37
1 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปที3 ตามมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี ้วัด กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั ้นพื ้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผูเรียบเรียง ดร.สุวรรณา จุยทอง กศ.บ., ค.ม., กศ.ด. ประทุมพร ศรีวัฒนกูล กศ.บ., กศ.ม. ผูตรวจ รศ.ฉวีวรรณ แกวไทรฮะ กศ.บ., M.A. สมสวาง ธนะพานิชยสกุล วท.บ., กศ.ม. จิดาภา เสนาะเมือง กศ.บ., ศษ.ม. บรรณาธิการ เจริญชัย เอื้อสกุลเกียรติ วท.บ. สุภาพร มิตรทอง วท.บ. คณิตศาสตร ป. 3

คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

1

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3

ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียง

ดร.สุวรรณา จุยทอง กศ.บ., ค.ม., กศ.ด.

ประทุมพร ศรีวัฒนกูล กศ.บ., กศ.ม.

ผูตรวจ

รศ.ฉวีวรรณ แกวไทรฮะ กศ.บ., M.A.

สมสวาง ธนะพานิชยสกุล วท.บ., กศ.ม.

จิดาภา เสนาะเมือง กศ.บ., ศษ.ม.

บรรณาธิการ

เจริญชัย เอื้อสกุลเกียรติ วท.บ.

สุภาพร มิตรทอง วท.บ.

คณิตศาสตร ป. 3

รศ.ฉวีวรรณ แกวไทรฮะ กศ.บ., M.A.

สมสวาง ธนะพานิชยสกุล วท.บ., กศ.ม.

จิดาภา เสนาะเมือง กศ.บ., ศษ.ม.

Page 2: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

2

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หามละเมิด ทำ ซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร สวนหนึ่งสวนใด เวนแตจะไดรับอนุญาต

B

ISBN 978-914-18-7609-9พิมพ�ที่ บริษัท โรงพิมพ�วัฒนาพานิช จำ กัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผูจัดการ

พิมพครั้งที่ 1

พ.ศ. 2563

จํานวน 20,000 เลม

ผูเรียบเรียง

ดร.สุวรรณา จุยทอง

ประทุมพร ศรีวัฒนกูล

ผูตรวจ

รศ.ฉวีวรรณ แกวไทรฮะ

สมสวาง ธนะพานิชยสกุล

จิดาภา เสนาะเมือง

บรรณาธิการ

เจริญชัย เอื้อสกุลเกียรติ

สุภาพร มิตรทอง

คณิตศาสตร ป. 3

Page 3: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

3

คํานํา

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร� ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เลมนี้ จัดทำ ขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยแบงเปนหนวยการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรูประกอบดวย ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู ประโยชนจากการเรียนรู ชวนคิด ชวนตอบ เนื้อหาสาระแตละเรื่องแตละหัวขอ เรื่องนารู กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู คำ ถามประจำ หนวย บทสรุป กิจกรรมเสนอแนะ การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน แหลงสืบคนความรู และทายเลมยงัมบีรรณานกุรม ซึง่องคประกอบของหนงัสือเรยีนเหลานีจ้ะชวยสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางครบถวนตามหลักสูตร การเสนอเนื้อหา กิจกรรม และองคประกอบอื่น ๆ ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเลมนี้ มุงเนนผูเรียนเปนสำ คัญ โดยคำ นึงถึงศักยภาพของนักเรียน เนนการเรียนรูแบบองครวมบนพ้ืนฐานของการบูรณาการแนวคิดทางการเรียนรูอยางหลากหลาย จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเนนใหนักเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง มุงพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการทางสมองของนักเรียน อันจะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางสมบูรณและสามารถนำ ไปประยุกตใชในชีวิตประจำ วันได หวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน คณิตศาสตร� ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 เลมน้ีจะชวยพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนตามหลักสูตรไดเปนอยางดี

คณะผูŒจัดทำ

Page 4: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

4

คําชี้แจง

11. ทŒายเล‹ม ประกอบดวยบรรณานุกรม เปนรายชื่อหนังสือ เอกสาร เว็บไซต ที่ใชประกอบการเขียน

2. สาระการเรยีนรูŒ แสดงขอบขายเนือ้หาในหนวยการเรยีนรู1. ตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่สอดคลองกับเนื้อหา ในหนวยการเรียนรู

4. ชวนคิด ชวนตอบ เปนคําถามที่กระตุนใหนักเรียนเกิด ความสนใจ ตองการที่จะคนหาคําตอบ

3. ประโยชน�จากการเรียนรูŒ สรุปประโยชนที่ไดจาก การเรียนรูหนวยการเรียนรูเปนประเด็นสั้น ๆ

10. การประยกุต�ใชŒในชีวติประจาํวนั เปนตวัอยางสถานการณ

การประยุกตใชความรูที่ไดเรียนรูมาใหนักเรียนนําไป

ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ซึ่งมีกิจกรรมหรือคําถาม

ใหนักเรียนทํา

9. กจิกรรมเสนอแนะ เปนกจิกรรมบรูณาการทกัษะทีร่วบรวม หลกัการและความคดิรวบยอดในเรือ่งตาง ๆ ท่ีนกัเรยีน ไดเรียนรูมาไปประยุกตในการปฏิบัติกิจกรรม

7. คําถามประจําหน‹วย เปนคําถามแบบอัตนัยที่มุงถาม เพื่อทบทวนผลการเรียนรูของนักเรียน

8. บทสรุป เปนการสรุปเนื้อหาหลังจากจบเนื้อหาและ กิจกรรมของแตละหนวยการเรียนรู

6. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูŒ เปนกิจกรรมที่กําหนดใหทํา

เมือ่จบเนือ้หาทีแ่บงใหเหมาะสมสาํหรับการเรียนแตละคร้ัง

เปนกิจกรรมที่หลากหลาย ใชแนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ให

สอดคลองกับเนื้อหา เหมาะสมกับวัย สะดวกในการ

ปฏิบัติ กระตุนใหนักเรียนไดคิด และสงเสริมการศึกษา

คนควา

5. เนือ้หา แบงเปนหวัเรือ่งหลกั หวัเรือ่งรอง และหวัเรือ่งยอย ตรงตามตัวชีวั้ดชัน้ป มกีจิกรรมพฒันาการเรยีนรูแทรกเปนชวง ๆ เนื้อหาบางตอนอาจนําเสนอดวยภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ และแผนที่ความคิด และประกอบดวยสวนอื่น ๆ ดังนี้ 5.1 ภาพประกอบ พรอมคําบรรยายสอดคลองกับเนื้อหา 5.2 แผนภูมิ ตาราง แผนที่ แผนที่ความคิด สอดคลองกับเนื้อหา 5.3 เร่ืองน‹ารูŒ เปนความรูเพิม่เตมิเกีย่วกบัเรือ่งทีไ่ดศกึษาในหนวยการเรยีนรูนัน้ ๆ โดยคดัสรรเฉพาะเรือ่งท่ีนกัเรยีนควรรู

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ไดออกแบบเนื้อหาเปนหนวยการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรูประกอบดวย

Page 5: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

5

สารบัญ

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 1 จำ นวนนับไม‹เกิน 100,000 และ 0

O ตัวชี้วัด ...........................................................................................1

O สาระการเรียนรู ...............................................................................1

O ประโยชนจากการเรียนรู ...................................................................1

O ชวนคิดชวนตอบ .............................................................................1

1. การอานและเขียนตัวเลขและตัวหนังสือ

แสดงจำ นวนนับไมเกิน 100,000 ................................................2

กิจกรรมที่ 1 ฝกเขียนตัวเลข ตัวหนังสือ แสดงจำ นวน ..................7

2. คาของเลขโดดในแตละหลักของจำ นวนนับไมเกิน 100,000 ...........8

กิจกรรมที่ 2 บอกคาของเลขโดด .................................................8

3. การเขียนตัวเลขแสดงจำ นวนในรูปกระจาย ....................................9

กิจกรรมที่ 3 เขียนตัวเลขแสดงจำ นวนในรูปกระจาย ....................10

4. การเปรียบเทียบจำ นวน .............................................................11

กิจกรรมที่ 4 เปรียบเทียบจำ นวน (1) ........................................13

กิจกรรมที่ 5 เปรียบเทียบจำ นวน (2) ........................................14

5. การเรียงลำ ดับจำ นวน ................................................................15

กิจกรรมที่ 6 เรียงลำ ดับจำ นวน .................................................17

O คำ ถามประจำ หนวย .......................................................................19

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 1 ..................................................20

O กิจกรรมเสนอแนะ .........................................................................21

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ......................................................21

Page 6: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

6

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 2 การบวกและการลบจำ นวนนับ

ไม‹เกิน100,000 และ 0

O ตัวชี้วัด .........................................................................................22

O สาระการเรียนรู .............................................................................22

O ประโยชนจากการเรียนรู .................................................................22

O ชวนคิดชวนตอบ............................................................................22

1. ทบทวนการบวกจำ นวนสองจำ นวนที่มีผลบวกไมเกิน 1,000 .........23

กิจกรรมที่ 1 หาผลบวกจำ นวนที่มีผลบวกไมเกิน 1,000 .............26

2. การบวกจำ นวนสองจำ นวนที่มีผลบวกไมเกิน 100,000 ................27

กิจกรรมที่ 2 หาผลบวกจำ นวนสองจำ นวนที่มีผลบวก

ไมเกิน 100,000 .....................................................................31

3. การบวกจำ นวนสามจำ นวนที่มีผลบวกไมเกิน 100,000 ................31

กิจกรรมที่ 3 หาผลบวกจำ นวนสามจำ นวน .................................33

4. ทบทวนการลบจำ นวนสองจำ นวนที่มีตัวตั้งไมเกิน 1,000 ..............34

กิจกรรมที่ 4 หาผลลบจำ นวนสองจำ นวนที่มีตัวตั้ง

ไมเกิน 1,000 .........................................................................39

5. การลบจำ นวนสองจำ นวนที่มีตัวตั้งไมเกิน 100,000 .....................40

กิจกรรมที่ 5 หาผลลบจำ นวนสองจำ นวนที่มีตัวตั้ง

ไมเกิน 100,000 .....................................................................43

6. โจทยปญหาการบวกและการลบ .................................................45

กิจกรรมที่ 6 แกโจทยปญหาการบวกและการลบ .........................49

กิจกรรมที่ 7 สรางโจทยปญหาการบวกและการลบ ......................50

7. แบบรูปของจำ นวน ...................................................................50

กิจกรรมที่ 8 พิจารณาแบบรูปของจำ นวนที่เพิ่มขึ้น .......................54

กิจกรรมที่ 9 พิจารณาแบบรูปของจำ นวนที่เพิ่มขึ้น .......................57

Page 7: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

7

O คำ ถามประจำ หนวย .......................................................................58

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 2 ..................................................59

O กิจกรรมเสนอแนะ .........................................................................61

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ......................................................61

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 3 แผนภูมิรูปภาพและตารางทางเดียว

O ตัวชี้วัด .........................................................................................62

O สาระการเรียนรู .............................................................................62

O ประโยชนจากการเรียนรู .................................................................62

O ชวนคิดชวนตอบ............................................................................62

1. การเก็บรวบรวมขอมูล ..............................................................63

2. การจำ แนกขอมูล ......................................................................65

กิจกรรมที่ 1 เก็บรวมรวมและจำ แนกขอมูล (1) ..........................66

กิจกรรมที่ 2 เก็บรวมรวมและจำ แนกขอมูล (2) ..........................66

3. การอานและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ ..........................................67

กิจกรรมที่ 3 อานและเขียนแผนภูมิรูปภาพ .................................71

4. การอานและการเขียนตารางทางเดียว ..........................................74

กิจกรรมที่ 4 อานและเขียนตารางทางเดียว .................................77

O คำ ถามประจำ หนวย .......................................................................80

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 3 ..................................................81

O กิจกรรมเสนอแนะ .........................................................................82

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ......................................................82

Page 8: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

8

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 4 เศษส‹วน

O ตัวชี้วัด .........................................................................................83

O สาระการเรียนรู .............................................................................83

O ประโยชนจากการเรียนรู .................................................................83

O ชวนคิดชวนตอบ............................................................................83

1. เศษสวน ..................................................................................84

กิจกรรมที่ 1 เขียนและอานเศษสวน ..........................................88

กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทียบและเรียงลำ ดับเศษสวน........................95

2. การบวกและการลบเศษสวน ......................................................96

กิจกรรมที่ 3 หาผลบวกและหาผลลบของเศษสวน .......................99

3. โจทยปญหาการบวกและการลบเศษสวน .................................. 100

กิจกรรมที่ 4 แกโจทยปญหาการบวกและการลบเศษสวน .......... 103

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 104

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 4 ............................................... 105

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 106

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 106

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 5 การวัดความยาว

O ตัวชี้วัด ...................................................................................... 107

O สาระการเรียนรู .......................................................................... 107

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 107

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 107

1. เครื่องวัดความยาว ................................................................ 108

กิจกรรมที่ 1 เลือกเครื่องมือวัดและหนวยการวัด ...................... 112

Page 9: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

9

2. การวัดความยาว .................................................................... 113

กิจกรรมที่ 2 วัดความยาว ..................................................... 115

3. การคาดคะเนความยาว .......................................................... 118

กิจกรรมที่ 3 คาดคะเนความยาว ............................................ 120

4. การเปรียบเทียบความยาว ...................................................... 121

กิจกรรมที่ 4 บอกความสัมพันธระหวางหนวยวัดความยาว ........ 125

กิจกรรมที่ 5 เปรียบเทียบความยาว ความสูง และระยะทาง ...... 125

5. โจทยปญหาเกี่ยวกับความยาว ................................................. 126

กิจกรรมที่ 6 แกโจทยปญหาเกี่ยวกับความยาว ........................ 129

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 130

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 5 ............................................... 131

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 132

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 132

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 6 การชั่ง

O ตัวชี้วัด ...................................................................................... 133

O สาระการเรียนรู .......................................................................... 133

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 133

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 133

1. ทบทวนการชั่ง ....................................................................... 134

2. การชั่ง .................................................................................. 136

กิจกรรมที่ 1 อานน้ำ หนักจากเครื่องชั่ง .................................... 137

กิจกรรมที่ 2 เลือกเครื่องชั่งและหนวยการชั่งที่เหมาะสม............ 140

3. การคาดคะเนน้ำ หนัก ............................................................. 140

Page 10: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

10

กิจกรรมที่ 3 คาดคะเนน้ำ หนัก ............................................... 142

4. การเปรียบเทียบน้ำ หนัก ......................................................... 142

กิจกรรมที่ 4 เปรียบเทียบน้ำ หนัก ........................................... 145

5. โจทยปญหาเกี่ยวกับน้ำ หนัก ................................................... 146

กิจกรรมที่ 5 แกโจทยปญหาเกี่ยวกับน้ำ หนัก ........................... 149

กิจกรรมที่ 6 สรางโจทยปญหาเกี่ยวกับน้ำ หนัก......................... 150

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 150

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 6 ............................................... 151

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 152

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 153

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 7 การตวง

O ตัวชี้วัด ...................................................................................... 154

O สาระการเรียนรู .......................................................................... 154

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 154

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 154

1. การตวง ................................................................................ 155

กิจกรรมที่ 1 เลือกเครื่องตวงและหนวยการตวง ....................... 159

กิจกรรมที่ 2 วัดปริมาตรและความจุเปนลิตรและมิลลิลิตร ........ 160

2. การคาดคะเนปริมาตรและความจุ ............................................ 161

กิจกรรมที่ 3 คาดคะเนปริมาตรของสิ่งของ .............................. 164

กิจกรรมที่ 4 คาดคะเนความจุของภาชนะ ................................ 164

3. การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ ........................................ 165

กิจกรรมที่ 5 เปรียบเทียบปริมาตรและความจุ .......................... 168

Page 11: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

11

4. โจทยปญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุ .................................. 169

กิจกรรมที่ 6 แกโจทยปญหาเกี่ยวกับการตวง ........................... 172

กิจกรรมที่ 7 สรางโจทยปญหาเกี่ยวกับการตวง ........................ 173

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 173

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 7 ............................................... 174

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 175

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 175

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 8 การคูณ

O ตัวชี้วัด ...................................................................................... 176

O สาระการเรียนรู .......................................................................... 176

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 176

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 176

1. ทบทวนการคูณ ..................................................................... 177

กิจกรรมที่ 1 หาผลคูณของจำ นวนหนึ่งหลัก

กับจำ นวนหนึ่งหลัก ............................................................... 181

กิจกรรมที่ 2 หาผลคูณของจำ นวนหนึ่งหลัก

กับจำ นวนสองหลัก ................................................................ 181

กิจกรรมที่ 3 หาตัวไมทราบคา ................................................ 182

2. การคูณจำ นวนหนึ่งหลักกับจำ นวนสามหลัก .............................. 182

กิจกรรมที่ 4 หาผลคูณของจำ นวนหนึ่งหลัก

กับจำ นวนสามหลัก (1) .......................................................... 187

กิจกรรมที่ 5 หาผลคูณของจำ นวนหนึ่งหลัก

กับจำ นวนสามหลัก (2) .......................................................... 187

Page 12: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

12

3. การคูณจำ นวนหนึ่งหลักกับจำ นวนสี่หลัก .................................. 188

กิจกรรมที่ 6 หาผลคูณของจำ นวนหนึ่งหลัก

กับจำ นวนสี่หลัก (1) ............................................................. 191

กิจกรรมที่ 7 หาผลคูณของจำ นวนหนึ่งหลัก

กับจำ นวนสี่หลัก (2) ............................................................. 191

4. การคูณจำ นวนสองหลักกับ 10, 20, 30, ..., 90 ..................... 192

5. การคูณจำ นวนสองหลักกับจำ นวนสองหลัก .............................. 193

กิจกรรมที่ 8 หาผลคูณของจำ นวนสองหลัก

กับจำ นวนสองหลัก ................................................................ 194

6. โจทยปญหาการคูณ ................................................................ 195

กิจกรรมที่ 9 แกโจทยปญหาการคูณ ....................................... 196

กิจกรรมที่ 10 สรางโจทยปญหาการคูณ ................................. 197

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 198

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 8 ............................................... 198

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 201

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 201

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 9 การหาร

O ตัวชี้วัด ...................................................................................... 202

O สาระการเรียนรู .......................................................................... 202

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 202

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 202

1. ทบทวนการหาร ..................................................................... 203

กิจกรรมที่ 1 หาผลหาร ......................................................... 206

Page 13: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

13

2. การหารยาวและการหารสั้น ..................................................... 207

กิจกรรมที่ 2 หาผลหารที่ตัวตั้งมีสองหลัก

ตัวหารและผลหารมีหนึ่งหลัก .................................................. 209

กิจกรรมที่ 3 หาผลหารที่ตัวตั้งมีสองหลัก

ตัวหารมีหนึ่งหลักและผลหารมีสองหลัก ................................... 212

กิจกรรมที่ 4 หาผลหารที่ตัวตั้งมีสามหลัก

ตัวหารมีหนึ่งหลัก .................................................................. 217

กิจกรรมที่ 5 หาผลหารที่ตัวตั้งมีสี่หลัก

และตัวหารมีหนึ่งหลัก ............................................................ 220

3. โจทยปญหาการหาร ............................................................... 221

กิจกรรมที่ 6 แกโจทยปญหาการหาร ....................................... 224

กิจกรรมที่ 7 สรางโจทยปญหาการหาร .................................... 225

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 226

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 9 ............................................... 227

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 228

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 228

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 10 เงิน

O ตัวชี้วัด ...................................................................................... 229

O สาระการเรียนรู .......................................................................... 229

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 229

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 229

1. เงินเหรียญและธนบัตรชนิดตาง ๆ ........................................... 230

2. การบอกจำ นวนเงิน ................................................................ 232

Page 14: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

14

กิจกรรมที่ 1 เขียนและอานจำ นวนเงิน ..................................... 235

3. การเปรียบเทียบจำ นวนเงินและการแลกเงิน .............................. 237

กิจกรรมที่ 2 เปรียบเทียบจำ นวนเงิน....................................... 239

กิจกรรมที่ 3 แลกเงิน ............................................................ 243

4. โจทยปญหาเกี่ยวกับเงิน ......................................................... 244

กิจกรรมที่ 4 หาผลบวกและผลลบจำ นวนเงิน .......................... 246

กิจกรรมที่ 5 แกโจทยปญหาเกี่ยวกับเงิน ................................. 248

5. การอานและเขียนบันทึกรายรับ รายจาย ................................... 248

กิจกรรมที่ 6 เขียนบันทึกรายรับ รายจาย ................................ 250

กิจกรรมที่ 7 บันทึกรายรับ รายจาย ........................................ 251

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 251

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 10 ............................................. 253

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 254

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 254

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 11 เวลา

O ตัวชี้วัดชั้นป ............................................................................... 255

O ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู .......................................................... 255

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 255

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 255

1. ทบทวนการบอกเวลา ............................................................. 256

กิจกรรมที่ 1 บอกเวลา .......................................................... 260

2. การบอกเวลาโดยใชมหัพภาคหรือทวิภาคและการอาน ................ 261

กิจกรรมที่ 2 เขียนบอกเวลาโดยใชจุดและการอาน ................... 263

Page 15: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

15

3. การเปรียบเทียบเวลาโดยใชความสัมพันธของหนวยเวลา ............ 264

กิจกรรมที่ 3 ความสัมพันธระหวางหนวยเวลา ......................... 265

กิจกรรมที่ 4 เปรียบเทียบระยะเวลา........................................ 268

4. การอานและเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา .............................. 268

กิจกรรมที่ 5 อานบันทึกประจำ วัน ......................................... 270

กิจกรรมที่ 6 เขียนบันทึกเหตุการณ ........................................ 271

5. โจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา ........................................................ 271

กิจกรรมที่ 7 แกโจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา ............................... 273

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 273

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 11 ............................................. 274

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 276

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 276

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 12 รูปสมมาตร

O ตัวชี้วัดชั้นป ............................................................................... 277

O ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู .......................................................... 277

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 277

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 277

1. รูปเรขาคณิตสองมิติ .............................................................. 278

2. รูปสมมาตร........................................................................... 280

กิจกรรมที่ 1 พิจารณารูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตร ...... 283

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 286

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 12 ............................................. 286

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 287

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 287

Page 16: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

16

หน‹วยการเรียนรูŒที่ 13 การบวก ลบ คูณ หารระคน

O ตัวชี้วัดชั้นป ............................................................................... 288

O ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู .......................................................... 288

O ประโยชนจากการเรียนรู .............................................................. 288

O ชวนคิดชวนตอบ......................................................................... 288

1. ทบทวนการบวก การลบ การคูณ และการหาร ......................... 289

กิจกรรมที่ 1 ทบทวนการบวก การลบ การคูณ การหาร ........... 291

2. การบวก ลบ คูณ หารระคน จำ นวนนับไมเกิน 100,000 .......... 292

กิจกรรมที่ 2 หาผลบวก ลบ คูณ หารระคน ........................... 295

3. โจทยปญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน .................................. 296

กิจกรรมที่ 3 แกโจทยปญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ......... 299

กิจกรรมที่ 4 สรางโจทยปญหา ............................................... 300

O คำ ถามประจำ หนวย .................................................................... 300

O บทสรุปประจำ หนวยการเรียนรูที่ 13 ............................................. 301

O กิจกรรมเสนอแนะ ...................................................................... 302

O การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ................................................... 302

แหล‹งสืบคŒนความรูŒ ................................................................. 302

บรรณานุกรม ........................................................................ 303

Page 17: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

หนวยการเรียนรูที่

จํานวนนับไมเกิน 100,000

และ 01

µÑǪÕéÇÑ´

ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

»ÃÐ⪹�¨Ò¡¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ªÇ¹¤Ô´ ªÇ¹µÍº

¡ÒÃÍ‹Ò¹áÅСÒÃà¢Õ¹µÑÇàÅ¢áÅеÑÇ˹ѧÊ×ÍáÊ´§¨Ó ¹Ç¹¹ÑºäÁ‹à¡Ô¹ 100,000

¤‹Ò¢Í§àŢⴴã¹áµ‹ÅÐËÅÑ¡¢Í§¨Ó ¹Ç¹¹ÑºäÁ‹à¡Ô¹ 100,000

¡ÒÃà¢Õ¹µÑÇàÅ¢áÊ´§¨Ó ¹Ç¹ã¹ÃÙ»¡ÃШÒÂ

¡ÒÃà»ÃÕºà·Õº¨Ó ¹Ç¹

¡ÒÃàÃÕ§ÅÓ ́ Ѻ¨Ó ¹Ç¹

¨Ó ¹Ç¹¹ÑºäÁ‹à¡Ô¹ 100,000 áÅÐ 0

1. อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไมเกิน 100,000 และ 0 (ค 1.1 ป.3/1)

2. เปรยีบเทยีบและเรยีงลาํดบัจํานวนนับไมเกนิ 100,000 จากสถานการณตาง ๆ (ค 1.1 ป.3/2)

• อานและเขยีนตัวเลขฮนิดูอารบกิ ตวัเลขไทย ไมเกนิ 100,000 ทีพ่บในชีวติประจําวนัได

• นําความรูเกี่ยวกับจํานวนนับไมเกิน 100,000 ไปใชในสถานการณตาง ๆ ได เชน การเปรียบเทียบราคาสินคาใน หางสรรพสินคา

จาํนวนนบัทีอ่ยูระหวาง 9,990 กับ 10,000 มีทั้งหมดกี่จํานวน

Page 18: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

1.2 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

การอ�านและการเขียนตัวเลขและตัวหนังสอืแสดงจํานวนนับไม�เกิน 100,000

จํานวนนับใชบอกจํานวนของสิ่งตาง ๆ สามารถเขียนแสดงไดดวยตัวเลขฮินดูอารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรือตัวเลขไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ เรียก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 วา เลขโดด เลขโดดตัวเดียวกันยกเวน 0 จะมีคาตางกันเมื่อนําไปเขียนแสดงจํานวนในหลักที่ตางกัน เชน

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวยมีลูกคิด 10 ลูก ในหลักหนวย

สามารถแทนดวยลูกคิด 1 ลูกในหลักสิบ

10 หนวย เทากับ 1 สิบ

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวยมีลูกคิด 10 ลูก ในหลักสิบสามารถแทนดวยลูกคิด

1 ลูกในหลักรอย

10 สิบ เทากับ 1 รอย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวยมีลูกคิด 10 ลูก ในหลักรอย

สามารถแทนดวยลูกคิด 1 ลูกในหลักพัน

10 รอย เทากับ 1 พัน

Page 19: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

ตวัอยาง

หมายเหตุ

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 3

ลูกคิดแสดงจํานวน 4 สิบ กับ 5 หนวยเขียนแสดงดวยตัวเลขฮินดูอารบิก 45เขียนแสดงดวยตัวเลขไทย ๔๕เขียนแสดงดวยตัวหนังสือ สี่สิบหา

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

มีลูกคิด 10 ลูก ในหลักหมื่นสามารถแทนดวยลูกคิด

1 ลูกในหลักแสน

การเขยีนตวัเลขแสดงจาํนวนทีม่ากกวาสามหลกัจะใชเครือ่งหมายจลุภาค ( , ) คั่นทุกสามหลักโดยนับจากทางขวามือ

มีลูกคิด 10 ลูก ในหลักพันสามารถแทนดวยลูกคิด

1 ลูกในหลักหมื่น

10 พัน เทากับ 1 หมื่น

10 หมื่น เทากับ 1 แสน

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

Page 20: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

4 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

ลูกคิดแสดงจํานวน 3 รอย กับ 2 สิบ กับ 4 หนวยเขียนแสดงดวยตัวเลขฮินดูอารบิก 324เขียนแสดงดวยตัวเลขไทย ๓๒๔เขียนแสดงดวยตัวหนังสือ สามรอยยี่สิบสี่

ลูกคิดแสดงจํานวน 5 พัน กับ 0 รอย กับ 4 สิบ กับ 6 หนวยเขียนแสดงดวยตัวเลขฮินดูอารบิก 5,046เขียนแสดงดวยตัวเลขไทย ๕,๐๔๖เขียนแสดงดวยตัวหนังสือ หาพันสี่สิบหก

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

Page 21: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 5

ลูกคิดแสดงจํานวน 5 หมื่น กับ 0 พัน กับ 8 รอย กับ 3 สิบ กับ 1 หนวยเขียนแสดงดวยตัวเลขฮินดูอารบิก 50,831เขียนแสดงดวยตัวเลขไทย ๕๐,๘๓๑เขียนแสดงดวยตัวหนังสือ หาหมื่นแปดรอยสามสิบเอ็ด

ลูกคิดแสดงจํานวน 1 แสนเขียนแสดงดวยตัวเลขฮินดูอารบิก 100,000เขียนแสดงดวยตัวเลขไทย ๑๐๐,๐๐๐เขียนแสดงดวยหนังสือ หนึ่งแสน

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

Page 22: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

6 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

1. จํานวนนับตั้งแตสองหลักขึ้นไปที่มี 1 อยูในหลักหนวยจะอาน

ออกเสียง “เอ็ด”

เชน 2,161 อานวา สองพันหนึ่งรอยหกสิบเอ็ด

41,211 อานวา สี่หมื่นหนึ่งพันสองรอยสิบเอ็ด

53,461 อานวา หาหมื่นสามพันสี่รอยหกสิบเอ็ด

2. จํานวนนับตั้งแตสองหลักข้ึนไปที่มี 2 อยูในหลักสิบ อานวา

ยี่สิบ

เชน 423 อานวา สี่รอยยี่สิบสาม

1,628 อานวา หนึ่งพันหกรอยยี่สิบแปด

45,825 อานวา สี่หมื่นหาพันแปดรอยยี่สิบหา

3. เมือ่ 0 อยูในหลกัหมืน่ หลกัพนั หลกัรอย หลกัสบิ หรอืหลกัหนวย

จะไมมคีาํอานในหลกันัน้ แตเขยีน 0 ในหลกันัน้ เพื่อยึดตําแหนง

ของหลัก

เชน 208 อานวา สองรอยแปด

1,054 อานวา หนึ่งพันหาสิบสี่

20,720 อานวา สองหมื่นเจ็ดรอยยี่สิบ

หลักการอานจํานวนนับ

Page 23: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

กจิกรรมที่ 1

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 7

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนจาก รูปที่กําหนดให 1) 2)

ฝกเขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจํานวน

3) 4)

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

2. เขียนตัวหนังสือแสดงจํานวน 1) 3,674 5) 85,732 9) ๕๐,๕๖๙ 2) 7,260 6) 98,988 10) ๖๒,๐๑๘ 3) 44,000 7) ๓๐,๓๒๗ 11) ๗๑,๐๘๔ 4) 76,071 8) ๕๐,๐๕๑ 12) ๘๗,๐๐๑ 3. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยแทนตัวหนังสือ 1) แปดสิบหก 2) หนึ่งรอยสิบเอ็ด 3) เจ็ดรอยสิบสอง 4) หนึ่งพันสองรอยสิบเกา 5) หาพันสามสิบสี่ 6) หกพันเการอยสาม

7) สองหมื่นสามรอยหาสิบเอ็ด 8) หกหมื่นสามรอยหกสิบสาม 9) เจ็ดหมื่นเจ็ดพันเจ็ดรอยเจ็ด 10) แปดหมืน่เกาพนัแปดรอยสบิแปด 11) เกาหมื่นยี่สิบเอ็ด 12) เกาหมื่นเกาพันสิบเอ็ด

Page 24: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

2.

กจิกรรมที่ 2

8 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

ค�าของเลขโดดในแต�ละหลักของจํานวนนับไม�เกิน 100,000

ลูกคิดแสดงจํานวน 21,436 อานวา สองหมื่นหนึ่งพันสี่รอย สามสิบหก2 ในหลักหมื่น มีคา 20,0001 ในหลักพัน มีคา 1,0004 ในหลักรอย มีคา 4003 ในหลักสิบ มีคา 306 ในหลักหนวย มีคา 6ลูกคิดแสดงจํานวน 40,130 อานวา สี่หมื่นหนึ่งรอยสามสิบ4 ในหลักหมื่น มีคา 40,0000 ในหลักพัน มีคา 01 ในหลักรอย มีคา 1003 ในหลักสิบ มีคา 300 ในหลักหนวย มีคา 0

1) 289 6) ๑๐,๐๖๖ 2) 988 7) 15,728 3) ๓,๖๐๒ 8) 21,930 4) 5,281 9) 24,539 5) ๗,๓๖๒ 10) ๒๙,๖๑๓

บอกคาของเลขโดด

เขียนคาของเลขโดดที่ขีดเสนใตลงในสมุด

Page 25: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

ตวัอยาง

3.

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 9

98,032 เขียนในรูปกระจายไดอยางไร98,032 = 90,000 + 8,000 + 0 + 30 + 2 หรือ = 90,000 + 8,000 + 30 + 2

การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย

พิจารณา 32,546 เขียนแสดง 3 หมื่น กับ 2 พัน กับ 5 รอย กับ 4 สิบ กับ 6 หนวย 32,546 6 ในหลักหนวย มีคา 6 4 ในหลักสิบ มีคา 40 5 ในหลักรอย มีคา 500 2 ในหลักพัน มีคา 2,000 3 ในหลักหมื่น มีคา 30,000 32,546 เขียนในรูปกระจายไดดังนี้ 32,546 = 30,000 + 2,000 + 500 + 40 + 6

11) 30,162 16) 70,159 12) ๔๑,๓๒๕ 17) 76,890 13) 52,350 18) 84,624 14) ๖๗,๗๖๘ 19) 90,871 15) ๖๙,๐๒๓ 20) ๙๙,๕๖๑

สรุป การเขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจายเปนการเขียนจํานวนในรูปการบวกคาของเลขโดดในแตละหลักของจํานวนนั้น

Page 26: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

กจิกรรมที่ 3

10 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

1. เขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย 1) 2,507 5) 61,016 2) 9,008 6) 67,671 3) 11,203 7) 77,607 4) 30,250 8) 90,435 5) 53,055 10) 99,999

2. เขียนตัวเลขแสดงจํานวนตอไปนี้ 1) 8,000 + 10,000 + 700 + 8 + 20 2) 1,000 + 20,000 + 600 + 10 + 2 3) 20,000 + 2,000 + 300 + 4 4) 40,000 + 4,000 + 400 + 40 + 4 5) 200 + 40 + 40,000 + 9,000 6) 8,000 + 50,000 + 700 + 5 + 60 7) 7,000 +60,000 + 800 + 80 + 1 8) 70,000 + 2,000 + 500 + 8 9) 90,000 + 1,000 + 100 + 50 + 3 10) 200 + 30 + 90,000 + 9,000

เขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย

Page 27: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

4.˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 11

การเปร�ยบเทียบจํานวน

จํานวนนับสองจํานวนที่นํามาเปรียบเทียบอาจเทากันหรือไมเทากัน โดยใชเครื่องหมายแสดงการเปรียบเทียบจํานวน ดังนี้

เชน 2,520 = 2,520 36,412 ≠ 25,004 จาํนวนทีไ่มเทากนัเมือ่นาํมาเปรยีบเทยีบกนัจะมจีาํนวนมากกวาหรอืนอยกวาโดยใชเครื่องหมายแสดงการเปรียบเทียบจํานวน ดังนี้

= แทนคําวา เทากับ≠ แทนคําวา ไมเทากับ

< แทนคําวา นอยกวา> แทนคําวา มากกวา

พิจารณาการเปรียบเทียบ 4,132 กับ 40,578

4,132 กับ 40,578

4,132 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก หลักที่มีคามากที่สุด คือ หลักพัน 4 ในหลกัพนั มคีาประจาํหลกัเปน 1,000 จงึมคีา 4,000

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

4.1 การเปร�ยบเทียบจํานวนนับสองจํานวนท่ีมีจํานวนหลัก

ไม�เท�ากัน

Page 28: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

12 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

พิจารณาการเปรียบเทียบ 32,657 กับ 32,840

32,657 กับ 32,840

32,657 กับ 32,840 เปนจํานวนที่มีหาหลัก พิจารณาเลขโดดในหลักหมื่น 32,657 มี 3 ในหลักหมื่น มีคา 30,000 32,840 มี 3 ในหลักหมื่น มีคา 30,000

40,578 เปนจาํนวนทีม่หีาหลกั หลกัทีม่คีามากทีส่ดุ คือ หลกัหมืน่ 4 ในหลักหมื่น มีคาประจําหลักเปน 10,000 จึงมีคา 40,000 4,000 < 40,000 ดังนั้น 4,132 < 40,578 หรือ 40,578 > 4,132

แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย แสน หมื่น พัน รอย สิบ หนวย

4.2 การเปร�ยบเทียบจํานวนนับสองจํานวนท่ีมีจํานวนหลัก

เท�ากัน

สรุป การเปรยีบเทยีบจาํนวนนบัสองจาํนวนทีม่จีาํนวนหลกัไมเทากนั จาํนวนทีม่จีาํนวนหลักนอยกวาจะเปนจาํนวนทีน่อยกวา หรอืจาํนวนทีม่จีาํนวนหลักมากกวาจะเปนจํานวนที่มากกวา

Page 29: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

กจิกรรมที่ 4

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 13

คาของเลขโดดในหลกัหมืน่เทากนัใหพจิารณาเลขโดดในหลกัพนั 32,657 2 ในหลักพัน มีคา 2,000 32,840 2 ในหลักพัน มีคา 2,000 คาของเลขโดดในหลักพนัเทากนั ใหพจิารณาเลขโดดในหลกัรอย 32,657 6 ในหลักรอย มีคา 600 32,840 8 ในหลักรอย มีคา 800 600 < 800 ดังนั้น 32,657 < 32,840 หรือ 32,840 > 32,657

1. แบงกลุม กลุมละเทา ๆ กัน2. แตละกลุมรับบัตรเลขโดด 0 ถึง 9 กลุมละ 3 ชุด3. ใหแตละกลุมนําบัตรเลขโดดมาเรียงเปนจํานวนนับที่มีหาหลักตาม ขอกําหนดดังนี้ 1) จํานวนที่นอยกวา 42,080 2) จํานวนที่มากกวา 9,860

เปรียบเทียบจํานวน (1)

สรุป การเปรียบเทียบจํานวนนับสองจํานวนที่มีจํานวนหลักเท ากัน ใหเปรียบเทียบคาของเลขโดดในหลักทางซายมือสุดกอน ถาคาของเลขโดดในหลักทางซายมอืสดุของจํานวนใดมากกวาจาํนวนนัน้จะมีคามากกวา ถาคาของเลขโดดในหลักทางซายมือสุดของทั้งสองจํานวนเทากันใหเปรียบเทียบคาของเลขโดดในหลักถัดไปทางขวามือของแตละจํานวนทีละหลักดวยวิธีเดียวกัน

Page 30: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

กจิกรรมที่ 5

14 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

3) จํานวนที่นอยกวา 10,542 4) จํานวนที่มากกวา 76,140 5) จํานวนที่นอยกวา 25,7324. แตละกลุมสงตัวแทนมานําเสนอหนาชัน้เรยีนและใหเพือ่น ๆ ในชัน้เรยีน ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง

1. เปรียบเทียบจํานวนในแตละขอโดยใชเครื่องหมาย = หรือ ≠ 1) 3,250 กับ 3,000 + 500 + 2 2) 10,111 กับ 10,000 + 0 + 100 + 10 + 1 3) 33,426 กับ 30,000 + 3,000 + 400 + 20 + 6 4) 65,432 กับ 65,342 5) 75,600 กับ 7,560 6) 1 + 80 + 80,000 + 500 กับ 84,231 7) 600 + 30 + 90,000 + 1,000 กับ 91,063 8) 78,001 กับ 78,0112. เปรียบเทียบจํานวนในแตละขอโดยใชเครื่องหมาย < หรือ > 1) 2,245 กับ 2,000 + 200 + 4 + 2 2) 19,751 กับ 10,000 + 8,000 + 700 + 10 + 1 3) 26,151 กับ 21,551 4) 30,532 กับ 30,987 5) 33,426 กับ 30,000 + 9,000 + 800 + 20 + 6 6) 50,000 + 6,000 + 300 + 70 + 2 กับ 59,607 7) 67,812 กับ 67,978

เปรียบเทียบจํานวน (2)

Page 31: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

ตัวอยาง

5.

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 15

8) 83,877 กับ 77,877 9) 99,989 กับ 99,889 10) 90,000 + 9,000 + 900 + 90 + 9 กับ 90,000 + 9,000 + 900 + 90 + 6

การเร�ยงลําดับจํานวน

การเรยีงลาํดบัจาํนวน สามารถเรยีงลําดบัจาํนวนจากนอยไปมาก หรอืเรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอยก็ได

พิจารณาจํานวนหลักของจํานวนแตละจํานวน ดังนี้ 890 เปนจํานวนที่มีสามหลัก 2,460 และ 4,520 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก 12,050 เปนจํานวนที่มีหาหลัก ดังนั้น 890 เปนจํานวนที่นอยที่สุด 12,050 เปนจํานวนที่มากที่สุด เปรียบเทียบ 2,460 กับ 4,520 พิจารณาเลขโดดในหลักพัน 2,460 2 ในหลักพัน มีคา 2,000 4,520 4 ในหลักพัน มีคา 4,000 2,000 < 4,000 ดังนั้น 2,460 < 4,520 เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมากไดดังนี้ 890 2,460 4,520 12,050

เรียงลําดับจํานวนตอไปนี้จากนอยไปมาก2,460 890 12,050 4,520

5.1 เร�ยงลําดับจํานวนจากน�อยไปมาก

Page 32: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

ตัวอยาง

16 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

พิจารณาจํานวนหลักของจํานวนแตละจํานวน ดังนี้ 742 เปนจํานวนที่มีสามหลัก 3,690 6,180 และ 5,820 เปนจํานวนที่มีสี่หลัก 30,478 เปนจํานวนที่มีหาหลัก ดังนั้น 742 เปนจํานวนที่นอยที่สุด 30,478 เปนจํานวนที่มากที่สุด เปรียบเทียบ 3,690 6,180 และ 5,820 3,690 6,180 และ 5,820 เปนจํานวนที่มีสี่หลักเหมือนกัน พิจารณาเลขโดดในหลักพัน 3,690 3 ในหลักพัน มีคา 3,000 6,180 6 ในหลักพัน มีคา 6,000 5,820 5 ในหลักพัน มีคา 5,000 6,000 > 5,000 และ 5,000 > 3,000 ดังนั้น 6,180 > 5,820 และ 5,820 > 3,690 เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอยไดดังนี้ 30,478 6,180 5,820 3,690 742

เรียงลําดับจํานวนตอไปนี้จากมากไปนอย3,690 742 6,180 5,820 30,478

5.2 เร�ยงลําดับจํานวนจากมากไปน�อย

Page 33: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

กจิกรรมที่ 6

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 17

1. เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย 1) 58,726 25,899 59,412 2) 31,113 31,313 31,311 31,131 3) 4,775 47,751 4,757 47,157 4) 43,689 5,820 60,199 6,516 56,734 5) 88,457 67,248 82,374 64,523 68,4962. เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก 1) 48,627 62,432 48,267 2) 54,478 54,874 54,487 54,748 3) 7,625 51,649 7,468 55,280 4) 90,909 84,520 90,990 90,009 82,450 5) 25,989 25,899 25,898 36,072 32,6703. เรียงลําดับจํานวนจากสถานการณที่กําหนดให 1) นักเรยีนชัน้ ป. 3 จํานวน 5 คน มนีํา้หนกัเพิม่ข้ึนจากเดือนทีผ่านมา ดังนี้ นักเรียนคนที่ 1 นํ้าหนักเพิ่มขึ้น 1,150 กรัม นักเรียนคนที่ 2 นํ้าหนักเพิ่มขึ้น 1,450 กรัม นักเรียนคนที่ 3 นํ้าหนักเพิ่มขึ้น 1,420 กรัม นักเรียนคนที่ 4 นํ้าหนักเพิ่มขึ้น 2,020 กรัม นักเรียนคนที่ 5 นํ้าหนักเพิ่มขึ้น 980 กรัม เรียงลําดับนํ้าหนักที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนชั้น ป. 3 จากมากไปนอย

เรียงลําดับจํานวน

Page 34: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

18 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

2) นุชสํารวจราคาเครื่องปรับอากาศยี่หอตาง ๆ ดังนี้ ยี่หอที่ 1 17,568 บาท ยี่หอที่ 2 23,900 บาท ยี่หอที่ 3 13,998 บาท ยี่หอที่ 4 21,990 บาท ยี่หอที่ 5 15,129 บาท เรียงลําดับราคาเครื่องปรับอากาศยี่หอตาง ๆ จากมากไปนอย 3) วิชุดาซื้อเครื่องใชไฟฟา 5 ชิ้น ราคาดังนี้ เครื่องซักผา 10,990 บาท พัดลมไอนํ้า 2,998 บาท โทรทัศน 35,990 บาท คอมพิวเตอรโนตบุก 20,990 บาท ตูเย็น 22,900 บาท เรียงลําดับราคาเครื่องใชไฟฟาจากนอยไปมาก 4) โรงงานแหงหนึ่งผลิตรองเทาแตะในเวลา 5 เดือน ดังนี้ เดือนที่ 1 ผลิต 36,781 คู เดือนที่ 2 ผลิต 12,630 คู เดือนที่ 3 ผลิต 40,050 คู เดือนที่ 4 ผลิต 10,020 คู เดือนที่ 5 ผลิต 36,790 คู เรียงลําดับจํานวนรองเทาแตะในแตละเดือนที่ผลิตไดจากนอยไปมาก

Page 35: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

คําถามประจําหนวย?˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 19

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทยแทนตัวหนังสือ 1) เจ็ดพันสี่รอยเกาสิบสอง 2) หาพันแปดสิบหก 3) หกหมืน่แปดพนัสามสิบหก 4) เกาหมืน่สามพนัสีร่อยยีส่บิเอด็2. เขียนตัวหนังสือแสดงจํานวน 1) 3,820 2) 18,424 3) 55,986 4) ๖,๕๙๓ 5) ๔๗,๑๒๘ 6) ๒๕,๓๖๐3. เขียนคาของเลขโดดของจํานวนในแตละขอ 1) 36,180 2) 54,732 3) 10,506 4) 77,049 5) 23,196 6) 69,1014. เขียนตัวเลขแสดงจํานวนในรูปกระจาย 1) 25,764 2) 72,408 3) 14,516 4) 40,382 5) 91,221 6) 58,1645. เปรียบเทียบจํานวนในแตละขอโดยใชเครื่องหมาย > < หรือ = 1) 27,680 กับ 28,670 2) 40,000 + 2,000 + 500 + 8 กับ 42,508 3) 60,000 + 900 + 40 + 2 กับ 69,0426. เรียงลําดับจํานวนจากมากไปนอย 1) 3,840 10,316 5,612 11,884 2) 15,276 21,082 18,457 23,402 21,6357. เรียงลําดับจํานวนจากนอยไปมาก 1) 6,450 2,720 8,178 12,060 2) 65,765 65,567 65,665 66,576 67,676

Page 36: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

บทสรุปประจําหนวยการเรียนรูที่ 120 ˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3

1. จาํนวนนบัทีใ่ชบอกจาํนวนของสิง่ตาง ๆ สามารถเขยีนแทนดวยตวัเลข ฮนิดอูารบกิ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หรอืตวัเลขไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ เรยีก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 วา เลขโดด เลขโดดตวัเดยีวกนั ยกเวน 0 จะมีคาตางกันเมื่อนําไปเขียนแสดงจํานวนในหลักที่ตางกัน2. การเขยีนตวัเลขแสดงจาํนวนในรปูกระจายเปนการเขยีนในรปูการบวก คาของเลขโดดในแตละหลักของจํานวน3. การเปรียบเทียบจํานวน 1) การเปรยีบเทยีบจาํนวนสองจาํนวนทีม่จีาํนวนหลกัไมเทากนั จาํนวน ที่มีจํานวนหลักนอยกวาจะมีคานอยกวาจํานวนที่มีจํานวนหลัก มากกวา 2) การเปรียบเทียบจํานวนสองจํานวนที่มีจํานวนหลักเทากัน 2.1 คาของเลขโดดหลกัซายมือสดุของจํานวนใดมากกวาจาํนวนนัน้ มากกวา 2.2 ถาคาของเลขโดดในขอ 2.1 เทากนัใหเปรยีบเทยีบคาของเลขโดด ในหลักถัดไปทางขวามือดวยวิธีเดียวกับขอ 2.1 2.3 เปรยีบเทยีบคาของเลขโดดในหลักถดัไปทางขวามอืจนถงึหลัก สุดทาย4. การเรียงลําดับจํานวน ใหเปรียบเทียบจํานวนทีละคูแลวนํามาจัดเรียงลําดับจํานวนจากนอย ไปมากหรือจากมากไปนอย

Page 37: คณิตศาสตร ป. 3 - OBEC · 2020. 7. 15. · กลุ มสาระการเรียนรู คณิตศาสตร (ฉบับปรับปรุง

กิจกรรมเสนอแนะ

˹ѧÊ×Í àÃÕ¹ÃÒÂÇÔªÒ ¾×é¹°Ò¹ ¤³ÔµÈ ÒʵÃ� ». 3 21

แบงกลุม กลุมละเทา ๆ กัน ปฏิบัติกิจกรรม ตอไปนี้ 1. ระดมความคิดแลวเขียนแผนภาพความคิดใหสมบูรณ 2. กําหนดจํานวนนับไมเกิน 100,000 อีก 10 จํานวน แลวเขียน แผนภาพความคิด 10 ภาพ แลวรวบรวมผลงานทําเปนสมุด เลมเล็ก ตัวอยาง

รวบรวมภาพโฆษณาสนิคาทีม่รีาคาไมเกนิ 100,000 บาท มา 5 รายการ แลวติดภาพโฆษณาสินคาลงในสมุดและเรียงลําดับราคาสินคาจากนอยไปมาก

เขียนในรูปกระจาย10,000 + 8,000 + 20 + 7

ในหลักหมื่นมีคา 10,000

พัน

รอย สิบ20

8,000

0

77

1

8

0 2

ในหลักหนวยมีคา

ในหลัก มีคา

ในหลัก มีคา

ในหลัก มีคา

18,027

การประยุกตใชในชีวิตประจําวัน