภิกษุใชในการชักชวนสมาชิกในชุมชนเขารวมกจิกรรมมากท่ีสุด คือ การบอกกลาวแกสมาชิกในชุมชนเม่ือสมาชิกในชุมชนมาประกอบกิจกรรมทางศาสนา

ระดับอาชีวศึกษา รอยพิมพใจ เพชรกุล (2546) ไดศึกษาเกี่ยวกับการจัดอาชีวศึกษา โดยบูรณา

การคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค ผลการวิจัยพบวารูปแบบการจัดอาชีวศึกษาโดยบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค คือ ผูสอนแตละวิชาจัดทําแผนการสอนของตนเอง เลือกองคประกอบคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีจะบูรณาการในรายวิชาของตนตามความเหมาะสมของเน้ือหาและธรรมชาติศึกษา แลวรวมกับครูในแผนกวิชา ปรับปรุงใหสามารถบูรณาการไดครบทุกองคประกอบในแตละช้ันป ระบุองคประกอบของคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีวัตถุประสงคท่ัวไปและพฤติกรรมบงช้ีท่ีจุดประสงคเชิงพฤติกรรม จัดกิจกรรมการเรียน การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ วัดและประเมินผลตามสภาพจริง

ระดับอุดมศึกษา ฤกษชัย คุณูปการ (2539) ไดเสนอทฤษฎีท่ีสามารถใชสอนและฝกอบรมให

ผูเรียนเปนผูท่ีมีคุณธรรมและจริยธรรมท่ีพึงประสงคไดอยางประสิทธิภาพ การปลูกฝงจริยธรรมโดยวิธีกระจางคานิยม หมายถึง การกระตุนใหบุคคลเขาใจคานิยมของตนเองและคานิยมของผูอ่ืนไดอยางชัดเจนซ่ึงความเขาใจดังกลาวจะชวยใหบุคคลสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมและส่ิงแวดลอมไดสมบูรณยิ่งข้ึน การมุงใหผูเรียนเขาใจคานิยม คุณธรรมและจริยธรรมของตนเองไดอยางชัดเจน เพื่อปองกันความสับสนและความลังเลใจในการประพฤติปฏิบัติท้ังตอตนเองและผูอ่ืน ผูเรียนมีอิสระในการ

Page 110: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  118

การปลูกฝงจริยธรรมโดยใหเหตุผลเชิงจริยธรรมเปนวิธีการที่สามารถนํามาใชสอนและฝกอบรมใหเปนคนมีคุณธรรมและจริยธรรมท่ีพึงประสงคโดยเหตุผลเชิงจริยธรรมจะทําหนาท่ีเปนเหตุจูงใจใหบุคคลแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค บุคคลจึงสามารถประเมินคุณธรรมและจริยธรรมของผูอ่ืนได โดยการสังเกตและซักถามเหตุผลท่ีอยูเบ้ืองหลังการกระทําตาง ๆ ของเขา

เกียรติคุณ สิทธิชัย (2545) ไดศึกษาแนวทางการพัฒนาพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักศึกษาในสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคใต สงขลา พบวา 1) นักศึกษาโดยสวนรวมเห็นวาพฤติกรรมทางจริยธรรมมีความสําคัญท้ังตอตัวนักศึกษาและตอสังคมท้ัง 15 พฤติกรรมอยูในระดับมากคือ ความมีเหตุผล ความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตยสุจริต ความอุตสาหะ ความประหยัด ความเมตตากรุณา ความเสียสละ ความสามัคคี ความยุติธรรม ความกตัญูกตเวที การเคารพเช่ือฟงผูใหญ ความสุภาพเรียบรอย การใชเวลาใหเปนประโยชน การละอายและเกรงกลัว 2) นักศึกษาเห็นวาเทาท่ีผานมาสถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา และสถาบันครอบครัวมีสวนรวมในการพัฒนาพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักศึกษาในระดับมาก 3) ความมั่นใจในการแสดงพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักศึกษาท้ังตอตนเองและสังคมอยูในระดับมาก 4) นักศึกษาและอาจารยเห็นวาบทบาทโดยรวมของวิทยาเขตภาคใตมีสวนชวยในการพัฒนาพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักศึกษาในระดับปานกลาง 5) นักศึกษาและอาจารยเห็นวาบทบาทท่ีเปนจริงในการพัฒนาพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักศึกษาอยูในระดับปานกลาง 6) วิทยาเขตภาคใตยังไมมีแนวทางท่ีเหมาะสมในการพัฒนาพฤติกรรมทางจริยธรรมของนักศึกษา จุดมุงหมายดานการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมท่ีกําหนดไมเดนชัด โครงการกิจกรรมมีนอย และการจัดทํายังไมเปนระบบ

ธิดาพร โตสติ (2546) ไดประยุกตใชเทคนิคการวิเคราะหผลกระทบไขวเพื่อกําหนดแนวทางการจัดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรมนิสิตคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผลการวิจัย พบวาคุณธรรมท่ีนักศึกษาควรไดรับการพัฒนาอยางเรงดวน คือ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ และความขยันหม่ันเพียร เหตุปจจัยของคุณธรรมเช่ือมโยงกับการขาดแบบอยางท่ีดี ครอบครัว ตัวนิสิตและอาจารยผูสอน คุณธรรมท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมมีความสอดคลองกับคุณธรรมท่ีนิสิตควรไดรับการพัฒนา แนว

Page 111: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  119

นภดล เทียนเพ่ิมพูล (2546) ไดศึกษาเกี่ยวกับการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนักเรียนนายรอยตํารวจ พบวา คุณธรรมท่ีควรปลูกฝงอยูในระดับสูงสุด คือ เปนผูท่ีมีสัจจะและความจริงใจ และระดับตํ่าสุด คือ เปนผูท่ีมีระเบียบวินัย จริยธรรมท่ีควรปลูกฝงอยูในระดับสูงสุด คือ ตั้งใจปฏิบัติหนาที่และระดับตํ่าสุด คือ ใหความชวยเหลือผูอ่ืน มีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ รูจักเสียสละ เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน

รูปแบบและวิธีการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมท่ีอยูในระดับสูงสุด คือ ครูอาจารยประพฤติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกนักเรียนนายรอยตํารวจ และระดับตํ่าสุด คือ การใหนักเรียนทองจํา

สวนความคิดเห็นของนายตํารวจฝายปกครองเก่ียวกับคุณธรรมจริยธรรมที่ควรปลูกฝงใหแกนักเรียนนายรอยตํารวจ คุณธรรม ไดแก ความยุติธรรม ความไมประมาท ความอดทนและอดกลั้น การมีระเบียบวินัย จริยธรรมไดแก ความเมตตากรุณา ความขยันหม่ันเพียร การเสียสละ ความสามัคคี และรูปแบบและวิธีการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม ไดแก การใหครู อาจารย นายตํารวจฝายปกครอง ทําตัวเปนแบบอยางท่ีดี การอบรมโดยใชวิทยากรพิเศษท่ีมีประสบการณ การใชละครสมมติ ตัวอยางของตํารวจท่ีไดจากส่ือมวลชน ภาพยนตร ประสบการณจริงของตํารวจ ใชกิจกรรมนอกหลักสูตรตาง ๆ เชน คายอาสาพัฒนาชนบท โครงการฝกรับใชประชาชนในชนบทและการเขียนบันทึกประจําวันการทําความดี

เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน(2549) ไดเขียนบทความเกี่ยวกับการสอนจริยธรรมในโรงเรียนแพทย โดยสรุปปญหาในการสอนจริยธรรมทางการแพทย กําหนดวัตถุประสงคของการสอนบรรยายทฤษฎีพื้นฐานและแนะนําเทคนิคการสอนจริยธรรม เพื่อช้ีแนะแนวทางในการจัดการสอนจริยธรรมท่ีเหมาะสมในโรงเรียนแพทย อาจารยแพทยตองคํานึงถึงวัตถุประสงคท้ังในเชิงความคิด เจตคติ และพฤติกรรมในการวางแผน การสอนทฤษฎี การพัฒนาความคิดและทฤษฎีการวิเคราะหพฤติกรรมช้ีแนะการสอนจริยธรรมโดยใชการวิจารณประเด็นทางจริยธรรมท่ีหยิบยกมาจากปญหาจริงรวมกับการช้ีนํากฎเกณฑพื้นฐานทางจริยธรรมท้ังหมดท่ีเกี่ยวของกับเวชปฏิบัติ การสอนจริยธรรมใหนักเรียนแพทยควรเนนความตองการของผูเรียนเปนหลักโดยใชการเรียนจากโจทยปญหาในรูปแบบผสมผสานโดยอาจารยจากหลายภาควิชา โรงเรียนแพทยตองวางหลักสูตรใหนักเรียนแพทยทุกคนไดรับการสอนจริยธรรมอยางเปนระบบ โดยอาจเสริมวิชาเลือกเสรีดวยตามความเหมาะสม การสอนจริยธรรมใหแพทยประจําบานควรเนนประเด็นสําคัญทางจริยธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกับเวชปฏิบัติในสาขาเฉพาะทางของแพทยประจําบาน นักวิจัยควรไดรับการอบรมจริยธรรมอยางเปนทางการ รวมกับการสังเกตแบบอยางการปฏิบัติของนักวิจัยตัวอยางแพทยผูมีประสบการณสามารถใชการอภิปรายกลุมยอย

Page 112: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  120

ระดับชุมชน บัณฑิตย ศรีพุทธางกูร และคณะ (2543) ไดศึกษารูปแบบการปลูกฝงคุณธรรม

จริยธรรม ประชาชนในชนบท: ศึกษาเฉพาะกรณี พระอาจารยสุบิน ปณีโต ผลการวิจัยพบวาการดําเนินงานของกลุมสัจจะสะสมทรัพยฯ บานหนองน้ําจืด เกิดข้ึนโดยท่ีพระอาจารยสุบิน เขาไปบรรยายธรรมะในระดับชุมชน รวมวิเคราะหปญหาของชุมชน และรวมเรียนรูกับชุมชน จนเกิดสัมมาทิฎฐิรวมกันในระดับชุมชน กลุมสัจจะสะสมทรัพยฯ ไดมีพัฒนาการในดานสมาชิกกลุมเงินทุนหมุนเวียน และศักยภาพของกลุมในการชวยเหลือสมาชิกท่ีเพิ่มข้ึนเปนลําดับในดานกิจกรรมกลุม มีความหลากหลาย และมีกิจกรรมท่ีเปนการพัฒนา

ออมเดือน สดมณีและคณะ (2548) ไดศึกษาสภาพการจัดฝกอบรมและการเรียนรูเพื่อสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมของคนไทย ในเชิงลึกจากองคกรท่ีประสบความสําเร็จในการดําเนินการฝกอบรมดานคุณธรรมจริยธรรม 20 แหง โดยไดรับทุนการวิจัยจากศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม พบวาสภาพการจัดฝกอบรมและการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแบงไดเปน 3 รูปแบบ คือ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานกระบวนการเรียนรู การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานการปฏิบัติธรรม และการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานกระบวนการทักษะชีวิต มีรายละเอียดดังนี้

1. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานกระบวนการเรียนรู การจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแกเยาวชนผานกระบวนการเรียนรู จะ

เนนท้ังความรู การปฏิบัติ และความตระหนักในความเปนพุทธศาสนิกชนท่ีดี โดยกจิกรรมจะหนัก เบาตามกลุมอายุผูเขาอบรม และใชส่ือตาง ๆ เขามาประกอบในการทํากิจกรรมอยูเสมอ การจัดคายไมไดจดัแบบเนนการฝกปฏิบัติทางพุทธศาสนา และใชเทคนิคการสอนของครูเขาไปประยุกตใหเหมาะสมกับพัฒนาการเดก็ดวย

รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมท่ีเหมาะสมในแตละกลุมวัยท้ังดานเน้ือหาและวิธีการ เชน ใชนิทานสําหรับเด็กเล็ก มีการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อใหผูรับการอบรมไดเห็นคุณคาของส่ิงนั้น ไดใชปจจัยตาง ๆ มาชวยใหการจัดฝกอบรม เชน บรรยากาศท่ีเนนธรรมชาติและเงียบสงบ มีกระบวนการกลุมชวยผลักดันรวมกับการไดรับการถายทอดทางสังคมจากสถาบันศาสนา การจัดการฝกอบรมจะใชวิธีการจัดแบงคนเปนกลุม ซ่ึงเปนตัวชวยในการขับเคล่ือนใหเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูไดมากกวาฝกอบรมเปนรายบุคคล เพื่อนในกลุมมีอิทธิพลอยางมากตอพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม เชน การเปนกัลยาณมิตร การเปนแบบอยาง การแลกเปล่ียนประสบการณกัน สวนวิทยากรสวนใหญ

Page 113: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  121

2. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานการปฏิบัติธรรม การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติ

ปฏฐาน 4 เปนรูปแบบท่ีเนนการพัฒนาจิตของบุคคลใหเกิดความสงบ มีสมาธิกอใหเกิดปญญาและสามารถนําไปสูการมีพฤติกรรมท่ีดีงามท้ังทางกาย วาจาและใจ แนวทางการปฏิบัติธรรมมีอยูหลายแนวทาง เนนท้ังในภาคปริยัติ (ทฤษฎี) และภาคปฏิบัติควบคูกันไป โดยพิจารณาใหเหมาะสมกับระดับความสามารถหรือความรูพื้นฐานของผูเขารวมฝกปฏิบัติ ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของนักทฤษฎีกลุมพัฒนาการทางความคิดท่ีเช่ือวาการพัฒนาทางจริยธรรมของแตละบุคคลแตกตางกันข้ึนอยูกับพัฒนาการทางสติปญญาและวัยของบุคคล 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานกระบวนการทักษะชีวิต

การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานกระบวนการทักษะชีวิต เปนกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) ท่ีสําคัญ ตามแนวคิดทางสังคมวิทยาโดยผานตัวแทนการขัดเกลาทางสังคมท่ีหลากหลาย ไมวาจะเปนพระสงฆ ครูอาจารย พอ แม เพื่อน เปนตน ในการปลูกฝงความคิด ความเชื่อ คานิยมและหลักการปฏิบัติท่ีดีงาม การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมโดยผานกระบวนการทักษะชีวิตขององคกรตางๆ เปนรูปแบบท่ีเปนการผสมผสานการพัฒนาเขากับวิถีการดําเนินชีวิต โดยเนนการใชธรรมควบคูกับการออมเงิน

การจัดหลักสูตร เนื้อหา หรือกิจกรรมใหเหมาะสมกับชวงวัยของกลุมผูเขารับการอบรมนี้สอดคลองกับทฤษฎีพัฒนาการทางความคิดท่ีเช่ือวาพัฒนาการทางจริยธรรมของแตละบุคคลแตกตางกันข้ึนอยูกับพัฒนาการทางสติปญญา อาชีพ ระดับการศึกษาและวัยของบุคคล เร่ิมจากการใหบุคคลมีโอกาสรับรูและสนใจในเร่ืองท่ีจะปลูกฝง มีโอกาสในการตอบสนองตอส่ิงท่ีสนใจ เห็นคุณคาของส่ิงท่ีปฏิบัติและนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวันอยางสมํ่าเสมอ และทายท่ีสุดก็คือการพัฒนาเปนลักษณะนิสัย

สวนกลุมสัจจะสะสมทรัพยเพื่อพัฒนาคุณธรรมครบวงจรชีวิต ซ่ึงเปนอีกรูปแบบหนึ่งของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สอดคลองกับแนวคิดทางศาสนาท่ีวาปญหาของสังคมไทยในปจจุบันสามารถแกไขหรือบรรเทาเบาบางลงไดดวยศาสนา เนื่องจากตนเหตุของปญหาตาง ๆ ในสังคมนั้นมาจากการกระทําของมนุษย การแกปญหาจึงตองแกไขท่ีตัวมนุษยเอง มนุษยท่ีสามารถพัฒนาตนไดก็สามารถชวยตนเองใหสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนดวยความสงบสุขและสามารถนําตนไปสูความพนทุกขไดในท่ีสุด นอกจากนี้การรวมกลุมกันนับวาเปนการชวยพัฒนาตนเองใหเปนผูมีคุณธรรมจริยธรรมเกิดจิตใตสํานึกท่ีดีในการประหยัด อดออม รูจักรักษาสัจจะ และมีระเบียบวินัย รวมท้ังเปนการชวยเหลือเกื้อกูลบุคคลอ่ืนดวยอันสงผลใหเกิดความสามัคคีปรองดองข้ึนภายในชุมชน

Page 114: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  122

พิชญพงศ ทองสงเสริม (2549) ไดศึกษาลักษณะและการเสริมสรางคุณธรรมในวิถีชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนบานไหมคุณธรรม อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแกน พบวาลักษณะทางคุณธรรมท่ีเดนชัดของคนในชุมชน คือ ความสามัคคีเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน ความมีน้ําใจ เผ่ือแผเอ้ืออาทรตอกันและกัน ความซ่ือสัตยและความขยันหม่ันเพียร สวนวิธีการในการปลูกฝงหรือเสริมสรางคุณธรรมนั้น สถาบันท่ีมีบทบาทหลักก็คือสถาบันครอบครัว สถาบันทางการศึกษา สถาบันศาสนา ซ่ึงจะตองมีการอบรม แนะนํา ตักเตือนส่ังสอน และท่ีสําคัญคือจะตองประพฤติตัวใหเปนแบบอยางดวย

ธนพิทักษ จูโต (2550) ไดศึกษาการถายทอดความรูดานคุณธรรมและจริยธรรมของชุมชน ศึกษากรณีชุมชนแหงหนึ่งในอําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ผลงานวิจัย พบวา ลักษณะคุณธรรมจริยธรรมของชุมชนท่ีมีมากท่ีสุด คือ ความสามัคคี รองลงมาตามลําดับ คือ ความเสียสละ ความซ่ือสัตย ความมีเมตตา ความมีวาจาสัตย ในสวนของการถายทอดทางคุณธรรม/จริยธรรมของชุมชน ประกอบดวย 1) การอบรมส่ังสอน โดยครูสอนในโรงเรียน บิดามารดาสอนในบาน 2) การสอนสอดแทรกวิถีชีวิต โดยการเลาขานตํานานความเช่ือ ผานวิถีชีวิตประจําวัน 3) การนําประสบการณภายนอกจากการศึกษาดูงานของทางราชการ การแลกเปล่ียนเรียนรูกับเครือขาย 4) การสรางความตระหนักไดจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการถายทอดฯ 5) วิธีการที่ทุกคนทุกฝายมีสวนรวมในการถายทอด โดยชุมชนจะมีการถายทอดท่ีไดผลและเปนท่ียอมรับมากกวาการถายทอดของสถาบันท่ีมีอยูในชุมชน

สําหรับบทบาทผูนํา/สถาบันท่ีมีสวนเกี่ยวของในการถายทอดคุณธรรมจริยธรรมในชุมชน พบวาบทบาทผูนํา/สถาบันท่ีมีสวนเกี่ยวของในการถายทอดคุณธรรมจริยธรรมของชุมชน มีดังนี้ 1) บุคคลในวงการศึกษา/สถานศึกษาอันไดแก ครู/โรงเรียน มีบทบาทในการดูแลสงเสริมวิธีการถายทอดปานกลาง 2)สถาบันทางศาสนา โดยผูมีบทบาทไดแก พระท่ีปฏิบัติศาสนกิจและมีบทบาทมากในการสอนคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนและชาวบานในชุมชน 3) บทบาทหนวยงานสาธารณสุข (อนามัย) มีบทบาทมากโดยเฉพาะดานการเปนผูนําในเร่ืองของการพัฒนาและเปนท่ียอมรับของชุมชน 4) บทบาทสถาบันครอบครัวโดยบิดา มารดาและญาติท่ีเกี่ยวพันกัน มีบทบาทมากในการอบรมส่ังสอนคุณธรรมจริยธรรมใหแกลูกหลานและเยาวชน บุคคลสําคัญ/กลุมผูนําในสังคม มีสวนเกี่ยวของมากเพราะเปนตัวแบบท่ีดีในการถายทอดคุณธรรม จริยธรรมโดยเปนท่ียอมรับจากท้ังภายในและภายนอกชุมชน 6.1.2 การสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม

เสาวนิจ รัตนวิจิตร(2547) ไดศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะหโครงสรางความสัมพันธในชุมชนท่ีเขมขนในการปลูกฝงคุณธรรมความซ่ือสัตย : ศึกษาชุมชนพุทธ คริสต อิสลาม พบวาชุมชนเขมขนทางศาสนามีองคประกอบ 2 ระดับท่ีจัดวาเปนความสัมพันธหลักและความสัมพันธรอง ความสัมพันธหลัก คือ บาน วัด โรงเรียน และกลุมเพ่ือน เปนองคประกอบสําคัญในการสราง “คนดีท่ี

Page 115: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  123

ณัฐพงศชัย ไทรพงษพันธุ (2550) ไดสังเคราะหรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสรางจริยธรรมสําหรับนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาดวยการวิเคราะหอภิมาน ผลการวิจัย พบวา ตัวแปรท่ีมีความสัมพันธกับคาขนาดอิทธิพล คือ 1) ทฤษฎีจริยธรรม เชน ทฤษฎีของเพียเจท โคลเบอรก 2) ทฤษฎีการเรียนรู คือ ทฤษฎีการเรียนรูกลุมปญญานิยม 3) รูปแบบการเรียนรูของผูเรียน คือ เปนแบบการมองเห็น 4) บทบาทของผูเรียน คือ เปนแบบการรับความรูโดยการมองเห็น การรับความรูโดยการฟง และการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 5) รูปแบบการสอน คือ เปนแบบการใชกระบวนการทางสังคม การเนนตามลักษณะเฉพาะของบุคคล และการเนนตามแนวคิดตามกลุมพฤติกรรมนิยม 6) บทบาทผูสอน คือ เปนผูถายทอดความรูโดยการแสดงใหดู ถายทอดความรูโดยการใหฟงและจัดสภาพแวดลอมและชวยเหลือผูเรียน และ 7) ส่ือการเรียนการสอน คือ เปนท้ังส่ือเพ่ือการมองเห็นและส่ือเพ่ือการฟง

6.1.3 พฤติกรรมคุณธรรมของกลุมบุคคลตาง ๆ ประกอบดวยกลุมตาง ๆ ดังนี ้ผูบริหาร ธนเศรษฐ จําปางาม (2543) ไดศึกษาการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม

ของผูบริหาร ศึกษากรณีวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแกน ผลการวิจัยพบวา ระดับการปฏิบัติตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร อยูในระดับมาก ท้ัง 4 ดาน คือ ดานคุณธรรมและจริยธรรมตอวิชาชีพการบริหาร คุณธรรมและจริยธรรมตอเพื่อนรวมงาน คุณธรรมและจริยธรรมตอสังคมและประเทศชาติ คุณธรรมและจริยธรรมตอตนเอง

Page 116: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  124

แนวทางในการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร จากการศึกษาพบวา การที่จะทําใหผูบริหารไดแสดงถึงการใชคุณธรรมและจริยธรรมทางการบริหารไดนั้น ผูบริหารจะตองมอบหมายงานและกระจายอํานาจอยางเต็มท่ี พรอมท้ังใหมีการจัดทําภาระงานของแตละคน ควรใหผูรวมงานมีสวนรวมในการตัดสินใจในประเด็นท่ีสําคัญ เพื่อหลีกเล่ียงขอกลาวหาการใชระบบพรรคพวกในการบริหารงาน รวมทั้งใหมีการจัดทําคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานและวิธีการปฏิบัติงาน เปดโอกาสใหมีระบบการตรวจทางสังคมและผูบริหารทุกตําแหนงควรจะมาจากการเลือกตั้ง

สมพิศ สุขปญญา (2549) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมผูนํากับคุณธรรมของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสิงหบุรี ผลการวิจัยพบวาพฤติกรรมผูนําโดยรวม มีการปฏิบัติอยูในระดับมาก ดานพฤติกรรมผูนําท่ีเนนงาน เนนความสัมพันธและเนนการเปล่ียนแปลงมีการปฏิบัติอยูในระดับมากทุกดาน สวนระดับคุณธรรมของผูบริหาร คุณธรรมโดยรวมมีการปฏิบัติอยูในระดับมาก ดานคุณธรรมในการครองตน การครองคนและการครองงาน มีการปฏิบัติอยูในระดับมาก

วริษฐา ฤทธิตา (2549) ไดศึกษาคุณธรรมของสมาชิกองคกรชุมชน ดานการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย: กรณีศึกษาเมืองพัทยา จ.ชลบุรี พบวาสมาชิกองคกรชุมชนมีคุณธรรมดานการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย ท้ังดานจิตใจ และดานพฤติกรรมอยูในระดับมาก มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับปญหาการคามนุษยอยูในระดับปานกลาง การมองเห็นความสําคัญและทัศนคติ อยูในระดับมากท่ีสุด

ผูใหบริการ ขวัญรัก สุขสมหทัย (2547) ไดศึกษาพฤติกรรมการทํางานในหนวยงานใหบริการประชาชนภาครัฐท่ีมีแนวโนมความไมซ่ือสัตยในการทํางาน ผลการวิจัยพบวาองคประกอบในการเปนเจาหนาท่ีท่ีดีมีความซ่ือสัตยในหนวยงานมี 2 ประการคือ 1) การหลอหลอมกอนเขาทํางานโดยการเล้ียงดูแบบใหพึ่งตนเองเร็ว การไดเห็นแบบอยางความซื่อสัตยจากผูใหญ การไดรับการบมเพาะดานคุณธรรมจากครอบครัวและการใกลชิดสถาบันศาสนา 2) การหลอหลอมจากการทํางานในหนวยงาน โดยลักษณะงานวัฒนธรรมองคการ ผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงาน กฎระเบียบในการทํางาน และการหลอหลอมจากภายนอก คือ ประชาชนผูมาติดตอและสภาพสังคมรอบตัว

วินัดดา โสภานิช (2549) ไดศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมของผูใหบริการงานประกันสังคม กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี พบวา การใชหลักคุณธรรม จริยธรรมในการทํางาน เจาหนาท่ีไดประพฤติปฏิบัติภายใตจิตสํานึกท่ีดี การตัดสินใจดีเปนประจํา โดยมีความเอ้ือเฟอ มีน้ําใจ ใชกิริยาวาจาท่ีสุภาพออนโยนตอผูรับบริการ การแสดงความชวยเหลืออยางจริงใจ มีการพัฒนาการใหบริการอยางตอเนื่อง สวนพฤติกรรมการใหบริการตามหลักจริยธรรม พบวาเจาหนาท่ีไดปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตย ตั้งอยูในความดีและความถูกตองโดยยึดหลักความรับผิดชอบในหนาท่ีเปนหลักดวยความตรงไปตรงมาตอหนาท่ี ตอประชาชน มี

Page 117: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  125

6.1.4 การประเมินโครงการเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม กรรณิกา เคลือบวัณณรัตน (2545) ประเมินโครงการ เยาวชนคนดีศรีสุพรรณ

ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ตามมิติการประเมิน 4 ดาน ผลการประเมินพบวา ดานสภาพแวดลอมในภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวาความสอดคลองระหวางนโยบายกับวัตถุประสงคของโครงการ ความตองการความจําเปนและความคาดหวังอยูในระดับมาก ผลกระทบจากสังคมที่มีตอโครงการอยูในระดับปานกลาง สําหรับนักเรียนประเมินสภาพแวดลอมในภาพรวมอยูในระดับมาก ดานปจจัยเบื้องตนผูบริหารและครูสอนประเมินดานกระบวนการดําเนินงานอยูในระดับมาก เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวาการวางแผนงาน การจัดกิจกรรม การประชาสัมพันธ และการประเมินผลอยูในระดับมาก นักเรียนประเมินดานกระบวนการดําเนินงานอยูในระดับปานกลาง เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวา โรงเรียนใหนักเรียนเปนแกนนําในการฝกกิจกรรมมีการประเมินอยูในระดับมาก สวนนักเรียนมีการใชเทคนิคในการฝกปฏิบัติอยางหลากหลายและมีสวนชวยเผยแพรโครงการไปยังชุมชนอยูในระดับปานกลาง ดานกระบวนการดําเนินงานผูบริหารและครูผูสอนประเมินดานกระบวนการดําเนินงานอยูในระดับมาก เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวาการวางแผนงาน การจัดกิจกรรม การประชาสัมพันธ และการประเมินผลอยูในระดับมาก และนักเรียนประเมินดานกระบวนการดําเนินงานอยูในระดับปานกลาง เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวา โรงเรียนใหนักเรียนเปนแกนนําในการฝกกิจกรรมมีการประเมินอยูในระดับมาก สวนนักเรียนมีการใชเทคนิคในการฝกปฏิบัติอยางหลากหลายและมีสวนชวยเผยแพรโครงการไปยังชุมชนอยูในระดับปานกลาง ดานผลผลิตของโครงการ ผูบริหารและครูผูสอน ประเมินดานผลผลิตโครงการอยูในระดับมาก เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวาพัฒนาการของนักเรียนมีอยูในระดับมาก และความกาวหนาของโครงการอยูในระดับปานกลาง นักเรียนประเมินผลดานผลผลิตวาอยูในระดับมาก เม่ือประเมินเปนรายประเด็นพบวาผลผลิตของโครงการท่ีมีมากท่ีสุดคือ นักเรียนใหการเคารพเทิดทูนพระมหากษัตริย และนักเรียนปฏิบัติตนโดยไมพัวพันในส่ิงเสพติดทุกชนิด

6.1.5 ปญหาคุณธรรมจริยธรรม สุวัฒน ทองธนากุล (2542) รายงานเอกสารวิจัยสวนบุคคลเร่ืองปญหา

จริยธรรมและบทบาทของสภาการนักหนังสือพิมพแหงชาติในการกํากับดานจริยธรรมของหนังสือพิมพ วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร ภาครัฐ รวม เอกชน รุนท่ี 11 ประจําปการศึกษา พุทธศักราช 2541-2542 พบวา ปญหาทางดานจริยธรรมของหนังสือพิมพ ดังตอไปนี้

Page 118: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  126

1) ความตระหนักถึงจริยธรรมของหนังสือพิมพ จากการสํารวจ หนังสือพิมพในปจจุบันมีความตระหนักถึงจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพระดับปานกลางในขณะท่ีกลุมผูอานหนังสือพิมพเห็นวา หนังสือพิมพมีความตระหนักถึงจริยธรรมนอย

2) ปญหาจริยธรรมท่ีเกิดข้ึนจริงกับหนังสือพิมพ นักวิชาชีพหนังสือพิมพและผูอานหนังสือพิมพเห็นวาปญหาทางจริยธรรมท่ีเกิดข้ึนจริงมากท่ีสุดไดแกปญหาการวางตัวไมเปนกลาง วิพากษวิจารณอยางเปนอคติ

3) ปญหาทางจริยธรรมท่ีรายแรง นักวิชาชีพและผูอานจะเห็นวาปญหาทางจริยธรรมท่ีเกิดข้ึนจริงของหนังสือพิมพจะแตกตางกัน แตท้ัง 2 กลุมเห็นพองกันวาปญหาการรับซองขาว อามิสสินจาง ปญหาการเสนอขาวบิดเบือน และปญหาการวางตัวไมเปนกลาง วิพากษวิจารณอยางมีอคติของหนังสือพิมพเปนปญหาจริยธรรมท่ีรายแรงที่สุด

4) สาเหตุท่ีทําใหเกิดปญหาทางจริยธรรม นักวิชาชีพและผูอานเห็นเหมือนกันวาปจจัยท่ีทําใหเกิดปญหาทางจริยธรรมมากท่ีสุดไดแก 1) การที่นักหนังสือพิมพเอง ไมตระหนักถึงจริยธรรม (2) อาชีพนักหนังสือพิมพมีโอกาสหาผลประโยชนไดงาย (3) เกิดจากการแขงขันทางธุรกิจหนังสือพิมพ ท้ังนี้นักวิชาชีพตองทํางานแขงกับเวลาก็เปนสาเหตุสําคัญในอันดับตน ๆ ในขณะท่ีผูอานมองวาการมีเสรีภาพมากเกินไปเปนเหตุใหเกิดปญหามากกวา 6.2 งานวิจัยในตางประเทศ งานท่ีวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในตางประเทศ มีผูทําวิจัยอยางหลากหลาย ดังนี้ เบอรเกตต (Burgette, 2007) ไดศึกษาการพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยใหนักศึกษาทําแบบวัด DIT (Defining Issues Test) และ MLQ ผลการวิจัยพบวานักศึกษาวิชาเอกทางดานศิลปะและวิทยาศาสตรไดคะแนนการพัฒนาคุณธรรมสูงกวาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ในขณะท่ีนักศึกษาวิชาเอกทางดานการศึกษาไดคะแนนนอยกวา เวอรธซ (Wirtz, 2007) ไดศึกษาการพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยหลักสูตร 2 ป กลุมตัวอยางประกอบดวยนักศึกษาพยาบาลที่เรียนภาคเรียนแรก 156 คน และนักศึกษาท่ีเรียนภาคเรียนสุดทาย 144 คน ในวิทยาลัยหลักสูตร 2 ป สหรัฐอเมริกา ในการวัดการพัฒนาคุณธรรม ใชแบบวัด Rest’s Defining Issues Test – 2 (DIT – 2) ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาพยาบาลท้ังสองกลุมมีการพัฒนาคุณธรรมแตกตางกัน ในการพัฒนาคุณธรรม ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญไดแก อายุ และประสบการณการศึกษาท่ีผานมา ตัวแปรท่ีไมนัยสําคัญ ไดแก เพศ ประสบการณการทํางาน และคะแนนเฉล่ียสะสม รอยัล และ เบคเกอร (Royal and Baker, 2005) ไดศึกษาผลของโปรแกรมการใหความรูเกี่ยวกับคุณธรรมกับพอแมของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา ในการวิจัยกึ่งทดลองคร้ังนี้ มีพอแม 18 คนท่ีเขารวมโปรแกรมการใหการศึกษาทางดานจิตวิทยาโดยโปรแกรมนี้พัฒนาข้ึนเพื่อสงเสริมการตัดสินใจเชิงคุณธรรมของพอแมของนักเรียน จากการเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมซ่ึงเปน

Page 119: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  127

ลี (Lee, 2007) ไดศึกษาบทบาทของโทรทัศนท่ีตอการพัฒนาคุณธรรม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาอิทธิพลของโทรทัศนและเนื้อหาในรายการโทรทัศนท่ีมีตอการพัฒนาคุณธรรม กลุมตัวอยางเปนวัยรุน อายุ 18 – 24 ป การเก็บรวบรวมขอมูลประกอบดวยการเขียนบรรยาย และการสัมภาษณแบบเจาะลึก ผลการวิจัยพบวาเนื้อหาในรายการโทรทัศนมีอิทธิพลตอการพัฒนาคุณธรรม การเปนแบบอยางหรือตัวอยางท่ีดี และการสรางหรือการเสริมคานิยม จากการสังเคราะหงานวิจัยทางดานการพัฒนาคุณธรรม นุซซี (Nucci, 1987:A) ช้ีใหเห็นวา การใหความรูดานคุณธรรม ควรเนนในประเด็นของความยุติธรรม ความเปนธรรม และสวัสดิภาพของมนุษย การใหความรูดานคุณธรรมท่ีมีประสิทธิภาพตองบูรณการเขากับหลักสูตร นอกจากนี้การท่ีครูบริหารจัดการหองเรียนดวยการรักษากฎ ระเบียบของหองเรียน ความเปนธรรม และความยืดหยุนมีผลตอพัฒนาการคุณธรรมของผูเรียน มิลเลอร และ เบอรซอฟฟ (Miller and Bersoff, 2008) ไดศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมและการตัดสินใจเชิงคุณธรรม โดยศึกษาขามวัฒนธรรมระหวางคนอเมริกันและคนอินเดียซ่ึงอยูในเมืองทางใตของประเทศอินเดีย กลุมตัวอยางจํานวน 120 คน เปนคนอเมริกันท่ีเปนคริสเตียน และคนอินเดียท่ีเปนผูท่ียึดถือในประเพณีและความเช่ือของฮินดู ในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดใหกลุมตัวอยางพิจารณาสถานการณท่ีเกี่ยวของกับการไมปฏิบัติตามความเปนธรรมและความสัมพันธระหวางบุคคล ผลการวิจัยพบวามีความแตกตางทางวัฒนธรรมในการตัดสินใจเชิงคุณธรรม คนอินเดียแกไขสถานการณบอยคร้ังดวยทางเลือกท่ีเกี่ยวของกับความสัมพันธระหวางบุคคล สรุปจากการสังเคราะหเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากการสังเคราะหเอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับคุณธรรมสรุปเปนกรอบแนวคิดในการวิจัยดังนี้ การสงเสริมคุณธรรม หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการสงเสริมใหประชาชนกระทําความดีเพื่อความสงบสุขของสังคมและประเทศชาติ โดยมีปจจัยท่ีสนับสนุนหรือเปนอุปสรรคในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมสูประชาชน รูปแบบการสงเสริมคุณธรรม หมายถึง วิธีการดําเนินงานการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ประกอบดวย การวางแผน การจัดองคกร การจัดกิจกรรม การจัดงบประมาณ การประสานงาน การมีสวนรวมและการประเมิน และคุณธรรมท่ีพึงประสงค หมายถึง หลักคิดหลักปฏิบัติอันดีงามท่ีประกอบดวยความซ่ือสัตย การขมใจ ความอดทน การเสียสละ ความรับผิดชอบ ความมี

Page 120: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  128

1) ความซ่ือสัตย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการยึดม่ันกับขอมูลความจริง ความถูกตองดีงามที่เปนหลักเกณฑของการดําเนินชีวิต ท้ังทางกาย วาจา และใจ ดวยความจริงใจและมีความละอาย เกรงกลัวท่ีจะประพฤติปกปดบิดเบือนความจริง และการแสวงหาผลประโยชนในทางมิชอบ 2) การขมใจ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเขมแข็งม่ันคงทางจิตใจเม่ือตองเผชิญกับสภาพทุกขเวทนา กิเลส ตัณหา ความเกียจคราน ขอกลาวหา และคําวิพากษวิจารณในทางเสียหา โดยสามารถควบคุมจิตใจ อารมณและพฤติกรรมใหเปนปกติได 3) ความอดทน หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเขมแข็งท้ังทางรางกายและจิตใจ มุงม่ัน บากบ่ันปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนดไว แมตองเผชิญกับความเหน่ือยลา ความงวง ความหิว ความเจ็บปวด รวมท้ังพฤติกรรมของคนรอบขางและปญหาอุปสรรคตางๆ 4) การเสียสละ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความเต็มใจท่ีจะชวยเหลืองานสวนรวมหรือผูอ่ืนโดยสามารถสละทรัพย เวลา กําลังกาย กําลังสติปญญาของตนเพ่ือประโยชนของสวนรวมโดยไมหวังผลตอบแทน 5) ความรับผิดชอบ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความสํานึก ความเอาใจใสและมุงม่ันปฏิบัติหนาท่ีของตนอยางเต็มความสามารถเพื่อใหกิจกรรมนั้น ๆ บรรลุเปาหมายตามเวลาท่ีกําหนด รูจักสิทธิและหนาท่ีของตน บําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และพรอมท่ีจะรับผลจากการกระทําของตนเอง 6) ความมีสติสัมปชัญญะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการรูตัว การรูเทาทันในส่ิงตาง ๆ ไมประมาท รูจักพิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบ และใชเหตุผลในการตัดสินใจกอนการกระทําใดๆ 7) ความขยันหม่ันเพียร หมายถึงคุณลักษณะที่แสดงถึงความมุงม่ันอันแรงกลาท่ีจะไปสูความสําเร็จ โดยทุมเททั้งกําลังกาย กําลังใจ กําลังความสามารถอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอ เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายท่ีวางไว 8) ความมีวนิัย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการใหความสําคัญ ความเคารพ การยอมรับและปฏิบัติตามกฎเกณฑ ระเบียบขอบังคับ กฎหมาย คานยิมท่ีดี ตลอดจนจารีตประเพณขีองสังคม รูจักและปฏิบัติตามสิทธิและหนาท่ีของตน เคารพกฎหมายและสิทธิของผูอ่ืน 9) การประหยดั หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการรูจักคุณคาของทรัพยากร รูจักอดออม สามารถพิจารณาหาวิธีท่ีถูกตองเหมาะสม และมีประสิทธิภาพในการใชเงิน เวลา แรงงาน และทรัพยสินใหคุมคา รวมท้ังการใชทรัพยสินและทรัพยากรของสวนรวม

Page 121: วรรณกรรมที่ยวขี่ องเกsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet6420090712034057.pdf · 2.3 . คุณธรรมจริยธรรมที่จํ

  129

10) ความกตัญูกตเวที หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการเคารพ สํานึก ระลึกถึงผูมีพระคุณสมํ่าเสมอ การเล้ียงดู ตอบแทนผูมีพระคุณดวยความเต็มใจ สามารถพิจารณาหาวิธีการตอบแทนผูมีพระคุณในทุกโอกาสดวยกําลังกาย กําลังใจและกําลังทรัพย โดยไมหวังผลตอบแทน 11) ความสามัคคี หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงความสามารถในการปรับตัวเขากับผูอ่ืน การรวมมือรวมใจกับสมาชิกในหมูคณะ สามารถประสานโนมนาวผูอ่ืนใหเห็นความสําคัญของพลังกลุมและการรวมกันเปนหมูคณะเพื่อปฏิบัติงานใหสําเร็จ รวมท้ังการรับฟง การยอมรับและใหอภัยผูอ่ืน 12) ความพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงถึงการยอมรับและเขาใจ ความพอประมาณ ความพอดีท่ีไมนอยหรือมากเกินไปโดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน สามารถพิจารณาถึงส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ และสามารถเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดานตางๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต