4
สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ วัดบางยี่ขัน ประวัติความเป็นมา วดบางยขน เปนวดโบราณสมยกรงศรอยธยา มชออกอยางหนงวา “วัดมุธราชาราม” ไดรบการ ปฏสงขรณ ในสมยพระบาทสมเดจพระนงเกลาเจาอยูหว รชกาลท ๓ สถานะและที่ตั้ง วดบางยขน เปนวดราษฎร ตงอยูเลขท ๓๗๖ ถนนจรญสนทวงศ แขวงบางยขน เขตบางพลด กรงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐ มเนอทจำนวน ๑๓ ไร ๒ งาน สิ่งสำคัญในพระอาราม อโบสถ เปนอาคารกออฐถอปูน ประดบชอฟา ใบระกาหางหงส ลงรกปดทอง ประดบกระจกส หนาบน แกะสลกลายเครอเถา มทวยสลกลวดลายสวยงาม มสาหรายรวงผง เสาเหลยมมบวหวเสา ภายใน พระอโบสถมจตรกรรมฝาผนงฝมอชางสมยรชกาลท ๓ ตอนตน การจดแผนผงของภาพ มลกษณะคลายคลงกบ จตรกรรมประเพณโดยทวไป คอ ผนงระหวางชองหนาตาง และประตู เขยนเลาเรองทศชาตชาดก ผนงเหนอ ขอบหนาตาง มภาพเทพชมนม ผนงดานหนา พระประธานมภาพมารผจญขนาดใหญ ผนงดานหลง พระประธานมภาพพระพทธเจาประทบยนอยูกลาง พระอครสาวกซายขวา การเขยนภาพใชระบบทศนยวทยา แบบเสนขนาน แบงเหตการณโดยใชฉากธรรมชาตเปน สวนใหญ พระประธานในพระอุโบสถ เปนพระศลาทราย ปางสมาธ สมยอยธยา ปจจบน พระครูสุพจนธาดา (สมยงค พทธสโร) เปนเจาอาวาส กรมการศาสนาขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนเข้าวัดทุกวันธรรมสวนะ ณ วัดใกล้บ้านหรือ ร่วมเข้าวัดกับกรมการศาสนา ซึ่งในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ มีกำหนดการจะไปที่วัดบางยี่ขัน วัดสระเกศ วัดพลับพลาชัย และวัดราชคฤห์ จึงขอนำเสนอประวัติวัดดังกล่าวโดยย่อ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนได้รู้จัก

เข้าวัดวันธรรมสวนะ · 2015-08-14 · สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ วัดบางยี่ขัน

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เข้าวัดวันธรรมสวนะ · 2015-08-14 · สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ วัดบางยี่ขัน

สายตรงศาสนา 21

เข้าวัดวันธรรมสวนะ

วัดบางยี่ขัน ประวัติความเป็นมา วัดบางยี่ขัน เป็นวัดโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา

มีชื ่ออีกอย่างหนึ ่งว่า “วัดมุธราชาราม” ได้ร ับการ

ปฏิสังขรณ์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่๓

สถานะและที่ตั้ง วัดบางยี่ขัน เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ ๓๗๖

ถนนจร ัญสนิทวงศ์ แขวงบางยี ่ข ัน เขตบางพลัด

กรุงเทพมหานคร๑๐๗๐๐มีเนื้อที่จำนวน๑๓ไร่๒งานสิ่งสำคัญในพระอาราม อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ประดับช่อฟ้า

ใบระกาหางหงส์ ลงรักปิดทอง ประดับกระจกสี หน้าบัน

แกะสลักลายเครือเถา มีทวยสลักลวดลายสวยงาม

ม ีสาหร ่ายรวงผ ึ ้ง เสาเหลี ่ยมมีบ ัวห ัวเสา ภายใน

พระอุโบสถมีจิตรกรรมฝาผนังฝีมือช่างสมัยรัชกาลที่ ๓

ตอนต้น การจัดแผนผังของภาพ มีลักษณะคล้ายคลึงกับ

จิตรกรรมประเพณีโดยทั่วไป คือ ผนังระหว่างช่องหน้าต่าง

และประตู เข ียนเล ่าเร ื ่องทศชาติชาดก ผนังเหนือ

ขอบหน้าต ่าง ม ีภาพเทพชุมนุม ผนังด ้านหน้า

พระประธานมีภาพมารผจญขนาดใหญ่ ผนังด้านหลัง

พระประธานมีภาพพระพุทธเจ้าประทับยืนอยู ่กลาง

พระอัครสาวกซ้ายขวา การเขียนภาพใช้ระบบทัศนียวิทยา

แบบเส้นขนาน แบ่งเหตุการณ์โดยใช้ฉากธรรมชาติเป็น

ส่วนใหญ่

พระประธานในพระอุโบสถ เป็นพระศิลาทราย

ปางสมาธิสมัยอยุธยา

ปัจจุบันพระครูสุพจนธาดา(สมยงค์พุทฺธสโร)

เป็นเจ้าอาวาส

กรมการศาสนาขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนเข้าวัดทุกวันธรรมสวนะ ณ วัดใกล้บ้านหรือ

ร่วมเข้าวัดกับกรมการศาสนา ซึ่งในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๒ มีกำหนดการจะไปที่วัดบางยี่ขัน

วัดสระเกศ วัดพลับพลาชัย และวัดราชคฤห์ จึงขอนำเสนอประวัติวัดดังกล่าวโดยย่อ เพื่อให้

พุทธศาสนิกชนได้รู้จัก

Page 2: เข้าวัดวันธรรมสวนะ · 2015-08-14 · สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ วัดบางยี่ขัน

สายตรงศาสนา 22

วัดสระเกศ ประวัติความเป็นมา วัดสระเกศ เป็นวัดโบราณสร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเดิมชื่อ วัดสระแกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจ ุฬาโลกมหาราช ทรงปฏิส ังขรณ์ข ึ ้นใหม่ขุดคลองรอบพระอาราม และพระราชทานนามว่า วัดสระเกศ ซึ่งแปลว่า ชำระหรือทำความสะอาดพระเกศา เนื่องจากวัดนี้เคยเป็นที่ประทับทำพิธีพระกระยาสนานเมื่อเสด็จกรีธาทัพกลับจากกัมพูชาเพื่อปราบจลาจล ในกรุงธนบุรีและเสด็จขึ ้นเถล ิงถว ัลยราชสมบัต ิในปีพ ุทธศักราช ๒๓๒๕ ในร ัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ โปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์ทั่วทั้งพระอาราม และสร้างเสนาสนะต่างๆเพิ่มขึ้นอีก

สถานะและที่ตั้ง

วัดสระเกศ เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิด ราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่แขวงบ้านบาตรเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายกรุงเทพมหานคร๑๐๑๐๐โทรศัพท์๐-๒๒๒๒-๕๘๗๓

สิ่งสำคัญในพระอาราม

พระอุโบสถ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างพระอุโบสถอยู่ทางทิศตะวันออกหรือด้านหน้าพระอารามภายในกำแพงแก้วติดกับพระวิหาร มีพระระเบียงคตล้อมรอบ ๔ ด้าน ลักษณะงดงามมาก หน้าบันไม้แกะสลักปิดทองประดับกระจกภาพพระนารายณ์ทรงครุฑ ซุ้มประตูหน้าต่างเขียนลายรดน้ำผนังภายในมีภาพจิตรกรรมของเดิมครั้งรัชกาลที่๓ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จิตรกรรมฝาผนังอยู่ในสภาพชำรุดลบเลือนเกือบหมด จึงได้โปรดให้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่เหมือนของเดิมจิตรกรรมฝาผนังออกเป็น ๒ ส่วน ตอนบนเขียนภาพเทพยดา ตอนล่างเขียนภาพเล่าเรื ่องทศชาติ ผนังด้านหน้าพระประธานเขียนภาพมารผจญ ผนังด้านหลังเขียนภาพเล่าเรื่องไตรภูมิ รอบพระอุโบสถมีซุ้มเสมาตั้งประจำ ๘ ทิศ มีลักษณะแบบกูบช้างหรือซุ้มหน้านาง ประดับด้วยกระเบื้องมีใบเสมาคู่ สลักด้วยศิลา ประดับกระจกสี ซุ้มเสมามีลักษณะงดงามและได้รับยกย่องเป็นแบบอย่างทางศิลปะ ดังที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงสรรเสริญไว้ว่า ซุ้มพัทธสีมา วัดสระเกศ วิจิตรสวยงามมากควรถือเป็นแบบอย่างได้ พระระเบียง รอบพระอุโบสถมีซุ้มประตู๔ทิศภายในประดิษฐานพระพุทธรูป๑๖๓องค์พระพุทธรูปหล่อด้วยโลหะและพระพุทธรูปปูนปั้น

พระเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสองรายรอบพระอุโบสถภายในกำแพงแก้วจำนวน๑๒องค์

พระวิหารสร้างขึ้นในรัชกาลที่๓ขนาด๒ห้องบานประตูหน้าต่างเป็นไม้แกะสลักห้องด้านตะวันออก ประดิษฐานพระอัฏฐารส เป็นพระพุทธรูปยืนหล่อด้วยสำริด ปางประทานอภัย สมัยสุโขทัยขนาดใหญ่ ผินพระพักตร์ไปทางทิศเหนือพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้อัญเชิญมาจากวัดวิหารทอง จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าอัญเชิญมาคราวเดียวกันกับ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ อัญเชิญพระพุทธชินสีห์ จากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก มาประดิษฐานในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศ ราวปีพุทธศักราช ๒๓๗๒พระอัฏฐารสองค์นี้มีนามว่าพระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร ห้องด้านตะวันตกมีผนังก่ออิฐถือปูน มีประตูติดต่อถึงกันได้ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อปิดทองปางมารวิชัย ผินพระพักตร์ไปทางทิศใต้ มีอักษรจารึกพระนามบนแผ่นหินอ่อนว่า หลวงพ่อดุสิต พระพุทธรูปองค์นี้เดิมเป็นพระประธานในพระอุโบสถวัดดุสิต เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างพระราชวังดุสิตเขตพระราชฐานรวมพื้นที ่วัดไว้ด้วย ๒ วัด คือ วัดเบญจมบพิตร และวัดดุสิตโปรดให้อัญเชิญพระพุทธรูปจากวัดดุสิตมาประดิษฐานไว้ในวิหาร วัดสระเกศบนฐานชุกชีของหลวงพ่อดุสิต มีพระอัครสาวกอยู่ข้างละ ๑ องค์ และเมื่อสร้างพระราชวังแล้วได้โปรดให้สร้างวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามขึ้นแทนวัดทั้งสองที่ถูกรื้อ

Page 3: เข้าวัดวันธรรมสวนะ · 2015-08-14 · สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ วัดบางยี่ขัน

สายตรงศาสนา 23

หอไตรสร้างในรัชกาลที่๑ เดิมอยู่กลางสระน้ำภายหลังได้ถมสระหอไตรสร้างด้วยไม้เป็นอาคารทรงไทย หลังคามุงกระเบื้อง ประดับช่อฟ้าใบระกา มีเฉลียงโดยรอบ ตั ้งอยู ่ในเขตสังฆาวาส ด้านทิศใต้พระบรมบรรพต เมื ่อรัชกาลที ่ ๓บูรณปฏิสังขรณ์วัดสระเกศได้บูรณะหอไตรเพิ่มเติม พระตำหนัก อยู่ใกล้กับหอไตร เป็นอาคารโถงขนาด ๗ ห้อง มีฝากั้นเป็น ๒ ส่วนฝาที่กั้นมีลายแกะสลักอย่างงดงาม เดิมเป็นกุฏิเจ้าอาวาส กล่าวกันว่าเป็นพระตำหนักที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างขึ้น ณ ที่พลับพลาสรงมุรธาภิเษก โพธิ์ลังกา อยู่ด้านพระอุโบสถนอกพระระเบียง ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ปีพุทธศักราช๒๓๕๗ สมณทูต ได้อัญเชิญหน่อพระศรีมหาโพธิ์จากพุทธคยามา จำนวน ๖ ต้นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชทานให้ไปปลูกที่เมืองนครศรีธรรมราช๒ ต้น และที่เมืองกลันตัน ๑ ต้น อีก ๓ ต้น โปรดให้ปลูกไว้ในพระอารามหลวงสำคัญในกรุงเทพมหานครคือวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์วัดสุทัศนเทพวรารามและวัดสระเกศ

พระบรมบรรพต(ภูเขาทอง)พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) ขณะเป็นพระยาศรีพิพัฒน์ร ัตนราชโกษาเป็นแม่กองก่อสร้างกำหนดให้เป็นแบบพระปรางค์ ฐานย่อมุมไม้สิบสองแต่สร้างไม่สำเร็จ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้สร้างต่อโดยให้พระยาศรีพิพ ัฒน์ (แพ บุนนาค) ซึ ่งเป็นบุตรสมเด็จเจ ้าพระยาบรมมหาพิช ัยญาติเป็นแม่กองสร้างต่อแต่ให้เปลี่ยนแบบจากเดิมเป็นภูเขา และก่อพระเจดีย์ทรงลังกาไว ้บนยอด พระราชทานนามว่า พระบรมบรรพต เสด็จไปทรงวางศิลาฤกษ์ในเดือน๖พุทธศักราช๒๔๐๘ พระบรมบรรพตสร้างสำเร็จในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและได้มีการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ๒ ครั้ง ครั้งแรกอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุที ่ม ีมาแต่เดิมในพระบรมมหาราชวังมาบรรจุในปีพุทธศักราช ๒๔๒๐ ครั ้งที ่ ๒ ในปีพุทธศักราช ๒๔๔๑ มีการขุดค้นพบพระบรมสารีริกธาตุที ่มหาสถูปร้าง หมู่บ้านปิปราหวะ (PIPRAHWA) เขตเมืองกบิลพัสดุ์ ประเทศอินเดียสมัยนี้ อุปราชอินเดียได้ทูลเกล้าฯ ถวาย โปรดให้ข้าหลวงออกไปอัญเชิญเข้ามาแล้ว โปรดให้บรรจุไว้ในคูหาพระสถูปบนยอดพระบรมบรรพต และทรงแบ่งบางส่วนพระราชทานแก่ญี่ปุ่นลังกาพม่าและไซบีเรีย

วัดพลับพลาชัย ประวัติความเป็นมา วัดพลับพลาชัย เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาเดิมมีชื่อว่า วัดโคกหรือวัดคอก เพราะมีที่ตั้งเป็นเนินอยู่กลางทะเลตมใช้เป็นที่ตั้งคอกกระบือหลวงในการทำนาปลูกข้าวในสมัยนั้น

สถานะและที่ตั้ง วัดพลับพลาชัย เป็นวัดราษฎร์ตั้งอยู่ริมถนนไมตรีจิตร์และถนนหลวงต่อกัน ตรงห้าแยกพลับพลาชัย แขวงป้อมปราบศัตรูพ่ายเขตป้อมปราบศัตรูพ ่าย กร ุงเทพมหานคร ๑๐๑๐๐ โทรศัพท์๐-๒๒๒๑-๖๙๔๒มีเนื้อที่ประมาณ๑๐ไร่

พุทธศักราช ๒๔๙๓-๒๔๙๗ มีการบูรณะพระเจดีย์บนพระบรมบรรพตที ่ชำรุดและเสริมความมั่นคงโดยกรมชลประทานเป็นผู้ดำเนินการพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เสด็จพระราชดำเนินทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเจดีย์บนยอดพระบรมบรรพตเมื่อวันที่๒๒มกราคมพุทธศักราช๒๔๙๗ พุทธศักราช ๒๕๐๙ กระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์บนพระบรมบรรพต โดยบุกระเบื้องโมเสกสีทองที่องค์พระเจดีย์ และสร้างเจดีย์ราย อีก ๔ องค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชได้เสด็จพระราชดำเนินทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุลูกแก้วยอดพระเจดีย์ เมื่อวันที่๑๘พฤศจิกายนพุทธศักราช๒๕๐๙ นอกจากนี้ บริเวณฐานของพระบรมบรรพต ด้านทิศตะวันตก มีพระพุทธรูปหล่อสำริดขนาดใหญ่ นามว่า หลวงพ่อดำ และด้านทิศเหนือ มีพระพุทธรูปหล่อสำริดนามว่าหลวงพ่อโต วัดสระเกศจัดให้มีงานนมัสการพระบรมบรรพตทุกปี ในวันขึ้น ๑๓, ๑๔และ๑๕ค่ำเดือน๑๒ ปัจจุบันสมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยวอุปเสโณ)เป็นเจ้าอาวาส

Page 4: เข้าวัดวันธรรมสวนะ · 2015-08-14 · สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ วัดบางยี่ขัน

สายตรงศาสนา 24

งานส่งท้ายปีเก่า วิถีไทย ๒๕๕๑ ต้อนรับปีใหม่ วิถีพุทธ ๒๕๕๒

สิ่งสำคัญในพระอาราม อุโบสถ เป็นอุโบสถสร้างใหม่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาพุทธศักราช๒๕๑๒เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ประดับช่อฟ้าใบระกาหางหงส์ ลงร ักป ิดทอง ประดับกระจกสีหน้าบันเป็นลายขดมีรูปพระนารายณ์ทรงครุฑภายในพระอุโบสถ ฝาผนังทาสีขาว เพดาน

มีดาวประดับบานประตูหน้าต่างแกะสลักลายไทยปิดทอง พระประธาน ในอุโบสถเป็นพระพุทธรูปปางมารวิช ัยสร้างในสมัยอยุธยามีนามว่าพระพุทธมงคล วิหาร เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ประดับช่อฟ้าใบระกาหางหงส์ ลงรักปิดทอง ประดับกระจกสี เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไตรรัตนนายก(จำลอง)

มณฑป เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ทรงยอดแหลม เป็นที ่ประดิษฐานรูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาส ศาลาเป็นอาคารก่ออ ิฐถ ือปูนทรงเก ๋งจ ีน เป ็นที ่ประดิษฐานพระสังกัจจายน์ หอกลองและหอระฆัง เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงมงกุฎ ลงร ักป ิดทองประดับกระจกสี ปัจจุบันพระเทพสิทธิโกศล(ใหญ่ชวโน)เป็นเจ้าอาวาส

วัดราชคฤห์ ประวัติความเป็นมา วัดราชคฤห์ เป็นวัดโบราณสร้างสมัยอยุธยาตอนปลาย โดยพวกนายกองมอญที่อพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร และตั้งบ้านเรือนอยู่ในแขวงบางยี่เรือเป็นผู้สร้างขึ ้นเดิมเรียกว่า วัดบางยี่เรือมอญ หรือวัดมอญ เนื่องจากเดิมมีพระมอญจำพรรษาอยู่ สันนิษฐานว่า มีการบูรณะซ่อมแซม สมัยกรุงธนบุรี เพราะเชื่อกันว่าพระยาพิชัยดาบหักเป็นผู้สร้างพระอุโบสถซึ่งปัจจุบันคือพระวิหารใหญ่และพระปรางค์ตั้งอยู่ทางด้านหน้า สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดให้ยกฐานะขึ ้นเป ็นพระอารามหลวง พระราชทานนามว่าวัดราชคฤห์และเจ้าพระยาพระคลัง (หน) เสนาบดีกรมท่าได้สร้างเขามอ(ภูเขาจำลอง)ประดิษฐานพระมณฑปพระพุทธบาทจำลองบนยอดเขา

สม ัยร ัชกาลพระบาทสมเด ็จพระพ ุทธเล ิศหล ้านภาล ัยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร พระโอรสซึ่งประสูติจากเจ้าจอมมารดานิ่มผู้ซึ่งเป็นธิดาของเจ้าพระยาพระคลัง(หน)ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ต่อมาทรงสร้างพระอุโบสถใหม่แทนพระอุโบสถเดิมที่ใช้เป็นพระวิหารในปัจจุบันสถานะและที่ตั้ง วัดราชคฤห์ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที ่ ๔๓๔ แขวงบางยี ่เร ือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐โทรศัพท์๐-๒๔๖๕-๒๙๐๘,๐-๒๘๙๑-๓๐๗๐

สิ่งสำคัญในพระอาราม พระอุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน หลังคาสร้างตามแบบศิลปะจีนหน้าบันมีลวดลายปูนปั้นประดับเครื่องกระเบื้องถ้วยจานมีพาไลหน้าหลังและทวยรองรับชายคาปีกนก ด้านข้างพระอุโบสถ ซุ้มประตูหน้าต่างเป็นซุ้มเรือนแก้วปูนปั้น บริเวณกำแพงแก้วมีพระเจดีย์พระพุทธเจ้า ๒๘ องค์ และพระเจดีย์ทรงกลม๒องค์อยู่ทางด้านหลังพระอุโบสถ พระวิหารใหญ่ เป็นอาคารทรงไทยก่ออิฐถือปูน ทรงสูง หน้าบันเป็นไม้แกะสลักประดับช่อฟ้าใบระกาหางหงส์มีสาหร่ายรวงผึ้ง เสาเหลี่ยมมีบัวหัวเสา ซุ้มประตูหน้าต่างเป็นทรงมณฑปปูนปั้น ผนังภายในเขียนเป็นลายดอกไม้ร่วง ซุ้มคูหาประดิษฐานพระพุทธรูปโดยรอบ ซุ้มเสมาเดิมของพระวิหารเป็นซุ้มยอด วิหารเล็ก อยู่ทางซ้ายของพระวิหารใหญ่ ภายในประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ พระเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบ ตั้งอยู่ด้านหน้าพระวิหารใหญ่มีกำแพงแก้วล้อมรอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระปรางค์ย่อมุมไม้ยี่สิบ ตั ้งคู ่ก ับพระเจดีย์ กล่าวกันว่าเป็นพระปรางค์ที่พระยาพิชัยดาบหักสร้างขึ้น ปัจจุบันพระราชวรเวที(เฉลาเตชวนฺโต)เป็นเจ้าอาวาส