176
การสรางสื่อประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษา โดย นางสาวเมทินี สุพรรณพยัคฆ วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2545 ISBN 974-653-602-8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

การสรางสื่อประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวนิัย ของนักเรียนประถมศึกษา

โดย นางสาวเมทินี สุพรรณพยัคฆ

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลกัสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2545

ISBN 974-653-602-8 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

THE CONSTRUCTION OF INSTRUCTIONAL MEDIA FOR THE DEVELOPMENT OF PRIMARY SCHOOL

STUDENTS’ DISCIPLINE

By Matinee Suphanpayak

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

MASTER OF EDUCATION Department of Curriculum and Instruction

Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY

2002 ISBN 974-653-602-8

Page 3: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “การสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา” เสนอโดย นางสาวเมทิน ี สุพรรณพยัคฆ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ

……………………………………… (ผูชวยศาสตราจารย ดร. จิราวรรณ คงคลาย)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันท่ี …….. เดือน ……………….. พ.ศ. ……..

ผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. รองศาสตราจารยกาญจนา คณุารกัษ 2. รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม 3. อาจารย ดร. สมนึก ธาตุทอง คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ……………………………………… ประธานกรรมการ ( อาจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ) ………. /………./………. .………………………………… กรรมการ …………………………………… กรรมการ (รองศาสตราจารยกาญจนา คุณารักษ) (รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม) ………. /………./………. ………. /………./………. .………………………………… กรรมการ …………………………………… กรรมการ (อาจารย ดร. สมนึก ธาตุทอง) ( อาจารยยงยุทธ วาศบุญมา) ………. /………./………. ………. /………./……….

Page 4: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

K 41462008 : สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คําสําคัญ : การสรางส่ือประกอบการสอน /ระเบียบวินัย

เมทินี สุพรรณพยัคฆ : การสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย ของ นักเรียนประถมศึกษา ( THE CONSTRUCTION OF INSTRUCTIONAL MEDIA FOR THE DEVELOPMENT OF PRIMARY SCHOOL STUDENTS’ DISCIPLINE ) อาจารย ผูควบคุมวิทยานิพนธ : รองศาสตราจารยกาญจนา คุณารักษ, รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม และ อ.ดร.สมนึก ธาตุทอง 165 หนา ISBN 974-653-602-8

การวิจัยครัง้นี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ (1) สรางและหาประสิทธิภาพของสือ่ประกอบการสอน

เพ่ือพัฒนาระเบียบวินยัของนกัเรยีนประถมศกึษา (2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัยของนกัเรยีนประถมศึกษากอนและหลังการใชสือ่ประกอบการสอน (3) เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอสื่อประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินยัของนกัเรยีนประถมศกึษาท่ีผูวิจัยสรางขึ้น กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยเปนนกัเรียนชัน้ประถมศกึษาปท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2545 โรงเรียน ยอแซฟอุปถัมภ สงักัดสาํนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ระยะเวลาในการทดลอง 4 สัปดาห สัปดาหละ 1 วัน วันละ 3 คาบ คาบละ 20 นาที รวม 12 คาบ เครือ่งมือท่ีใชในการวิจัยประกอบดวย แบบสมัภาษณ แบบสอบถาม สือ่ประกอบการสอนเรือ่งระเบียบวินัย คูมือคร ู แผนการสอน และแบบทดสอบผลสมัฤทธิ์ทางการเรยีนกอนและหลงัใชสือ่ประกอบการสอน วิเคราะหขอมูลดวยคารอยละ (%) คาเฉลีย่ ( x ) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) คา t- test แบบdependent และการวิเคราะหเนื้อหา ( Content Analysis )

ผลการวิจัยพบวา 1. สื่อประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา มีคาประสิทธิภาพ

( 81.95/ 83.33 ) สูงกวาเกณฑท่ีกําหนด ( 80/80 ) 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังใชสื่อประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของ

นักเรียนประถมศึกษาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ0.001 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใชสื่อประกอบการสอน( x = 23.20 , S.D = 1.87 ) สูงกวากอนใชสื่อประกอบการสอน ( x = 19.22 , S.D = 1.45 )

3.. ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอสื่อประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาในภาพรวมอยูในระดับดี ( x = 4.05 , S.D = 0.82)

ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2545 ลายมือช่ือนักศึกษา................................... ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 1............................2.............................3..............................

Page 5: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

K 41462008 : MAJOR : CURRICULUM AND SUPERVISION KEY WORD : CONSTRUCTING INSTRUCTIONAL MEDIA / DISCIPLINE

MATINEE SUPHANPAYAK : THE CONSTRUCTION OF INSTRUCTIONAL MEDIA FOR THE DEVELOPMENT OF PRIMARY SCHOOL STUDENTS’ DISCIPLINE. THESIS ADVISORS : ASSO.PROF.KANCHANA KUNARAK, M.Sc., ASSO.PROF. SIRIPONG PAYOMYAM, M.Ed. AND SOMNUK THATTHONG ,Dr., 165 pp. ISBN 974-653-602-8

The purposes of the research were: (1) to construct instructional media for the development of primary school students’ discipline and then test the efficiency (2) to compare the learning achievement before and after using the instructional media and (3) to study the students’ opinions towards the instructional media

The sample consisted of sixth grade students’ of Joseph Upatham School, Nakhonpathom province during the academic year 2002. The duration of the experiment covered four weeks, once a week for three periods and twenty minutes for each period. The total numbers are twelve periods.

The instruments employed were an interview form, a questionnaire , instructional media for development of students’ discipline, the lesson plan and pre – post tests. The data were analyzed by percentage, mean , standard deviation, t-test dependent and content analysis.

The results of the study were : 1. The average scores of the instructional media were 81.95/ 83.33 percent. This means

that the instructional media were highly effective at 80 / 80 2. There were significant differences in the effect on learning before and after using

the instructional media on the development of primary school students at level 0.001 . The effectiveness after using the material was X = 23.20 , S.D = 1.87. It was higher than before using the materials

3. The students’ opinions towards the materials were good ( X = 4.05 , S.D = 0.82 ) Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2002 Student ‘s signature…………………………….. Thesis Advisors’ signature 1………………………2……………………........3…………………………

Page 6: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธเรื่อง “การสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียน ประถมศึกษา” ฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยความกรุณาเอาใจใสดูแลใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนตรวจแกไขขอบกพรองจากรองศาสตราจารยกาญจนา คุณารักษ รองศาสตราจารยศิริพงศ พยอมแยม และอาจารย ดร. สมนึก ธาตุทอง ผูเปนอาจารยท่ีปรึกษาและควบคุมวิทยานิพนธ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง

ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ ประธานกรรมการและอาจารย ยงยุทธ วาศบุญมา ผูทรงคุณวุฒิท่ีกรุณาเปนท่ีปรึกษา แนะนํา แกไขขอบกพรองและใหความรู เชิงวิชาการเพ่ือความสมบูรณของวิทยานิพนธ

ขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารยฐาปนีย ธรรมเมธา อาจารยวัชรินทร เสถียรยานนท อาจารยสามารถ ทิมนาค อาจารยบุญฤทธ์ิ เจริญแสง และอาจารยเพ็ญนภา ขุนโหร ท่ีไดกรุณาเปนผูเช่ียวชาญในการตรวจแกเครื่องมือในการวิจัย

ขอขอบพระคุณบาทหลวงศักดิ์ชัย ทรัพยอัประไมย คณะครูและนักเรียน โรงเรียน ยอแซฟอุปถัมภ อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ท่ีใหความรวมมือและอํานวยความสะดวกในการทําการศึกษาวิจัย เปนอยางดี

ขอขอบพระคุณคณาจารยผูประสิทธ์ิประสาทวิชาความรูทุกทาน ขอขอบคุณ พ่ี เพ่ือน และนองนักศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ท่ีใหความชวยเหลือเปนกําลังใจตลอดมา โดยเฉพาะนางสาวพัชยา โรจนบุญถึง นางสาวปนัดดา พงศนภาพิไล นางสาวลลิตา แสงกระจาง และนางสาวลัดดา แตงหอม

ขอกราบขอบพระคุณคุณพอสนิท และขอขอบคุณญาติพ่ีนอง ผูใกลชิดทุกทานท่ีให แรงใจ แรงกาย แรงทรัพยและโอกาสแกผูวิจัย จนผูวิจัยศึกษาสําเร็จเปนอยางดีสมความปรารถนา

Page 7: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย...................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................. จ กิตตกิรรมประกาศ...................................................................................................... ฉ สารบัญ....................................................................................................................... ช สารบัญตาราง............................................................................................................. ญ สารบัญแผนภูมิ.......................................................................................................... ฎ บทท่ี

1. บทนํา........................................................................................................... 1 ปญหา............................................................................................. 4 ประพจนปญหาการวจิยั.................................................................. 6 ความสําคัญของปญหา.................................................................... 6 กรอบแนวคิดทางทฤษฎี................................................................. 7 วตัถุประสงคของการวจิยั............................................................... 9 ขอคําถามการวิจัย........................................................................... 9 สมมติฐานการวจิยั.......................................................................... 9 นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................ 9

2. วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ.................................................................................. 11 ส่ือการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยกับหลักสูตร........................... 12 จุดประสงคตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2533)……………………………………….. 13 เนื้อหาสาระตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2533)……………………………………….. 13 จุดหมายสาระและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544........................................................ 14 ส่ือการสอน................................................................................... 14 ความหมายของส่ือการสอน.......................................................... 14 ประเภทของส่ือการเรียนการสอน................................................. 15

Page 8: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทท่ี หนา การแบงประเภทของส่ือการเรียนการสอนตามระดับ ประสบการณของผูเรยีน.............................................................. 16 การแบงประเภทของส่ือการเรียนการสอนตามลักษณะของ การนําไปใช................................................................................. 16 การแบงประเภทของส่ือตามวิธีการใช......................................... 18 องคประกอบของส่ือ................................................................... 19 นิทาน.......................................................................................... 21 ประเภทของนิทาน...................................................................... 22 ประโยชนของการเลานิทาน........................................................ 23 การสอนโดยใชส่ือประกอบการเลานิทาน.................................. 24 เพลง............................................................................................ 25 การนําเพลงไปใชในการเรียนการสอน........................................ 26 เกม.............................................................................................. 27 ความมุงหมายของเกม................................................................. 27 เกมกบัการจดักจิกรรมการเรียนการสอน.................................... 27 คุณคาของเกม............................................................................. 28 ประโยชนของเกม...................................................................... 28 การผลิตส่ือการสอน.................................................................. 30 การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอน......................................... 31 ความจาํเปนท่ีจะตองหาประสิทธิภาพ........................................ 33 ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพ...................................................... 33 ประโยชนของส่ือการสอน.......................................................... 34 ลักษณะส่ือการสอนท่ีด.ี.............................................................. 35 ระเบียบวินัย................................................................................ 37 ประเภทของวนิยั......................................................................... 37 การรกัษาวนิัยในโรงเรยีน........................................................... 38 ความจาํเปนในการรกัษาวินัยในโรงเรียน................................... 39 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ............................................................ 39 ประวัติความเปนมาของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ...................... 39

Page 9: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทท่ี หนา ปรัชญาของโรงเรียน................................................................... 40 สภาพระเบียบวินัยของนกัเรยีนโรงเรยีนยอแซฟอุปถัมภ....... .... 40 ระเบียบของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ......................................... 41

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ...................................................................... 42 สรุป............................................................................................. 44

3 วธีิดําเนนิการวิจยั................................................................................. ..... 46 ขอบเขตของการวจิยั.................................................................... 46 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย........................................................ ...... 47 การพัฒนาเครือ่งมือท่ีใชในการวจิยั.............................................. 47 การวิเคราะหขอมูล....................................................................... 50

4 การวิเคราะหขอมูล............................................................................. ...... 51 ส่ือประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวินัยและประสิทธิภาพ... 51ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัยของนกัเรียน ประถมศึกษากอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน............... 52

ความคดิเห็นของนกัเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอน เพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย.................................................................. 53

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ...................................................... 54 ผลการวิจัย................................................................................... 54

อภิปรายผล................................................................................... 55 ขอเสนอแนะ................................................................................. 58

บรรณานกุรม.............................................................................................. 59 ภาคผนวก................................................................................................... 68

ภาคผนวก ก รายช่ือผูเช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือ................... 69 ภาคผนวก ข แบบประเมินความตรงเชิงเนื้อหา

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิกอนเรียนและหลังเรียน.................... 71 ภาคผนวก ค ตารางตาง ๆ ........................................................... 89

ภาคผนวก ง ส่ือประกอบการสอน............................................. 96 ภาคผนวก จ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ ................................ 158 ประวตัิผูวจิยั............................................................................................. 165

Page 10: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา 1 ประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย

ของนักเรียนประถมศึกษา........................................................... .... ..... 49 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวนิัยของนักเรียน

ประถมศึกษากอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน......................... 49 3 ความคดิเห็นของนกัเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพือ่พัฒนา

ระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา.................................................... 50 4 คาเฉล่ียผลการประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและความสอดคลองกับคําช้ีแจง

วัตถุประสงค แผนการสอน ใบงานของนกัเรียนและเนือ้หา................ 86 5 คาประสิทธิภาพ (E1) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 9 คน............. 87 6 คาประสิทธิภาพ (E2) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 9 คน............. 88 7 คาประสิทธิภาพ (E1) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 54 คน........... 89 8 คาประสิทธิภาพ (E2) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 54 คน........... 90 9 คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r ) ของแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียน.......................................................................................... 91

Page 11: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที ่ หนา 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั.......................................................................8

2 ขั้นตอนของการผลิตส่ือ........................................................................30

Page 12: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทที่ 1

บทนํา

นโยบายการจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ีแปดและ

นโยบาย การพัฒนาการศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาต ิ ฉบับท่ีแปด ตลอดจนนโยบายการพัฒนาการศึกษาของรัฐบาล ไดระบุไวชัดเจนในเรื่องการพัฒนาการศึกษาของประเทศใหเปนการศึกษาท่ีสูงขึ้น โดยจัดเปนการศึกษาพ้ืนฐาน 12 ป และมุงเนนการพัฒนาศักยภาพของคนเปน เปาหมายหลักเพ่ือใหเกิดการพัฒนาท้ัง 3 ดานคือพัฒนาคน พัฒนางานและอาชีพและพัฒนาสังคม

แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาต ิฉบับท่ีแปด ไดกําหนดนโยบายการพัฒนาการศึกษาของประเทศในชวงป 2540 – 2544 ดานการปฏิรูประบบการเรียนการสอน โดยมุงปรับเปล่ียนกระบวนการเรียนการสอนใหเอ้ือตอการพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนใหเต็มศักยภาพตาม จุดประสงคของแตละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีพ้ืนฐานความรูความสามารถและทักษะ พ้ืนฐานท่ีดีและเขมแข็งพอท่ีจะออกไปประกอบอาชีพหรือศึกษาตอในระดับการศึกษาท่ีสูงขึ้น มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ใฝการเรียนรู มีระเบียบวินัย และมีคุณธรรมในการอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคม

ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี และกระแสความเปล่ียนแปลงของยุคโลกา- ภิวัตน ไดทําใหประเทศท่ัวโลกตองกาวเขาสูเวทีแหงการแขงขนัในระดับโลกอยางไมอาจหลีกเล่ียงไดและขอไดเปรียบในการแขงขันของประเทศในปจจุบันคือการมีประชากรท่ีมีความรู ความสามารถมีศักยภาพเพียงพอตอการแขงขันและดํารงอยูอยางรูเทาทัน (รุง แกวแดง 2543 : ก) การศึกษาเปนกระบวนการท่ีมุงพัฒนาคน ใหมีความสามารถเต็มตามศักยภาพและเสริมสรางใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และโดยเฉพาะดานคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย มีวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุขซ่ึงการพัฒนาคนไทยใหถึงพรอมดวยคุณลักษณะดังกลาว (รุง แกวแดง 2543 : ข ) สังคมและวัฒนธรรมท่ีอยูรอบตัวเดก็จะเปนตวักําหนดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค หากเด็กไดรับการอบรมส่ังสอนอยางถูกตอง จะเปนการสงเสริมระเบียบวินัย ใหเด็กสามารถดํารงตนอยูในสังคมและสรางความสัมพันธระหวางตนเองและผูอ่ืนไดอยางมีความสุข (นิตยา คชภักดี 2535 : 43) กระทรวงศึกษา ธิการซ่ึงมีหนาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหกับเยาวชนของชาต ิ ไดตระหนักถึงความสําคัญดังกลาว จึงไดมีการสงเสริมใหเด็กเกิดการเรียนรู เรื่องระเบียบวินัย ตั้งแตวัยอนุบาลหรือปฐมวัย เปนตนไป

1

Page 13: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

2

การจัดการศึกษาท่ีถือวาเปนการศึกษาเพ่ือมวลชนสวนใหญของประเทศ คอืการศึกษาระดับประถมศึกษา ซ่ึงเปนการศึกษาขัน้พ้ืนฐาน ดังเห็นไดจากการกําหนดจดุมุงหมายของ หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (พ.ศ. 2533) โดยมุงปลูกฝงใหผูเรียนมีคณุลักษณะดงันี ้ คือ มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับตนเอง ธรรมชาติแวดลอม และการเปล่ียนแปลงของสังคม มีความภมิูใจในความเปนไทย มีนิสัยไมเห็นแกตวั ไมเอาเปรยีบผูอ่ืน มีระเบียบวินัยและอยูรวมกบั ผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ซ่ึงสอดคลองกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับท่ี 8 (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาต ิ 2540 : 21) ท่ีสงเสริมใหพลเมืองไทยเปนบุคคลแหงการเรียนรู รูเทาทันโลก แขงขนัและรวมมือเปน มีสมรรถภาพ วินยั คุณธรรมตามหลักธรรมทางศาสนาเพ่ือพัฒนาคนใหเปนมนษุยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา มีความรู และคณุธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต ( กรมวิชาการ 2542 : 6,19) โดยจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานความรูตางๆ อยางสมดุลกันโดยปลูกฝงคณุธรรมคานิยมท่ีดีงาม และคณุลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกวิชา ดังท่ีปรากฏ ในจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขัน้พ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 ( 2544 : 4 ) ตอนหนึ่งความวา การศึกษาขัน้พ้ืนฐานมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนษุยท่ีสมบูรณ เปนคนดีมีปญญา มีความสุข เห็นคณุคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ในทํานองเดียวกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ 2540 : 18) ไดระบุถึงการเสริมสรางและพัฒนาคณุธรรม จรยิธรรม และสุนทรียภาพทางจิตใจแกคน โดยเพ่ิมเตมิความรูดานส่ือ และเทคโนโลยีสารสนเทศแกบุคลากรท่ีทําหนาท่ีเผยแพร คุณธรรม จริยธรรม เพ่ือพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของคนใหเปนคนด ี มีคณุธรรม จริยธรรมโดยเฉพาะอยางยิ่งดานการมีระเบียบวนิยั

ในทุกสาขาอาชีพ ตองการคนท่ีมีระเบียบวินัยในการดํารงชีวิตและในการทํางาน ดังเห็นไดจากการใหความสําคัญเรื่องระเบียบวินัยของพระสงฆ ท้ัง 227 ขอ หากไมเคารพกติกาและระเบียบวินัยจะทําใหเกิดความทุกข ทะเลาะเบาะแวง พระเมธีธรรมาภรณ ( อางถึงใน กรม วิชาการ 2541 : 18) และในจรรยาบรรณของครูท้ัง 9 ขอมีท้ังขอหามและขอท่ีตองควรปฏิบัติตนและประพฤติตนของครู ท้ังนี้จะสงผลกระทบถึงศิษยซ่ึงเปนบุคลากรสําคัญของชาติใหเปนคนมีวินัย ไพโรจน สมงาม ( อางถึงในกรมวิชาการ 2541 : 22) นอกจากนี้ในสาขาวิชาชีพอ่ืน ๆ เชน แพทย พยาบาล ทหาร ตํารวจ จําเปนตองมีระเบียบวินัยเพ่ือการอยูรวมกันอยางมีสันติสุข การรักษาวินัยของบุคคลในสังคมหรือประเทศเปนพ้ืนฐานสําคัญท่ีจะชวยใหประเทศดําเนินการพัฒนาไปไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 2538 : 1) และการฝกอบรมวินัยจะมีประสิทธิภาพและไดประสิทธิผลสูงสุดก็ตอเม่ือท้ังพอแมและเด็ก หรือครูและเด็กตางก็มีสัมพันธภาพท่ีดีระหวางกันและกัน ดูเหมือนวาเด็กจะเรียนรูเรื่องวินัยดีท่ีสุดเม่ือเด็ก

Page 14: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

3

รูสึกวาพอแมและครูรักตน เขาใจตนและยอมรับในศักดิ์ศรีของตน วัชรี ธุวธรรม ( อางถึงในกรมวิชาการ 2541 : 191)

จากอดีตท่ีผานมาจนถึงปจจุบันการจัดการเรียนการสอนยังไมสามารถสรางพ้ืนฐาน การคิดสรางวิธีการเรียนรูใหคนไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะในการดําเนินชีวิต สามารถเผชิญปญหาสังคม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงคเพ่ือเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติได ( กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 2- 3) ซ่ึงพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการท่ีจะชวยใหบุคคลตางๆในสังคมอยูรวมกันไดอยางสันติสุขคือการรักษาวินัย ( สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม 2538:1)

ดังนั้นบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาควรไดตระหนักถึงการปลูกฝง คุณลักษณะอันพึงประสงคในเรื่องของการมีวินัยในตนเอง เพ่ือการเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (กรมวิชาการ 2544 : 2 ) แตท้ังนี้กระบวนการพัฒนาระเบียบวินัยท่ีผานมายังจํากัดอยูกับครูผูสอนวิชาจริยธรรมมากกวาใหครูทุกคนมีสวนรวมจึงทําใหผลการพัฒนาระเบียบวินัยยังไมไดผลเทาท่ีควร ( กรมวิชาการ 2544 :22) ในทางตรงกันขามตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ 2542 : 19 ท่ีวาดวยการจัดการเรียนรูมีดังนี้ การจัดการเรียนการสอนควรผสมผสานสาระความรูดานตางๆอยางสมดุลรวมท้ังปลูกฝงคุณธรรมคานิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะ อันพึงประสงคไวในทุกวิชาโดยการจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการเรียนและอํานวยความสะดวกเพ่ือผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรูโดยผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากส่ือการสอนประเภทตางๆ ซ่ึงสอดคลองกับ บุญชม ศรีสะอาด ( 2537 : 95 ) ท่ีไดกลาวไววาส่ือการเรียนหลายๆอยางท่ีประกอบกันเรียกวาส่ือประสมจะสามารถสงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมี ประสิทธิภาพ ท้ังนี้เพราะมีการกําหนดขอบเขต ความรู หรือเนื้อหาทักษะตลอดจนพฤติกรรมท่ีคาดหวังไววา ผู เรียนควรจะมีภายหลังการเรี ยนพรอมท้ังกํ าหนดรายละเอียดของงาน ท่ีผูเรียนพึงปฏิบัติไดภายหลังการเรียนรูดวยส่ือนัน้ๆ ดังนัน้ในการพัฒนาระเบียบวินัยของผูเรยีนใหมีประสิทธิภาพควรใชส่ือการสอนท่ีหลากหลาย เนื่องจากมีการจัดระบบเปนขั้นตอนมีการแบงหมวดหมูของเนื้อหาและประสบการณออกเปนหนวยการเรียนแตละหนวยจะแบงเปนเรื่องท่ีมีความสัมพันธกันมีการกําหนดมโนทัศน วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม กิจกรรมการเรียน และการประเมินท่ีจะชวยใหผูเรียนเรียนรูไดจริงตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ( ชัยยงค พรหมวงศ 2523 : 67 )

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 เปนกฎหมายแมบทดานการศึกษาฉบับแรกของประเทศไทยและเปนกฎหมายท่ีสําคัญยิ่งตอการปฏิรูปการศึกษาของไทย โดยจะปรับเปล่ียนระบบการศึกษาใหสนองตอบความตองการของประเทศและสังคมไดมากท่ีสุด

Page 15: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

4

พระราชบัญญัติการศึกษาหมวด 1 บทท่ัวไป ความมุงหมายและหลักการไดกําหนดลักษณะคนไทยท่ีพึงประสงคไวในมาตรา 6 ดังนี้ ใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข สวนหมวด 9 เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา มาตรา 64 ไดกําหนดวารัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ือส่ิงพิมพอ่ืน วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอ่ืนโดยเรงรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ท้ังนี้โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม

จากท่ีกลาวแลวขางตนจะเห็นไดวาการใชส่ือการสอนท่ีหลากหลายจะชวยใหผูเรียนเรียนรูไดเร็วขึ้นและเขาใจไดงายขึ้นเปนแนวทางหนึ่งในกระบวนการพัฒนาระเบียบวินัยของ นักเรียนในระดับประถมศึกษา ซ่ึงเปนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ีมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ เปนคนดี มีปญญาและมีคุณธรรมมีวินัยในตนเองสามารถอยูรวมกันในสังคมไดอยางสันติสุข

ปญหา

จากวิสัยทัศนในการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาตฉิบับท่ี 9 ( พ.ศ. 2545 – 2549 ) มุงเนนการแกปญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนสวนใหญของประเทศใหเกิด “การพัฒนาท่ียั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย” และสรางคานิยมรวมใหคนไทยตระหนักถึงความจําเปนและปรับเปล่ียนกระบวนการคิด ทัศนคต ิ และกระบวนการทํางานโดยยึด “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญานําทางใหเอ้ือตอการเปล่ียนแปลงระบบบริหารจัดการประเทศแนวใหม ท่ีมุงสูประสิทธิภาพและคุณภาพและกาวตามโลกไดอยางรูเทาทัน

และเพ่ือใหเกิดการเปล่ียนแปลงและสรางคุณคาท่ีดีในสังคมไทยบนพ้ืนฐานของการอนุรักษวัฒนธรรมและเอกลักษณของความเปนไทย จึงไดกําหนดสภาพสังคมไทยท่ีพึงประสงค โดยมุงพัฒนาสู “ สังคมท่ีเขมแข็งและมีดุลยภาพ” ใน 3 ดานคือ สังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และสังคมสมานฉันทและเอ้ืออาทรตอกัน โดยท่ี “ สังคมคุณภาพยืนหยัดความสมดุล ความพอดี สามารถสรางคนทุกคนใหเปนคนดี คนเกง พรอมดวยคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีจิตสํานึกสาธารณะ พ่ึงตนเองได...” ( สํานักนายกรัฐมนตร,ี 2545 : ง ) และมียุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในขอการเสริมสรางความเขมแข็งของครอบครัวและชุมชนวา “... ตลอดจนสรางจิตสํานึกใหดําเนินชีวิต โดยยึดทางสายกลาง

Page 16: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

5

ความพอเพียง มีคุณธรรม มีวินัย และมีความรับผิดชอบตอหนาท่ี ...” ( สํานักนายกรัฐมนตรี, 2545 : ซ ) และหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ) เปนหลักสูตรท่ีเนนการปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะท่ีมีความภูมิใจในความเปนไทย มีความเสียสละ สามัคคี มีวินัย (กระทรวงศึกษาธิการ 2532 : 55)

และแมวาระเบียบวินัยจะเปนเรื่องสําคัญยิ่ง เห็นไดจากวิสัยทัศนในการพัฒนาประเทศและยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง 2533 ) จะเนนเรื่องระเบียบวินัยดังกลาวแลวขางตน แตปญหาระเบียบวินัยก็เปนปญหาท่ีมีมานานตราบจนปจจุบัน เห็นไดจากขอสรุปของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 15 ประการ คือ การแตงกาย ความหรูหราฟุมเฟอย การม่ัวสุมอบายมุข การติดส่ิงเสพติดใหโทษ เสรีภาพในทางเพศ การคาประเวณีโดยสมัครใจหรือถูกบังคับ ส่ิงลามกอนาจาร การบังคับใชแรงงาน การ ละเลยเคารพผูใหญ บุพการี ครูอาจารย ความยากจน การวางงาน ความสุภาพออนนอมถอมตน การกระทําผิดหรือยุวอาชญากร การทะเลาะวิวาท ขาดคุณธรรมของศาสนา และการขาดระเบียบวินัย หลังจากนั้นอีกเจ็ดปปญหาดังกลาวก็คงยังมีปรากฎใหเห็นไดจากงานวิจัยของวุฒิชัย ฉายวงศศรีสุข (2536 : บทคัดยอ) ท่ีกลาววาครูผูสอนในระดับประถมศึกษาไมไดใหความสําคัญเกี่ยวกับเรื่องการตรวจสอบทางดานจริยธรรม (โดยเฉพาะดานระเบียบวินัย) ของนักเรียน และจากแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ในดานการเรียนการสอนพบวา ครูขาดโอกาสในการพัฒนาอยางเปนระบบและตอเนื่อง นอกจากนี้กระบวนการพัฒนาระเบียบวินัยใหกับผูเรียนยังจํากัดอยูกับครูผูสอนวิชาจริยธรรมมากกวาใหครูทุกคนมีสวนรวมในการพัฒนาระเบียบวินัย การพัฒนาดานระเบียบวินัยจึงยังไมไดผลเทาท่ีควร

และจากการสรุปปญหาวิกฤตเกี่ยวกับการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาต ิ( พ.ศ. 2545-2549) พบวา คุณภาพการศึกษาของไทยมีมาตรฐานคอนขางต่ําเม่ือเปรียบเทียบกับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาอีกหลายประเทศในระดับเดียวกัน เด็กและเยาวชนไทยยังไมไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ความสามารถทางวิชาการโดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษา และคอมพิวเตอร ยังไมไดมาตรฐานขาดการปลูกฝงคุณลักษณะท่ีพึงประสงค เชน การใฝรู ใฝเรียน การคิด วิเคราะห และใชเหตุผลในการแกปญหา ความมีระเบียบวินัย และความซ่ือสัตย เปนตน นอกจากนั้นวิธีการสอนของครูยังใชวิธีการบอกความรู โดยยึดวิชาเปนตัวตั้ง ไมยึดผูเรียนเปนตัวตั้ง ไมสามารถทําใหผูเรียนเผชิญและแกปญหาในชีวิตจริงได ( สํานักนายกรัฐมนตร ี 2545 : 33 )

จากการสอบถามผูปกครองชุมชนและครู โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ สามพราน เพ่ือการวางแผนพัฒนาโรงเรียนระยะเวลา 5 ป ( ปการศึกษา 2543 – 2547 ) ระดับประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 321 คน เม่ือวันท่ี 7 กรกฎาคม 2543 พบวาการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนในระดับ

Page 17: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

6

ประถมศึกษา ยังมีขอควรปรับปรุงในเรื่องการมีระเบียบวินัย การแตงกายไมเรียบรอย ขาดสัมมาคารวะ ซ่ึงสอดคลองกับการสัมภาษณนายกรวุฒิ เรือนงาม ผูชวยผูอํานวยการฝายกิจกรรม โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ เม่ือวันท่ี 20 สิงหาคม 2545 พบปญหาเกี่ยวกับดานระเบียบวินัยของ นักเรียนโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ พบวานักเรียนขาดระเบียบวินัยในเรื่องของการแตงกายไม เรียบรอย ท้ิงขยะไมเปนท่ี การมาโรงเรียนสาย ไมเขาแถวซ้ืออาหาร นอกจากนี้ยังพบวาครูยังขาดการสงเสริมในเรื่องระเบียบวินัย ซ่ึงนับวาเปนปญหาของสังคมไทยท่ีมีมานาน ดังเห็นไดจากการสรุปปญหาเยาวชนในระดับมัธยมศึกษาไวดังนี้ เด็กขาดระเบียบวินัย ยอหยอนในจริยธรรม การแตงกายไมเรียบรอยกอการทะเลาะวิวาท และการติดยาเสพติดใหโทษ ( กระทรวงศึกษาธิการ, 2528 : 1)

ประพจนปญหาการวิจัย

ระเบียบวินัยเปนส่ิงท่ีควรปลูกฝงใหกับเด็กและสามารถสรางได ถาปราศจากระเบียบวินัยแลวมนุษยก็คงไมตางอะไรไปจากสัตว สังคมทุกสังคมจําเปนตองมีระเบียบวินัยเพ่ือใหมนุษยดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข จากขอมูลแบบสอบถามของผูปกครองชุมชนโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ พบวานักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ขาดระเบียบวินัยหลายอยางเชน ไมรูจักควบคุมตนเอง ใชของใชแลวไมเก็บเขาท่ีใหเปนระเบียบ ไมปฏิบัติตามขอตกลง การ แตงกายไมเรียบรอย การไมเขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะไมเปนท่ี และครูขาดการสงเสริมวินัยอยางจริงจัง จากการสอบถามและสัมภาษณผูชวยผูอํานวยการฝายกิจกรรมในโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภพบวานักเรียนช้ันประถมศึกษาท้ิงขยะไมเปนท่ี และเขาช้ันเรียนสาย การแตงกายไมเรียบรอยตามระเบียบของโรงเรียน การไมเขาแถวซ้ืออาหาร และการท้ิงขยะใหเปนท่ี ซ่ึงท้ัง 4 เรื่อง เปนเรื่องเรงดวนท่ีตองแกไข นอกจากนั้นผลการศึกษาวรรณกรรมตาง ๆ พบวา ยังไมมีการสรางส่ือประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัยท้ังในรูปท่ีเปนเอกสารหรือคอมพิวเตอรชวยสอน ความสําคัญของปญหา

การสรางส่ือประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัยในระดับการศึกษาขัน้พ้ืนฐานจะชวยใหผูเรียนเกิดความตระหนัก และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนท่ีกําหนดไวเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเพ่ือเปนแนวทางในการดําเนินงานและผูรวมปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพราบรื่น พรอมท้ังเปนองคประกอบสําคัญท่ีสงเสริมใหผูเรียน เปนคนรูจักดี รูจักช่ัว รูจักถูก รูจักผิด สามารถควบคุมตนเองใหสอดคลองกับสภาพความจําเปนและความสําคัญของสังคมปจจุบัน ดังคํากลาวของพระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร สมจิตโต) ท่ีกลาววา “คนท่ีมีวิญญาณประชาธิปไตย ก็คือคนท่ีมีระเบียบ

Page 18: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

7

วินัย” หากผูเรียนขาดการเสริมสรางในเรื่องระเบียบวินัยตั้งแตการศึกษาในระดับขั้นพ้ืนฐาน จะกอใหเกิดปญหาดังคํากลาวของ พระธรรมปฎก (ป.อ. ป ยุตโต 2538 : 15) วาชีวิตและสังคมท่ีไมเปนระบบระเบียบ ก็จะสูญเสียโอกาสในการท่ีจะดําเนินชีวิตและทํากิจการของสังคมใหเปนไปดวยดี หากนักเรียนซ่ึงเปนพลเมืองของประเทศชาติขาดซ่ึงระเบียบวินัยแลวประเทศไทยของเราก็ไมสามารถเจริญเทาเทียมกับตางประเทศ ตางคนตางเห็นแกตัว แกงแยงชิงดีกัน ขาดการบังคับตนทําใหไมสามารถปฏิบัติตามกฏระเบียบท่ีวางไวสังคมไทยก็จะวุนวายไมจบส้ิน กรอบแนวคิดทางทฤษฎีที่ใชในการวิจัย

การมีวินัยในตนเองเปนการสรางเยาวชนใหเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัวชุมชนสังคมและประเทศชาติ หลักสูตรพุทธศักราช ( 2544 : 2 ) วิธีการสรางคุณลักษณะอันพึงประสงคมีวิธีการท่ีหลากหลายและอีกวิธีหนึ่งคือการใชส่ือประกอบการสอนซ่ึงขั้นตอนกระบวนการสรางดังนี้

จากการศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับวิธีสอนตางๆท่ีสามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียนใหสูงขึ้นมีหลายวิธี เชน ผลการวิจัยของเรวัต กีฎวิทยา(2537:78-81)ไดศึกษาเปรียบเทียบความเขาใจการอาน ความสามารถทางการเขียน และความสนใจในวิธีสอนภาษาไทยของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 ท่ีไดรับการสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอนกับการสอนตามคูมือครู พบวานักเรียนมีความเขาใจในการอานและมีความสามารถทางการเขียนภาษาไทยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และมีความเขาใจในวิธีสอนภาษาไทยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สวนผลการวิจัยของอนุชิต ประวัติสมบูรณ (2539 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการสรางชุดฝกการเขียนสะกดคําภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ผลการศึกษาพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเขียนสะกดคําภาษาไทยท่ีไดรับการทดสอบหลังการใชชุดฝกสูงกวาการทดสอบกอนการใชชุดฝก สอดคลองกับสุจริต เพียรชอบและสายใจ อินทรัมพรรย ( 2538 : 11)ท่ีวาครูภาษาไทยใชส่ือการสอนเฉพาะกระดานดําและรูปภาพเล็กๆนอยๆเทานั้น ทําใหนักเรียนไมสนใจเหมือนวิชาอ่ืนท่ีมีส่ือการสอนท่ีแปลกใหมนาตื่นเตน และสนิท ตั้งทว ี( 2531 : 39 ) ไดกลาววาการสอนทักษะการเขียนท่ีจะใหผลดีนั้น ครูไมควรใชการอธิบายเพียงอยางเดียว ครูควรใชส่ือการสอนประกอบดวยเพราะส่ือการสอนจะชวยใหนักเรียนเขาใจแจมชัดและไมเกิดความรูสึกเบ่ือหนาย

นอกจากนี้งานวิจัยของรองเนือง ศุขสมิติ (2537 : บทคัดยอ) เรื่องผลการใชเพลงเสริมบทเรียนวิชาภาษาอังกฤษท่ีมีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 พบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีใชเพลงเสริมสูงกวานักเรียนท่ีสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 นอกจากนี้ยังมีความคิดเห็นท่ีดีตอการเรียนภาษาอังกฤษโดยใชเพลงเสริมดีกวานักเรียนท่ีสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัย

Page 19: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

8

ของเกศินี นันทวิสิทธ์ิ (2530 : บทคัดยอ) เรื่องการใชบทเพลงประกอบการสอนนาฏยศัพทช้ันประถมศึกษาปท่ี 1 พบวา นักเรียนท่ีเรียนโดยใชบทเรียนประกอบการสอนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวากลุมท่ีไมใชบทเพลงประกอบการสอน โดยมีคาเฉล่ียสูงกวาและมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และจากงานวิจัยของฉันทิศา ช้ันประเสริฐ (2541 : บทคัดยอ) เรื่องการใชเกมการพูดส่ือสารสงเสริมความสามารถในการเรียนไวยากรณอังกฤษของนักเรียน พบวา เกมการพูดส่ือสารสามารถชวยใหนักเรียนมีความสามารถในการใชไวยากรณมากขึ้น นักเรียนเรียนรู เขาใจ และมีความม่ันใจในการใชไวยากรณไดดียิ่งขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของวิชัย สายคําอิน (2540 : บทคัดยอ) เรื่องการใชเกมท่ีมีผลตอการเรียนรูและความคงทนในการจําความหมายคําศัพทภาษาอังกฤษของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 พบวา ผลการเรียนรูความหมายคําศัพทของกลุมท่ีเรียนแบบมีเกมประกอบและไมมีเกมประกอบแตกตางกัน และความคงทนในการจําความหมายคําศัพทของกลุมท่ีเรียนแบบมีเกมประกอบและแบบไมมีเกมประกอบแตกตางกัน และจากงานวิจัยของพรจิต แทสูงเนิน (2542 :บทคัดยอ) เรื่องผลการใชนิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับเด็กท่ีมีตอมโนทัศนทางคุณธรรมของนักเรียน พบวา นักเรียนท่ีเรียนโดยใชหนังสือนิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับเด็กประกอบการสอนคุณธรรมสูงกวากลุมท่ีเรียนคุณธรรมตามแผนการสอนปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.05

จากผลการวิจัยท่ีกลาวมาขางตนวิธีสอนหลายวิธี และส่ือการสอนประเภท เกม เพลง นิทาน สามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิใหสูงขึ้นนอกจากวิธีสอนท่ีมีการวิจัยมาแลวขางตนผูวิจัยคาดวายังมีวิธีสอนอ่ืนๆท่ีสามารถพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหสูงขึ้นไดโดยเฉพาะวิธีการสอนดวยส่ือประกอบการสอนจากการสังเคราะหงานวิจัยของนักการศึกษา ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาและทดลองใชวิธีสอนดวยส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิและศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนในดานระเบียบวินัยดังกรอบแนวคิดของการวิจัย แผนภูมิท่ี 1

ส่ือประกอบการสอน ( ตัวแปรตน )

ผลท่ีมาจากส่ือประกอบการสอน ( ตัวแปรตาม )

• ใบความรู • นิทาน • เพลง • เกม • ใบงาน

• ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน • ความคิดเห็นของนักเรียน

ท่ีมีตอส่ือประกอบการสอน

แผนภูมิที ่1 กรอบแนวคิดในการวจิยั

Page 20: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

9

วัตถุประสงคของการวิจัย เพ่ือใหบรรลุผลการวิจัยผูวิจัยจึงไดกําหนดวัตถุประสงคในการวิจัยดังนี้ 1. เพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย ของ

นักเรียนประถมศึกษาใหไดตามเกณฑ80/80 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา

กอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน 3. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบ

วินัย ของนักเรียนประถมศึกษาท่ีผูวิจัยสรางขึ้น

คําถามการวิจัย 1. ส่ือการสอนท่ีผูวิจยัสรางขึน้มีประสิทธิภาพตามเกณฑท่ีกาํหนดหรือไม 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาหลังใชส่ือ

ประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยสูงกวากอนใชส่ือประกอบการสอนหรือไม 3. นักเรียนมีความคิดเห็นตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของ

นักเรียนประถมศึกษาท่ีผูวิจัยสรางขึ้นอยางไร

สมมุติฐานของการวิจัย 1. ส่ือประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา มีประสิทธิภาพสูง

กวาเกณฑท่ีกําหนด คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาหลังใชส่ือ

ประกอบการสอนสูงกวากอนใชส่ือประกอบการสอน นยิามศัพทเฉพาะ

ส่ือประกอบการสอน หมายถึง ส่ิงท่ีชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคในรูปแบบของเอกสารประกอบการเรียนการสอนกลุมสรางเสริมลักษณะนิสัยท่ีจัดทําขึ้นโดยนําเนื้อหาเกี่ยวกับระเบียบวินัยซ่ึงประกอบไปดวย แผนการสอน ใบความรู นิทาน ภาพประกอบนิทาน เพลง เกม ใบงาน และแบบทดสอบ

ระเบียบวินัย หมายถึง ขอกําหนดหรือการปฏิบัติท่ีกําหนดไวเพ่ือเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนของนักเรียนในการดํารงชีวิตรวมกัน เพ่ือใหอยูอยางราบรื่นมีความสุขและรูจัก

Page 21: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

10

ควบคุมตนเอง ในเรื่องการเขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะใหเปนท่ี การแตงกายใหถูกระเบียบของโรงเรียนและการตรงตอเวลา

การเขาแถวซ้ืออาหาร หมายถึง การท่ีนักเรียนยืนเขาแถวเปนระเบียบตามลําดับกอนหลังเพ่ือเลือกซ้ืออาหาร

การท้ิงขยะใหเปนท่ี หมายถึง การท่ีนักเรียนท้ิงขยะไดถูกท่ีโดยสามารถแยกขยะไดถูกประเภท

การแตงกายใหถูกระเบียบของโรงเรียน หมายถึง การแตงกายชุดนักเรียน ชุดพละ ชุดลูกเสือ เนตรนาร ีไดถูกตองตามระเบียบการแตงกายของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ

การตรงตอเวลา หมายถึง การมาโรงเรียนทันเวลาและกลับบานตรงตอเวลา นักเรียนประถมศึกษา หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนยอแซฟ

อุปถัมภ ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2545 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คะแนนเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องระเบียบวินัยในดานการ

เขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะใหเปนท่ี การแตงกาย และการตรงตอเวลา

Page 22: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทที่ 2

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

การศึกษาวรรณกรรมในบทนี้ประกอบดวยเรื่องท่ีเปนหลักสําคัญส่ีเรื่องคือ เรื่องแรก

กลาวถึง ส่ือการสอนและระเบียบวินัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาต ิ เรื่องท่ีสองเปนส่ือการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยกับหลักสูตร เรื่องท่ีสามเกี่ยวกับส่ือประกอบการสอนเรื่องสุดทายเกี่ยวกับระเบียบวินัย

ส่ือการสอนและระเบยีบวินยักบัพระราชบัญญตักิารศึกษาแหงชาต ิ

และแผนการศึกษาแหงชาต ิ

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 เปนกฎหมายแมบทดานการศึกษาฉบับแรกของประเทศไทยและเปนกฎหมายท่ีสําคัญยิ่งตอการปฏิรูปการศึกษาของไทย โดยจะปรับเปล่ียนระบบการศึกษาใหสนองตอบความตองการของประเทศและสังคมไดมากท่ีสุด พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติในหมวดท่ี 9 เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา มาตรา 64 ไดกําหนดวา “รัฐตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ ส่ือส่ิงพิมพอ่ืน วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอ่ืนโดยเรงรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแกผูผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ท้ังนี้โดยเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม” (สํานักนายกรัฐมนตรี 2542 : 33) และในยุทธศาสตรการดําเนินงานตามแนวนโยบายเพ่ือดําเนินการพัฒนากําลังคนดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพ่ือพ่ึงพาตนเองและเพ่ิมสมรรถนะการแขงขันในระดับนานาชาติตามแผนการศึกษาแหงชาต ิ พ.ศ. 2545 – 2559 ไดกําหนดไววา “... สนับสนนุใหมีการผลิตส่ือ เพ่ือการเรยีนการสอนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมท้ังใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน...” ( สํานักนายกรัฐมนตร ี2545 : 58) และแนวนโยบายเพ่ือดําเนินการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาและพัฒนาประเทศก็ไดกําหนดไวเชนเดียวกันวา “ สงเสริมการผลิตส่ือในรูปแบบตางๆ เชนส่ือเพ่ือพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส่ือสําหรับผูดอยโอกาส...” ( สํานักนายกรัฐมนตร ี 2545 : 87 ) และแนวนโยบายเพ่ือการดําเนินการพัฒนาสังคมแหงการเรียนรูเพ่ือสรางสรรคความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของคน ไดกําหนดไวเชนเดียวกันอีกวา สงเสริมและ

11

11

Page 23: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

12

สนับสนุนใหครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา... ไดมีโอกาสใชส่ือ และริเริ่มสรางส่ือ...” ( สํานักนายก รัฐมนตร ี 2545 : 44 )

และสําหรับระเบียบวินัย ไดมีการกลาวถึงในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 9 ( พ.ศ.2545-2549) ในวิสัยทัศนการพัฒนาประเทศวา “ สังคมคุณภาพ ยึดหลักความสมดุล ความพอด ี สามารถสรางคนใหเปนคนดี คนเกง พรอมดวยคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความ รับผิดชอบ ( สํานักนายกรัฐมนตรี 2545 : ง ) และ ในวัตถุประสงคของยุทธศาสตรการพัฒนา คุณภาพคนและการคุมครองทางสังคมวา “ เพ่ือพัฒนาคนใหมีคุณภาพ สุขภาพแข็งแรง คิดเปนทําเปน มีการเรียนรูตลอดชีวิต มีวิธีคิดอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัย ซ่ือสัตยสุจริตและรับผิดชอบตอสวนรวม...” ( สํานักนายกรัฐมนตร ี 2545 : 38 ) และกําหนดไวในเปาหมายตามแนวนโยบายเพ่ือดําเนินการพัฒนาสังคมแหงการเรียนรู เพ่ือสรางสรรคความรู ความคิด ความประพฤติและคุณธรรมของคนวา “ ใหคนไทยทุกคนมีความซ่ือสัตยสุจริต รูจักผิดชอบช่ัวดี มีระเบียบวินัย ประหยัดอดออม...” ( สํานักนายกรัฐมนตรี 2545 : 61) นอกจากนั้นสํานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สมศ.) ไดกําหนดตัว บงช้ีตามหลักเกณฑและวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 1 (ดานผูเรียน) ไววา “ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามระเบียบและหลักธรรมเบ้ืองตนของแตละศาสนา” ( สํานักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 2545 : 101 ) ดังนั้นในการพัฒนาคนจึงตองจัดใหมีระเบียบวินัย รูหนาท่ี รับผิดชอบตอสังคมสวนรวมเปนสวนหนึ่งของ ยุทธศาสตรในการพัฒนา

ส่ือการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย

กับหลักสูตร

เนื้อหาสาระในหลักสูตรท่ีจะนํามาสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาในรายงานวิจัยในฉบับนี้ไดมาจากหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ) ในกลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย และหลักสูตรการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 โดยมีจุดประสงคและเนื้อหาตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ) และมีจุดหมายสาระและมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 ดังนี้

Page 24: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

13

จุดประสงคตามหลกัสูตรประถมศกึษาพุทธศกัราช 2521 ( ฉบบัปรับปรุง พ.ศ. 2533 )

จุดประสงคท่ีเกี่ยวกับระเบียบวินัยตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ( ฉบับ

ปรับปรุง 2533 ) มีอยูในกลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย ความวา เพ่ือใหผูเรียนเกิดการพัฒนาคานิยม เจตคติ พฤติกรรม และบุคลิกภาพ เนนการเปนคนชางคิด ชางทํา และปรับตัวเขากับการเปล่ียนแปลงได โดยใชกิจกรรม จริยศึกษา ศิลปศึกษา พลศึกษา ดนตรีและนาฏศิลป ลูกเสือ-เนตรนารี ยุวก าชาด และผู บํ า เ พ็ญประโยชน จึ งต องป ลูกฝ งให มีคุณลักษณะดังนี้ ( กระทรวงศึกษาธิการ 2533 : 55 )

เนื้อหาสาระตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 ( ฉบบัปรับปรุง 2533 )

เนื้อหาสาระท่ีเกี่ยวกับระเบียบวินัยตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533 ) มีปรากฎอยูในคําอธิบายรายวิชาความมีระเบียบวินัยในกลุมสรางเสรมิลักษณะนสัิยความวา

ศึกษารูปแบบของบุคคลท่ีปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของหองเรียน โรงเรียน และสังคมซึ่งทําให เกิดผลดีตอตนเอง ครอบครัว สังคม อภิปรายเปรียบเทียบใหเห็นผลดีผลเสียของการปฏิบัติและการไม ปฏิบัติ ตามกฎและระเบียบของหองเรียน โรงเรียน สังคม ฝกตัดสินใจ เลือกการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และการไมปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ อยางมีเหตุผล แลวเลือกแนวปฏิบัติ วิธีการปฏิบัติซึ่งเหมาะสม กับตนเอง ( กระทรวงศึกษาธิการ 2533 : 61 )

1.มีความรู ความเขาใจ ในหลักการเกี่ยวกับความดีความงาม การรักษาสุขภาพกายและจิต 2.มีความสามารถในการวิเคราะห วิจารณ แกปญหา มีความสามารถในการแสดงออกและสามารถทํางานรวมกับผูอื่นได 3.มีความเสียสละ สามัคคี มีวินัย ประหยัด ซื่อสัตย กตัญูกตเวที รักการทํางาน เห็นคุณคาของการ ออกกําลังกาย 4.มีความสนใจแสวงหาความรู และ รูปแบบการทํางานใหมๆมีความคิดริ เริ่มสรางสรรค ใชความรูในการตัดสินใจ และ แกปญหา เพื่อการทํางาน และการดํารงชีวิต 5.ปรับปรุงตนเองใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค สามารถนําความรูไปแกปญหาและพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองได

Page 25: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

14

จุดหมาย สาระและมาตรฐานการเรียนรู ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544

จุดหมายท่ีเกี่ยวกับระเบียบวินัยตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 มีปรากฏอยูในกลุมสาระการเรียน “สุขศึกษาและพลศึกษา” ในสาระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ในมาตรฐาน พ 3.2 ความวา “รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสมํ่าเสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิา มีน้ํ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และช่ืนชมในสุนทรียภาพของการกีฬา” (กระทรวงศึกษาธิการ 2544 : 17 )

ส่ือการสอน

การจัดการเรยีนการสอนช้ันประถมศึกษานัน้ ส่ือการเรียนการสอนมีความจาํเปนอยางยิง่

เพราะจะเปนเครื่องเราความสนใจหรือกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในการเรียน และชวยสรางบรรยากาศในการเรียนการสอนใหมีความสนุกสนานมีชีวิตชีวาตลอดจนทําใหเกิดความรูความ เขาใจในเนื้อหาวิชาไดเร็วและตรงตามเปาหมาย ความหมายของส่ือการสอน

ส่ือ (Medium , pl. Media) เปนคําท่ีมาจากภาษาลาตินวา “medium” แปลวา ระหวาง (Between) หมายถึง ส่ิงใดก็ตามท่ีบรรจุขอมูลเพ่ือใหผูสงและผูรับสามารถส่ือสารกันไดตรงตามวัตถุประสงค เม่ือมีการนําส่ือมาใชในการเรียนการสอน จึงเรียกวา “ส่ือการสอน” (Instructional Media) หมายถึง ส่ือชนิดใดก็ตามไมวาจะเปนเทปบันทึกเสียง สไลด วิทยุ โทรทัศน วิดีโอ แผนภูมิ ภาพนิ่ง ( กิดานันท มลิทอง 2536 : 75)

ส่ือตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ทําการติดตอใหถึงกันหรือชักนําใหรูจักกัน มีการนําเอาคําวาส่ือ (medias) มาใชแทนคําวา อุปกรณ และเนื่องจากเนนท่ีตัวครู ผูสอนเปนสําคัญ จึงใชคําวาส่ือการสอน (Teaching medias) แตมาในระยะหลัง นักการศึกษา หันมาเนนท่ีตัวผูเรียนมากกวาครูผูสอน จึงเกิดคําวา ส่ือการสอน (Learning medias) ขึ้น ส่ือ การเรียนการสอน (Instruction Medias) หมายถึง ทุกส่ิงทุกอยางท่ีผูสอนและผูเรียนนํามาใชในการเรียนการสอนเพ่ือชวยใหกระบวนการเรียนรูดําเนินไปสูเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก วัตถุส่ิงของท่ีมีอยูในธรรมชาติหรือมนุษยสรางขึ้นมา รวมท้ังวิธีการสอนและกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ (สมบูรณ สงวนญาติ 2534 : 43)

Page 26: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

15

ส่ือหรือทรัพยากรการเรียนการสอนท้ังหลาย มีความสําคัญตอการพัฒนาการเรียน การสอน ในฐานะท่ีเปนชองทางเปนส่ิงเราท่ีสงผานสาร ความรูและอ่ืน ๆ ไปสูผูเรียน (Kemp 1985 : 133 – 134) กลาววา การจัดการเรียนการสอนสวนใหญประสบความสําเร็จดวยการใชส่ือการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม ท้ังนี้เพราะส่ือชวยใหการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการ ฝกอบรมท้ังหลายบรรลุจุดมุงหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ

สรุปส่ือการสอนจึงหมายถึง วัสดุ อุปกรณตาง ๆ ท่ีผูสอนและผูเรียนนํามาใชใน การเรียนการสอน ซ่ึงอาจไดแกวัตถุส่ิงของท่ีมีอยูในธรรมชาติหรือมนุษยสรางขึ้นมา ประเภทของส่ือการเรียนการสอน

ส่ือหรือทรัพยากรการเรียนการสอน แบงออกเปนประเภทตาง ๆ ดังนี้ ศาสตราจารยสําเภา วรางกูร อดีตหัวหนาแผนกวิชาโสตทัศนศึกษาและหัวหนาหนวย

โสตทัศนศึกษากลาง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แยกประเภทส่ือการเรียนไว 3 ประเภทคือ 1. วัสดุและเครื่องมือท่ีไมตองฉาย ไดแก วัสดุและเครื่องมือท่ีนําไปใชใน

การเรียนการสอนท่ีไมตองใชเครื่องฉายและจอรับภาพ ไดแก รูปภาพ วัสดุกราฟฟค วัสดุสามมิต ิ อุปกรณการทดลอง รวมท้ังส่ือประเภทกิจกรรมการเรียน เชน ทัศนศึกษา การแสดงละคร การสาธิต เปนตน

2. วัสดุและเครื่องมือท่ีตองฉาย ไดแก พวกเครื่องฉายภาพลักษณะตาง ๆ เชน เครื่องฉายภาพยนตร เครื่องฉายฟลมลูฟ เครื่องฉายสไลด เครื่องฉายฟลมสตริฟ เครื่องฉายแผนโปรงใส เครื่องฉายภาพจุลทรรศน และวัสดุท่ีใชกับเครื่องฉาย คือ ฟลมภาพยนตร ฟลมลูฟ แผนสไลด ฟลมสตริฟ แผนโปรงใส สไลดกระจกสําหรับกลองจุลทรรศน

3. โสตวัสดุและอุปกรณ ไดแก พวกเครื่องเสียงประเภทตาง ๆ เชน เครื่องเลนแผนเสียง เครื่องเลนเทปบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง และวัสดุท่ีใชกับเครื่องเสียงคือ แผนเสียงมวนเทป – บันทึกเสียง รายการบรรยายทางเครื่องขยายเสียง

ในการแบงประเภทของส่ือการสอนนั้นยังสามารถแบงไดหลายแบบตามทัศนะของผูแบง ซ่ึงมีดังนี ้

วาสนา ชาวหา (2522:67) ไดแบงประเภทของส่ือออกเปน 3 ประเภท ดังนี้

Page 27: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

16

การแบงประเภทของส่ือการเรียนการสอน ตามระดับประสบการณของผูเรียน

การเรียนรูของมนุษยยอมเกิดจากประสบการณท่ีผูเรียนไดรับรูจากประสาทสัมผัสตางๆโดยผานส่ือกลาง ระดับของประสบการณท่ีไดรับยอมมีปริมาณมาก-นอยแตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับลักษณะของประสบการณท่ีไดรับวามีความเปนรูปธรรมหรือนามธรรมมากนอยเพียงไร บรุนเนอร (Jerome S. Brunner) ศาสตราจารยทางจิตวิทยาแหงมหาวิทยาลัยฮารวารด (Harvard University) ไดแบงประสบการณออกเปน 3 ประเภท ไดแก ประสบการณตรง (Enactive) ประสบการณรูปภาพ (Iconic) และประสบการณสัญลักษณ (Symbolic)

การแบงประเภทของส่ือการเรียนการสอนตามรูปรางลักษณะของส่ือ ซ่ึงไดแก 1. เครื่องมือหรืออุปกรณ ซ่ึงถือเปนส่ือใหญ (Big Media) ไดแก เครื่องฉายตางๆ

เครื่องเสียง เครื่องมือปฏิบัติงาน โดยจะตองใชงานรวมกับวัสดุ 2. วัสด ุจัดเปนส่ือเล็ก (Small Media) ไดแก ส่ือท่ีตองอาศัยส่ือใหญในการใชงานเชน

ฟลม เทปเสียง หรือบางส่ืออาจใชงานไดดวยตัวเอง เชน ตํารา หุนจําลอง ฯลฯ 3. เทคนิคหรือวิธีการ เปนการส่ือความหมายหรือการจัดประสบการณใหแกผูเรียน

โดยเนนท่ีกระบวนการถายทอดมากกวาวัสดุหรือเครื่องมือ ไดแก วิธีการสอนแบบตางๆ การจัดกิจกรรม การแสดงบทบาทสมมุต ิเปนตน การแบงประเภทของส่ือการเรียนการสอนตาม ลักษณะของการนําไปใช

อิริคสัน และเคิรล (Carton W.H. Erickson and David H. Curl) อางถึงในไชยยศ เรืองสุวรรณ (2530 : 141-142) ไดแบงส่ือการเรียนการสอนในแงของการนําไปใชเปน 2 ประเภท ดังนี้

1. ส่ือทัศนะท่ีไมตองฉาย (Non-projected Visual Media) ไดแก หนังสือพิมพ รูปภาพของจริง การศึกษานอกสถานท่ี หุนจําลอง หุนลอแบบ สถานการณจําลอง และเกม วัสดุกราฟฟก ปายนิเทศและนิทรรศการ กระดานดํา แผนปายสําลี กระเปาผนัง แผนปายไฟฟาและอ่ืนๆ

2. ส่ือท่ีตองฉายและส่ืออิเล็กทรอนิกส (Projected and Electronics Media) ไดแก ภาพ ยนตร โทรทัศน เทปโทรทัศน ภาพนิ่งท่ีตองฉาย (สไลด ฟลมสตริป ไมโครฟลม) การบันทึกเสียงคอมพิวเตอรและอ่ืนๆ

Page 28: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

17

เดอ คีฟเฟอร (Robert E. De Kieffer) ไดแบงส่ือการเรียนการสอนออกเปน 3 ประเภทโดยยึดถือลักษณะการใชงาน (สันทัด ภิบาลสุข และพิมพใจ ภิบาลสุข 2526 : 40) ดังนี ้

1. ส่ือท่ีไมตองใชกับเครือ่งฉาย ไดแก กระดานชอลก รูปภาพ แผนภูมิ แผนสถิติ ปายนิเทศ แผนปายสําลี ลูกโลก แผนท่ี การสาธิต การจัดนิทรรศการ และนาฎการ เปนตน

2. ส่ือท่ีใชกับเครื่องฉาย ไดแก สไลด ฟลมสตริป ภาพยนตร เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องฉายภาพขามศีรษะ เปนตน

3. ส่ือประเภทเครื่องเสียง ไดแก วิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง เปนตน นอกจากนี้ ศิริพงศ พยอมแยม ( 2533 : 59-63 ) ไดแบงประเภทของส่ือไวดังนี ้1. ประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ (Hardware) ไดแก เครื่องฉายภาพยนตร เครื่อง

ฉายสไลด เครื่องฉายฟลมสตริป เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ-โทรทัศน เปนตน เครื่องมือเหลานี้เปนเพียงตัวกลางหรือทางผานของความรูเทานั้น โดยตัวมันเองแลวไมมีประโยชนตอการส่ือความหมายเลยถาไมมีความรูในรูปแบบตางๆ มาปอนผานเครื่องมือเหลานี ้นั่นคือ จะตองอาศัยวัสดุ (Materials) ซ่ึงเปนแหลงความรูในรูปแบบตางๆ เชน ฟลมภาพยนตร ฟลม สไลด เสนเทป จานเสียง แผนโปรงใส เปนตน ถึงอยางไรก็ตามเครื่องมืออุปกรณเหลานี้ (Hardware) ก็ยังทําใหความรูท่ีแสดงออกมาในลักษณะตางๆนั้นสามารถเคล่ือนไหวไดหรือทําใหนักเรียนจํานวนมากเห็นภาพและไดยินเสียงได และบางทีก็ทําหนาท่ีเปนครู เชน เครื่องสอน (Teaching machine) เปนตน บางครั้งก็เรียกเครื่องมือเหลานี้วา “ส่ือใหญ” (Big media)

2. ประเภทวัสดุ (Software) บางครั้งก็เรียกวา “ส่ือเล็ก” (Small media) เปนส่ิงท่ีเก็บความรูท่ีเก็บความรูในลักษณะของภาพ เสียง หรืออักษรในรูปแบบตางๆ วัสดุท่ีใชประกอบการเรียนการสอนเหลานี้ จําแนกเปน 2 ประเภท คือ

1) วัสดุท่ีตองอาศัยเครื่องมือหรืออุปกรณประเภท hardware เพ่ือเสนอเรื่องราวหรือความรูออกมาสูผูเรียน เชน ฟลมตางๆ จานเสียง เสนเทป เปนตน

2) วัสดุท่ีสามารถเสนอเรื่องราวไดดวยตัวมันเอง โดยไมตองอาศัยเครื่องมือหรืออุปกรณใดๆ ในการนําเสนอเรื่องราว เชน หนังสือเรียนหรือตํารา รูปภาพ แผนภูมิของตัวอยาง หุนจําลอง เปนตน

3. ประเภทเทคนิคหรือวิธีการ (Technique or Method) ในการเรียนการสอน บางครั้งตองอาศัยเทคนิคหรือวิธีการเพ่ือใหบังเกิดการเรียนรู ซ่ึงลําพังการใชส่ือการเรียนการสอนประเภทวัสดุหรือเครื่องมือเทานั้นอาจไมเพียงพอ เชน การแสดงละคร การสาธิต การศึกษานอกสถานท่ี การจัดนิทรรศการ เปนตน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงเทคนิคในการเสนอบทเรียนดวยส่ือการเรียนการสอนประเภทเครื่องมือและวัสดุแกนักเรียนดวย

Page 29: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

18

ณรงค สมพงษ (2535 : 33-41) ไดแบงประเภทของส่ือตามลักษณะของส่ือดังนี ้1. เครื่องมือหรืออุปกรณ (Hardware) ไดแกส่ือท่ีประกอบไปดวย กลไกไฟฟาและ

อิเลคทรอนิกสตางๆ เชน เครื่องฉาย เครื่องเสียง วิทยุ โทรทัศน คอมพิวเตอร บางทีเรียกวา ส่ือหนัก 2. วัสด ุ(Software) ไดแกส่ือประเภทท่ีบรรจุเนื้อหาและรายการตางๆ เอาไว บางชนิด

สามารถใชไดโดยตัวของมันเอง เชน ความจริง หุนจําลอง รูปภาพ ปายนิเทศ แตบางประเภทตองอาศัยส่ือประเภทหนักมาชวย เชน ฟลมภาพยนตร แผนสไลด มวนเทปบันทึกเสียง เปนตน บางทีเรียกวา ส่ือเบา

3. เทคนิค หรือวิธีการ (Techniques or methods) การส่ือความหมายหรือการถายทอดประสบการณในรูปของกิจกรรม คือ อาจรวมเอาท้ังเครื่องมือ วัสดุและวิธีการเขาไวดวยกันแตเนนเทคนิคหรือวิธีการเปนสําคัญ

การแบงประเภทของส่ือตามวิธกีารใช

การแบงประเภทของส่ือการเรียนการสอนจะพบวา ในตําราทางการศึกษาเกี่ยวกับส่ือการเรียนการสอนมีการแบงแยกประเภทไวตางกัน ส่ือแตละอยางนั้นมีคุณประโยชนแตกตางกัน แตสามารถนํามาใชผสมผสานกันเพ่ือประโยชนทางการศึกษาได

1. Motivation media เปนส่ือท่ีออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพ่ือสรางความตื่นตัว (Awareness) สรางกระแสความรวมมือในการทํากิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งหรือกระตุนใหกลุมเปาหมายเกิดความตองการ ความเปล่ียนแปลงและรวมแกไขปญหาท่ีกําลังประสบอยู นอกจากนี้ยังเปนการกระตุนใหเกิดความตองการในการทราบขอมูลและความคิดเพ่ิมเติม ส่ือประเภทนี้ไมไดมุงเนนในการนําเสนอเนื้อหาเปนหลักแตตองการสรางความคิดเห็น และทัศนคติของแตละบุคคลหรือของสวนรวมเปนหลัก ส่ือประเภทนี้ ไดแก

1) วัสดุส่ิงพิมพตางๆ เชน โปสเตอร แผนปลิว แผนพับ จดหมายขาว การตูน และเอกสารเผยแพรอ่ืนๆ ท่ีไมไดมุงเนนเนื้อหาเปนหลัก

2) โสตทัศนวัสดุตางๆ เชน สปอตโฆษณา เทปโทรทัศน 3) ส่ือเฉพาะอยาง เชน ส่ือพ้ืนบานชนิดตางๆ

2. Instructional media เปนส่ือท่ีผลิตขึ้นเพ่ือใชในการสอนมุงเนนใหเกิดความรูความเขาใจในดานความคิดรวบยอด (Concept) กระบวนการวิธีการเปนขั้นตอน เปนส่ือท่ีชวยถายทอดเนื้อหาเปนสําคัญ มีจุดมุงหมายเพ่ือใหกลุมเปาหมายเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในเรื่องความรูทัศนะความชํานาญเฉพาะดานไดแก โสตทัศนวัสดุทุกชนิด และส่ิงพิมพตางๆ ท่ีอยูในรูปของวัสดุการเรียนการสอน เชน หนังสือ คูมือ สไลด ภาพยนตร เทปโทรทัศน

Page 30: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

19

3. Follow – up media เปนส่ือท่ีนํามาชวยเสริมการเปล่ียนแปลงทางดานพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาใหแข็งแกรงถาวรมากขึ้นเพ่ือใหบรรลุสําเร็จตามเปาหมายท่ีตั้งเอาไวและพัฒนากาวหนาไปสูการเปล่ียนแปลงทางดานอ่ืนๆ ตอไป เชน เอกสารส่ิงพิมพท่ีใชในการเผยแพรแกบุคคลท่ีผานการเรียนไปแลวเพ่ือเปนเอกสารอางอิง ย้ําเนน หรือเตือนความทรงจําใหกลุมเปาหมายนั้นกระทําพฤติกรรมตอไปอยางตอเนื่อง

นอกจากนี้ ระวีวรรณ ประกอบผล (2540 : 148-149) ไดแบงประเภทของส่ือโดยใชจํานวนและลักษณะของการเขาถึงผูรับสารเปนเกณฑอาจแบงส่ือออกไดเปน 4 ประเภท คือ

1. ส่ือระหวางบุคคล ส่ือบุคคลเปนส่ือท่ีมนุษยใชสําหรับการติดตอส่ือสารระหวางบุคคลท่ีอยูหางไกลกัน จนไมอาจจะติดตอกันโดยไมผานส่ือได เปนส่ือซ่ึงใชเฉพาะบุคคลมีลักษณะเปนสวนตัว เชน จดหมาย โทรเลข โทรศัพท

2. ส่ือมวลชน เปนส่ือท่ีผลิตขึ้นเพ่ือท่ีจะติดตอกับผูรับสารเปนจํานวนมากในเวลาเดียวกัน โดยท่ัวไปแลวส่ือมวลชน ไดแก หนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ภาพยนตร

3. ส่ือเฉพาะกิจ คือส่ือท่ีถูกพัฒนาขึ้นเพ่ือใชสําหรับการส่ือสารท่ีสนับสนุนกิจกรรมใดอยางหนึ่งโดยเฉพาะ จํานวนและกลุมผูรับสารมีลักษณะท่ีแนนอน เม่ือเทียบกับส่ือมวลชนแลว ส่ือเฉพาะกิจจะแคบกวาในแงการเขาถึงผูรับสาร เชนการทําเทปโทรทัศนแนะนําการใชผลิตภัณฑของบริษัทใดบริษัทหนึ่ง

4. ส่ือประสม ไดแก การนําส่ือประเภทตางๆ ท้ัง 3 ประเภทขางตนไปใชในการส่ือสารอันจะทําใหประสิทธิผลในการส่ือสารครั้งนั้นๆ เพ่ิมมากขึ้น

จะเห็นไดวาส่ือแตละประเภทท่ีนํามาใช มีรูปแบบและลักษณะ มีจุดเดนหรือคุณสมบัติท่ีแตกตางกันออกไป ดังนั้นการใชส่ือในแตละครั้ง ควรพิจารณาถึง วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย และขอจํากัดตางๆ ดังกลาว เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุด

องคประกอบของส่ือ

การผลิตส่ือจําเปนตองมีองคประกอบท่ีสําคัญท่ีชวยใหการผลิตส่ือเปนไปตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ บุษบา สุธีธร (2531 : 53-58) ไดกลาวถึงองคประกอบเกี่ยวกับความสามารถในการผลิตส่ือ ไดแก

1. องคประกอบเกี่ยวกบับุคลากร 2. องคประกอบเกี่ยวกับทรัพยากร (งบประมาณ) 3. องคประกอบเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช 4. องคประกอบเกี่ยวกับการบริหารงานและควบคุมการผลิต

Page 31: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

20

การพิจารณาเลือกผลิตส่ือ นอกจากจะตองคํานึงถึงกลุมเปาหมาย คํานึงถึงคุณสมบัติของส่ือท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาขาวสาร และคุณลักษณะทางจิตวิทยาของส่ือแตละชนิดประกอบกับการตัดสินใจ เกณฑการพิจารณาจากศักยภาพของหนวยงานในการผลิตส่ือก็เปนตัวแปรท่ีจํากัดขอบเขตการตัดสินใจการเลือกผลิตท่ีสําคัญยิ่งทีเดียว บางครั้งส่ือท่ีคิดวาควรจะผลิตเหมาะสมตามคุณลักษณะในขอ 1-3 อาจถูกขอจํากัดดานงบประมาณทําใหไมสามารถผลิตได หรือขาดเครื่องมือวัสดุอุปกรณในการผลิต หรือแมแตกระท่ังขาดบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถในการผลิตส่ือจึงตองนําเกณฑเกี่ยวกับศักยภาพของหนวยงาน มาเปนเกณฑประกอบเพ่ือเลือกผลิตส่ือท่ีคุมคาเหมาะสมตามวัตถุประสงค

วาสนา ชาวหา (2533 : 79-84) ไดกลาวถึงองคประกอบในการเลือกส่ือการเรียนการสอนไวดังนี้

1. การเลือกส่ือการเรียนการสอนกับจุดมุงหมายของการสอนและเนื้อหาวิชา ผูสอนจําเปนตองนําจุดมุงหมายของการสอนและของเนื้อหาวิชามาเปนเครื่องพิจารณาเพ่ือจะกําหนดไดวาในลักษณะเนื้อหาวิชาท่ีจะนํามาสอนนี้ตองการใหผูเรียนไดเรียนรูหรือมีพฤติกรรมขั้นสุดทายเปนอยางไร ลักษณะจุดมุงหมายของการเรียนการสอนสามารถจําแนกออกเปน 3 ดาน ดังนี้

พุทธิพิสัย เปนการเรียนรูดานเนื้อหาวิชาท่ีจะทําใหเกิดปญญา ไดแก ความรู ความเขาใจ การนาํไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินผล

จิตพิสัย เปนการเรียนรูดานความรูสึกอารมณ ความเช่ือ เจตคต ิ ซ่ึงเปนการเปล่ียนแปลงทางดานจิตใจ

ทักษะพิสัย เปนการเรียนรูดานทักษะ ไดแก การเคล่ือนไหว การลงมือทํางาน การบังคบักลามเนื้อ เปนตน

2. การเลือกส่ือการเรียนการสอนกับรูปแบบและระบบการเรียนการสอน รูปแบบของการเรียนการสอนท่ีมีลักษณะตางกัน เชน การสอนแบบบรรยาย แบบอภิปราย แบบสาธิต แบบสืบสวน ยอมมีผลตอการเลือกส่ือการเรียนการสอน หรือระบบของการเรียนการสอนซ่ึงแบงออกเปนการสอนกลุมใหญ การสอนกลุมยอย และการสอนรายบุคคลยอมมีผลตอการเลือกส่ือการเรียนการสอนท้ังส้ิน ดังนั้น ผูสอนจึงตองคํานึงถึงรูปแบบและระบบของการเรียนการสอนท่ีจะจัดใหผูเรียนไปพรอมๆกับการเลือกส่ือการเรียนการสอน

3. การเลือกส่ือการเรียนการสอนกับลักษณะของผูเรียน ลักษณะผูเรียนท่ีควรพิจารณาในการเลือกส่ือการเรียนการสอน ไดแก

Page 32: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

21

1) ลักษณะเฉพาะโดยท่ัวไป เชน อายุ เพศ และสุขภาพ 2) ลักษณะทางความรูสึกหรือเจตคต ิเชน ความเช่ือ ความสนใจ อารมณ 3) ลักษณะทางการศึกษา เชน พ้ืนฐานความรูท่ัวไป ประสบการณเดิม ความ

ถนัดในการเรียน 4) ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เชน อาชีพ เช้ือชาติ ศาสนา

และระดับทางวัฒนธรรม 4. การเลือกส่ือการเรียนการสอนโดยพิจารณาถึงเกณฑเฉพาะของส่ือแตละชนิด การ

เรียนการสอนแตละประเภทยอมมีคุณสมบัติและขอจํากัดตอการเรียนการสอนแตกตางกัน ผูสอนจําเปนจะตองศึกษาถึงบทบาทของส่ือแตละชนิดวามีความเหมาะสมกับประสบการณหรือสําคัญตอการเรียนการสอนอยางไร ตลอดจนส่ือนั้นมีขอดีหรือขอจํากัดเพียงไร

5. การเลือกส่ือการเรียนการสอนกับวัสดุ อุปกรณ และส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีมีอยูในการเลือกส่ือการเรียนการสอนนั้นจะตองคํานึงถึงสภาพของวัสดุ อุปกรณ ตลอดจนส่ิงอํานวยความสะดวกท่ีมีอยูในสถานท่ีนั้นๆ ดวย ตัวอยางเชน ถาจะเลือกใชส่ือประเภทเครื่องฉายหรือเครื่องเสียงในโรงเรียนท่ียังไมมีกระแสไฟฟาใชยอมกระทําไมได ผูสอนจําเปนตองเลือกส่ือทดแทนอ่ืนๆ เชน การใชรูปภาพ ภาพพลิกหรือหาเครื่องเสียงท่ีใชแบตเตอรี่ เปนตน

นิทาน

การเลานิทานเปนศิลปท่ีเกาแกท่ีสุดอยางหนึ่ง มีมากอนสมัยประวัติศาสตรและมีอยูท่ัวไปตามแหลงอารยธรรมตางๆหรือชนชาติตางๆ เรื่องท่ีเลาก็มีแตกตางกันไปตามแตสถานท่ีเลา จุดมุงหมายของการเลานิทานก็เปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา แตอยางไรก็ตามไมวาจะเลากันในท่ีตางสถานท่ีหรือตางเวลา การเลานิทานก็ยังคงเปนส่ิงท่ีเติมความตองการขั้นพ้ืนฐานของสังคมหรือความตองการสวนตัวของมนุษยใหเต็ม ไดแก ความอยากรูอยากเห็นเรื่องราวในอดีต อธิบายการเกิดหรือจุดเริ่มตนของส่ิงตางๆเพ่ือความบันเทิง และยังเปนการถายทอดเรื่องราวในอดีตของวีรบุรุษคนสําคัญ (วรรณี ศิริสุนทร 2539: 2)

บันทึกท่ีเปนลายลักษณอักษรท่ีปรากฏเกี่ยวกับการเลานิทานเปนครั้งแรกคนพบในประเทศอียิปต เปนบันทึกท่ีอยูบนกระดาษปาปรัสกลาวถึงวิธีท่ีโอรสของคีออป (Cheope) นักสรางปรามิดผูยิ่งใหญไดใหความบันเทิงแกพระราชบิดาโดยการเลานิทาน เรื่องราวนี้ไดบันทึกไวเม่ือประมาณ 2,000-1,300 ปกอนคริสตกาล

Page 33: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

22

ประเภทของนิทาน ในการศึกษาวิชาการเลานิทานนี้ขอแบงนิทานสําหรับเด็กออกเปน 5 ประเภทไดแก 1. นิทานพ้ืนบาน ( Folk tales ) 2. นิทานสอนคติธรรม ( Fables ) 3. เทพปกรณัม ( Myth ) 4. มหากาพยและนิทานวีรบุรุษ ( Epic and hero tales ) 5. หนังสือภาพท่ีเปนเรื่องอานเลนสมัยใหมสําหรับเด็กท่ีมีตัวเอกเปนสัตว ( Animal

stories ) นิทานพ้ืนบาน ( Folk tales ) เปนเรื่องท่ีเลาสืบทอดกันมาเปนเวลาชานาน จนภายหลังมี

การเขียนขึ้นตามเคาเดิมบาง จดจําเรื่องราวมาเขียนขึ้นบาง ไมปรากฎวาผูแตงดั้งเดิมเปนใครมักจะกลาวอางวาเปนของเกาแลวเอามาเลาใหม นิทานพ้ืนบานแบงออกเปนชนิดใหญๆดังนี้

1. นิทานเกี่ยวกับสัตวพูดได ( Talking-Beast tales ) มีตัวละครเปนสัตวพูดจาโตตอบกัน บางครั้งสัตวก็พูดจาโตตอบกับคนดวย เชน เรื่อง The Three Little Pigs ( ใหมโนคติในเรือ่งการสรางท่ีอยูอาศัยวาควรจะสรางบานของตนใหม่ันคงแข็งแรง เพ่ือใหความอบอุนและความปลอดภัยแกผูอยูอาศัย)

2. นิทานไมรูจบ ( Cumurative tales ) เปนนิทานเรื่องธรรมดาพ้ืนๆ แตเนื้อเรื่องมีการกระทําตอเนื่องกันไปเรื่อยๆ และซ ำๆกัน เชน เรื่อง ตากับยาย ลูกไกตื่นตูม The Old Woman and Her Pig ( หญิงชรากับเจาหมูนอย )

3. นิทานตลกขบขัน ( The Drolls หรือ Humorous tales ) เนื้อเรื่องสวนใหญเปนทํานองไรสาระหรือโงเขลาและแปลกประหลาด ชวนใหเห็นเปนเรือ่งตลกขบขนั บางครั้งก็เปนการใชปฏิภาณไหวพริบ เชน เรื่อง How the Peasant Helped His Horse เปนเรื่องของรัสเซีย ชายขี้ลืม หัวลานนอกครู ศรีธนญชัย

4. นิทานอธิบายเหตุ ( Pourquoi stories หรือ Tales that tell why ) คําวา “pourquoi” หรือ “Why” แปลวา “ทําไม” สวนใหญนิทานพ้ืนบานชนิดนี้มีเนื้อเรื่องท่ีอธิบายหรือตอบคําถามของเด็กๆวา “ทําไม”

5. เทพนิยาย (Fairy tales ) บางครั้งเรียกวานิทานเกี่ยวกับเวทมนตคาถา ( Tales of magic ) ลักษณะของนิทานชนิดนี้ท่ีเห็นเดนชัดคือ เรื่องมักยาว ซับซอน ตัวละครมักมีอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริยสามารถบันดาลส่ิงท่ีดีงามหรือส่ิงท่ีช่ัวรายได หรือมีผูวิเศษสามารถทําส่ิงนั้นส่ิงนี้ไดอยางท่ีคนธรรมดาไมสามารถจะทําได เปนนิทานพ้ืนบานท่ีครองใจเด็กมาเปนเวลาชานาน

Page 34: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

23

นิทานสอนคติธรรม ( Fables ) มีลักษณะเปนนิทานส้ันๆตัวละครมีท้ังคนและสัตว สัตวมีบทบาทเหมือนคน มีแกนเรื่องแกนเดียว มีโครงเรื่องงายและส้ัน และตองใหบทเรียนท่ีสอนใจเปนขอสรุปท่ีชัดเจน นิทานคติธรรมของตางประเทศท่ีรูจักกันดีไดแก นิทานอีสป ( Aesop’s Fables ) ผูเขียนคือ อีสป ( Aesop) ซ่ึงเขาใจวาเปนทาสชาวกรีก ตัวอยางนิทานอีสปไดแก “หมาปากับลูกแกะ” “ราชสีหกับหน”ู “สุนัขจิ้งจอกกับนกกระสา” “สุนัขในรางหญา”

เทพปกรณัม (Myth) เปนเรื่องท่ีแสดงใหเห็นถึงเหตุการณและเรื่องราวในบรรพกาลเกี่ยวกับพ้ืนโลก ทองฟา และพฤติกรรมตางๆของมนุษย มีเทพเจาเปนผูควบคุมปรากฎการณทางธรรมชาติ หนังสือท่ีเกี่ยวกับเทพปรกรณัมของกรีกและโรมันท่ีรูจักกันดี ไดแก เทวดาฝรั่ง กรีก-โรมัน ( พ.ศ.2508) อ.สายสุวรรณเปนผูรวบรวมจากหนังสือภาษาตางประเทศหลายเลมและเขียนเปนภาษาไทยกลาวถึงการสรางโลก กําเนิดทวยเทพ กําเนิดมนุษย

มหากาพยและนิทานวีรบุรุษ (Epic and hero tales) เปนนิทานท่ีมีลักษณะคลายกับเทพปรกรณัม ตางกันแตวาตัวละครของนิทานประเภทนี้เปนมนุษยไมใชเทพเจา มีการกระทําท่ีกลาหาญฟนฝาอุปสรรคและประสบผลสําเร็จในท่ีสุด

หนังสือภาพที่ เปนเร่ืองอานเลนสมัยใหมสําหรับเด็กที่มีตัวเอกเปนสัตว (Animal stories ) นิทานสมัยเกาท่ีมีตัวละครเปนสัตวเราจะพบมากในบทกลอนกลอมเด็ก นิทานพ้ืนบานและนิทานสอนคติธรรม แตในปจจุบันนี้ไดมีผูแตงนิทานสําหรับเด็กท่ีมีตัวละครเปนสัตว โดยแบงเปน 3 ชนิด ไดแก สัตวท่ีมีบทบาทการกระทําอยางคน สัตวท่ีมีความเปนอยูอยางสัตวแตพูดไดอยางคน และสัตวท่ีมีความเปนอยูและความนึกคิดตามธรรมชาติของสัตว เรื่องอานเลนสมัยใหมสําหรับเด็กเล็กท่ีเปนเรื่องเกี่ยวกับสัตวหรือท่ีมีตัวละครเปนสัตว มีท้ังท่ีแตงเปนเรื่องๆไปและแตงออกมาเปนหนังสือชุด ตัวเอกสวนใหญมีบทบาทท่ีคอนขางซุกซน แตเด็กๆชอบมากและสวนใหญมีลักษณะเปนหนังสือภาพ เชน The Ugly Duckling (ลูกเปดขี้เหร) เขียนโดย ฮันส คริสเตียน แอนเดอรเซน ในสมัยคริสตศตวรรษท่ี 19 และยังเปนท่ีช่ืนชอบของเด็กๆในปจจุบันนี้ดวย ประโยชนของการเลานิทาน

ในการท่ีผูเลาจะเลานิทานใหเด็กฟงนั้นควรสรางบรรยากาศใหเปนธรรมชาติมากท่ีสุด ครูตองมีสีหนาสดช่ืน ทาทางกระตือรือรน เลานิทานอยางเต็มใจ ถาเปนท่ีบานพอแมจะเลานิทานใหลูกฟงไดดีท่ีสุดก็คือในชวงกอนเขานอน ความใกลชิดท่ีพอแมใหแกลูกจะเปนเครื่องประกอบชวยในการพัฒนาการทางดานอารมณของเด็กไดเปนอยางดี เวลาเลานิทานพอแมอาจจะเลาบนท่ีนอน หรือเลาในขณะนั่งเลนกัน ลูกอาจจะนอนบนตักแมหรือเคลาเคลียอยูขางๆพอแมดวยทาทางท่ีราเริงสบายใจ เด็กจะเกิดความอบอุน เขาจะรูจักการปรับตัวในดานการสรางความสัมพันธกับ

Page 35: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

24

ผูใหญ พอแม ครู และเพ่ือนๆ จะชวยไมใหเด็กเกิดความวาเหว ขาดความรักซ่ึงจะเปนผลเสียแกเดก็อยางยิ่ง เดก็สวนมากท่ีขาดความรกัความอบอุนในวัยเด็กมักจะเติบโตกลายเปนผูใหญท่ีกาวราว ขาดเหตุผล ขาดความไววางใจในเพ่ือนมนุษย ปรับตัวลําบาก นิทานเปนส่ิงหนึ่งท่ีมีประโยชนในการกลอมเกลานิสัยเด็กไดดี ไมวานิทานท่ีเด็กไดรับฟงจะเปนเรื่องเล็กๆนอยๆ แตก็เปนส่ิงท่ีมีประโยชนจะชวยในการเสริมพัฒนาการทางดานอารมณใหแกเด็กไดดังนี้

1. ฝกใหเด็กเปนผูรูจักฟง มีสมาธิ รูจักสํารวมอิริยาบถของตนเอง 2. ทําใหเด็กไดผอนคลายอารมณ ไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเพ่ิมพูน

ความรูจากการฟง 3. ชวยเพ่ิมพูนความรูทางภาษา เด็กรูจักคํามากขึ้น รูจักเก็บใจความและเนื้อเรื่อง 4. ชวยใหเด็กเกิดความรูสึกอบอุน มีท่ีพ่ึงทางใจ รูสึกวาตนเองเปนสวนหนึ่งของ

สังคม 5. ทําใหเด็กเกิดจินตนาการจากเรื่องราวท่ีไดฟง เชน เรื่องเกี่ยวกับนางฟา เรื่องสัตว

ตางๆ และเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติงายๆ 6. ชวยใหเด็กไดรูจักโลกจากแงมุมเล็กๆนอยๆ จากนิทานท่ีไดฟง ทําใหสามารถ

ตัดสินใจในดานการแสดงออกและสนองตอบตอเหตุการณตางๆไดถูกตอง สรุปการเลานิทานผูเลานิทานตองคํานึงถึงความสนใจท่ีแตกตางกันของเด็กๆ ตองเลือก

เลานิทานท่ีเหมาะแกการใหเด็กฟง เพ่ือใหเกิดประโยชนแกเด็ก คือฝกใหเด็กเปนผูรูจักฟง มีสมาธิ ผอนคลายอารมณ และชวยเพ่ิมพูนความรูทางภาษา

การสอนโดยใชส่ือประกอบการเลานิทาน ในการเลานิทานผูเลาสามารถท่ีจะเลือกใชส่ือตาง ๆ ประกอบการเลาได เพราะจะชวย

เพ่ิมความนาสนใจและความสนุกสนานใหแกเด็ก ๆ ส่ือตาง ๆ ไดแก 1. กระดานชอลก ใชกระดานดําพรอมกับชอลกสีขาวหรือสีอ่ืน ๆ ประกอบดวยก็ได

ผุเลานิทานจําเปนตองหัดวาดภาพบนกระดานชอลกเพ่ือใหไดภาพอยางรวดเร็ว จะเปนภาพการตูนหรือลายเสนก็ได

2. ภาพแผนและภาพพลิก มีลักษณะเปนภาพบนกระดาษแข็งแผนใหญขนาดประมาณ 12” X 12” ขนาดพอเหมาะท่ีเด็กจะเห็นไดชัด กระดาษแข็งแตละแผน มีภาพตามเนื้อเรื่องของนิทานตามลําดับ

3. ภาพกระดาษกระดก ผูเลานิทานอาจใชวิธีวาดภาพระบายสีใหเปนเรื่องราวของนิทาน วิธีทํา ดังนี้

Page 36: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

25

1.1 ใชกระดาษวาดเขียนและกระดาษแข็งอยางละ 1 แผน ขนาด 8” X 12” ทบสองกระดาษ

1.2 วาดภาพระบายสีบนกระดาษวาดเขียนใหสวยงาม 1.3 ใชคตัเตอรกรดีกระดาษตามแนวขอบริมภาพคน สัตว ตนไม และส่ิงของ 1.4 เ ม่ือไดภาพกระดกตั้ง เปนท่ีพอใจแลวคว่ํ าภาพลง ทากาวรอบริม

ขอบกระดาษผลึกติดกับกระดาษแข็ง สรุป วิธีสอนท่ีใชส่ือประกอบการสอนมีหลายวิธี ไดแก การสอนโดยการแสดง

บทบาทสมมุติ การสอนโดยใชเกมจําลองสถานการณและการสอนโดยใชนิทาน

เพลง

ดนตรเีปนส่ิงท่ีคูกับมนุษยมาตัง้แตเกดิ เม่ือมนษุยเกิดอารมณตางๆกถ็ายทอดออกมาเปนเสียงสูงๆต่ําๆ เม่ือมีภาษาพูด ภาษาดนตรีก็เจริญควบคูมาดวย จนในท่ีสุดมีการผสมผสานระหวางภาษาพูดกับภาษาดนตรีออกมาเปนบทเพลงตางๆ เชน เพลงเหกลอม เพลงรัก เพลงปลุกใจ และเพลงท่ีเกี่ยวกับความเปนอยู ผูท่ีมีสวนทําใหเด็กมีพัฒนาการตามวัยอันควรและเหมาะสมกับสติปญญาของเด็กแตละบุคคลคือครู ( ศิรินพรัตน พิธานสมบัต ิ 2521 : 25 )

การนําเพลงมาใชประกอบการสอนนี้ ครูสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนในการสอนไดเปนอยางด ี เพราะโดยธรรมชาติแลว เด็กๆมักชอบเสียงเพลง ซ่ึงบทเพลงประกอบการสอนท่ีดีจะชวยใหเด็ก เกิดความสนุกสนาน ไดพักผอนหยอนใจและเปล่ียนอิริยาบถ ไดรับความรู (โดยเฉพาะเนื้อหาสาระสําคัญของบทเรียน ) เขาใจบทเรียนไดดีและเร็วขึ้น เกิดความซาบซ้ึงในความไพเราะของดนตร ี ไดจังหวะซ่ึงเปนผลพลอยไดจากบทเพลง เชน การใหเด็กรูจักจังหวะในการพูด จังหวะในการเดิน เปนการสงเสริมบุคลิกภาพใหดีขึ้น

นอกจากนี้เพลงยังจัดเปนส่ือการสอนท่ีเสียคาใชจายนอยท่ีสุด เพียงแตเขียนเพลงลงบนกระดานและหัดใหนักเรียนรอง ก็จะชวยใหบรรยากาศในหองเรียนมีชีวิตชีวา นาเรียน สดช่ืน แจมใสขึ้นไดในทันที ดังนั้นการนําเพลงมาประกอบการสอนจึงนาเปนส่ิงท่ีครูทําได เพราะสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนแกการเรียนการสอนไดอยางแทจริง

ประโยชนท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งของบทเพลงประกอบการสอนคือ ครูสามารถนําไปใชไดแทบทุกขั้นตอนของกระบวนการเรียนการสอนคือ

1. ใชในการสอนแกเด็กเริ่มเรียน เพ่ือใหเกดิความคุนเคย สนุกสนาน และไดความรู 2. ใชในการนําเขาสูบทเรียน เพ่ือเปนแรงจูงใจใหนักเรียนเกิดความอยากเรียน

Page 37: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

26

3. ใชในการดําเนินการสอน โดยใหรองเพลงประกอบทาทางหรือรองเพ่ือจดจํา รายละเอียดท่ีสําคัญเกี่ยวกับเนื้อเรื่อง

4. ใชในการสรุปบทเรียนเพ่ือใหไดแนวคิดและจดจําเนื้อหาท่ีสําคัญไดอยางรวดเร็วและแมนยํา

กลาวโดยสรุปวาการนําเพลงมาใชในการเรียนการสอนมีประโยชนเพราะเพลงกอใหเกดิบรรยากาศท่ีสนุกสนาน รูสึกสบาย ลดความเบ่ือหนาย และการใชเพลงเปนส่ือการสอน นอกจากจะไมตองหาวิธีในการดึงดูดความสนใจของนักเรียนแลว นักเรียนยังไดฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนไดครบถวนตามกระบวนการเรียนการสอนดวย

การนําเพลงไปใชในการเรียนการสอน

การนําเพลงไปใชในการเรียนการสอนนั้นในแงจิตวิทยาถือวาเปนการนําเอาทฤษฎี แรงจูงใจไปใชเพ่ือนําไปสูการมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กมลรัตน หลาสุวงษ (2524 : 236) แบงแรงจูงใจตามเหตุผลเบ้ืองหลังในการแสดงออกของพฤติกรรม 2 ประเภท คือ แรงจูงใจภายใน ซ่ึงหมายถึงการท่ีบุคคลมองเห็นคาของกิจกรรม และทําดวยความเต็มใจโดยถือวาการบรรลุกิจกรรมนั้นๆเปนรางวัลอยูแลว สวนแรงจูงใจภายนอก หมายถึงการท่ีบุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาเพราะมีส่ิงหนึ่งส่ิงใดมาเรามิไดกระทําเพ่ือความสําเร็จในส่ิงนั้นเลย เชนการกระทําเพ่ือตองการรางวัล

การนําเพลงมาใชประกอบการสอนนี้ ครูสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนในการสอนไดเปนอยางด ี เพราะโดยธรรมชาติแลว เด็กๆมักชอบเสียงเพลง ซ่ึงบทเพลงประกอบการสอนท่ีดีจะชวยใหเด็ก

1. เกิดความสนุกสนาน 2. ไดพักผอนหยอนใจ 3. ไดรับความรู ( โดยเฉพาะเนื้อหาสําคัญของบทเรียน) 4. เขาใจบทเรียนไดดีและเร็วขึ้น 5. เกิดความซาบซ้ึงในความไพเราะของดนตรี ไดจังหวะซ่ึงเปนผลพลอยไดจาก

บทเพลง เชน การใหเด็กรูจักจังหวะในการพูด จังหวะในการเดิน เปนการสงเสริมศักยภาพใหดีขึ้น

Page 38: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

27

เกม เกมเปนเทคนิคการสอนวิธีหนึ่งท่ีใหท้ังความรูและความสนุก สามารถปลูกฝงคุณธรรม

จริยธรรมใหกับเด็กไดอยางด ี ทําใหเด็กรูจักการปรับตัวในสังคมได ความมุงหมายของเกม

ความมุงหมายของเกมประกอบดวย (1) เพ่ือสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการเคล่ือนไหว รางกายอยางสมบูรณ (2) เพ่ือสรางทักษะเบ้ืองตนท่ีจําเปนตอการเคล่ือนไหวในชีวิตประจําวัน (3) เพ่ือใหเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน (4) เพ่ือสงเสริมมนุษยสัมพันธ และการเขารวมกลุม (5) เพ่ือใหเด็กเกิดทัศนคติท่ีดีตอการเลน และการออกกําลังกาย (6) เพ่ือใหรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน (7) เพ่ือสงเสริมบุคลิกภาพของการเคล่ือนไหว (8) เพ่ือสงเสริมบุคคลคุณธรรมทางจิตใจและน้ําใจนักกีฬา (9) เพ่ือสงเสริมสุขภาพความสมบูรณของรางกาย (10) เพ่ือใชเปนกิจกรรมทดแทน เม่ือไมสามารถจะเลนกีฬาใหญๆได (11) เพ่ือสงเสริมใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการเลน รูถึงวิธีเลน เขาใจกติการะเบียบขอบังคับ

เกมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นอกเหนือจากการสอนดวยนิทาน เพลง แลว เกมก็เปนกิจกรรมหนึ่งท่ีสําคัญท่ีครูสามารถนํามาจัดกิจกรรมใหกับเด็ก

ไพรัช พันธุชาตร ี( 2526 : 5 ) ไดกลาววา เกม เปนการเลนท่ีเปนกิจกรรมพลศึกษาเปนสวนหนึ่งท่ีชวยใหเด็กไดเคล่ือนไหวตามลักษณะความตองการทางสรีระวิทยามีความสนุกสนาน รื่นเริง เด็กๆท่ีอยูในวัยเจริญเติบโตยอมตองการกิจกรรมแหงการเคล่ือนไหวเพ่ือชวยใหกระดูกและกลามเนื้อสวนตางๆไดเจริญเติบโตอยางมีสัดสวน การเลนจึงจัดเปนส่ือกลางในการพัฒนาเด็กตามวิถีของพลศึกษาเปนการชวยใหเด็กไดฝกฝนทักษะการเคล่ือนไหวและทักษะเบ้ืองตนชวยใหเกิดการเคล่ือนไหวมีประสิทธิภาพดีขึ้นและมีผลตอสุขภาพจติท่ีดี ผอนคลายความตงึเครยีด และเขากบัเพ่ือนฝูงได

พีระพงศและมาลี สุรพงศ (2536 : 4-5) ไดใหความหมายของเกม หมายถึง กิจกรรมสําหรับเด็กและผูใหญใชกิจกรรมการเลน เพ่ือความสนุกสนานและความพึงพอใจ หลังจากกลับจากโรงเรียนใชชวงเวลาวาง กิจกรรมท่ีนํามาใชท้ังเด็กและผูใหญ ก็มักจะใชเปนเกม หรือกีฬา แมในการสอนกิจกรรมทางพลศึกษาก็ยังจัดใหมีการเลนเกมท้ังนี้เพ่ือสงเสริมทางการเคล่ือนไหว เบ้ืองตน นอกจากนี้ยังใชเกมเปนกิจกรรมเพ่ือผอนคลายในยามพักผอนหยอนใจอีกดวย

Page 39: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

28

คุณคาของเกม เกมเปนกิจกรรมการเลนท่ีมีกฎกติกางายๆ เปนการเลน ท่ีสงเสริมใหเกิดการพัฒนาการ

ในทักษะการเคล่ือนไหวขั้นพ้ืนฐานของเด็ก แลวยังมีคุณคาทางจิตใจของเด็กอีกดวย เพราะชวยผอนคลายความตึงเครียดและทําใหเด็กรูจักปรับตัวเขากับเพ่ือนไดอยางด ี

เกมหรือการละเลนของเด็กไทยนี้ชวยฝกคุณธรรมและศีลธรรมใหแกเด็ก เชน ฝกความอดทน ความสาม ัคค ี รักหมูคณะ มีความซ่ือสัตย ความรับผิดชอบ มีน ำใจเปนนักกีฬา รูแพ รูชนะ ซ่ึงเด็กไดเรียนรูส่ิงเหลานี้ในขณะท่ีเขาเลนนั่นเอง

การเลนเกมของเด็กท่ีมีเสนหสามารถดึงดูดใจผูท่ีเดินผานไปมาใหหยุดดู ในขณะท่ีเด็กเขารวมสนุกสนานในเกมอยูนั้น เราสามารถศึกษาพฤติกรรมของเด็กท่ีแสดงออกมา พฤติกรรมของเด็กยอมจะเปนไปตามภูมิหลังหรือพ้ืนเพเดิมอันแทจริง จากความหมายของเกมพอท่ีจะสรุปลักษณะของเกมไดดังนี ้

1. เปนกิจกรรมการเลนท่ีไดรับความสนกุสนานเพลิดเพลินสงเสริมสุขภาพจิต 2. สรางเสริมทักษะความสามารถเฉพาะตัวท้ังในดานการเคล่ือนไหวและกลไกการ

เคล่ือนไหวรางกาย 3. พัฒนาทักษะการเคล่ือนไหวไปสูทักษะกีฬาเบ้ืองตน เปนการเรียนรูทักษะตางๆท่ี

ตางจากทักษะในชีวิตประจําวัน 4. เปนกิจกรรมท่ีสรางความพรอมทางกาย ชวยใหระบบตางๆของรางกายไดมีการ

ปรับสภาพการทํางานดีขึ้น 5. สามารถดัดแปลงประยุกตรูปแบบวิธีการเลนไปใชเหมาะสมกับความตองการได 6. มีระเบียบการเลนหรือมีกฎกติกานอย 7. สามารถเขารวมกิจกรรมไดทุกเพศทุกวัย และไมจํากัดจํานวนผูเขารวมกิจกรรม 8. ใชเวลาและอุปกรณประกอบการเลน ไมมาก ประหยัด หางาย 9. สงเสริมลักษณะการเปนผูนําและผูตามท่ีด ี10. เปนกิจกรรมท่ีไมตองอาศัยทักษะการเลนมากนัก แตเนนถึงการสงเสริมทักษะการ

เคล่ือนไหวเบ้ืองตน ประโยชนของเกม

เกมมีประโยชนตอเด็กในหลายๆดานดังนี้ ( ศิริพร หงสพันธุ 2542 : 198 )

Page 40: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

29

ดานรางกาย 1. สรางเสริมทักษะการเคล่ือนไหวท่ีจําเปนตอชีวิตประจําวัน 2. เปนการพัฒนาทักษะเบ้ืองตน เพ่ือการฝกกิจกรรมตางๆ 3. ไดออกกําลังกาย และสงเสริมสมรรถภาพทางกาย 4. ไดผลตอการพัฒนาอวัยวะตางๆของรางกายใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ 5. ไดพัฒนาสมองการควบคุมสวนตางๆของรางกาย เพ่ือการเคล่ือนไหวตอบสนอง

ในสภาพการณตางๆ 6. พัฒนาการคลองแคลวในการเคล่ือนไหว 7. พัฒนากลไกการเคล่ือนไหวของรางกายใหเกิดความชํานาญและเคล่ือนไหวอยางมี

ประสิทธิภาพ 8. สงเสริมทักษะพิเศษเฉพาะบุคคล เพ่ือการนําไปใชในการฝกกิจกรรมหรือเลนกีฬา

ตางๆ ดานจิตใจ 1. ไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ผอนคลายความเครียด 2. เกิดทัศนคติท่ีดีในการเลน หรือ สามารถหากิจกรรมท่ีเหมาะสมใหกับตนเอง 3. สงเสริมและสรางคุณธรรม คติธรรม เอ้ือเฟอ 4. ชวยใหอารมณราเริง แจมใส ไมอืดอาด และเศราซึม 5. สงเสริมใหมีบุคลิกภาพท่ีดีเปนท่ียอมรบัของคนอ่ืน 6. สงเสริมสุขภาพอนามัยจิตท่ีด ีดานสังคม 1. เกิดมนุษยสัมพันธเขากับหมูคณะได 2. ฝกการเปนผูนํา ผูตาม และยอมรับซ่ึงกันและกัน 3. ยอมรับสภาพความแตกตางระหวางบุคคล 4. สามารถแสดงออกอยางเปดเผย กลาแสดงออก 5. เขารวมกลุมในสังคมไดอยางสงาผาเผย ไมมีปมดอย ปรับตัวเขากับสังคมไดอยาง

เปนสุข ดานอารมณ 1. มีอารมณแจมใสราเริง 2. มีความเช่ือม่ันในตนเอง 3. รูจักเสียสละ ใหอภัยและไมถือโทษ

Page 41: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

30

การผลิตส่ือการสอน วาสนา ชาวหา (2522 : 92-93) ไดกลาวถึง การสรางส่ือการเรียนการสอนขึ้นใชเอง ควร

มีหลักในการสรางดังตอไปนี้ 1. ส่ือการเรียนการสอนประเภทวัสดุผูสอนควรใชวิธีการผลิตขึ้นใชเองใหมากท่ีสุด

เพราะนอกจากเปนการลดความส้ินเปลืองดานงบประมาณแลวยังสามารถผลิตไดตรงกับความตองการของผูสอนและเนื้อหาวิชาไดมากท่ีสุด

2. ผูผลิตควรมีทักษะพ้ืนฐานในการผลิตส่ือ เชน การใชสี การกําหนดขนาด การออกแบบใหนาสนใจ เปนตน

3. คํานึงถึงความคงทนในการใชงาน 4. ใชระบบในการผลิตส่ือการเรียนการสอน ระบบการผลิต หมายถึงการผลิตท่ีมี

กําหนดขั้นตอนและระเบียบวิธีตามลําดับขั้น ตั้งแตการวางแผนกอนผลิต และการหาประสิทธิภาพของผลผลิตท่ีมีลักษณะสมบูรณและเม่ือนําส่ือการเรียนการสอนนั้นไปใชจะทําใหบังเกิดประสิทธิผลทางการศึกษา โดยมีขั้นตอนของระบบการผลิตส่ือ ดังตอไปนี ้

ขั้นการวางแผนผลิตส่ือ เปนการเตรียมการเบ้ืองตนกอนลงมือผลิตส่ือ และการกําหนดส่ิงตางๆ ท่ีจะใชในการผลิต ไดแก

1. การกําหนดวัตถุประสงค 2. กําหนดระยะเวลาท่ีใชในการผลิต 3. กิจกรรมในการผลิต 4. วัสดุท่ีใชในการผลิต 5. เนื้อหา 6. อุปกรณในการผลิต 7. บุคลากร ขั้นการผลิตเปนการดําเนินกิจกรรมตามกําหนดเวลาและแผนงานโดยมีการควบคุมให

ตรงตามกําหนดระยะเวลาท่ีสุด ขั้นการหาประสิทธิภาพ ไดแก การทดสอบวาส่ิงท่ีไดผลิตขึ้นนั้นมีคุณภาพดีเพียงพอ

หรือไม ภายหลังจากท่ีไดผลิตส่ือนั้นเสร็จส้ินลง โดยการกําหนดสถานการณจําลอง ผูเรียน บุคลากรท่ีทําการทดสอบ การประเมินผล กําหนดเกณฑท่ีจะยอมรับ นําผลท่ีไดรับมาหาประสิทธิภาพโดยใชวิธีการทางสถิติ

ขั้นการปรับปรุง เม่ือไดหาประสิทธิภาพของส่ือวายังไมตรงตามเกณฑจะตองมีการสํารวจขอบกพรองและแกไขขอบกพรองนั้นๆ ขอบกพรองอาจมีท่ีจุดเดียวหรือหลายจุดก็ได

Page 42: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

31

ขั้นการนําไปใช การวางแผนผลิต การผลิต การหาประสิทธิภาพ การประเมิน นําไปใช ปรับปรุง แผนภูมิที ่2 : รูปแสดงขั้นตอนของการผลิตส่ือ ที่มา : วาสนา ชาวหา, เทคโนโลยีทางการศึกษา ( ชลบุรี : กราฟคอารต, 2533) : 93 การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอน

การประเมินผลส่ือจะเปนการพิจารณาคุณคาของส่ือการเรียนการสอนซ่ึงผานการใชกับผูเรียนมาแลววาส่ือนั้นๆ มีคุณคาตอการเรียนการสอนมากนอยเพียงไร และสามารถวิเคราะหปรับปรุงใหส่ือมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้นไดหรือไมเพียงไร และถามีการปรับปรุงจะตองไดรับการปรับปรุงในจุดใด ประเมินผลส่ือจะมีลักษณะเปนการวิเคราะหผลของการวัดผล โดยใชเครื่องวัดตางๆ แลวนํามาพิจารณาโดยอาศัยเกณฑเพ่ือตัดสินวาส่ือนั้นมีคุณคาหรือไมเพียงใด ท้ังยังชวยใหการปรับปรุงส่ือนั้นๆ ไดพบจุดบกพรองอีกดวยดวย การประเมินผลส่ือการเรียนการสอนจะตองพิจารณาใน 2 ลักษณะ ไดแก

1. การประเมินคุณลักษณะของส่ือ ไดแก ดานคุณภาพของส่ือนั้นโดยตรง วาทัศนะของผูใชไดแก ผูสอนและผูเรียนมีความคิดเห็นตอส่ือนั้นอยางไรในดานตางๆ ดังนี้

2. ความถูกตองดานเนื้อหาของส่ือ สามารถสรางความเขาใจใหแกผูเรียนไดเพียงใด 3. ดานคุณภาพทางเทคนิคของส่ือ ไดแก ขนาดของส่ือเหมาะสมกับผูเรียนหรือไม

การใหความชัดเจน เสียงมีความดังพอเหมาะหรือไม 4. ความรูสึกพึงพอใจตอการใชส่ือของผูสอนและผูเรียน สําหรับเครื่องมือและ

วิธีการใชในการประเมินคุณลักษณะของส่ือนั้น อาจใชเครื่องมือและวิธีการตางๆ ไดดังนี ้1) การสัมภาษณ ท้ังจากผูสอนและผูเรียนถึงทัศนคติท่ีมีตอส่ือ 2) การสังเกตในระหวางการใชส่ือ 3) การใชแบบสอบถามความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูใชส่ือ

Page 43: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

32

ส่ิงท่ีตองพิจารณาในการประเมินผลส่ือ การวางเกณฑสําหรับประเมินผลส่ือการเรียนการสอนนั้น ผูประเมินจะตองตั้งคําถามเพ่ือท่ีจะวัดผลในลักษณะตอไปนี้

1. ส่ือนั้นสามารถสนองตอจุดประสงคของการเรียนการสอนเปนท่ีนาพอใจหรือไม 2. การนําเสนอส่ือเปนไปอยางตอเนื่องอยางราบรื่นระหวางส่ือกับเนื้อหาในแตละ

ขั้นตอนหรือไม 3. ความสัมพันธระหวางตัวส่ือกับคําบรรยายเปนไปอยางดีหรือไม 4. ตัวส่ือมีความยากเกินไปและตองการตัดทอนหรือไม 5. หลังจากการใชส่ือจบลงแลว สาระท่ีสําคัญถูกตัดหายไปหรือไม 6. การเพ่ิมเติมส่ืออ่ืนๆ อีกสามารถกระทําไดหรือไม 7. คุณภาพทางเทคนิคของส่ือนั้นๆ ดีหรือไม จุมพล รอดคําด ี(2533 : 52) กลาวถึงเรื่องการทดสอบประสิทธิผลของส่ือไววา คือ การ

วัดปฏิกริยาและพฤติกรรมของกลุมบุคคลเปาหมายหลังจากการใชส่ือไปแลว ส่ือนั้น 1. สามารถทําใหเกิดความรู และความเขาใจเพ่ิมขึ้นหรือไม หรือ/และ 2. สามารถกระตุนใหเกิดความอยากรูอยากเห็นเพ่ิมขึ้นหรือไม หรือ/และ 3. สามารถโนมนาวใจใหเปล่ียนทัศนคติไดหรือไม หรือ/และ 4. สามารถทําใหเกิดการเปล่ียนพฤติกรรมไดหรือไม

การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอน

การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอน หมายถึงการนําส่ือการสอนไปทดลองใช (Try Out ) เพ่ือปรับปรุงแลวก็นําไป ทดลองสอนจริง ( Trial Run ) นําผลท่ีไดมาปรับปรุงแกไข เสร็จแลวจึงผลิตส่ือออกมา ( ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ 2520 : 134 )

การทดลองใช หมายถึง การนําส่ือการสอนท่ีผลิตขึ้นเปนตนแบบแลวไปทดลองใชตามขั้นตอนท่ีกําหนดไวในแตละระบบ เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพของส่ือการสอนใหเทาเกณฑท่ีกําหนดไว

การทดลองสอนจริง หมายถึงการนําส่ือการสอนท่ีไดทดลองใชและปรับปรุงแลวทุกหนวยในแตละวิชาไปสอนจริง ในช้ันเรียนหรือในสถานการณการเรียนท่ีแทจริง

Page 44: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

33

ความจําเปนที่จะตองหาประสิทธิภาพ ในการผลิตระบบการดําเนินงานทุกประเภทจําตองมีการตรวจสอบระบบนั้น เพ่ือเปน

การประกันวาจะมีประสิทธิภาพจริงตามท่ีมุงหวัง การหาประสิทธิภาพของส่ือการสอนมีความจําเปนดวยเหตุผลหลายประการคือ

1. สําหรับหนวยงานผลิตส่ือการสอน เปนการประกันคุณภาพของส่ือการสอนวาอยูในขั้นสูง เหมาะสมท่ีลงทุนผลิตออกมาเปนจํานวนมาก หากไมมีการหาประสิทธิภาพเสียกอนแลว หากผลิตออกมาใชประโยชนไมไดดีก็ตองทําใหมเปนการส้ินเปลืองท้ังเวลา แรงงานและเงินทอง

2. สําหรับผูใชส่ือการสอน ส่ือการสอนจะทําหนาท่ีสอนโดยท่ีชวยสรางสภาพการเรียนรูใหผูเรียนเปล่ียนพฤติกรรมตามท่ีมุงหวัง บางครั้งตองชวยครูสอน บางครั้งตองสอนแทนครู ดังนั้นกอนนําส่ือการสอนไปใช ครูจึงควรม่ันใจวา ส่ือการสอนนั้นมีประสิทธิภาพในการชวยให นักเรียนเกิดการเรียนรูจริง การหาประสิทธิภาพตามลําดับขั้นจะชวยใหเราไดใชส่ือการสอนท่ีมีคุณคาทางการสอนจริงตามเกณฑท่ีกําหนดไว

3. สําหรับผูผลิตส่ือการสอน การทดสอบประสิทธิภาพจะทําใหผูผลิตม่ันใจไดวา เนื้อหาสาระท่ีบรรจุลงในส่ือการสอนเหมาะสม งายตอการเขาใจ อันจะชวยใหผูผลิตมีความชํานาญสูงขึ้น เปนการประหยัดแรงสมอง แรงงาน เวลาและเงินทอง

ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพ

เม่ือผลิตส่ือการสอนขึ้นเปนตนแบบแลว ตองนําส่ือการสอนไปหาประสิทธิภาพตามขั้นตอนตอไปนี ้

ก. 1 : 1 ( แบบเดี่ยว ) คือทดลองกับผูเรียน 1 คน โดยใชเด็กออน ปานกลาง และเด็กเกง คํานวณหาประสิทธิภาพ เสร็จแลวปรับปรุงใหดีขึ้น โดยปรกติคะแนนท่ีไดจากการทดลองแบบเดี่ยวนี้จะไดคะแนนต่ํากวาเกณฑมาก แตไมตองวิตกเม่ือปรับปรุงแลวจะสูงขึ้นมากกอนนําไปทดลองแบบกลุม ในขั้นนี้ E1/E2 ท่ีไดจะมีคาประมาณ 60/60

ข. 1 : 10 ( แบบกลุม ) คือทดลองกับผูเรียน 6-10 คน ( คละผูเรียนท่ีเกงกับออน ) คํานวณหาประสิทธิภาพแลวปรับปรุง ในคราวนี้คะแนนของผูเรียนจะเพ่ิมขึ้นอีกเกือบเทาเกณฑโดยเฉล่ียจะหางจากเกณฑประมาณ 10% นั่นคือ E1 / E2 ท่ีไดจะมีคาประมาณ 70/70

ค. 1 : 100 ( ภาคสนาม ) ทดลองกับผูเรียนท้ังส้ิน 40-100 คน คํานวณหาประสิทธิภาพแลวทําการปรับปรุง ผลลัพธท่ีไดควรใกลเคียงกับเกณฑท่ีตั้งไว หากต ำจากเกณฑไมเกิน 2.5 % ก็ใหยอมรับ หากแตกตางกันมากผูสอนตองกําหนดเกณฑประสิทธิภาพของส่ือการสอนใหม โดยยึด

Page 45: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

34

สภาพความจริงเปนเกณฑ สมมุติวาเม่ือทดสอบหาประสิทธิภาพแลวได 83.5/85.4 ก็แสดงวาส่ือการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ 83.5/85.4 ใกลเคียงกับเกณฑ 85/85 ท่ีตั้งไว

สรุป ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ควรดําเนินหาประสิทธิภาพ 3 ขั้นตอน คือแบบเดี่ยว แบบกลุมยอย และแบบภาคสนาม

ประโยชนของส่ือการสอน

ศิริพงศ พยอมแยม (2533 : 63-64) ไดกลาวสรุปเกี่ยวกับคุณคาของส่ือการเรียนการสอน ซ่ึงไดจากผลการวิจัยส่ือการเรียนการสอนชนิดตางๆ โดยมิไดจํากัดเฉพาะชนิดใดชนิดหนึ่ง นั่นคือโดยท่ัวไปแลวส่ือการเรียนการสอนประเภทเครื่องมือหรืออุปกรณ (Hardware) ประเภทวัสด ุ(Software) และประเภทเทคนิคหรือวิธีการ (Technique or Method) มีคุณคาตอการเรียนการสอน ดังนี้

1. ชวยใหคุณภาพการเรียนรูดีขึ้น เพราะมีความจริงจังและมีความหมายชัดเจนตอ ผูเรียน

2. ชวยใหนักเรียนเรียนรูไดในปริมาณมากขึ้นในเวลาท่ีกําหนดไวจํานวนหนึ่ง 3. ชวยใหผูเรียนสนใจและมีสวนรวมอยางแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน 4. ชวยใหผูเรียนจํา ประทับความรูสึกและทําอะไรเปนเร็วและดีขึ้น 5. ชวยสงเสริมการคิดและการแกปญหาในขบวนการเรียนรูของนักเรียน 6. ชวยใหสามารถเรียนรูในส่ิงท่ีเรียนไดลําบาก โดยการชวยแกปญหาหรือขอจํากัด

ตางๆ ไดดังนี ้1) ทําส่ิงท่ีซับซอนใหงายขึ้น 2) ทํานามธรรมใหเปนรูปธรรมขึ้น 3) ทําส่ิงท่ีเคล่ือนไหวเร็วใหดูชาลง 4) ทําส่ิงท่ีเคล่ือนไหวหรือเปล่ียนแปลงชาใหดูเร็วขึ้น 5) ทําส่ิงท่ีใหญมากใหยอขนาดลง 6) ทําส่ิงท่ีเล็กมากใหขยายขนาดขึ้น 7) นําอดีตมาใหศึกษาได 8) นําส่ิงท่ีอยูไกลหรือล้ีลับมาศึกษาได 9) ชวยใหนักเรียนเรียนสําเร็จขึ้นงายและสอบไดมากขึ้น

ณรงค สมพงษ (2535 : 88-89) ไดกลาวถึงประโยชนของส่ือไวดังนี ้

Page 46: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

35

1. ตอบสนองความตองการและความแตกตางระหวางบุคคล เปดโอกาสใหผูเรียนไดตอบสนองการเรียนไดมากท่ีสุด

2. ชวยใหเกิดความเขาใจงาย 3. ชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณตรงท่ีมีบทบาทสําคัญตอการสรางมโนทัศนทาง

การศึกษา 4. ชวยใหผูเรยีนประสบความสําเร็จในการเรียนรูไดสูง ถาหากใหผูเรยีนไดมีสวนรวม

ในการเรียนการสอน 5. ชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดานความคดิสรางสรรค จากท่ีกลาวขางตนจะเห็นไดวา ส่ือการสอนจะชวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ท้ังนี้ เนื่องจากครูหรือผูท่ีเกี่ยวของไดอํานวยความสะดวกในการเรียนรูดวยการจัดหาส่ือ หรือสรางทางการเรียนรูท่ีมีคุณคา และเหมาะสมกับผูเรียน ลักษณะส่ือการสอนที่ด ี

ส่ือแตละประเภท ตางมีคุณสมบัติขอไดเปรียบเสียเปรียบตางกันออกไป ดังนั้นจึงจําเปนตองตัดสินใจเลือกส่ือโดยการพิจารณาอยางรอบคอบ เพ่ือเลือกใชส่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตามวัตถุประสงค บุษบา สุธีธร (2531 : 53-58) ไดเสนอเกณฑการเลือกส่ือ โดยอาศัยการพิจารณาคุณสมบัติของส่ือดังนี้ คือ

1. คุณสมบัติของส่ือในการเขาถึงกลุมเปาหมายควรพิจารณาส่ือในลักษณะดังนี้ 1) ส่ือนั้นควรเปนส่ือท่ีสามารถเขาถึงกลุมเปาหมายและทําใหกลุมเปาหมาย

เกิดความเขาใจอยางรวดเร็ว เชน การใชหนังสือพิมพเผยแพรขาวสารสูกลุมชนบทท่ีหางไกลยอมไมสามารถเขาถึงกลุมเปาหมายและทําใหกลุมเปาหมายเกิดความเขาใจอยางรวดเร็วไดมากเทากับวิทยุกระจายเสียง เพราะหนังสือพิมพมีขอจํากัดทางดานซ้ือขาย และผูรับมักมีปญหาดานการเขียนอาน

2) ส่ือนั้นเปนส่ือท่ีกลุมเปาหมายคุนเคยในการใช และหามาไดดวยความสะดวก บุคคลยอมมีความแตกตางกันตามสภาพประชากรศาสตรและทางดานจิตวิทยา ความแตกตางดังกลาวทําใหคนรับส่ือและเลือกชองทางในการรับสารของตนแตกตางกันออกไป บางคนชอบฟงวิทยุ บางคนชอบดูโทรทัศน บางคนชอบอานหนังสือพิมพ

3) ส่ือนั้นควรสอดคลองกับความเช่ือ ทัศนคติ คานิยม ของกลุมเปาหมาย บุคคลถูกกําหนดความเช่ือ ทัศนคติ คานิยมของตนจากการรับรู การเรียนรูในอดีต ประสมกับ

Page 47: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

36

กระบวนการขัดเกลาทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีตนเปนสมาชิกอยูแตกตางกันออกไป การใชส่ือท่ีเขาถึงกลุมเปาหมายไดดีจึงจําเปนท่ีตองศึกษาถึงปจจัยภายในดงักลาว

2. คุณสมบัติของส่ือในการถายทอดสาร ส่ือแตละประเภทมีความสามารถในการถายทอดสารท่ีมีความยากงายแตกตางกันตาม

ธรรมชาติ ความแตกตางหรือคุณสมบัติของส่ือแตละประเภท ประกอบกับความสามารถในการรับรูดวยประสาทสัมผัสของบุคคลผูรับสารอีกดวย ส่ือบางอยางเหมาะกับการถายทอดสาร ประเภทท่ีซับซอน เนื้อหายาก หรือเนื้อหาตองการแสดงความสัมพันธ ความตอเนื่องของกระบวนการส่ือ บางชนิดเหมาะกับเนื้อหาท่ีเปนการใหหลักการและความสัมพันธเช่ือมโยง ฯลฯ

3. คุณสมบัติทางจิตวิทยาของส่ือ ส่ือแตละประเภทมีคุณสมบัติทางจิตวิทยาอันสงผลกระทบตอผูสงสารและผูรับสาร

แตกตางกันออกไป ความแตกตางนี้แบงได 4 ประการ คือ 1) ประสิทธิผลทางจิตวิทยาตอการเขารหัสและถายทอดสาร ส่ือประเภทส่ือ

บุคคลจะมีการเขารหัสสารและถายทอดสารโดยมีตัวแปรในเรื่องปจจัยภายใน คือ อารมณและความรูสึกสวนตัวเขามาเกี่ยวของ ส่ือบุคคลยังมีความยืดหยุนในการปรับเปล่ียนเนื้อหาสาระทาทีในการถายทอดสารจากการสังเกตปฏิกิริยาปอนกลับของผูรับสารไดมากกวาเลือกส่ืออ่ืนๆดวย

2) ประสิทธิผลทางจิตวิทยาตอการรับสาร ส่ือแตละประเภทมีสมรรถนะท่ีจะเขาถึงขั้นตอนตางๆ ในกระบวนการรับสารไมเหมือนกัน เชน ส่ือมวลชนใชไดผลดีตอการสรางความรูความสนใจใหเกิดขึ้น ในขณะท่ีขั้นการยอมรับสาร ส่ือบุคคลสามารถทําไดดีกวาส่ือมวลชน

3) ประสิทธิผลทางจิตวิทยาตอการแสดงปฏิกิริยาปอนกลับและการมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน ส่ือท่ีมีลักษณะใหผูรับสารไดแสดงปฏิกิริยาปอนกลับและเปดโอกาสใหผูรับ ปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกันไดมาก มีแนวโนมท่ีจะทําใหบรรลุเปาหมายไดดี

นอกจากนี้ ศิริพงศ พยอมแยม (2533 : 64) ไดกลาวถึงการพิจารณาเลือกส่ือการเรียน การสอนไว 5 ขอดังนี้

1. ใหเหมาะสมและสอดคลองกับจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรม 2. เหมาะกับกิจกรรมหรือประสบการณท่ีจัดขึ้นเพ่ือการเรียนการสอน 3. เหมาะสมกับวัย และความสนใจของผูเรียน 4. คํานึงถึงการประหยัด ส่ิงท่ีเลือกมาใชควรใหผลคุมคากับการลงทุน ท้ังในดานเงิน

ทองและเวลาท่ีเสียไปใชไดสะดวก ปลอดภัย

Page 48: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

37

ระเบยีบวินยั

“วินัย” วินัยทําใหมนุษยมีคุณภาพ การอยูรวมกันมาก ๆ ในสังคม ตองอาศัยวินัยชวยใหสังคมเปนระเบียบเรียบรอยและสงบสุขและการพัฒนาทรัพยากรมนุษยนั้น ประเด็นท่ีสําคัญประเด็นหนึ่งคือ เรื่องของวินัยซ่ึงเปนส่ิงสําคัญและเปนท่ีตองการของทุกสังคมทุกประเทศชาติในโลก (พล แสงสวาง ม.ป.ป. : 1) ไดมีผูใหความหมายของคําวาวินัยไวหลายประการ เชน

วินัย หมายถึง การอยูในระเบียบแบบแผนและขอบังคับขอปฏิบัติ (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530 : 494) ซ่ึงสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ (2530 : 51) ไดใหความหมายของ “วินัย” สําหรับการดําเนินงานทางวัฒนธรรมไววา หมายถึง “การควบคุมตนเองใหปฏิบัติตามกฎหมายขอบังคับระเบียบแบบแผนและขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามเพ่ือความสงบสุขในชีวิตของตนและความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคม”

คําวาวินัยนั้น หมายถึง มาตรการท่ีสรางขึ้นเพ่ือใหสมาชิกในสังคมตองปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับท่ีแตละสังคมไดกําหนดไว เปนท้ังการสงเสริมใหกระทําความดี หรือใหปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ หรืออาจเปนการลงโทษเพ่ือหักหามการกระทําท่ีฝาฝนระเบียบขอบังคับหรือหรือเปนการกระทําท่ีไมดี เนื่องจากวินัยมักจะเปนส่ิงท่ีควบคูกันไปกับระเบียบหรือขอบังคับ ดังนั้นเรามักจะเรียกรวม ๆ กันไปวา ระเบียบวินัย อยูเสมอ (พนัส หันนาคินทร 2529 : 63 )

จากความหมายของคําวา วินัย ขางตนนั้น สามารถสรุปไดวา วินัย หมายถึง การควบคุมพฤติกรรมของตนเอง ไมใหกระทําการใด ๆ ใหเกิดความยุงยากแกตนและเพ่ือใหแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม

ประเภทของวินัย

จากการใหความหมายของวินัยจึงอาจแบงประเภทวินัยไดเปน 2 ประเภท คือ วินัยภายนอกและวินัยในตนเอง วินัยภายนอก หมายถึง การท่ีบุคคลใดบุคคลหนึ่งประพฤติปฏิบัติโดยเกรงกลัวอํานาจหรือการถูกลงโทษ เปนการปฏิบัติท่ีบุคคลดังกลาวไมมีความเต็มใจตกอยูในภาวะจํายอมถูกควบคุม สวนวินัยในตนเอง หมายถึง การท่ีบุคคลใดบุคคลหนึ่งเลือกขอประพฤติปฏิบัติสําหรับตนขึ้นโดยสมัครใจไมมีใครบังคับหรือถูกควบคุมจากอํานาจใด ๆ และขอประพฤติปฏิบัตินี้ตองไมขัดกับความสงบสุขของสังคมทํานองเดียวกัน สุชาและสุรางค จันทนเอม (2517, อางถึงในกรมวิชาการ : 23) ไดแบงวินัยออกเปน 2 ประเภท คือ

1. วินัยในตนเอง หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการควบคุมตนเอง โดยตนเปนผูแนะนําตนเองใหประพฤติไปตามแนวทางท่ีเลือกวาดี

Page 49: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

38

2. วินัยทางสังคมหรือวินัยในหมูคณะ หมายถึง การใชระเบียบขอบังคับ กฎหมายหรือกฎเกณฑ เพ่ือเปนเครื่องมือรักษาความเปนระเบียบเรียบรอยและความสงบสุขในสังคม ซ่ึง ดวงใจ เนตรโรจน (2527 : 25) ไดใหความหมายของความมีวินัยในตนเองวา หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ และพฤติกรรมของตนเองใหเปนไปตามท่ีตนมุงหวังไว แตท้ังนี้จะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนผลใหเกิดความยุงยากแกตนในอนาคต และจะตองเปนส่ิงท่ีกอใหเกิดความเจริญแกตนและผูอ่ืนโดยไมขัดตอระเบียบของสังคมและไมขัดกับสิทธิของผูอ่ืน

ทฤษฎีเกี่ยวกับความมีวินัยในตนเกี่ยวกับความมีวินัยในเองทฤษฎีตนเองพอจะสรุปไดดังนี้ ลักษณะ “วินัยในตนเอง” มีความสําคัญตอการแสดงออกทางจริยธรรมและคุณธรรมของบุคคลมาก และอาจจะสําคัญมากกวาลักษณะทางความรูดีช่ัว และความสามารถกระทําดี กระทําช่ัวดวย ลักษณะการมีวินัยแหงตนจึงเปนส่ิงจําเปนในเรื่องนี้ นักจิตวิทยาพัฒนาการไดใหความ สนใจมานานแลวและมีความเห็นวาความมีวินัยแหงตนหรือความสามารถควบคุมตนเองอยาง ถูกตองเปนหลักของพัฒนาการทางจิตของบุคคลนั่นคือ ความมีวินัยในตนเองเปนลักษณะสําคัญของผูท่ีบรรลุวุฒิภาวะทางจิตใจ (ดวงใจ เนตรโรจน, อางถึงในกรมวิชาการ 2542 : 27) การรักษาวินยัในโรงเรียน

วินัยในโรงเรียน หมายถึง การรูจักปกครองตนเอง การกระทําตามระเบียบหรือขอบังคับตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นโดยความสมัครใจของผูปฏิบัติ คือ นักเรียน วินัยในโรงเรียนจึงเปนอํานาจ (Authority) ท่ีจะรักษาความเปนธรรมใหเกิดขึ้นแกทุกคน ในขณะเดียวกันก็เปนเครื่องยืนยันสิทธิและเสรีภาพของนักเรียนทุกคนในโรงเรียนนั้น ดังนั้น จึงกลาวไดวาวินัยในโรงเรียนควรจะมีลักษณะดังนี้คือ

1. การทําดีของนักเรียนเปนไปเพราะความเห็นดีเห็นงาม ท่ีจะไดจากการกระทําดีไมใชเพราะอํานาจภายนอกมาบังคับ การเช่ือฟงคําส่ังและระเบียบเกิดขึ้นจากการเขาใจเหตผุลไมใชเพราะกลัวอํานาจของบุคคลท่ีออกระเบียบนั้น จุดหมายปลายทางของวินัยในโรงเรียน คือ ตองการใหนักเรียนรูจักการควบคุมตนเอง

2. การออกคําส่ังใหนักเรียนปฏิบัติตามไดพิจารณาอยางรอบคอบแลววาจะเปนสวนชวยใหนักเรียนรูจักประพฤติดี ไมใชออกมาเพ่ือเหตุผลสวนตัวของผูมีอํานาจท่ีจะออกคําส่ังนั้น ๆ

3. การปฏิบัติตอผูกระทําผิดวินัย เปนไปตามลักษณะพ้ืนฐานสวนตัวของผูกระทําผิดเปนราย ๆ ไป

Page 50: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

39

4. กิจกรรมท้ังหลายของนักเรียน ท้ังในและนอกหองเรยีนเปนสวนชวยใหนักเรยีนไดสรางความเจริญไปในวิถีทางอันเปนท่ียอมรับกันในสังคม

ความจําเปนในการรักษาวินยัในโรงเรียน

ประเทศชาติซ่ึงเปนสังคมสวนใหญ จําเปนจะตองมีระเบียบกฎหมายสําหรับควบคุมความประพฤติของสมาชิกในสังคมนั้น กฎหมายเปนท้ังเครื่องรองรับสิทธิเสรีภาพของบุคคลแตละคนและเปนเครื่องกําจัดการเอารัดเอาเปรียบระหวางคนท่ีมีความสามารถสูงกวาตอคนท่ีมีอํานาจนอยกวา ในโรงเรียนจําตองมีระเบียบวินัยเพ่ือเปนเครือ่งควบคมุความประพฤตขิองนกัเรียนแตวนิยัของโรงเรียนมีความหมายแตกตางไปจากกฎหมายบานเมืองซ่ึงวินัยในโรงเรียนเปนสวนชวย ตอความเจริญของนักเรยีนและโรงเรียนดังนี้คือ

1. วินัยชวยสรางและรักษาไวซ่ึงสภาพการณอันจําเปนตอความเจริญกาวหนาของ โรงเรียน หากขาดวินัยแลวการดําเนินงานของโรงเรียนก็จะเต็มไปดวยความลําบากจนไมสามารถดําเนินงานไดและในท่ีสุดก็จะเปนผลเสียมาสูตัวนักเรียนเอง ลองพิจารณาดูวาถานักเรียนในหองเรียนหองหนึ่งไรระเบียบใครนึกจะทําอะไรก็ทําตามใจชอบ เชนนี้แลว การเรียนการสอนจะเปนไปอยางไร

2. วนิัยเปนเครือ่งเตรยีมตัวนักเรียนสําหรับการดําเนนิชีวิตในภายภาคหนาเม่ือนกัเรยีนเติบโตเปนผูใหญ มีเสรีภาพเต็มท่ี แตก็ไมไดหมายความวาจะทําอะไรตามใจชอบได การให นักเรียนมีวินัยในโรงเรียนนับไดวาเปนการสรางความรับผิดชอบตอการกระทําท่ีไดกระทําลงไปนั้น การสรางใหนักเรียนรูจักรับผิดชอบในฐานะเปนพลเมืองดีนั้น โรงเรียนมีความจําเปนท่ีจะตองฝกหัดและอบรมใหนักเรียนรูจักรับผิดชอบตอหนาท่ี โดยการแสดงตัวอยางใหนักเรียนเห็นวาความรับผิดชอบในการงานท่ีไดรับมอบหมายเปนความจําเปน และเปนคุณธรรมอันสูงสุดของความเปนพลเมืองด ี

3. วนิัยเปนเครือ่งปลูกฝงและพัฒนาการรูจักควบคมุตนเองทีละนอย การช้ีใหนักเรยีนเห็นคุณคาของการปกครองตนเองนั้นเปนส่ิงท่ีครูควรเอาใจใสหรือพัฒนาอยูเสมอ

โรงเรียนยอแซฟอปุถัมภ ประวัติความเปนมาของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ ตั้งขึ้นเม่ือป พ.ศ. 2508 โดยพระคุณเจายอแซฟยวง นิตโย เปนผูวางศิลาฤกษและรับผิดชอบการกอสรางอาคารตางๆ ในปแรกมีนักเรียนเพียง 250 คน เปด

Page 51: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

40

เรียนตั้งแตช้ัน ป.1 - ม.ศ. 3 มีนักเรียนช้ันละประมาณ 25 คนเปนนักเรียนประจํา 7 คน นักเรียนแตละคนเสียคาธรรมเนียมการเรียนในอัตราปละ 600 บาท แบงภาคเรียนออกเปน 3 ภาค

ตอมาเม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2508 คุณพอไมเกิ้ล ฮั่วเซ้ียง กิจบุญชู ( ปจจุบันดํารงตําแหนงฯ พณ ฯ พระคารดินัล มุขนายกแหงอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ) เขารับหนาท่ีอธิการเปนหัวหนาใหญของยอแซฟ

ปจจุบันโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ ตั้งอยูเลขท่ี 2 หมู 6 ตําบลทาขาม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73110 อธิการคนปจจุบันช่ือบาทหลวงอดิศักดิ์ สมแสงสรวง ผูอํานวยการช่ือบาทหลวงศักดิ์ชัย ทรัพยอัประไมย เปดสอนตั้งแตช้ันอนุบาลถึงช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 จํานวนครู เจาหนาท่ี พ่ีเล้ียง ประมาณ 312 คน นักเรียน 5,887 คน บริหารงานโดยแบงเปนฝายไดแก ฝายแผนงาน ฝายบุคลากร ฝายมาตรฐานและวิชาการประถม ฝายวิชาการมัธยม ฝายธุรการ ฝายปกครอง ฝายกิจกรรม ฝายบริการ ฝายเทคโนโลยีและสารสนเทศ ฝายจิตตาภิบาล และฝายอนุบาล ในดานการจัดการเรียนการสอนยึดผูเรียนเปนสําคัญ ใหนักเรียนไดคิดแกปญหา มีคุณธรรมจริยธรรม เปนคนดีของสังคม และสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข ปรัชญาของโรงเรียน

ORA et LABORA เปนภาษาลาตินแปลวา "จงอธิษฐานและลงมือทํางาน" หมายถึง การกระทําภารกิจใดๆ ก็ตาม ไมวาจะเปนการเรียนการสอน การปฏิบัติหนาท่ีตางๆ จะตองระลึกเสมอวา เรามีพระเปนเจาผูศักดิ์สิทธ์ิท่ีเราเคารพนับถืออยูกับเรา คอยชวยเหลือเราและมีหลักธรรมคําสอนเปนเครื่องยึดเหนี่ยว คติพจนของโรงเรียน

“เรียนเปนเลิศ เชิดชูวินัย พลานามัยสมบูรณ เพ่ิมพูนคุณธรรม” นอกจากนี้โรงเรียนยังมุงเนนใหนักเรียนมีความรูเปนเลิศทางวิชาการ เปนผูมีระเบียบวินัย มีสุขภาพแข็งแรงและเปนผูมีคุณธรรม

สภาพระเบียบวินัยของนักเรียน โรงเรียนยอแซฟอปุถัมภ

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภเปนโรงเรียนของศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกโรงเรียนหนึ่งในเครือของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และเปนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาเอกชนของกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนการสอนตั้งแตระดับอนุบาลถึงระดับ

Page 52: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

41

มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยเนนปรัชญาการศึกษาคาทอลิกท่ีจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีความสมบูรณครบครัน ท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญา

เนื่องจากจํานวนนักเรียนในแตละปเพ่ิมมากขึ้น กิจกรรมท้ังหลายของนักเรียนก็มีมากขึ้นการท่ีมีจํานวนคนมาอยูรวมกันมากๆทําใหตองมีกฎระเบียบเพ่ือใหคนในสังคมอยูกันอยาง สงบสุข และก็มีนักเรียนจํานวนมากท่ีฝาฝนไมปฏิบัติตามกฎท่ีโรงเรียนตั้งไว เชนแยงกันซ้ืออาหาร การท้ิงขยะไมเปนท่ี การแตงกายผิดระเบียบ มาไมทันเขาแถวเคารพธงชาติ โรงเรียนเปนสถานท่ีหนึ่งท่ีสงเสริมใหนักเรียนรูจักควบคุมตนเอง มีวินัย และท่ีสําคัญเพ่ือใหเปนคนดีของสังคม ระเบียบของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ

ระเบียบปฏิบัติท่ัวไป เพ่ือใหการดําเนินชีวิตการปฏิบัติตนของนักเรียนมีความเรียบรอย มีระเบียบ วินัย มีคุณธรรม มีสัมมาคารวะ รูกาลเทศะ มีความสามัคคีรักหมูคณะและรักกันดุจดังพ่ีนองรวมท้ังเปนการพัฒนาบุคลิกภาพของนักเรียนใหเปนบุคคลท่ีดีของสังคมเจริญชีวิตในสังคมไดอยางเปนสุขและเปนประโยชนตอสังคมนักเรียนจะตองปฏิบัติดังนี ้

1. เช่ือฟงและปฏิบัติตามคําตักเตือนของครูทุกทาน 2. นักเรียนตองรูจักคารวะบุคคลและตองทําความเคารพเม่ือพบครูทุกทานในและนอก

โรงเรียนรูจักกลาวคําวาสวัสดีขอบคุณ และขอโทษในโอกาสอันควร 3. สุภาพออนโยนตอบุคคลท่ัวไป ไมกลาวคําหยาบหรือสอเสียด 4. แตงเครื่องแบบนักเรียนทุกครั้งท่ีมาหรือติดตอกับโรงเรียน 5. ไมตกแตงเครื่องประดับใด ๆ ท้ังส้ิน และไมนําของมีคามาโรงเรียน 6. มาโรงเรียนใหทันเขาแถวเคารพธงชาติ เม่ือเขามาในโรงเรียนแลวจะออกนอก

บริเวณโรงเรียนตองไดรับอนุญาต 7. นักเรียนควรตรงไปและกลับระหวางบานกับโรงเรียน ไมไถลไปตามสถานท่ีตาง ๆ

ท่ีไมเหมาะสมกับสภาพของนักเรียน 8. เม่ือนักเรียนมีความจําเปนตองหยุดเรียนผูปกครองตองแจงใหทางโรงเรียนทราบ

เปนลายลักษณอักษร 9. รักษาความสามัคคีในหมูคณะ รุนนองนับถือรุนพ่ี รุนพ่ีประพฤติปฏิบัติตนเปน

แบบอยางท่ีดีแกรุนนอง 10. นักเรียนตองชวยประหยัดการใชน้ํา ไฟฟา วัสดุส้ินเปลือง และรักษาทรัพยสมบัติ

ของโรงเรียนใหอยูในสภาพดี

Page 53: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

42

11. ไมนําอาหารเครื่องดื่ม ขนม ออกไปรับประทานนอกเขตหองอาหารเวนแตโรง เรียนอนุญาตเปนครั้งคราว

12. ไมนําสินคาหรือบริการทุกประเภทมาขายในโรงเรียน 13. ไมเขาไปในเขตหวงหามของทางโรงเรียน 14. ไมจัดกิจกรรมนําเท่ียวหรือชักชวนเพ่ือนนักเรียนหรือผูอ่ืนโดยใชช่ือโรงเรียน

แอบอาง 15. ไมเลนการพนันหรือส่ิงอ่ืนใดท่ีตองใชทรัพยสิน 16. ไมประพฤติส่ิงใดใหเส่ือมเสียแกโรงเรียน สรุป ระเบียบของโรงเรียนเปนขอกําหนดท่ีตั้งไวเพ่ือใหนักเรียนประพฤติปฏิบัติตามจะ

ทําใหสังคมมีความเรียบรอยสงบสุข

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

รองเนือง ศุขสมิติ (2537 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องผลการใชเพลงเสริมบทเรียนวิชาภาษาอังกฤษท่ีมีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความคิดเห็นตอการเรียนภาษา อังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีสอนโดยใชเพลง เสริมกับสอนตามคูมือครู ผลการวิจัยพบวา 1.ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนท่ีสอน โดยใชเพลงเสริมสูงกวานักเรียนท่ีสอนตามคูมือคร ูอยางมีนัย สําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และมีคาน้ําหนักผลกระทบเทากับ .80 2. ความคิดเห็นตอการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนท่ี สอนโดยใชเพลงเสริมดีกวานักเรียนท่ีสอนตามคูมือครู อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

จิราภรณ เมืองพรวน (2538 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติตอรายวิชาวรรณคดีมรดก ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีเรียนโดยใชบทเพลง กับไมใชบทเพลง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชาวรรณคดีมรดก ของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีเรียนโดยใชบทเพลงกับไมใชบทเพลง และเพ่ือเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลาย ท่ีเรียนรายวิชาวรรณคดีมรดก โดยใชบทเพลงกับ ไมใชบทเพลง ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาวรรณคดีมรดก ในกลุม ทดลองกับกลุมควบคุม ท่ีเรียนโดยใชบทเพลงไมใชบทเพลง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยกลุม ท่ีใชบทเพลงมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวากลุมท่ี ไมใชบทเพลง และเจตคติของ นักเรียนท้ังสองกลุม ตอรายวิชาวรรณคดี มรดก ในกลุมทดลองกับกลุมควบคุมท่ีเรียนโดยใช

Page 54: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

43

บทเพลงกับ ไมใชบทเพลงแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยกลุมท่ีใชบทเพลงมีเจตคติตอรายวิชาวรรณคดีมรดก สูงกวากลุมท่ีไมใชบทเพลง

แวววด ีปญญาเรือง (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางแผนการสอน การใชเพลง และเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 และ ศึกษาผลของการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใช พยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า ผลการวิจัยพบวา แผนการสอนโดยการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอาน ออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 จํานวน 15 แผนการสอน สามารถทําให นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีดีตอการเรียนรู เขารวมกิจกรรม ดวยความสนุกสนาน นักเรียนจํานวนรอยละ 90.80 มีความสามารถในการ อานคําออกเสียงท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้าไดถูกตอง และ มีคะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธ์ิหลังการฝก คิดเปนรอยละ 90.87 สูงกวาเกณฑการประเมินอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 นักเรียนทุกคนแสดงความคิดเห็นวาชอบและพอใจในการ ใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้าในระดับมาก

วิชัย สายคําอิน (2540 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องการใชเกมท่ีมีผลตอการเรียนรูและความคงทนในการจําความหมายคําศัพทภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงคเพ่ือเปรียบเทียบผลการเรียนรูและความคงทนในการจํา ความหมายคําศัพทภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีเรียนแบบมีเกมประกอบและ แบบไมมีเกมประกอบ ผลการวิจัยพบวา ผลการเรียนรูความหมายคําศัพทของกลุมท่ีเรียนแบบมีเกมประกอบและไมมีเกม ประกอบแตกตางกัน ความคงทนในการจําความหมายคําศัพทของกลุมท่ีเรียนแบบมีเกมประกอบและแบบ ไมมีเกมประกอบแตกตางกัน

สุทธิดา พรจําเริญ (2540 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องการสรางส่ือการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษปฏิบัติงาน (อ 036) สําหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนพระแสงวิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของส่ือการสอนรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติงาน (อ 036) และเพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษปฏิบัติงานของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ผลการวิจัยพบวา ประสิทธิภาพของส่ือการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษปฏิบัติงานมีคาเทากับ 77.58/58.77 ซ่ึงอยูในระดับสูงกวาเกณฑท่ีกําหนด ถือวาส่ือการสอนท่ีสรางขึ้นมีประสิทธิภาพดี และความสามารถในการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษปฏิบัติงานของนักเรียนหลังจากเรียนโดย ใชส่ือการสอนสูงกวากอนเรียนโดยใชส่ือการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Page 55: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

44

ลําใย บัวพิทักษ (2542 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการใชนิทานพ้ืนบานอีสานในการจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานกุดหูลิงและโรงเรียนบานโนนโพธ์ิ จังหวัดชัยภูมิ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือ(1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดาน จริยธรรมกอนและหลังการใชนิทานพ้ืนบานอีสานจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม (2) เปรียบเทียบ พฤติกรรมจริยธรรมกอนและหลังการใชนิทานพ้ืนบานอีสานจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม (3) ศึกษาทาทีความรูสึกของนักเรียนท่ีมีตอการใชนิทานพ้ืนบานอีสานจัดกิจกรรมสงเสริม จริยธรรม ผลการวิจัยพบวา (1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดานจริยธรรมหลังเรียนของนักเรียนท่ี เรียนโดยการใชนิทานพ้ืนบานอีสานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .01 (2) คะแนนเฉล่ียพฤติกรรมทางดานจริยธรรมหลังเรียน สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (3) นักเรียนมีทาทีความรูสึกท่ีดีตอการสอนโดยใช นิทานพ้ืนบานอีสานในระดับมาก

พรจิต แทสูงเนิน (2542 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องผลของการใชนิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับเด็กท่ีมีตอมโนทัศนทางคุณธรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาผลของการใชนิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับ เด็กท่ีมีตอมโนทัศนทางคุณธรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 คุณธรรมท่ีนํามาใชเปนเนื้อหา ในการวิจัย ไดแก ความขยันหม่ันเพียร ความประหยัด ความซ่ือสัตยสุจริต ความมีระเบียบวินัย ความเมตตากรุณา ความกตัญูกตเวที ความตรงตอเวลา ความสามัคค ีการอยูรวมกัน การรูจัก ความพอด ีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม ความมีสติและเหตุผล การไมหลงตนเอง ความ เอ้ือเฟอเผ่ือแผ ความมีน้ําใจเปนนักกีฬา และความกลาหาญและความเช่ือม่ันในตนเอง ผลการวิจัยพบวา หลังการทดลองคะแนนมโนทัศนทางคุณธรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 กลุมท่ี เรียนโดยใชนิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับเด็กประกอบการสอนคุณธรรมสูงกวากลุมท่ีเรียน คุณธรรมตามแผนการสอนปกติอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .05 และความคิดเห็นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เกี่ยวกับความพึงพอใจท่ีมีตอการใชนิทาน อิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับเด็กประกอบการสอนคุณธรรม สวนใหญอยูในระดับพึงพอใจมาก

สรุป

ส่ือประกอบการสอนมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับครูเพราะจะทําใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียน ชวยใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานและเขาใจบทเรียนไดดีขึ้น ส่ือประกอบการสอนจะมีการใชซ่ึงครูและนักเรียนตองปฏิบัติตามคําช้ีแจงถึงวิธีการใชส่ือการสอนจึงจะสามารถใช

Page 56: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

45

ส่ือการสอนนั้นไดเปนอยางดี ส่ือการสอนอาจจะอยูในแฟมหรือในกลองและการผลิตส่ือการสอนตองมีการจัดระบบท่ีเหมาะสมเพ่ือชวยใหนักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ซ่ึงส่ือประเภท นิทาน เพลง และเกม ถือเปนส่ือการสอนอยางหนึ่งท่ีจะชวยใหนักเรียนเกิดความเขาใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น ประโยชนของนิทานนั้น ชวยในการสงเสริมพัฒนาการดังนี้ คือ ฝกใหนักเรียนเปนผูรูจักฟง มีสมาธิไดผอนคลายอารมณ เกิดความสนุกสนานและจินตนาการ ท่ีสําคัญคือเพ่ิมพูนความรู บทเพลงเปนส่ือประกอบการสอนอยางหนึ่ง เปนแรงจูงใจท่ีทําใหนักเรียนอยากเรียนและเกมถือเปนการเลนอยางหนึ่ง มีสวนชวยใหเด็กไดเคล่ือนไหวรางกาย ชวยฝกคุณธรรมในดานความอดทน ความสามัคค ีความรับผิดชอบ ฝกการเปนผูนําและผูตามท่ีด ีซ่ึงการอยูรวมกันในสังคมทุกคนควรมีระเบียบวินัย คือรูจักควบคุมตนเองใหปฏิบัติตามกฎ ขอบังคับ เพ่ือความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคม

Page 57: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่องการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียน

ประถมศึกษา เปนการวิจัยเชิงทดลอง ( Experiment Research) แบบกลุมเดี่ยว เปนแบบสอบกอนและสอบหลัง ( one group pre - test post - test design ) มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอน เพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนเรื่องระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษากอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน และเพ่ือศึกษาความเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา โดยมีวิธีการดําเนินการวิจัยดังนี้

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย ประกอบดวย เนื้อหาวิชา ประชากร ตัวอยาง ตัวแปรท่ีศึกษา ระยะเวลาในการทดลอง ดังตอไปนี ้

เนื้อหาวิชา ในการวิจัยครั้งนี้ ใชเนื้อหาวิชากลุมสรางเสริมลักษณะนิสัย เรื่อง ระเบียบวินัย เพ่ือใหเห็นคุณคาของการปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของหองเรียน โรงเรียน สังคม มีวินัย ในตนเอง มีความรับผิดชอบ

ประชากร ประชากรในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม จํานวน 9 หองเรียน รวมท้ังส้ิน 487 คน ซ่ึงกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2545

กลุมตัวอยาง ตัวอยางท่ีใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ของ โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม ผูวิจัยไดทําการสุม อยางงาย (Simple Random Sampling ) มาจํานวน 1 หองเรียน โดยวิธีจับฉลาก จํานวน 54 คน ใชระยะเวลาในการทดลองสอน จํานวน 12 คาบ คาบละ 20 นาที โดยทําการสอนสัปดาหละ 1 วัน วันละ 3 คาบ

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรท่ีศึกษามีดังนี ้ตัวแปรตน ไดแก ส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียน

ประถมศึกษาจํานวน 4 เรื่อง 46

Page 58: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

47

ตัวแปรตาม ไดแก 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

2. พฤติกรรมความมีระเบียบวินัย 3. ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอน

การออกแบบการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบ Pre – experimental research (one group pre-test post-test design)

T1 X T2

T1 หมายถึง คะแนนท่ีไดจากการวัดผลพฤติกรรมจากแบบวัดพฤติกรรมกอนเรียน X หมายถึง การทดลองใชส่ือประกอบการสอน T2 หมายถึง คะแนนท่ีไดจากการวัดพฤติกรรมจากแบบวัดพฤติกรรมหลังเรียน

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยมีดังนี้คือ 1. แบบสัมภาษณขอมูลพ้ืนฐานในการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบ

วินัยของนักเรียนประถมศึกษา 2. แบบสอบถามขอมูลพ้ืนฐานในการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบ

วินัยของนักเรียนประถมศึกษา 3. ส่ือประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัย 4. คูมือคร ู5. แผนการสอนเรื่องระเบียบวินัย 6. แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ( แบบทดสอบกอน – หลังเรียน)เรื่องระเบียบ

วินัย

การพัฒนาเคร่ืองมือทีใ่ชในการวิจัย การวจิยัครั้งนี้ผูวิจยัไดพัฒนาเครือ่งมือท่ีใชในการวจิยัดังนีค้อื 1. ส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา

Page 59: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

48

1.1 ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเอกสารตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับเนื้อหาวิชา หลักสูตร

และจัดทําส่ือประกอบการสอนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ศึกษาและคนควาเอกสารท่ี เกี่ยวของกอนลงมือสรางส่ือประกอบการสอน

1.2 จัดทําคู มือการสรางส่ือประกอบการสอนซ่ึงประกอบดวย คํานํ า วัตถุประสงค คําช้ีแจงในการใชส่ือประกอบการสอน หลักการและเหตุผล การวิเคราะหความสอดคลองระหวางจุดประสงคและเนื้อหาเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาปท่ี 6 แผนการสอน ใบความรู ใบงาน เรื่อง การเขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะใหเปนท่ี การแตงกาย การตรงตอเวลา แบบวัดความรู

1.3 นําส่ือประกอบการสอนใหผู เ ช่ียวชาญท้ัง 5 ทาน เพ่ือตรวจความ เหมาะสมสอดคลองของส่ือประกอบการสอนดานเนื้อหา ภาษาท่ีใชโดยใชดัชนีความสอดคลอง ( Index of item Objective Congruence : IOC ) สําเริง บุญเรืองรัตน อางถึงในพิทยพันธ แวะศรหีา 2542 : 28 ) มีดังนี้

เห็นดวยวามีความสอดคลอง ใหคะแนน +1 ไมเห็นดวยวามีความสอดคลอง ใหคะแนน 0 เห็นดวยวาไมมีความเกีย่วของ ใหคะแนน -1 รวบรวมขอมูลท่ีไดจากผูเช่ียวชาญแตละทานมาวิเคราะหขอมูลหาคา IOC ตั้งแต 0.50

ขึ้นไป แสดงวา ส่ือประกอบการสอนนั้น มีความเหมาะสมแตถาต่ํ ากวา 0.5 แสดงวา ส่ือประกอบการสอนยังไมเหมาะสมในการนําไปใช

1.4 หาประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอน E1 / E2 ( ชัยยงค พรหมวงศ 2531: 135) โดยดําเนินงานตามขั้นตอนดังตอไปนี ้

ขั้นตอนท่ี 1 ทดลองกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 รายบุคคล ( one to one testing ) ขั้นตอนท่ี 2 ทดลองกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 3 คน ขั้นตอนท่ี 3 ทดลองกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 เปนกลุมยอยโดยกําหนดเกณฑ

คาประสิทธิภาพ 80/80 ตัวแรกหมายถึงคาคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทําแบบฝกหัดและแบบฝกหัดระหวางเรียนของผูเรียนโดยคิดเปนคาไมต่ํากวารอยละ 80 เกณฑ 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ียท่ีไดจากการทําแบบทดสอบรายขอ หลังเรียนโดยคิดเปนคาไมต่ํากวารอยละ 80

Page 60: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

49

สูตรท่ี 1

E1 = ( ∑X1 / N ) x 100 A

เม่ือ E1 คือ ประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอน

X1 คอื คะแนนรวมของแบบฝกหัดรายบททุกบทของผูเรยีนคนท่ี 1 A คอื คะแนนเต็มของแบบฝกหัดรายบททุกบทรวมกนั N คือ จํานวนผูเรียน

สูตรท่ี 2

E2 = ( ∑X1/ N ) × 100 B

เม่ือ E 2 คือ ประสิทธิภาพของผลวัดความสามารถในการพัฒนาระเบียบวินัยของ

ผูเรียนหลังเรียน X1 คอื คะแนนรวมของผลสอบหลังเรียนของผูเรยีนคนท่ี 1 B คือ คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน N คือ จํานวนผูเรียน

แบบวัดความรูฉ บับนี้ เปนแบบวัดความรู เกี่ ยวกับความมีระ เบียบวินัยของ นักเรียนประถมศึกษาปท่ี 6 ประกอบดวยพฤติกรรมตางๆ 4 ดานคือ การเขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะใหเปนท่ี การแตงกาย และการตรงตอเวลา

ความมีวินัยมีความสําคัญและจําเปนท่ีจะปลูกฝงใหเกิดกับเด็กและเยาวชนเพ่ือจะเปน ผูใหญท่ีดีในอนาคต ผูวิจัยจึงไดพัฒนาแบบวัดความมีระเบียบวินัยของสุพัตรา เทียนอุดม (2536 : 93) มาใชในงานวิจัยนี้

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนโดยพัฒนามาจากแบบวัดเจตคติเรื่องความมีระเบียบวินัยของ สุพัตรา เทียนอุดม โดยสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน 54 คนท่ีเรียนตอส่ือประกอบการสอนดวยแบบสอบถามมาตราสวนประเมินคา 5 ระดับของลิเคอรท ( Likert’s Five Rating Scale,อางถึงในพวงรัตน ทวีรัตน 2538 : 107-108 ) โดยกําหนดคาระดับความคิดเห็นแตละชวงคะแนนและความหมายดังนี ้

Page 61: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

50

ระดับ 5 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนอยูในระดับดมีาก ระดับ 4 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนอยูในระดับด ีระดับ 3 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนอยูในระดับพอใช ระดับ 2 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนอยูในระดับนอย ระดับ 1 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนอยูในระดับควรปรับปรุง ในการแปลความหมายใชคะแนนเฉล่ียท่ีไดจากการวิเคราะหขอมูลมาเปรียบเทียบกบั

เกณฑซ่ึงพัฒนามาจากเกณฑของเบสท ( Best 1981 : 182 ) นํามาหาคาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบน มาตรฐานโดยใหคาเฉล่ียเปนรายดานและรายขอดังนี ้

คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.49 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนท่ีสรางควรปรับปรุง คะแนนเฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนท่ีสรางขึ้นใชไดนอย คะแนนเฉล่ีย 2.50 – 3.49 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนท่ีสรางขึ้นพอใช คะแนนเฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนท่ีสรางขึ้นดี คะแนนเฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถึง ส่ือประกอบการสอนท่ีสรางขึ้นดีมาก

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดสถิต ิในการวิเคราะหขอมูลดังตอไปนี ้1. คํานวณหาคาสถิติพ้ืนฐานไดแก คะแนนเฉล่ีย คารอยละในการหาประสิทธิภาพ

ของส่ือประกอบการสอน 2. วิเคราะหประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยสําหรับ

นักเรียนประถมศึกษาตามเกณฑท่ีกําหนดไวคือ 80/80 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิกอนและหลังเรียนดวยส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนา

ระเบียบวินัยท้ัง 4 เรื่องโดยใชสถิติ ( t-test dependent ) 4. วิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบ

การสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนช้ันประถมศึกษาโดยใชมาตราวัดตามวิธีของลิเคอรท และวิเคราะหแปลความหมายโดยใชเกณฑของเบสท

Page 62: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทที่ 4

การวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอและการวิเคราะหขอมูลในบทนี้ เปนการนํารายละเอียดตางๆท่ีไดจากการศึกษามาตอบคําถามการวิจัยท้ัง 3 ขอ ท่ีไดกําหนดไวในบทท่ี 1 ดังนั้นสาระของบทนี้ จึงประกอบไปดวยเรื่องหลัก 3 ประการ ประการแรก เพ่ือตอบคําถามขอท่ี 1 ประการท่ี 2 เพ่ือตอบคําถาม การวิจัยขอท่ี 2 ประการท่ี 3 เพ่ือตอบคําถามการวิจัยขอท่ี 3 กลาวคือประการแรกเปนการหา ประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา ประการท่ี 2 เปนการหาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษากอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน ประการท่ี 3 เปนการประมวลความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษา

ส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบยีบวินยั

และประสิทธิภาพ จากการวิเคราะหขอมูล พบวาส่ือประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัยของนักเรียน

ประถมศึกษา ประกอบดวยคํานํา สารบัญ วัตถุประสงค คําช้ีแจงการใชส่ือ ตารางวิเคราะหความสอดคลอง คูมือคร ู 4 เรื่อง ( การเขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะใหเปนท่ี การแตงกายและการตรงตอเวลา ) แผนการสอน ใบความรู นิทาน ภาพประกอบนิทาน เพลง เกม ใบงาน และแบบทดสอบ และมีประสิทธิภาพ 81.95/83.33 เม่ือเทียบกับเกณฑ 80/80 ส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวนิยั ของนกัเรียนประถมศึกษาท่ีสรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑคามาตรฐาน80/80 ท่ีกําหนดไวและยอมรับสมมุติฐานการวิจัยขอท่ี 1 รายละเอียดดังตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา 51

Page 63: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

52

ประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอน

กลุมทดลองภาคสนาม ประสิทธิภาพของกระบวนการ ( E1 )

ประสิทธิภาพของ ผลลัพธ ( E2)

เกณฑการประเมิน

กิจกรรมระหวางเรียน 81.95 80.00

แบบวัดความรูรายขอ หลังเรียน

83.33 80.00

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษา

กอนและหลงัการใชส่ือประกอบการสอน

จากการวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนดวยส่ือการสอนเม่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนและหลังใชส่ือการสอนดวย ‘t-test’ แบบไมเปนอิสระตอกันแลว พบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังใชส่ือการสอนแตกตางกับกอนใชส่ือการสอนอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001 ดังรายละเอียดในตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษา

กอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน

การใชส่ือ ประกอบการสอน

จํานวน

(N)

คาเฉล่ีย

(X)

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

(S.D)

คาสถิติที

(t – test) กอนใชส่ือ 54 19.22 1.45

หลังใชส่ือ 54 23.20 1.87

29.83***

*** = มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001 ความคดิเหน็ของนกัเรียนที่มีตอส่ือประกอบการสอน

เพ่ือพัฒนาระเบยีบวินยั

Page 64: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

53

จากการวิเคราะหขอมูลท่ีไดจากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาพบวาในภาพรวมนักเรียนมีความคดิเห็นตอส่ือประกอบการสอนเพือ่พัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาอยูในระดบัด ี (X= 4.05 , S.D = 0.82) และเม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูในระดับดีทุกดาน เรียงตามลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอยดังนี้นักเรียนมีความเปนอิสระในการเรียน (X= 4.47 , S.D = 0.72) มี รูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา(X= 4.27 , S.D = 0.85) นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน (X= 4.23 , S.D = 0.99) ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสม(X= 4.17 , S.D = 0.64) ตัวอักษรอานงายชัดเจนและมีสีสันสวยงาม(X= 4.17 , S.D = 0.86) เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได(X= 4.07 , S.D = 0.85) คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน (X= 3.97 , S.D = 0.87) แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม(X= 3.90 , S.D = 0.75) คําถามของแบบฝกหัดนาสนใจ(X= 3.83 , S.D = 0.73) และนักเรียนมีโอกาสเลือกเรียนแตละเรื่องตามความตองการได(X= 3.50 , S.D = 0.96) ดูรายละเอียดในตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของ

นักเรียนประถมศึกษา

ระดับความคิดเห็น ขอความ X S.D ความหมาย

ลําดับท่ี

1. นักเรียนมีโอกาสเลือกเรียนแตละเร่ืองตามความตองการได 3.50 0.96 ดี 10 2. มีรูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา 4.27 0.85 ดี 2 3. ตัวอักษรอานงาย ชัดเจน และมีสีสันสวยงาม 4.17 0.86 ดี 5 4. คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน 3.97 0.87 ดี 7 5. ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสม 4.17 0.64 ดี 4 6. เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได 4.07 0.85 ดี 6 7. คําถามของแบบฝกหัดนาสนใจ 3.83 0.73 ดี 9 8. แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม 3.90 0.75 ดี 8 9. นักเรียนรูสึกสนุกกับบทเรียน 4.23 0.99 ดี 3 10. นักเรียนมีความเปนอิสระในการเรียน 4.47 0.72 ดี 1

รวม 4.05 0.82 ดี

Page 65: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย ของนักเรียน

ประถมศึกษา มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางและหาประสิทธิภาพของส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษา ตามเกณฑ 80/80 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษากอนและหลังการใชส่ือประกอบการสอน รวมท้ังศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย

ประชากรในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ของโรงเรียน ยอแซฟอุปถัมภ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม จํานวน 9 หองเรียน รวมท้ังส้ิน 487 คน ซ่ึงกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2545

ตัวอยางท่ีใชในการวิจัย ไดแกนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ของโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดนครปฐม ไดมาดวยการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling ) ดวยวิธีจับฉลาก จํานวน 54 คน ( 1 หองเรียน )

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ประกอบดวย แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม ส่ือประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัย คูมือคร ู แผนการสอน และแบบทดสอบ

แบบแผนการทดลองเปนแบบกลุมเดี่ยว สอบกอนและสอบหลัง ( one group pre- test post- test design )

การวิเคราะหขอมูลใชคารอยละ (%) คาเฉล่ีย (X) คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ( S.D) คา t-test แบบ dependent และการวิเคราะหเนื้อหา ( Content Analysis )

ผลการวิจัย

ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ 1. ส่ือประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวนิยั ของนกัเรยีนประถมศึกษาประกอบดวย

คํานํา สารบัญ วัตถุประสงค คําช้ีแจงการใชส่ือ ตารางวิเคราะหความสอดคลอง และ คูมือคร ู 4 เรื่อง (การเขาแถวซ้ืออาหาร การท้ิงขยะใหเปนท่ี การแตงกาย และการตรงตอเวลา ) แตละเรื่อง

54

Page 66: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

55

ประกอบดวย แผนการสอน ใบความรู นิทาน ภาพประกอบนิทาน เพลง เกม ใบงานท่ี 1 และ 2และแบบทดสอบ และมีคาประสิทธิภาพ 81.95/83.33 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด 80/80

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนและหลังใชส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001โดยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังใชส่ือประกอบการสอน(X= 23.20 ,S.D = 1.87) สูงกวากอนใชส่ือประกอบการสอน (X= 19.22 ,S.D = 1.45 )

3. ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของ นักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาในภาพรวมอยูในระดับดี (X= 4.05,S.D = 0.82) และเม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูในระดับดีทุกดาน เรียงตามลําดับคาเฉล่ียจากสูงไปต่ําคือนักเรียนมีความเปนอิสระในการเรียน ภาพสวยงามเหมาะกับเนื้อหา นักเรียนรูสึกสนุก ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสม อักษรอานงาย ชัดเจน สีสวยงาม เนื้อหาใชในชีวิตประจําวันได คําอธิบายชัดเจน จํานวนขอของแตละแบบฝกหัดในแตละบทเรียนเหมาะสม คําถามนาสนใจ และนักเรียนมีโอกาสเลือกเรียนแตละเรื่องไดตามตองการ

อภิปรายผล

จากผลการวิจัยเรื่องการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของ นักเรียนประถมศึกษาสามารถนําไปสูการอภิปรายผลไดดังตอไปนี ้

1. จากผลการวิจัยท่ีพบวาส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียนประถมศึกษาท่ีสรางขึ้น มีประสิทธิภาพเทากับ 81.95/83.33 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 ท่ีกําหนดไว ท้ังนี้อาจเปนเพราะวา (1) ส่ือประกอบการสอนสรางตามหลักเกณฑและทฤษฎีท่ีไดจากการศึกษาเอกสาร และผูเช่ียวชาญแนะนํา (2) เม่ือสรางส่ือเสร็จเรียบรอยแลวใหผูเช่ียวชาญพิจารณาและนํามาหาคาดัชนคีวามสอดคลอง ( IOC )และปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูเช่ียวชาญ(3) นําส่ือประกอบการสอนไปหาประสิทธิภาพแบบรายบุคคล ปรับปรุงแกไขและนําไปหาประสิทธิภาพแบบกลุมยอย ผลการวจิยัมีความสอดคลองกับงานวิจยัของสุทธิดา พรจําเริญ (2540 : บทคัดยอ) ท่ีไดวิจัยเรื่องการสรางส่ือการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษปฏิบัติงาน (อ 0 3 6 ) สําหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนพระแสงวิทยา จังหวดัสุราษฎรธานี และพบวาประสิทธิภาพของส่ือการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษปฏิบัติงานมีคาเทากับ 77.58/58.77 ซ่ึงอยูในระดับสูงกวาเกณฑท่ีกําหนด

2. จากผลการวิจัยท่ีพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังใชส่ือการสอนสูงกวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนใชส่ือการสอนนั้นท้ังนี้ อาจเปนเพราะวาส่ือประกอบการสอนผานการทดสอบหา

Page 67: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

56

ประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพ จึงสามารถสงผลใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น และส่ือท่ีสรางขึ้นประเภทเกม สามารถสรางความสนุกสนานและสอดแทรกเนื้อหาดานระเบียบวินัยใหกับนักเรียน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของแวววดี ปญญาเรือง (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับ นัก เรี ยนช้ันประถมศึกษาป ท่ี 2 ผลการวิจั ยพบว าผลสัมฤทธ์ิหลังการฝก คิด เปน รอยละ 90.87 สูงกวาเกณฑการประเมินอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 สวน เครือวัลย ทองมาก(2538 : บทคัดยอ)ไดศึกษาเรื่อง การใชเกมพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคําในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนหลมสักวิทยาคม จังหวัดเพชรบูรณ ผลการวิจัยพบวาคะแนนทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .05 ในดานส่ือการสอนประเภทเพลง ท่ีนํามาใชในการเรียนการสอนเพลงสามารถกอใหเกิดบรรยากาศ ท่ีสนุกสนาน รูสึกสบาย ลดความเบ่ือหนายทําใหไดรับความรู เขาใจบทเรียนไดดีและเร็วยิ่งขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของจิราภรณ เมืองพรวน(2538 : บทคัดยอ) ผลการวิจับพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาวรรณคดีมรดก ในกลุม ทดลองกับกลุมควบคุม ท่ีเรียนโดยใชบทเพลงไมใชบทเพลง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยกลุม ท่ีใชบทเพลงมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวากลุมท่ี ไมใชบทเพลง ในดานของส่ือประเภทนิทานท่ีชวยใหเด็กรูจักโลกจากแงมุมเล็ก ๆ นอย ๆ จากนิทานท่ีไดฟงทําใหสามารถตัดสินใจในดานการแสดงออกและตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ ไดถูกตอง ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของลําใย บัวพิทักษ (2542 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการใชนิทานพ้ืนบานอีสานในการจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานกุดหูลิงและโรงเรียนบานโนนโพธ์ิ จังหวัดชัยภูมิผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดานจริยธรรมหลังเรียนของนักเรียนท่ี เรียนโดยการใชนิทานพ้ืนบานอีสานมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่ีระดับ .01 ซ่ึงทําใหสงผล ตอการเรียนรูของนักเรียน และแวววด ีปญญาเรือง (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 ผลการวิจัยพบวา แผนการสอนโดยการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอาน ออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 จํานวน 15 แผนการสอน สามารถทําให นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีดีตอการเรียนรู เขารวมกิจกรรม ดวยความสนุกสนาน นักเรียนจํานวนรอยละ 90.80 มีความสามารถในการ อานคําออกเสียงท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้าไดถูกตอง และ มีคะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธ์ิหลังการฝก คิดเปนรอยละ 90.87 สูงกวาเกณฑการประเมินอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 นักเรียนทุกคนแสดงความคิดเห็นวาชอบและพอใจในการ ใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้าในระดับมาก

Page 68: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

57

3. ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย

อยูในระดับดี ท้ังนี้อาจเปนเพราะวาส่ือท่ีสรางขึ้นนักเรียนมีความเปนอิสระในการเรียน ส่ือมีภาพสวยงามเหมาะกับเนื้อหา นักเรียนรูสึกสนุก ความยากงายของเนื้อหาเหมาะสม อักษรอานงาย ชัดเจน สีสวยงาม เนื้อหาใชในชีวติประจําวันได คาํอธิบายชัดเจน จํานวนขอของแบบฝกหัดในแตละบทเรียนเหมาะสม และคําถามนาสนใจ และนักเรียนมีโอกาสเลือกเรียนแตละเรื่องไดตามตองการ นักเรียนมีความตองการพ้ืนฐานท่ีจะเรียนดวยส่ือประกอบการสอนประเภท เกม เพลง นิทาน โดยนักเรียนคนควาดวยตนเอง นอกจากนี้ส่ือประกอบการสอนชวยสงเสริมการเรียนรูและสรางบรรยากาศท่ีไมเครงเครียดในการเรียน ซ่ึงเอกสารและส่ือการเรียนการสอนจัดวาเปนนวัตกรรมอยางหนึ่ง สอดคลองกับแนวคิดของสุรพล พยอมแยม ( 2541 : 177 ) ท่ีวา นวัตกรรมสรางขึ้นอาศัยหลักจิตวิทยาจึงสงเสริมใหเกิดแรงจูงใจ ความสนใจ และความประทับใจในเนื้อหาวิชา สอดคลองกับ รัตนา ลือชาฤทธ์ิท่ีกลาววา แมเด็กบางคนท่ีอานหนังสือไมออก หรือออกบางไมออกบางก็ชอบการตูน เพราะแคดูรูปก็รูสึกติดตาติดใจเพราะการตูนชวยกระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น และเกิดความเขาใจบทเรียนไดงายขึ้น สงเสริมความคิดริเริ่ม ความคิดสรางสรรคของผูเรียนเปนส่ือท่ีชวยสรางบรรยากาศในการเรียน ใหผูเรียนเรียนดวยความสนุกสนาน ราเริงผอนคลายอารมณ และสอดคลองกับ สมบูรณ สงวนญาติ ( 2534 : 161 ) กลาววา การตูนประกอบภาพทําใหผูอานสนใจเรื่องราวในหนังสือนั้นๆ และเปนแรงดึงดูดใหเด็กสนใจบทเรียน ความสะดุดตาของภาพการตูนจะทําใหเด็กเกิดความกระตือรือรนท่ีจะเรียนไมเบ่ือทําใหเกิดความอยากท่ีจะเรียนรู นอกจากนี้ส่ือการสอนยังทําใหนักเรียนมีความสนุกสนานในการเรียน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของแวววดี ปญญาเรือง (2538 : บทคัดยอ) ท่ีวาเม่ือไดศึกษาเรื่องการใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 แลวนกัเรียนมีพฤติกรรมท่ีดตีอการเรียนรู เขารวมกิจกรรมดวยความสนกุสนาน และนักเรียนทุกคนแสดงความคิดเห็นวาชอบและพอใจในการใชเพลงและเกมในการฝกอาน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของลําใย บัวพิทักษ (2542 : บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาเรื่องการใชนิทานพ้ืนบานอีสานในการจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม สําหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานกุดหูลิงและโรงเรียนบานโนนโพธ์ิ จังหวัดชัยภูมิ พบวา นักเรียนมีความรูสึกท่ีดีตอการสอนโดยการใชนิทานพ้ืนบานอีสานในระดับมาก

Page 69: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

58

ขอเสนอแนะ

จากขอคนพบผูวจิยัมีขอเสนอแนะใน 2 สวน คือขอเสนอแนะท่ัวไปและขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยในครั้งตอไป

ขอเสนอแนะทั่วไป

1. จากผลการวิจัยท่ีพบวาส่ือท่ีสรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ ดังนั้นในการสรางส่ือทุกครั้งควรมีการหาประสิทธิภาพ โดยใหผูเช่ียวชาญตรวจสอบ และทําการทดลองกับกลุมยอยกอนนําไปใช

2. จากผลการวิจัยท่ีพบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังใชส่ือสูงกวากอนการใชส่ือ จึงเสนอใหโรงเรียนสนับสนุนสงเสริมใหครูสรางส่ือการสอนใหมากขึ้น เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทาง การเรียน

3. จากผลการวิจัยท่ีพบวา นักเรียนมีความคิดเห็นตอส่ือการสอนประเภท เพลง เกม นิทาน อยูในระดับดี โดยเห็นวาส่ือท่ีสรางขึ้นมีความเปนอิสระในการเรียน มีภาพประกอบ ดังนั้นโรงเรียนควรสนับสนุนใหครูประถมศึกษาสรางส่ือ ประเภท เพลง เกม นิทาน ใหมากขึ้น ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัยคร้ังตอไป

1.ควรมีการวิจัยเพ่ือศึกษาผลการใชส่ือประกอบการสอนกับผูเรียนในระดับอ่ืนและในวิชาอ่ืนเพ่ือศึกษาวาส่ือการสอนมีความเหมาะสมกับวิชาใดและระดับช้ันใดมากท่ีสุด

2. ควรมีการวิจัยเพ่ือพัฒนาส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยเรื่องอ่ืนๆ เชน ความซ่ือสัตย ความรับผิดชอบ

3. ควรมีการวิจัยเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย โดยใชส่ือประกอบการสอน ประเภทอ่ืนๆ เชน CAI ชุดการเรียนรู ฯลฯ

Page 70: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

59

บรรณานุกรม

กมลรัตน หลาสุวงษ. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2524.

กรวิการ รื่นรมย. “การสรางแบบฝกทักษะการเขียนสะกดคํายากในวิชาภาษาไทย สําหรับนักเรียนประถมปท่ี 3.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง,2541.

กรองกาญจน อรุณรัตน. บทเรียนโปรแกรม. ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษา

ศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ,2530. กระทรวงศึกษาธิการ,กรมวิชาการ. หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

2533). กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2542. _________. คําบรรยายเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่เนนความมี

วินัยและความเปนประชาธิปไตย. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2541. .หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพครั้งท่ี 2 .กรุงเทพฯ :

สํานักพิมพวัฒนาพานิช, 2544. กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษารวมสมัย. กรุงเทพฯ : เอดิสัน เพรส โพรดักส จํากัด, 2536. เกสินี นันทวิสิทธ์ิ. “การใชเพลงประกอบการสอนนาฏยศัพท ช้ันประถมศึกษาปท่ี 1.” วิทยานิพนธ

การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2530. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ 2540-2544.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรี, 2530.

Page 71: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

60

เครือวัลย ทองมาก. “การใชเกมพัฒนาทักษะการเขยีนสะกดคําในภาษาไทย สําหรับนกัเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรยีนหลมสักวิทยาคม จังหวดัเพชรบูรณ .” วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, 2538.

จันทรฉาย เตมิยาคาร. การเลือกใชส่ือทางการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 2. เชียงใหม : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม , 2533.

จิราภรณ เมืองพรวน. “ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติตอรายวิชาวรรณคดีมรดก ของนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีเรียนโดยใชบทเพลง กับไมใชบทเพลง.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2538.

จุมพล รอดคําด.ี การสํารวจส่ือพ้ืนเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื . กรุงเทพมหานคร : โครงการ

เผยแพรผลงานการวจิยั ฝายวิจยั จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2533. ฉันทิศา ช้ันประเสริฐ. “การใชเกมการพูดส่ือสารสงเสริมความสามารถในการเรียนไวยากรณ

ภาษาอังกฤษของนักเรียน.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตรประยุกต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2541.

ชม ภูมิภาค. เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร, 2524. ชูชีพ ออนโคกสูง. การผลิตชุดการสอนระดับประถมศึกษา กลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตชั้น

ประถมศึกษาปที่ 3 เร่ืองเสียง. กรุงเทพฯ : ภาควิชาแนะแนวและจิตวิทยาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน, 2524.

ชัยยงค พรหมวงศ, สมเชาว เนตรประเสริฐ และ สุดา สินสกุล. ระบบส่ือการสอน. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2520. ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ. เทคโนโลยีและการส่ือสารการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมมาธิราช, 2523.

Page 72: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

61

ชัยยงค พรหมวงศ และคณะ. “การทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอน” ในเอกสารการสอนชดุวิชาส่ือ

การสอนระดับประถมศึกษา หนวยที่ 8-15. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสหมิตร ,2528. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. เทคโนโลยกีารศึกษา : ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2530. ชลิยา ลิมปยากร. ฝายเอกสารตํารา.สถาบันราชภัฎธนบุร.ี กรุงเทพฯ : พิศิษฐการพิมพ, 2536. ณรงค สมพงษ. ส่ือเพ่ืองานสงเสริมเผยแพร. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,

2535. ดาว แสงบุญ. “การสรางเอกสารการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารดานการทองเท่ียวสําหรับ

นักศึกษาสาขาวชิาพัฒนาการทองเท่ียว ช้ันปท่ี 3 มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหม.” วทิยานิพนธหลักสูตรปรญิญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2543.

ธานี สมบูรณบูรณะ และวิโรจน สารรัตนะ. การสรางผลงานทางดานวิชาการ ดาน

กระบวนการวิจัยเชิงพัฒนา (R & D) เพ่ือเปนอาจารย 3 หรืออาจารย 3 รับเงินเดือนในระดับ 9 กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอักษรทิพย ,2532.

นวลทิพย ปริญชาญกล. “ความตองการและความสนใจดวยรูปแบบหนังสือการตูนของเด็ก

ไทยศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบเด็กในเขตกรุงเทพมหานครและเด็กในเขตอําเภอ จังหวัดเชียงใหม.” วิทยานิพนธปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหนังสือพิมพและส่ิงพิมพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2538.

นิตยา คชภักดี. เลี้ยงลูกถูกวิธี วัยเรียนวัยประถมศึกษา : คูมือการพัฒนาเด็กตามความตองการ

พ้ืนฐานของเด็ก ฉบับประชาชน เลมที่ 2. กรุงเทพฯ : แปลน พับลิชชิง, 2535. นิพนธ ศุขปรีดี . เทคโนโลยีทางการศึกษา. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน ,

2525.

Page 73: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

62

บุญลักษณ เอ่ียมสําอางค. “การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับการสอนซอมวิชาภาษาไทย ช้ัน

มัธยมศึกษาปท่ี 3.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง,2541.

บุษบา สุธีธร. การผลิตงานประชาสัมพันธ. พิมพครั้งท่ี 2 . นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมา-

ธิราช, 2531. บุญชม ศรีสะอาด . การพัฒนาการสอน. พิมพครั้งท่ี 2 . กรุงเทพฯ : บริษัทตนออจํากัด, 2541. บุญเกื้อ ควรหาเวช .นวัตกรรมการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพ ฯ : เจริญวิทยาการพิมพ, 2530. ประหยัด จิระวรพงศ. เทคโนโลยีทางการสอน. พิมพครั้งท่ี 3. พิษณุโลก : คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก, 2522. ปรีดี ฉิมแจม. “ การทดลองเปรียบเทียบการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่องตรรกศาสตร สัญญลักษณ

เบ้ืองตน ในระดับช้ันม.ศ. 1 โดยใชบทเรียนโปรแกรมการสอนปกติ. ” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบางแสน, 2525.

เปรื่อง กุมุท. เทคนิคการเขียนบทเรียนโปรแกรม. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประสานมิตร, 2519. พรจิต แทสูงเนิน. “ผลการใชนิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออานสําหรับเด็กท่ีมีตอมโนทัศนทาง

คุณธรรมของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.

พวงรัตน ทวีรัตน . วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งท่ี 8 .กรุงเทพฯ:

สํานักงานทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2543.

พนัส หันนาคินทร . หลักการบริหารโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช , 2529.

Page 74: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

63

พะยอม วงศสารศร ี. จิตวิทยาการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสารเศรษฐ, 2526.

พิศาล อินทรกอง. “การสรางบทเรียนอานเสริมจากหนังสือพิมพภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนปรางคกู จังหวัดศรีสะเกษ.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541.

พีระพงศ บุญศิริและมาลี สุรพงศ. เกม. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,2536.

เพลน กรองทอง. “การสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดวยการตูนเคล่ือนไหววิชาภาษาอังกฤษ

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542.

เพ็ญนภา ขุนโหร. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาภาษาไทย เรื่องอักษรไทยและ

หลักการเขียนตัวอักษร ท่ีสอนดวยชุดการสอนมินิคอรสและวิธีสอนแบบเอ็กซพลิซิท ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.

ไพรัช พันธุชาตร.ี เกม ในเอกสารประกอบการเรียน วิทยาลัยครูนครปฐม. นครปฐม :วิทยาลัยครู

นครปฐม,2526.

รองเนือง ศุขสมิต.ิ “ผลการใชเพลงเสริมบทเรียนวิชาภาษาอังกฤษท่ีมีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2537.

รุง แกวแดง. ครูสมพรคนสอนลิง. พิมพครัง้ท่ี 6 .กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมติชน, 2543 .

Page 75: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

64

เรวัตร กีฎวิทยา. “การเปรียบเทียบความเขาใจในการอาน ความสามารถในการเขียนและความ

สนใจในวิธีสอนภาษาไทยของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 ท่ีไดรับการสอนดวยวิธีสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน และวิธีสอนตามคูมือครู.” ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร,2537.

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ .คูมือนักเรียน ครู และผูปกครอง. นครปฐม : สุชาติการพิมพ, 2540. ลออ การุณยวณิช . วิธีสอนทั่วไป. กรุงเทพฯ : โรงพิมพรุงเรืองธรรม, 2527. ลําไย บัวพิทักษ. “การใชนิทานพ้ืนบานอีสานในการจัดกิจกรรมสงเสริมจริยธรรม สําหรับนักเรียน

ช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนบานกุดหูลิงและโรงเรียนบานโนนโพธ์ิ จังหวัดชัยภูมิ.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2542.

วรรณี ศิริสุนทร. การเลานิทาน. พิมพครั้งท่ี 2.กรุงเทพมหานคร:บริษัท ตนออแกรมม่ีจํากัด, 2539. วันเพ็ญ มีคําแสน. “การพัฒนาชุดการสอนส่ือประสมเรื่องทวีปเอเชีย : ดินแดนแหงความแตกตาง.”

วิทยานิพนธศึกษาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544 .

วิชัย สายคําอิน. “การใชเกมท่ีมีผลตอการเรียนรูและความคงทนในการจําความหมายคําศัพท

ภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2540.

วุฒิชัย ฉายาวงศศรีสุข . “ การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะดานจริยธรรมสําหรับนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปท่ี 6.” วิทยานิพนธครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536.

Page 76: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

65

วาสนา ชาวหา. เทคโนโลยีทางการศกึษา. ชลบุรี : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรนีครนิทร-

วิโรฒชลบุรี, 2533.

วาณี โชติพัฒนกุล. “การสรางชุดการสอนจุลบทเพ่ือสรางเสริมประสิทธิภาพดานการอาน ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2541.

วิภาวรรณ ตินนังวัฒนะ. “การใชส่ือท่ีผลิตโดยกลุมเพ่ือนนักเรียนท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลงความ

คิดเห็นเกี่ยวกับยาเสพติดของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย.” วิทยานิพนธศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2542.

แวววด ี ปญญาเรือง. “การใชเพลงและเกมเพ่ือฝกอานออกเสียงคําท่ีใชพยัญชนะ ร ล ว ควบกลํ้า

สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 2.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2538.

ศิรินพรัตน พิธานสมบัต.ิ “ความคิดเห็นของครูประถมศึกษาในกรุงเทพมหานครท่ีมีตอการใชบท

เพลงประกอบการสอน.” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2521.

ศิริพงศ พยอมแยม. การเลือกส่ือและการใชส่ือการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ :โอเอสพริ้นติ้งเฮา

,2533. ศิริพร สายนุย. “การสรางบทเรียนโปรแกรม วิชาคณิตศาสตร เรื่องเศษสวน สําหรับช้ัน

ประถมศึกษาปท่ี 6.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง,2540.

ศิริพร หงสพันธุ. “ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดานส่ิงแวดลอมศึกษาในโรงเรียน.”

วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฎนครราชสีมา, 2542.

Page 77: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

66

สนิท ตั้งทว.ี ศิลปะการสอนภาษาไทยระดบัมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, 2531.

สมบูรณ สงวนญาติ . หนวยศึกษานิเทศก . กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2534. สมโภชน เอ่ียมสุภาษิต. การปรับพฤติกรรม . กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยา คณะครุศาสตรจุฬา

ลงกรณมหาวิทยาลัย , 2524. สามารถ จุยทอง. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสมรรถภาพความรูความเขาใจทาง

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โดยใชชุดการสอนกับการสอนตามปกต.ิ อางทอง: ฝายวิจัยและประเมินผลทางการศึกษา สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดอางทอง, 2540.

สุขา จันทรเอมและสุรางค จันทรเอม. การวัดทางจิตวิทยาการศึกษา . กรุงเทพฯ: แพรพิทยา,

2518. สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย. วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร

: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536. สุทธิดา พรจําเริญ. “การสรางส่ือการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษปฏิบัติงาน (อ 036) สําหรับนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนพระแสงวิทยา จังหวัดสุราษฎรธานี.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540.

สุพัตรา เทียนอุดม .“การพัฒนาแบบวัดความมีระเบียบวินัยสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6.”

วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536.

สุรางค โควตระกูล . จิตวิทยาการศึกษา. พิมพครั้งท่ี 4 . กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2541.

Page 78: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

67

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. แผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ 8 ( พ.ศ. 2540-2544).

กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ, 2540. สํานักนายกรัฐมนตรีคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.

2542. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด, 2542. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ ฉบับที่ 8 (พ.ศ

2540-2544).กรุงเทพ ฯ : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ, 2540. สํานักนายกรัฐมนตรีคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแหงชาติ ฉบับที่เกา พ.ศ. 2545-2549.กรุงเทพฯ : หจก.เม็ดทรายเพนทติ้ง, 2545.

อนุชิต ประวัติสมบูรณ. “การสรางชุดการเขียนสะกดคํา วิชาภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปท่ี 1.” วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม,2539.

Brown,James W.A.V. Instructional Technology Media and Methods. New York : McGraw-

Hill Book Company, 1973. Duan,Jame E. Individualized Instructional Program and Materials. New Jersey :Englewood

Cliffs Company,1973. Godon,L. Module on Module O-A.Florida:Department of Education, 1973. Good,CarterV. Dictionay of Education. 3rd ed. New York : McGraw – Hill Book

Company,1973.

Page 79: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

68

ภาคผนวก

Page 80: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

69

ภาคผนวก ก. รายนามผูเช่ียวชาญตรวจเคร่ืองมือวิจัย

Page 81: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

70

รายนามผูเชีย่วชาญในการตรวจเคร่ืองมือ ผศ.ฐาปนีย ธรรมเมธา อาจารยประจําภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยวัชรินทร เสถียรยานนท อาจารยประจําภาควิชาประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยสามารถ ทิมนาค ศึกษานิเทศก 7

สํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครปฐม อาจารยเพ็ญนภา ขุนโหร หัวหนาฝายวิชาการ โรงเรียนหนองวัลยเปรียงวิทยา จังหวัดสุพรรณบุรี

อาจารยบุญฤทธ์ิ เจริญแสง ผูชวยผูอํานวยการฝายปกครอง

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ จังหวัดนครปฐม

Page 82: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

ภาคผนวก ข แบบประเมินความตรงเชิงเนื้อหา

แบบสอบถามความคิดเห็นตอการเรียนดวยส่ือประกอบการสอน แบบทดสอบวดัผลสมัฤทธิท์างการเรียนกอนเรียนและหลงัเรียน

Page 83: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

72

แบบประเมินคาดัชนีความสอดคลอง

ของส่ือประกอบการสอน

คําชี้แจง ใหทานพิจารณาวา ส่ือประกอบการสอน (ใบความรู และนิทาน ภาพ ) เพ่ือพัฒนาระเบียบวินัย สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา ชุดนี้มีความสอดคลองในดาน ตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวหรือไม แลวเขียนการพิจารณาของทานโดยกาเครื่องหมาย ( / ) ลงในชอง “คะแนนการพิจารณา” ตามความคิดเห็นของทาน ในกรณีท่ีทานไมแนใจหรือไมมีความเหมาะสมโปรดใหขอเสนอแนะ +1 = แนใจวาส่ือประกอบการสอนมีความเหมาะสมสอดคลองในดานตาง ๆ 0 = ไมแนใจวาส่ือประกอบการสอนมีความเหมาะสมสอดคลองในดานตาง ๆ -1 = แนใจวาส่ือประกอบการสอนไมมีความเหมาะสมสอดคลองในดานตาง ๆ

คะแนนพิจารณา รายการประเมิน -1 0 +1 ขอเสนอแนะ

1. ความเหมาะสมและความสอดคลองของคําช้ีแจง 2. ความเหมาะสมและสอดคลองของวัตถุประสงค 3. ความเหมาะสมและสอดคลองของแผนการสอน 4. ความเหมาะสมและสอดคลองของใบงานสําหรับนักเรียน

5. ความเหมาะสมและสอดคลองของเนื้อหา

ลงช่ือ.............................................................. (ผูประเมิน)

Page 84: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

73

แบบสอบถามความคดิเหน็ตอการเรียนดวยส่ือประกอบการสอน

แบบสอบถามความคดิเห็นตอการเรียนดวยส่ือประกอบการสอน เรือ่งระเบียบวินัยซ่ึงผูวิจัยเปนผูสรางเอง คําชี้แจง ใหนกัเรียนตอบคาํถามโดยทําเครือ่งหมาย √ ลงในชองทางขวามือใหตรงกับความรูสึกท่ีแทจริงของนกัเรียน

ระดับความคิดเห็น ขอความ ดีมาก ดี พอใช นอย ควร

ปรับปรุง 1.นักเรียนมีโอกาสเลือกเรียนแตละเรื่องตามความตองการได

2.มีรูปภาพสวยงามและเหมาะสมกับเนื้อหา

3.ตัวอักษรอานงายชัดเจนและมี สีสันสวยงาม

4.คําอธิบายเนื้อหาชัดเจน 5.ความยากงายของเนื้อหา เหมาะสม

6.เนื้อหาสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

7.คําถามของแบบฝกหัดนาสนใจ 8.แบบฝกหัดในแตละบทเรียนมีจํานวนขอเหมาะสม

9.นักเรียนรูสึกสนกุกับบทเรียน 10.นักเรียนมีความเปนอิสระในการเรียน

Page 85: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

74

แบบทดสอบกอนเรียนเร่ืองระเบยีบวินยั สําหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

คําชี้แจง 1. แบบวัดพฤตกิรรมฉบับนี้ ตองการทราบความรูสึกของนกัเรียนท่ีมีตอสถานการณตางๆท่ีกําหนดให โดยคาํตอบในแตละขอไมมีถูกหรือขอผิด ใหนกัเรียนเลือกตอบตามความรูสึกของตนเองและตอบดวยความจริงใจมากท่ีสุด

2. แบบวัดพฤตกิรรมฉบับนีมี้ท้ังหมด 30 ขอ ใชเวลาทํา 40 นาที 3. หามขีดเขียนขอความใดๆลงในแบบวัดนี ้

คําส่ัง จงทําเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบใหตรงกับตัวเลือก ท่ีนกัเรียนตดัสินแลววาเปนคําตอบท่ีตรงกับความรูสึกของนักเรียนมากท่ีสุด ตัวอยาง ขอ (0) ถานกัเรียนเห็นเพ่ือนทําหนังสือคณิตศาสตรของโรงเรยีนขาด แลวนกัเรียนจะบอกเพ่ือนวา อยางไร ก. หนังสือของโรงเรียนควรรกัเทากับของตวัเอง ข. ไมเปนไร เดี๋ยวก็ไดหนังสือใหมมาใช ค. เธอควรจะซอมหนังสือใหดีเหมือนเดิม

ง. บอกใหคณุครทูราบ

เม่ือนักเรียนพิจารณาแลวชอบคําตอบในขอ ข ก็ไปตอบในกระดาษคําตอบดังนี ้

ในกรณีท่ีตองการเปล่ียนคําตอบจากขอ ข เปนขอ ค ใหทําดังนี ้

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง 0 ×

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง 0 × ×

หวฟเฟ

Page 86: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

75

1. ถานกัเรียนทําการบานผิด 3 ขอ และคุณครูส่ังใหแกขอผิดแลวนักเรียนมักจะทําอยางไร ก. ถามีเวลาวางก็จะแกใหเสร็จ ข. แกขอท่ีผิดหลังจากท่ีครูส่ังจะไดไมกังวลใจ ค. แกขอผิดตามความเขาใจโดยไมตองรอใหครูบอก ง. นําขอท่ีแกเสรจ็แลวไปใหครตูรวจจะไดรูวาแกถูกหรือไม

2. ขณะท่ีนกัเรียนกําลังทําแบบฝกหัดในหองเรยีน เพ่ือนสนทิไดชวนคยุในเรือ่งท่ีนกัเรียนสนใจแลวนักเรียนจะเลือกทําตามขอใด ก. บอกเพ่ือนใหตั้งใจทํางานโดยไมคยุ ข. คุยตอบนิดหนอยเพราะเกรงใจเพ่ือน ค. ไมคยุตอบเพราะครูส่ังไวไมใหคยุขณะทํางาน ง. บอกเพ่ือนวาทํางานท่ีครูส่ังใหเสร็จกอนแลวคอยคยุ

3. นักเรียนกับเพ่ือนกําลังเดนิไปโรงเรยีน ระหวางทางมีการแสดงดนตรขีองคนตาบอดนกัเรียนจะหยุดฟงแตเพ่ือนถามวา” วันนี้ เวรเธอทําความสะอาดหองเรียนไมใชหรือ?” แลวนักเรียนจะตอบเพ่ือนวาอยางไร ก. จริงสิ มันเปนหนาท่ีของเรานี่นะ ข. รูแลว แตขอฟงสักนดิคงไมเปนไรนะ ค. จริงดวย ถาเราไมรีบไปชวยเพ่ือนทําหองกค็งสกปรก ง. ใชแลว ตองรีบไปเดี๋ยวถูกรายงานวาไมไดทําความสะอาด

4. วันเสาร- อาทิตยมีรายการโทรทัศนท่ีนกัเรียนชอบมาก ขณะเดียวกนัก็มีการบานหลายวิชา ท่ีจะตองสงคณุคร ู แลวนกัเรียนจะเลือกทําอยางไร ก. รีบทําการบานใหเสร็จจะไดดูโทรทัศน ข. ดูโทรทัศนและทําการบานไปพรอมกัน ค. ทําการบานกอนสวนโทรทัศนจะดูเม่ือไรก็ได ง. ดูโทรทัศนแตไมลืมวามีงานท่ีจะตองทําสงคุณคร ู

5. ในช่ัวโมงสอบวิชาภาษาไทย ถานักเรียนทําขอสอบเสร็จแลว แตยังมีเวลาเหลืออยูอีกประมาณ 30 นาทีแลวนักเรียนจะเลือกทําตามขอใด ก. นั่งรอสักครู ถาสงเร็วกลัวถูกครูด ุข. รอใหเพ่ือนคนอ่ืนไปสงกอนแลงจึงสงตาม ค. ทบทวนอีกครัง้หากผิดพลาดจะไดแกไขใหถูกตอง ง. ตรวจดอีูกครัง้เพ่ือใหแนใจวาทําครบหมดทุกขอหรือไม

Page 87: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

76

6. เม่ือนกัเรียนสงเรียงความแลวคณุครวูิจารณผลงานของนกัเรียนวา ใชภาษาไดสละสลวยแตเขยีนตัวหนังสือไมเปนระเบียบ แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด ก. ขอดูงานของเพ่ือนท่ีทําเปนระเบียบ ข. ทํางานทุกชนิดใหเปนระเบียบเสมอ ค. ตอไปจะเขยีนเปนระเบียบใหไดคะแนนมากขึน้ ง. ฝกเขียนเฉพาะเรียงความใหเปนระเบียบมากขึ้น 7. ถานักเรียนกําลังไปซ้ืออาหารกลางวัน ซ่ึงขณะนัน้มีคนกาํลังยืนเขาแถวรอซ้ืออาหารจาํนวนมากแลวนักเรียนมีความคดิเห็นตรงกับขอใด

ก. เขาแถวดีกวาเพราะเปนระเบียบของโรงเรียน ข. เขาแถวเปนระเบียบคนซ้ือก็งายคนขายก็สะดวก ค. ไปตอทายแถว คนมากอนควรไดซ้ืออาหารกอน ง. ท่ีจริงอยากฝากใหเพ่ือนซ้ือแตเห็นใจคนท่ีมากอน

8. ในเวลาเรยีนภาคปฏิบัติ โดยมากนักเรยีนแตละกลุมมักจะแยงอุปกรณกนั ถานกัเรียนอยูในเหตกุารณนั้น แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ควรสงตัวแทนกลุมไปเอาอุปกรณ ข. นาํอุปกรณท่ีกลุมจําเปนตองใชมาเทานัน้ ค. ชวยกันแบงอุปกรณท่ีจําเปนใหครบทุกกลุม ง. ไมเขาไปแยงดวยเพราะอุปกรณมีจํานวนมาก

9. ถานักเรียนลืมนําสีมาในช่ัวโมงศิลปะ แลวนักเรียนจะเลือกทําอยางไร ก. ขอยืมเพ่ือนแลวหยิบสีมาใชเลย ข. หยิบสีของเพ่ือนสนิทมาใชแลวคอยบอก ค. บอกคณุครวูาลืมเอาสีมาขอทําเปนการบาน ง. บอกขอยืมแลวรอใหเพ่ือนอนุญาตจึงคอยนําสีมาใช 10. ถานักเรียนไดเขารวมประชุมสภานกัเรียน และมีความคดิเห็นไมตรงกบัท่ีประธานกําลังพูดแลวนักเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ยกมือและพูดเหตุผลเม่ือประธานอนุญาต ข. รอใหประธานอภิปรายจบกอนแลวจึงพูด ค. อยากพูดคานทันทีแตมันเปนส่ิงท่ีไมควรทํา ง. ยกมือขออนญุาตพูดในชวงประธานอภปิราย

Page 88: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

77

11. ตามปกตนิักเรียนเขานอนตอนหัวค่ํา แตคนืวนัพุธนี้ท่ีขางบานนกัเรียน มีการฉายภาพยนตไทยใหชมฟรี แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. เพ่ือสุขภาพเขานอนเปนเวลาดกีวา ข. ไปดูเดี๋ยวเดียวแลวคอยกลับมานอน ค. เขานอนเพราะพรุงนี้ตองไปโรงเรียนแตเชา ง. เขานอนเพราะคณุแมเตอืนวาถึงเวลานอนแลว

12. ถานักเรียนกําลังเดนิแถวกลับบาน พอผานรานคาซ่ึงเจาของรานกําลังเปดรายการการตนูเรือ่งท่ีนักเรียนชอบ แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. อยากดูแตไมกลากลัวถูกทําโทษ ข. รีบกลับบานพอแมจะไดไมเปนหวง ค. หยุดดูสักพักคงไมกลับถึงบานชาเทาไรหรอก ง. กลับบานตรงเวลาทุกวันแลวคอยเลนหรือดโูทรทัศน

13. ถานักเรียนมาถึงโรงเรียนสาย ขณะท่ีเพ่ือนๆกําลังทํากจิกรรมหนาเสาธง แลวนักเรียนจะรูสึกอยางไร

ก. รูสึกอายท่ีใครๆก็หันมามอง ข. ไมสบายใจท่ีทําผิดระเบียบของโรงเรียน ค. ตอไปตองมาโรงเรยีนใหทันเขาแถวทุกวัน ง. ควรปรับปรุงตนเองใหมใหเปนตวัอยางท่ีดีของนองๆ

14. ถานักเรียนมีการบานท่ีจะสงในวันพรุงนี้ แตนกัเรียนนอนหลับกอนท้ังท่ีการบานยังไมเสร็จแลวนักเรียนจะทําอยางไร

ก. ไปโรงเรยีนดวยความไมสบายใจ ข. รีบตื่นมาทําการบานแตเชามืดใหเสร็จทันสง ค. ยอมรับผิดกับคณุครแูละสัญญาวาจะไมทําอีก ง. รีบไปลอกเพ่ือนกอนแลวคอยทําความเขาใจทีหลัง

15. ถานักเรียนแตงตัวผิดระเบียบ แลวถูกคณุครูเรียกไปพบเพ่ือวากลาวตกัเตือนนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ยอมรับฟงแตอยากแตงตวัเหมือนเดมิ ข. แตงกายใหถูกระเบียบเพราะสํานกึไดวายังเปนนกัเรียนอยู ค. เปล่ียนการแตงกายใหมจะไดช่ือวาเปนนักเรียนท่ีเรียบรอย ง. ปรับปรุงการแตงกายเพ่ือไมใหถูกหักคะแนนความประพฤต ิ

Page 89: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

78

16. ถานักเรียนมีเพ่ือนคนหนึ่งท่ีชอบหยุดเรยีนในวนัท่ีมีวิชาเกษตรบอยๆเพราะตองขดุดนิ พรวนดนิและรดน้าํตนไม แลวนกัเรียนมีความคดิเห็นกับเพ่ือนคนนี้อยางไร

ก. เขาควรจะถูกหักคะแนนหรือถูกทําโทษ ข. เขาไมควรขาดเรยีนดวยสาเหตเุพียงแคนี ้ค. ถึงจะมีวชิาท่ีไมชอบเขากค็วรไปโรงเรยีนทุกวนั ง. ถึงเขาจะไมชอบทําก็ควรใหความรวมมือกับเพ่ือนๆ

17. ถานักเรียนนําอาหารกลางวนัใสกลองมารับประทานท่ีโรงเรียน แตบางวนันกัเรียนไม อยากไป รับประทานท่ีโรงอาหารเพราะมีคนมากและเสียงดงั แลวนักเรียนจะเลือกทําตาม ขอใด

ก. ไมควรรับประทานอาหารในหองเรียน ข. รีบไปรับประทานท่ีโรงอาหารกอนท่ีจะมีคนมาก ค. ถาไมมีกฎระเบียบหามไวจะรับประทานอาหารในหองเรียน ง. ไปรบัประทานท่ีโรงอาหารเพราะเปนท่ีจัดไวรับประทานอาหาร

18. นักเรียนมีความคดิเห็นตรงกับขอใดถานั่งเรือไปตามแมน้ําเจาพระยา แลวเห็นชาวบานหลายคนท้ิงถุงพลาสติก เศษอาหาร และขยะตางๆลงในแมน้ํา

ก. คนพวกนัน้มักงายจงัเลย ข. ทุกคนควรชวยกนัรกัษาความสะอาด ค. ควรแนะนําใหผูท่ีอาศัยอยูริมน้ํารักษาความสะอาด ง. ควรมีการลงโทษปรับผูท่ีท้ิงขยะลงในแมน้ําลําคลอง

19 .หลังจากทํางานประดิษฐเสร็จแลว เพ่ือนก็ชวนนักเรียนวา “ไปกนิขาวกนัเถอะ ไมตอง เก็บหรอก หิวแลว” นักเรียนจะตอบเพ่ือนวาอยางไร

ก. เกบ็กอนดกีวาคณุครจูะไดไมด ุข. ชวยกันเก็บกอนเถอะ เดี๋ยวเดียวก็เสร็จ ค. จริงสิ หิวขาวเหมือนกนั แตของยังไมไดเกบ็เลย ง. เธอกินกอนกไ็ด เดี๋ยวเราเกบ็เสร็จแลวจะตามไป

20. ถานักเรียนสังเกตเห็นวาในหนังสือคณติศาสตรของนอง มีรูปการตูนและรอยขีดเขยีนเลน อยูหลายหนา นักเรียนจะสอนนองวาอยางไร

ก. หนังสือทุกเลมตองถนอม และดูแลรักษาใหด ีข. ถาหนังสือเลมนั้นมีคนใชตอก็ไมควรเขียนเลน ค. หนังสือท่ีสะอาดดูแลวนาอานมากกวาหนังสือท่ีสกปรก ง. เขยีนเลนบางนิดหนอยบริเวณท่ีวางกไ็ด แตอยาใหสกปรก

Page 90: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

79

21.ถานักเรียนกําลังเลนฟุตบอล แลวถูกเพ่ือนคนหนึ่งรังแกดวยการผลัก ขดัขาใหลมลงและเม่ือกรรมการเปานกหวีดใหฟาลวก็เถียงกรรมการ นกัเรียนคิดอยางไรกบัการเลนของเพ่ือน

ก. เลนรุนแรง ข. ไมเคารพกตกิา ค. เลนตกุตกิ เอาเปรยีบคูตอสู ง. ไมมีความเปนนกักีฬาเสียเลย

22. ถานักเรียนพบเพ่ือนกําลังสูบบุหรี ่ แลวพูดชวนนักเรียนขึ้นวา” เฮ..เพ่ือน ลองม่ังม้ัย” นักเรียนคิดวาจะตอบปฏิเสธอยางไรดี

ก. ขอบใจนะ เราไมอยากลองสูบหรอก ข. บุหรี่เปนยาเสพติดเราตั้งใจวาจะไมสูบบุหรี ่ค. ตามสบายเพ่ือน เราไมสูบหรอกเดี๋ยวพอกับแมรู ง. เพ่ือนนาจะเลิกสูบนะเพราะมันเปนอันตรายตอสุขภาพ

23. นักเรียนรูสึกอยางไร ถาเพ่ือนคนหนึ่งถูกจับไดวาขโมยเงินของคร ูก. เพ่ือนไมนาทําอยางนั้นเลย ข. ควรถูกทําโทษเพ่ือไมใหเปนตวัอยาง ค. เราจะไมขโมยเงินของใครเปนอันขาด ง. ถึงมีความจาํเปนบังคบัก็ไมควรจะขโมย

24. ถานักเรียนเห็นเพ่ือนสองคนกําลังเลนปนแปะ โดยพนนัเอาเงินกันในหองเรยีนตอนคุณคร ูไมอยู นักเรียนจะบอกเขาท้ังสองวาอยางไร

ก. เลิกเลนเถอะเดี๋ยวครูมาเห็น ข. หาหนังสืออานหรือทํางานอ่ืนเถอะ ค. อยาเลนการพนันเลยมันผิดระเบียบ ง. อยาเลนเลยมันเปนการสรางนิสัยท่ีไมด ี

25.นักเรียนกับเพ่ือนกําลังเลนฟุตบอลบริเวณริมถนนหนาบาน ซ่ึงมีรถวิ่งขวกัไขวไปมา พอดคีณุแมเตือนวา”เลนริมถนนอันตรายนะลูก” นักเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. รอไวเลนเวลารถนอยๆ ข. ยายไปเลนท่ีอ่ืนเพราะถนนไมใชท่ีเลนฟุตบอล ค. เลิกเลนเพราะอาจเปนอันตรายตามท่ีคณุแมเตอืน ง. เลิกเลนริมถนนเพราะไมสะดวกแกผูขบัขี่รถไปมา

Page 91: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

80

26. นักเรียนมีความคดิเห็นอยางไรเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของรางกายและเส้ือผา ก. เปนเรื่องท่ีทุกคนควรรักษาความสะอาด ข. เรือ่งความสะอาดไมควรใหใครตองบังคบั ค. ควรรกัษาความสะอาดดวยตนเองตลอดเวลา ง. การรกัษาความสะอาดชวยสรางลักษณะนิสัยท่ีด ี

27. ถานักเรียนไดยินเพ่ือนของพ่ีชายตะโกนถามพ่ีชายวา” เฮย มึงทําอะไรอยูวะ” และพ่ีชายก็ ตอบวา “ กูเลนอยูโวย มาเลนกับกูม้ัย” นักเรียนจะรูสึกอยางไร

ก. พวกพ่ี พูดไมสุภาพเลยนะ ข. นาจะพูดกันดีๆ ดวยคําสุภาพตามท่ีครูสอน ค. ถึงแมจะเปนเพ่ือนสนิทก็ไมควรพูดคําหยาบ ง. การพูดคําสุภาพเสมอยอมเปนท่ีรักใครสําหรับผูไดยนิ

28. ถานักเรียนมีการบานหลายวิชาท่ีจะตองสงวนัพรุงนี้ และมีงานบานท่ีจะตองชวยแมทําทุกวัน นักเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. บอกคุณแมเพ่ือของดงานบาน 1 วนั ข. จัดแบงเวลาทํางาน เพราะมีงานหลายอยางจะตองทํา ค. รีบเรงทํางานทุกอยางใหเสร็จจะไดไมถูกดุหรือทําโทษ ง. ทํางานบานใหเสร็จแลวทําการบานตอแมจะดกึสักหนอย

29. ถาคณุครส่ัูงใหนักเรียนแตละกลุมเขยีนรายงานผลการทดลอง จากนั้นคณุครกู็ไปสอนช้ัน ป. 5 แทนครูสมชายซ่ึงลาปวย นกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ไมเลนสงเสียงดังและลุกเดินไปมา ข. ชวนเพ่ือนใหชวยกนัทํางานอยางเงียบๆ ค. เขียนรายงานสงคุณครูจะไดไมถูกทําโทษ ง. คุณครูตองสอนถึงสองหองพรอมกันจึงควรตั้งใจทํางาน

30. นักเรียนมีความคดิเห็นอยางไรท่ีเห็นเพ่ือนคนหนึ่งแอบนําขนมขึ้นมากินในขณะท่ี คุณครูกําลังสอน

ก. เปนส่ิงท่ีนาละอายแกใจ ข. ผิดกฎระเบียบของหองเรียน ค. นาจะอดใจไวกินตอนพักกลางวัน ง. ครูกําลังสอนนกัเรียนควรตัง้ใจฟง

Page 92: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

81

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนเร่ืองระเบยีบวินยั การใหคะแนนและการแปลผล แบบวัดพฤติกรรม การตรวจใหคะแนนแบงเปน 4 คา คือ 1,2,3,4 คะแนน ไมมีตัวเลือกใดได 0 คะแนน ดวยรายละเอียดของตารางแสดงคะแนนในแตละตัวเลือกตอไปนี้ ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง 1 1 3 2 4 16 2 1 4 3 2 1 3 2 4 17 1 3 2 4 3 4 1 3 2 18 1 3 4 2 4 3 2 4 1 19 2 3 1 4 5 2 1 4 3 20 4 2 3 1 6 1 4 2 3 21 1 2 3 4 7 2 3 4 1 22 1 3 2 4 8 4 2 3 1 23 1 2 4 3 9 3 2 1 4 24 1 3 2 4 10 4 3 1 2 25 1 4 2 3 11 3 1 4 2 26 1 2 3 4 12 2 3 1 4 27 1 2 3 4 13 1 2 4 3 28 1 3 2 4 14 1 4 3 2 29 1 4 2 3 15 1 4 3 2 30 3 2 1 4

Page 93: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

82

แบบทดสอบหลังเรียนเร่ืองระเบยีบวินยั สําหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

คําชี้แจง 1. แบบวัดพฤติกรรมฉบับนี้ ตองการทราบความรูสึกของนกัเรียนท่ีมีตอสถานการณ

ตางๆท่ีกําหนดให โดยคาํตอบในแตละขอไมมีถูกหรือขอผิด ใหนกัเรียนเลือกตอบตามความรูสึกของตนเองและตอบดวยความจริงใจมากท่ีสุด

2. แบบวัดพฤตกิรรมฉบับนีมี้ท้ังหมด 30 ขอ ใชเวลาทํา 40 นาที 3. หามขีดเขียนขอความใดๆลงในแบบวัดนี ้

คําส่ัง จงทําเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบใหตรงกับตัวเลือก ท่ีนกัเรียนตดัสินแลววาเปนคําตอบท่ีตรงกับความรูสึกของนักเรียนมากท่ีสุด ตัวอยาง ขอ (0) ถานกัเรียนเห็นเพ่ือนทําหนังสือคณิตศาสตรของโรงเรยีนขาด แลวนกัเรียนจะบอกเพ่ือนวา อยางไร ก. หนังสือของโรงเรียนควรรกัเทากับของตวัเอง ข. ไมเปนไร เดี๋ยวก็ไดหนังสือใหมมาใช ค. เธอควรจะซอมหนังสือใหดีเหมือนเดิม

จ. บอกใหคณุครทูราบ

เม่ือนักเรียนพิจารณาแลวชอบคําตอบในขอ ข ก็ไปตอบในกระดาษคําตอบดังนี ้

ในกรณีท่ีตองการเปล่ียนคําตอบจากขอ ข เปนขอ ค ใหทําดังนี ้

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง 0 ×

กระดาษคําตอบ

ขอ ก ข ค ง 0 × ×

Page 94: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

83

1. ในเวลาเรยีนภาคปฏิบัติ โดยมากนักเรยีนแตละกลุมมักจะแยงอุปกรณกนั ถานกัเรียนอยูในเหตกุารณนั้น แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ไมเขาไปแยงดวยเพราะอุปกรณมีจํานวนมาก ข. ชวยกันแบงอุปกรณท่ีจําเปนใหครบทุกกลุม ค. นําอุปกรณท่ีกลุมจําเปนตองใชมาเทานัน้ ง. ควรสงตัวแทนกลุมไปเอาอุปกรณ

2. เม่ือนกัเรียนสงเรียงความแลวคณุครวูิจารณผลงานของนกัเรียนวา ใชภาษาไดสละสลวยแตเขยีนตัวหนังสือไมเปนระเบียบ แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ตอไปจะเขียนเปนระเบียบใหไดคะแนนมากขึ้น ข. ฝกเขียนเฉพาะเรียงความใหเปนระเบียบมากขึ้น ค. ขอดูงานของเพ่ือนท่ีทําเปนระเบียบ ง. ทํางานทุกชนดิใหเปนระเบียบเสมอ

3. ถานกัเรียนกําลังไปซ้ืออาหารกลางวัน ซ่ึงขณะนัน้มีคนกาํลังยืนเขาแถวรอซ้ืออาหารจํานวนมากแลวนกัเรียนมีความคดิเห็นตรงกับขอใด

ก. ท่ีจริงอยากฝากใหเพ่ือนซ้ือแตเห็นใจคนท่ีมากอน ข. ไปตอทายแถว คนมากอนควรไดซ้ืออาหารกอน ค. เขาแถวเปนระเบียบคนซ้ือก็งายคนขายก็สะดวก ง. เขาแถวดีกวาเพราะเปนระเบียบของโรงเรียน

4. ถานักเรียนลืมนําสีมาในช่ัวโมงศิลปะ แลวนักเรียนจะเลือกทําอยางไร ก. บอกขอยืมแลวรอใหเพ่ือนอนุญาตจึงคอยนําสีมาใช ข. บอกคุณครูวาลืมเอาสีมาขอทําเปนการบาน ค. หยิบสีของเพ่ือนสนิทมาใชแลวคอยบอก ง. ขอยืมเพ่ือนแลวหยิบสีมาใชเลย

5. ถานกัเรียนไดเขารวมประชุมสภานกัเรียน และมีความคดิเห็นไมตรงกับท่ีประธานกําลังพูดแลวนักเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ยกมือขออนญุาตพูดในชวงประธานอภปิราย ข. อยากพูดคานทันทีแตมันเปนส่ิงท่ีไมควรทํา ค. รอใหประธานอภิปรายจบกอนแลวจึงพูด

ง. ยกมือและพูดเหตุผลเม่ือประธานอนุญาต

Page 95: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

84

6. ถานักเรียนทําการบานผิด 3 ขอ และคุณครส่ัูงใหแกขอผิดแลวนักเรียนมักจะทําอยางไร ก. นําขอท่ีแกเสรจ็แลวไปใหครตูรวจจะไดรูวาแกถูกหรือไม ข. แกขอผิดตามความเขาใจโดยไมตองรอใหครูบอก ค. แกขอท่ีผิดหลังจากท่ีครูส่ังจะไดไมกังวลใจ ง. ถามีเวลาวางก็จะแกใหเสร็จ

7. ขณะท่ีนกัเรียนกําลังทําแบบฝกหัดในหองเรยีน เพ่ือนสนทิไดชวนคยุในเรือ่งท่ีนกัเรียนสนใจแลวนักเรียนจะเลือกทําตามขอใด ก. บอกเพ่ือนวาทํางานท่ีครูส่ังใหเสร็จกอนแลวคอยคยุ ข. ไมคยุตอบเพราะครูส่ังไวไมใหคยุขณะทํางาน ค. คุยตอบนิดหนอยเพราะเกรงใจเพ่ือน ง. บอกเพ่ือนใหตั้งใจทํางานโดยไมคยุ

8. นักเรียนกับเพ่ือนกําลังเดนิไปโรงเรยีน ระหวางทางมีการแสดงดนตรขีองคนตาบอดนกัเรียนจะหยุดฟงแตเพ่ือนถามวา” วันนี้ เวรเธอทําความสะอาดหองเรียนไมใชหรือ?” แลวนักเรียนจะตอบเพ่ือนวาอยางไร ก. ใชแลว ตองรีบไปเดี๋ยวถูกรายงานวาไมไดทําความสะอาด ข. จริงดวย ถาเราไมรีบไปชวยเพ่ือนทําหองกค็งสกปรก ค. รูแลว แตขอฟงสักนดิคงไมเปนไรนะ ง. จริงสิ มันเปนหนาท่ีของเรานี่นะ

9. วันเสาร- อาทิตยมีรายการโทรทัศนท่ีนกัเรียนชอบมาก ขณะเดียวกนัก็มีการบานหลายวิชา ท่ีจะตองสงคณุคร ู แลวนกัเรียนจะเลือกทําอยางไร ก. ดูโทรทัศนแตไมลืมวามีงานท่ีจะตองทําสงคุณคร ูข. ทําการบานกอนสวนโทรทัศนจะดูเม่ือไรก็ได ค. ดูโทรทัศนและทําการบานไปพรอมกัน ง. รีบทําการบานใหเสร็จจะไดดูโทรทัศน

10. ในช่ัวโมงสอบวิชาภาษาไทย ถานักเรียนทําขอสอบเสร็จแลว แตยังมีเวลาเหลืออยูอีกประมาณ 30 นาทีแลวนักเรียนจะเลือกทําตามขอใด ก. ตรวจดอีูกครัง้เพ่ือใหแนใจวาทําครบหมดทุกขอหรือไม ข. ทบทวนอีกครัง้หากผิดพลาดจะไดแกไขใหถูกตอง ค. รอใหเพ่ือนคนอ่ืนไปสงกอนแลงจึงสงตาม ง. รอสักครู ถาสงเร็วกลัวถูกครดู ุ

Page 96: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

85

11. ถานักเรียนมาถึงโรงเรียนสาย ขณะท่ีเพ่ือนๆกําลังทํากจิกรรมหนาเสาธง แลวนักเรียนจะรูสึกอยางไร

ก. ควรปรบัปรุงตนเองใหมใหเปนตวัอยางท่ีดีของนองๆ ข. ตอไปตองมาโรงเรยีนใหทันเขาแถวทุกวัน ค. ไมสบายใจท่ีทําผิดระเบียบของโรงเรียน ง. รูสึกอายท่ีใครๆก็หันมามอง

12. ตามปกตนิักเรียนเขานอนตอนหัวค่ํา แตคนืวนัพุธนี้ท่ีขางบานนกัเรียน มีการฉายภาพยนตไทยใหชมฟรี แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. เขานอนเพราะคณุแมเตอืนวาถึงเวลานอนแลว ข. เขานอนเพราะพรุงนี้ตองไปโรงเรียนแตเชา ค. ไปดูเดี๋ยวเดียวแลวคอยกลับมานอน ง. เพ่ือสุขภาพเขานอนเปนเวลาดกีวา

13. ถานักเรียนกําลังเดินแถวกลับบาน พอผานรานคาซ่ึงเจาของรานกําลังเปดรายการการตนูเรือ่งท่ีนักเรียนชอบ แลวนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. กลับบานตรงเวลาทุกวันแลวคอยเลนหรือดโูทรทัศน ข. หยุดดูสักพักคงไมกลับถึงบานชาเทาไรหรอก ค. รีบกลับบานพอแมจะไดไมเปนหวง ง. อยากดูแตไมกลากลัวถูกทําโทษ

14. ถานักเรียนมีการบานท่ีจะสงในวันพรุงนี้ แตนกัเรียนนอนหลับกอนท้ังท่ีการบานยังไมเสร็จแลวนักเรียนจะทําอยางไร

ก. รีบไปลอกเพ่ือนกอนแลวคอยทําความเขาใจทีหลัง ข. ยอมรับผิดกับคณุครแูละสัญญาวาจะไมทําอีก ค. รีบตื่นมาทําการบานแตเชามืดใหเสร็จทันสง ง. ไปโรงเรยีนดวยความไมสบายใจ

15. ถานักเรียนแตงตัวผิดระเบียบ แลวถูกคณุครูเรียกไปพบเพ่ือวากลาวตกัเตือนนกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ปรับปรุงการแตงกายเพ่ือไมใหถูกหักคะแนนความประพฤต ิข. เปล่ียนการแตงกายใหมจะไดช่ือวาเปนนักเรียนท่ีเรียบรอย ค. แตงกายใหถูกระเบียบเพราะสํานกึไดวายังเปนนกัเรียนอยู ง. ยอมรับฟงแตอยากแตงตวัเหมือนเดมิ

Page 97: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

86

16. ถานักเรียนมีเพ่ือนคนหนึ่งท่ีชอบหยุดเรยีนในวนัท่ีมีวิชาเกษตรบอยๆเพราะตองขดุดนิ พรวนดนิและรดน้าํตนไม แลวนกัเรียนมีความคดิเห็นกับเพ่ือนคนนี้อยางไร

ก. ถึงเขาจะไมชอบทําก็ควรใหความรวมมือกับเพ่ือนๆ ข. ถึงจะมีวิชาท่ีไมชอบเขากค็วรไปโรงเรยีนทุกวนั ค. เขาไมควรขาดเรยีนดวยสาเหตเุพียงแคนี ้ง. เขาควรจะถูกหักคะแนนหรือถูกทําโทษ

17 .นักเรียนมีความเห็นอยางไรกบัคาํกลาวท่ีวา” วันนี้คณุดืม่นมหรือยัง” ก. เด็กทุกคนควรดื่มนมเปนประจํา ข. นมเปนอาหารท่ีมีประโยชน ค. ดื่มนมทําใหรางกายแข็งแรง ง. ฟงดูด ี

18. นักเรียนมีความคดิเห็นอยางไรเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของรางกายและเส้ือผา ก. การรกัษาความสะอาดชวยสรางลักษณะนิสัยท่ีด ีข. ควรรกัษาความสะอาดดวยตนเองตลอดเวลา ค. เรือ่งความสะอาดไมควรใหใครตองบังคบั ง. เปนเรื่องท่ีทุกคนควรรักษาความสะอาด

19. ถานักเรียนมีการบานหลายวิชาท่ีจะตองสงวนัพรุงนี้ และมีงานบานท่ีจะตองชวยแมทําทุกวัน นักเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. ทํางานบานใหเสร็จแลวทําการบานตอแมจะดกึสักหนอย ข. รีบเรงทํางานทุกอยางใหเสร็จจะไดไมถูกดุหรือทําโทษ ค. จัดแบงเวลาทํางาน เพราะมีงานหลายอยางจะตองทํา ง. บอกคุณแมเพ่ือของดงานบาน 1 วนั

20. ถาคณุครส่ัูงใหนักเรียนแตละกลุมเขยีนรายงานผลการทดลอง จากนั้นคณุครกู็ไปสอนช้ัน ป. 5 แทนครูสมชายซ่ึงลาปวย นกัเรียนจะเลือกทําตามขอใด

ก. คุณครูตองสอนถึงสองหองพรอมกันจึงควรตั้งใจทํางาน ข. เขียนรายงานสงคุณครูจะไดไมถูกทําโทษ ค. ชวนเพ่ือนใหชวยกนัทํางานอยางเงียบๆ ง. ไมเลนสงเสียงดังและลุกเดินไปมา

Page 98: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

87

21. ถานักเรียนนําอาหารกลางวนัใสกลองมารับประทานท่ีโรงเรียน แตบางวนันกัเรียนไม อยากไป รับประทานท่ีโรงอาหารเพราะมีคนมากและเสียงดงั แลวนักเรียนจะเลือกทําตาม ขอใด

ก. ไปรับประทานท่ีโรงอาหารเพราะเปนท่ีจัดไวรับประทานอาหาร ข. ถาไมมีกฎระเบียบหามไวจะรับประทานอาหารในหองเรียน ค. รีบไปรับประทานท่ีโรงอาหารกอนท่ีจะมีคนมาก ง. ไมควรรับประทานอาหารในหองเรียน

22. ถานักเรียนไดยินเพ่ือนของพ่ีชายตะโกนถามพ่ีชายวา” เฮย มึงทําอะไรอยูวะ” และพ่ีชายก็ ตอบวา “ กูเลนอยูโวย มาเลนกับกูม้ัย” นักเรียนจะรูสึกอยางไร

ก. การพูดคาํสุภาพเสมอยอมเปนท่ีรักใครสําหรับผูไดยนิ ข. ถึงแมจะเปนเพ่ือนสนิทก็ไมควรพูดคําหยาบ ค. นาจะพูดกันดีๆ ดวยคําสุภาพตามท่ีครูสอน ง. พวกพ่ี พูดไมสุภาพเลยนะ

23. นักเรียนมีความคดิเห็นตรงกับขอใดถานั่งเรือไปตามแมน้ําเจาพระยา แลวเห็นชาวบานหลายคนท้ิงถุงพลาสติก เศษอาหาร และขยะตางๆลงในแมน้ํา

ก. ควรมีการลงโทษปรับผูท่ีท้ิงขยะลงในแมน้ําลําคลอง ข. ควรแนะนําใหผูท่ีอาศัยอยูริมน้ํารักษาความสะอาด ค. ทุกคนควรชวยกนัรกัษาความสะอาด ง. คนพวกนัน้มักงายจงัเลย

24 .หลังจากทํางานประดิษฐเสร็จแลว เพ่ือนก็ชวนนักเรียนวา “ไปกนิขาวกนัเถอะ ไมตอง เก็บหรอก หิวแลว” นักเรียนจะตอบเพ่ือนวาอยางไร

ก. จริงสิ หิวขาวเหมือนกนั แตของยังไมไดเกบ็เลย ข. เธอกินกอนกไ็ด เดี๋ยวเราเกบ็เสร็จแลวจะตามไป ค. ชวยกันเก็บกอนเถอะ เดี๋ยวเดียวก็เสร็จ ง. เกบ็กอนดกีวาคณุครจูะไดไมด ุ

25. ถานักเรียนสังเกตเห็นวาในหนังสือคณติศาสตรของนอง มีรูปการตูนและรอยขีดเขยีนเลน อยูหลายหนา นักเรียนจะสอนนองวาอยางไร

ก. เขยีนเลนบางนิดหนอยบริเวณท่ีวางกไ็ด แตอยาใหสกปรก ข. หนังสือท่ีสะอาดดูแลวนาอานมากกวาหนังสือท่ีสกปรก ข. ถาหนังสือเลมนั้นมีคนใชตอก็ไมควรเขียนเลน ค. หนังสือทุกเลมตองถนอม และดูแลรักษาใหด ี

Page 99: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

88

26.ถานักเรียนกําลังเลนฟุตบอล แลวถูกเพ่ือนคนหนึ่งรังแกดวยการผลัก ขดัขาใหลมลงและเม่ือกรรมการเปานกหวีดใหฟาลวก็เถียงกรรมการ นกัเรียนคิดอยางไรกบัการเลนของเพ่ือน

ก. ไมมีความเปนนกักีฬาเสียเลย ข. เลนตกุตกิ เอาเปรยีบคูตอสู ค. ไมเคารพกติกา ง. เลนรุนแรง

27. ถานักเรียนพบเพ่ือนกําลังสูบบุหรี ่ แลวพูดชวนนักเรียนขึ้นวา” เฮ..เพ่ือน ลองม่ังม้ัย” นักเรียนคิดวาจะตอบปฏิเสธอยางไรดี

ก. เพ่ือนนาจะเลิกสูบนะเพราะมันเปนอันตรายตอสุขภาพ ข. ตามสบายเพ่ือน เราไมสูบหรอกเดี๋ยวพอกับแมรู ค. บุหรี่เปนยาเสพติดเราตั้งใจวาจะไมสูบบุหรี ่ง. ขอบใจนะ เราไมอยากลองสูบหรอก

28. นักเรียนมีความคดิเห็นอยางไรท่ีเห็นเพ่ือนคนหนึ่งแอบนําขนมขึ้นมากินในขณะท่ี คุณครูกําลังสอน

ก. ครูกําลังสอนนกัเรียนควรตัง้ใจฟง ข. นาจะอดใจไวกินตอนพักกลางวัน ค. ผิดกฎระเบียบของหองเรียน ง. เปนส่ิงท่ีนาละอายแกใจ

29. นักเรียนรูสึกอยางไร ถาเพ่ือนคนหนึ่งถูกจับไดวาขโมยเงินของคร ูก. ถึงมีความจาํเปนบังคบัก็ไมควรจะขโมย ข. เราจะไมขโมยเงินของใครเปนอันขาด ค. ควรถูกทําโทษเพ่ือไมใหเปนตวัอยาง ง. เพ่ือนไมนาทําอยางนั้นเลย

30. ถานักเรียนเห็นเพ่ือนสองคนกําลังเลนปนแปะ โดยพนนัเอาเงินกันในหองเรยีนตอนคณุคร ูไมอยู นักเรียนจะบอกเขาท้ังสองวาอยางไร

ก. อยาเลนเลยมันเปนการสรางนิสัยท่ีไมด ีข. อยาเลนการพนันเลยมันผิดระเบียบ ค. หาหนังสืออานหรือทํางานอ่ืนเถอะ ง. เลิกเลนเถอะเดี๋ยวคร

Page 100: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

89

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนเร่ืองระเบยีบวินยั การใหคะแนนและการแปลผล แบบวัดพฤติกรรม การตรวจใหคะแนนแบงเปน 4 คา คือ 1,2,3,4 คะแนน ไมมีตวัเลือกใดได 0 คะแนน ดวยรายละเอียดของตารางแสดงคะแนนในแตละตัวเลือกตอไปนี ้ ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง 1 1 3 2 4 16 3 4 1 2 2 2 3 1 4 17 4 2 3 1 3 1 4 3 2 18 4 3 2 1 4 4 1 2 3 19 4 2 3 1 5 2 1 3 4 20 3 2 4 1 6 4 2 3 1 21 4 2 3 1 7 4 2 3 1 22 4 3 2 1 8 2 3 1 4 23 3 2 4 1 9 1 4 2 3 24 1 4 3 2 10 3 4 1 2 25 1 3 2 4 11 3 4 2 1 26 4 3 2 1 12 2 4 1 3 27 4 2 3 1 13 4 1 3 2 28 4 1 2 3 14 2 3 4 1 29 3 4 2 1 15 2 3 4 1 30 4 2 3 1

Page 101: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

ภาคผนวก ค ตารางตาง ๆ

Page 102: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

91

ตารางที่ 4 คาเฉล่ียผลการประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและความสอดคลองกับคําช้ีแจง วตัถุประสงค แผนการสอน ใบงานของนกัเรียน และเนือ้หา

ผูเช่ียวชาญ รายการประเมิน

1 2 3 4 5 IOC

1. ความเหมาะสมและความสอดคลองของคําช้ีแจง

+1 +1 +1 +1 +1 1.00

2. ความเหมาะสมและความสอดคลองของวัตถุประสงค

+1 +1 +1 +1 +1 1.00

3. ความเหมาะสมและความสอดคลองของแผนการสอน

+1 +1 +1 0 +1 0.80

4. ความเหมาะสมและความสอดคลองของใบงานสําหรับนกัเรียน

+1 +1 +1 +1 +1 1.00

5. ความเหมาะสมและความสอดคลองของเนื้อหา

+1 +1 +1 +1 +1 1.00

คาความสอดคลองโดยรวม 0.96

Page 103: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

92

ตารางที่ 5 คาประสิทธิภาพ (E1) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 9 คน

คะแนนรวม E1 คนท่ี 1 35 คนท่ี 2 36 คนท่ี 3 34 คนท่ี 4 35 คนท่ี 5 33 คนท่ี 6 37 คนท่ี 7 36 คนท่ี 8 35 คนท่ี 9 34

คะแนนเฉลี่ย 35.00 87.50

Page 104: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

93

ตารางท่ี 6 คาประสิทธิภาพ (E1) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 9 คน ขอ ถูก คา ขอ ถูก คา ขอ ถูก คา 1 8 1 11 8 1 21 8 1 2 8 1 12 5 0 22 8 1 3 8 1 13 8 1 23 8 1 4 8 1 14 8 1 24 8 1 5 6 0 15 8 1 25 7 0 6 8 1 16 8 1 26 8 1 7 8 1 17 8 1 27 8 1 8 8 1 18 8 1 28 8 1 9 8 1 19 7 0 29 8 1 10 8 1 20 8 1 30 8 1 รวม 26

E2 86.67

Page 105: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

94

ตารางท่ี 7 คาประสิทธิภาพ (E1) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 54 คน

คนท่ี คะแนนรวม E1 คนท่ี คะแนนรวม E1 คนท่ี คะแนนรวม E1 1 30 21 30 41 31 2 33 22 35 42 33 3 31 23 32 43 31 4 36 24 34 44 30 5 30 25 30 45 34 6 31 26 32 46 32 7 34 27 36 47 36 8 35 28 31 48 37 9 34 29 36 49 32 10 32 30 33 50 33 11 37 31 31 51 32 12 31 32 36 52 31 13 30 33 33 53 35 14 32 34 34 54 33

15 33 35 31 เฉล่ีย 32.78 81.95 16 36 36 36 17 31 37 32 18 34 38 31 19 32 39 30 20 30

40 35

Page 106: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

95

ตารางท่ี 8 คาประสิทธิภาพ (E2) ของส่ือประกอบการสอนกับกลุมทดลอง 54 คน ขอ ถูก คา ขอ ถูก คา ขอ ถูก คา 1 44 1 11 43 0 21 44 1 2 44 1 12 44 1 22 44 1 3 44 1 13 44 1 23 43 0 4 44 1 14 44 1 24 44 1 5 44 1 15 44 1 25 44 1 6 44 1 16 43 0 26 44 1 7 43 0 17 44 1 27 43 0 8 44 1 18 44 1 28 44 1 9 44 1 19 44 1 29 44 1 10 44 1 20 44 1 30 44 1 รวม 25

E2 83.33

Page 107: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

96

ตารางที่ 9 คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ขอท่ี p r ขอท่ี p r 1 0.63 0.22 16 0.59 0.37 2 0.78 0.30 17 0.74 0.37 3 0.76 0.26 18 0.30 0.30 4 0.59 0.67 19 0.48 0.30 5 0.48 0.96 20 0.78 0.37 6 0.72 0.41 21 0.72 0.48 7 0.63 0.59 22 0.61 0.70 8 0.76 0.48 23 0.50 0.63 9 0.44 0.22 24 0.31 0.41 10 0.46 0.41 25 0.65 0.56 11 0.67 0.22 26 0.56 0.67 12 0.63 0.30 27 0.35 0.48 13 0.76 0.48 28 0.30 0.30 14 0.74 0.22 29 0.31 0.33 15 0.69 0.33 30 0.69 0.41

Page 108: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 109: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 110: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 111: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 112: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 113: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 114: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 115: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 116: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 117: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 118: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 119: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 120: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 121: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 122: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 123: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 124: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 125: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 126: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 127: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 128: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 129: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 130: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 131: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 132: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 133: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 134: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 135: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 136: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 137: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 138: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 139: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 140: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 141: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 142: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 143: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 144: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 145: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 146: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 147: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 148: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 149: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 150: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 151: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 152: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 153: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 154: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 155: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 156: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 157: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 158: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 159: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 160: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 161: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 162: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 163: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 164: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 165: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 166: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 167: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 168: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 169: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค
Page 170: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

ภาคผนวก จ แบบสัมภาษณความตองการในการสรางสื่อประกอบการสอน (สําหรับครูผูสอน) แบบสัมภาษณความตองการในการสรางสื่อประกอบการสอน (สําหรับนักเรียน)

Page 171: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

160

แบบสัมภาษณขอมูลพื้นฐานในการสรางสื่อประกอบการสอนเรื่องระเบียบวินัย ( สําหรับครูผูสอน )

เรื่อง ความตองการในการสรางสื่อประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวินัย สําหรับ

ครูผูสอน คําชี้แจง แบบสัมภาษณฉบับนี้ เปนแบบสัมภาษณเก่ียวกับความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษา ผูวิจัยจึงขอความอนุเคราะหจากทานโปรดตอบคําถามตามความเปนจริง แบบสัมภาษณนี้แบงออกเปน 3 ตอนจํานวน 10 ขอดังตอไปนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลทั่วไป จํานวน 4 ขอ ตอนที่ 2 ความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวินัย ของนักเรียนประถมศึกษา จํานวน 6 ขอ

นางสาวเมทินี สุพรรณพยัคฆ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 172: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

161

ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสัมภาษณ จํานวน 4 ขอ คําชี้แจง กรุณาเติมขอความลงในชองวางตามความเปนจริง 1. เพศ c ชาย c หญิง 2. อายุ ................ป 3. การศึกษา c ต่ํากวาปริญญาตร ี c ปริญญาตรี c สูงกวาปริญญาตร ี 4. ประสบการณเกี่ยวกับการใชส่ือประกอบการสอน

c ใชสมํ่าเสมอ c ใชเปนบางครั้ง c ไมใช

ตอนที่ 2 ความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของ นักเรียนประถมศึกษา

1.ในการสรางส่ือประกอบการสอนเพื่อพัฒนาระเบียบวนิยั ทานตองการใชส่ือประกอบการสอนสําหรับนักเรียนประถมศึกษาหรือไมอยางไร .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชส่ือประกอบการสอนของนกัเรียน ทานมีแนวทางในการกําหนดจดุประสงคการเรียนการสอนอยางไร .................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................

3. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชส่ือประกอบการสอนสําหรับนักเรียน ทานมีแนวทางในการกําหนดเนื้อหาการเรียนการสอนอยางไร .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

Page 173: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

162

4. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชส่ือประกอบการสอนนกัเรียน ทานมีแนวทางในการจัดกระบวนการการเรียนการสอนอยางไร .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

5. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยของนักเรียน ทานมีแนวทางในการประเมินการเรียนการสอนอยางไร .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

6.ขอเสนอแนะอ่ืนๆ เพ่ิมเติม .............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................

Page 174: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

163

แบบสัมภาษณความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอน ( สําหรับนกัเรียนประถมศึกษาโรงเรียนยอแซฟอปุถัมภ )

เร่ือง ความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบยีบวินยั สําหรับ

นักเรียนประถมศกึษา คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้ เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอนเพ่ือพัฒนาระเบียบวินัยสําหรับนักเรียนประถมศึกษา ผูวิจัยจึงขอใหนักเรียนตอบคําถามตามความเปนจริง แบบสอบถามแบงออกเปน 3 ตอน ดังตอไปนี ้ ตอนท่ี 1 สถานภาพและขอมูลท่ัวไป จํานวน 3 ขอ ตอนท่ี 2 ความตองการในการสรางส่ือประกอบการสอน สําหรับนักเรียนประถมศึกษา จํานวน 3 ขอ

นางสาวเมทินี สุพรรณพยคัฆ นักศึกษาปรญิญาโท สาขาวชิาหลักสูตรและการนเิทศ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 175: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

164

ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 3 ขอ คําชี้แจง กรุณาเติมขอความลงในชองวางตามความเปนจริง 1. เพศ c ชาย c หญิง 2. อายุ ...............ป

3.นักเรียนมีประสบการณในการเรียนดวยส่ือนวัตกรรมประเภทใด ( ตอบไดมากกวา 1 ประเภท ) c คอมพิวเตอร c ส่ือการสอน เชน เกม เพลง นิทาน c แผนใส c วีดิทัศน c อ่ืนๆ โปรดระบุ ตอนที่2

1. ในการจัดการเรียนการสอน ดวยส่ือประกอบการสอน นักเรียนเห็นดวยกับ การเรียนดวยส่ือประกอบการสอนหรือไม อยางไร ........................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................

2. นักเรียนมีความตองการเรียนดวยส่ือประกอบการสอนดวยวิธีใด (เรียงลําดับความ

ตองการ) c ครูเปนผูสอน c นักเรียนคนควาดวยตนเอง c ครูสอนพรอมดาํเนนิกจิกรรม c อ่ืนๆ โปรดระบุ

3. ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ เพ่ิมเติม

..............................................................................................................................................

............................................................................................................................................

Page 176: การสร างสื่อประกอบการสอนเพื่อพัีฒนาระเบยบวินัย ของนัีกเรยน ...จุดประสงค

165

ประวัติผูวิจัย ช่ือ-สกุล นางสาวเมทิน ี สุพรรณพยัคฆ ท่ีอยู 13/5 หมู 6 ตําบลทาขาม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ท่ีทํางาน โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โทรศัพท 0-2429-0112-5 ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2523 สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จากโรงเรียนซางตาครูสคอนแวนท กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2529 สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จากโรงเรียนซางตาครูสคอนแวนท กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2537 สําเร็จการศึกษาครุศาสตรบัณฑิต

วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย จากวิทยาลัยครูนครปฐม จังหวัดนครปฐม

พ.ศ. 2545 สําเร็จการศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2533 - 2544 ครูผูสอนระดับกอนประถมศึกษา โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ สามพราน จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2545 - ปจจุบัน ผูชวยผูอํานวยการฝายอนุบาล

โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ สามพราน จังหวัดนครปฐม