11
48 บทท่ 5 สภาพธรณเคม ขอมูลท่ไดจากการตรวจวัดในภาคสนามและการวเคราะหเคมในหองปฏบัตการ ไดนามาศกษา วเคราะห และประมวลผลทางสถต รวมทังทาการจาแนกคุณสมบัตและคุณภาพ ของดนและนา ตามหลักเกณฑของ U.S. Salinity Laboratory Staff (1954) ดังแสดงในตารางท่ 5.1 และตารางท่ 5.2 พรอมทังศกษาเปรยบเทยบกับคาแนะนาคุณภาพนาเพ่อการชลประทานของ องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาต และมาตรฐานนาบาดาลท่ใชบรโภคได ตามประกาศ กระทรวงอุตสาหกรรม ในราชกจจานุเบกษา เลมท่ 112 ตอนท่ 29ลงวันท่ 13 เมษายน 2542 ตลอดจนการจาแนกคุณภาพนาเคมของ Australian Water Resources Council (1976) การจาแนกดนเคมหรอวัดคาความเคมของดน โดยทั่วไปนยมใชคาความนาไฟฟา ของสารละลายสกัดจากดนอ่มตัวดวยนา (Electrical Conductivity at saturation extract: ECe) ท่อุณหภูม 25 องศาเซลเซยส มาใชในการประเมนปรมาณเกลอและอทธพลของเกลอในดน ตอการเจรญเตบโตและผลผลตของพช ดังนันจงตองทาการแปลงคาความนาไฟฟาท่ไดจากการ วเคราะหเคม (สารละลายดน:นา ในอัตราสวน 1:5 หรอ EC1:5) ใหเป็นคาความนาไฟฟาของ สารละลายท่สกัดจากดนอ่มตัวดวยนา โดยคูณดวยคาปัจจัยการเปล่ยนแปลงของการนาไฟฟา ตามชนดเน อดน ตามหลักเกณฑของ Taylor (1993) สวนการจาแนกคุณภาพของนา โดยทั่วไป มักจะใชคาความนาฟาและปรมาณเกลอท่ละลายนาไดทังหมดหรอปรมาณมวลสารทังหมด ท่ละลายนาไดเป็นหลัก ประกอบกับอัตราการดูดซับของโซเดยมหร อคา SAR ตารางท 5.1 ปรมาณเกลอและอทธพลของเกลอในดนตอการเจรญเตบโตและผลผลตของพช ECe เกลอในด ระดับความเค็ม ทธพลต่อพช (dS/m) (%) ของดน < 2 < 0.1 ไม เคม ไม ผลต อการเจร ญเต บโตและผลผลตของพ2 - 4 0.1 - 0.2 เคมเลมกนอย ผลต อพชท่ไมทนเคม 4 - 8 0.2 - 0.4 เคมปานกลาง ผลต อพชหลายชน 8 - 16 0.4 - 0.8 เคมมาก ชทนเคมเทานั นท่ยังเจร ญเต บโตไดด > 16 > 0.8 เคมจัด ชทนเคมนอยชน ดหรอพชชอบเกล อท่เจรญเต บโตไดด ่มา : U.S. Salinity Laboratory Staff (1954)

บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

48

บทท่ี 5

สภาพธรณีเคมี

ข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดในภาคสนามและการวิเคราะห์เคมีในห้องปฏิบัติการ

ได้น ามาศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผลทางสถิติ รวมทั้งท าการจ าแนกคุณสมบัติและคุณภาพ

ของดินและน้ า ตามหลักเกณฑ์ของ U.S. Salinity Laboratory Staff (1954) ดังแสดงในตารางที่ 5.1

และตารางที่ 5.2 พร้อมทั้งศึกษาเปรียบเทียบกับค่าแนะน าคุณภาพน้ าเพื่อการชลประทานของ

องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และมาตรฐานน้ าบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ตามประกาศ

กระทรวงอุตสาหกรรม ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 112 ตอนที่ 29ง ลงวันที่ 13 เมษายน 2542

ตลอดจนการจ าแนกคุณภาพน้ าเคมมของ Australian Water Resources Council (1976)

การจ าแนกดินเคมมหรือวัดค่าความเคมมของดิน โดยทั่วไปนิยมใช้ค่าความน าไฟฟ้า

ของสารละลายสกัดจากดินอิ่มตัวด้วยน้ า (Electrical Conductivity at saturation extract: ECe)

ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มาใช้ในการประเมินปริมาณเกลือและอิทธิพลของเกลือในดิน

ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ดังนั้นจึงต้องท าการแปลงค่าความน าไฟฟ้าที่ได้จากการ

วิเคราะห์เคมี (สารละลายดิน:น้ า ในอัตราส่วน 1:5 หรือ EC1:5) ให้เป็นค่าความน าไฟฟ้าของ

สารละลายที่สกัดจากดินอิ่มตัวด้วยน้ า โดยคูณด้วยค่าปัจจัยการเปลี่ยนแปลงของการน าไฟฟ้า

ตามชนิดเนื้อดิน ตามหลักเกณฑ์ของ Taylor (1993) ส่วนการจ าแนกคุณภาพของน้ า โดยทั่วไป

มักจะใช้ค่าความน าฟ้าและปริมาณเกลือที่ละลายน้ าได้ทั้งหมดหรือปริมาณมวลสารทั้งหมด

ที่ละลายน้ าได้เป็นหลัก ประกอบกับอัตราการดูดซับของโซเดียมหรอืค่า SAR

ตารางที่ 5.1 ปริมาณเกลือและอิทธิพลของเกลือในดินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช

ECe เกลือในดนิ ระดับความเค็ม อทิธิพลต่อพืช

(dS/m) (%) ของดิน

< 2 < 0.1 ไมเ่คมม ไมม่ผีลตอ่การเจรญิเตบิโตและผลผลิตของพืช

2 - 4 0.1 - 0.2 เคมมเลมกน้อย มผีลตอ่พืชท่ีไม่ทนเคมม

4 - 8 0.2 - 0.4 เคมมปานกลาง มผีลตอ่พืชหลายชนดิ

8 - 16 0.4 - 0.8 เคมมมาก พชืทนเคมมเท่านัน้ท่ียังเจรญิเตบิโตได้ด ี

> 16 > 0.8 เคมมจัด พชืทนเคมมน้อยชนดิหรือพืชชอบเกลอืท่ีเจริญเตบิโตได้ดี

ท่ีมา : U.S. Salinity Laboratory Staff (1954)

Page 2: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

49

ตารางที่ 5.2 การจ าแนกคุณภาพน้ าและการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร

คุณภาพน้า้ ค่าความนา้ไฟฟา้

SAR ค่าความเค็ม การใช้ประโยชน ์S/cm

ด ี 0 - 250 0 - 10 < 0.2 ใชใ้นการปลูกพืชทุกชนดิได้โดยไมม่ีข้อจ ากัด

ปานกลาง 250 - 750 10 - 18 0.2 - 0.5 เหมาะส าหรับพชืทนเคมมปานกลาง และใชไ้ด้

กับพืชไมท่นเคมม กมตอ่เมื่อปลูกบนดินท่ีมีการ

ระบายน้ าด ี

ต่ า 750 - 2,250 18 - 26 0.5 - 1.5 พชืท่ีใชป้ลูกต้องเป็นพืชทนเคมมได้ดี ตอ้งมีการ

ล้างดนิ และการจัดการควบคุมความเคมมท่ีมี

ประสิทธิภาพ

ต่ ามาก > 2,250 > 26 > 1.5 พชืท่ีใชป้ลูกต้องเป็นพืชทนเคมมสูง และต้องมี

มาตรการในการจัดการควบคุมความเคมมเป็น

พเิศษ

ท่ีมา : U.S. Salinity Laboratory Staff (1954)

หมายเหตุ :

5.1 คุณสมบัติทางธรณีเคมี พื้นที่ลุ่มน้้าอูน

5.1.1 ตัวอย่างดิน

ปี พ.ศ. 2551 ได้ท าการเจาะส ารวจเกมบตัวอย่างดิน ตามสภาพทางธรณีวิทยาและ

ธรณีวิทยาโครงสร้างของพื้นที่ ในช่วงคาบเกี่ยวระหว่างปลายฤดูแล้งและต้นฤดูฝน (เดือนมิถุนายน)

จ านวน 300 หลุม ความลึกรวม 378 เมตร รวมจ านวนตัวอย่างดิน 1,056 ตัวอย่าง และปี พ.ศ. 2552

เจาะส ารวจเกมบตัวอย่างดินในช่วงฤดูแล้ง (เดือนมีนาคม) จ านวน 127 หลุม ความลึกรวม

161.6 เมตร รวมจ านวนตัวอย่างดิน 450 ตัวอย่าง

จากการประมวลผลวิเคราะห์และตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างดินที่ได้จาก

การเจาะส ารวจในปี พ.ศ. 2551-2552 เพื่อก าหนดขอบเขตการแพร่กระจายของพื้นที่ดินเคมม

พบว่าช้ันดนิโดยทั่วไปมีสภาพค่อนข้างเป็นกรด (ค่าความเป็นกรด-ด่าง ตั้งแต่ 3.4–9.1) มีทั้งดินเคมม

และดินไม่เคมมปะปนกันอยู่ สามารถจ าแนกพืน้ที่ตามระดับความเคมมของดินได้ ดังนี้ (รูปที่ 5.1)

1) พืน้ที่ดนิเคมมมาก-เคมมจัด พบเป็นหย่อมๆ ตามที่ราบลุ่มต่ า ในท้องที่ต าบลพังโคน

ต าบลไฮหย่อง และต าบลแร่ อ าเภอพังโคน ต าบลวาริชภูมิ อ าเภอวาริชภูมิ ต าบลตาลเนิ้ง อ าเภอ

สว่างแดนดิน และต าบลช้างมิ่ง อ าเภอพรรณานิคม คลุมเนื้อที่รวมกัน 10.36-10.85 ตาราง

กิโลเมตร หรือประมาณ 6,500-6,780 ไร่ มีค่า ECe อยู่ระหว่าง 8.00-53.45 dS/m หรือ EC1:5

ระหว่าง 530-7,635 µS/cm คลอไรด์ 355-11,220 mg/kg และโซเดียม 512-8,355 mg/kg

Page 3: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

50

2) พืน้ที่ดนิเคมมปานกลาง ปรากฏอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด

ในท้องที่ต าบลพังโคน ต าบลไฮหย่อง และต าบลแร่ อ าเภอพังโคน ต าบลวาริชภูมิและต าบล

ปลาโหล อ าเภอวาริชภูมิ ต าบลตาลเนิ้ง ต าบลแวง และต าบลธาตุทอง อ าเภอสว่างแดนดิน ต าบล

ช้างมิ่งและต าบลพรรณา อ าเภอพรรณานิคม คลุมเนื้อที่รวมกัน 19.10-25.99 ตารางกิโลเมตร

หรือประมาณ 11,930-16,250 ไร่ มีค่า ECe อยู่ระหว่าง 4.04-7.68 dS/m คลอไรด์ 400-1,515

mg/kg และโซเดียม 240-3,912 mg/kg

3) พื้นที่ดินเคมมเลมกน้อย พบกระจายตัวเป็นหย่อมเลมกๆ อยู่ในท้องที่อ าเภอพังโคน

อ าเภอพรรณานิคม อ าเภอสว่างแดนดิน อ าเภอวาริชภูมิ และอ าเภอวานรนิวาส และตามที่ราบลุ่ม

บริเวณโดยรอบพื้นที่ดินเคมมปานกลาง คลุมเนื้อที่รวม 57.49-68.76 ตารางกิโลเมตร หรือ

ประมาณ 35,930-43,000 ไร่ มีค่า ECe อยู่ระหว่าง 2.03-3.95 dS/m คลอไรด์ 150-1,638 mg/kg

และโซเดียม 100-850 mg/kg

4) พื้นที่ดินไม่เคมม พบเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมพื้นที่ประมาณไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 80 มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 447.35-452.56 ตารางกิโลเมตร โดยทั่วไปมีค่า ECe อยู่ระหว่าง

0.01-2.00 dS/m คลอไรด์ <10-360 mg/kg และโซเดียม <10-304 mg/kg

5.1.2 ตัวอย่างน้้าผิวดิน

ปี พ.ศ. 2551 ได้ท าการเกมบตัวอย่างน้ าตามทางน้ าสายหลักและห้วยสาขาต่าง ๆ

ในช่วงคาบเกี่ยวระหว่างปลายฤดูแล้งและต้นฤดูฝน (เดือนมิถุนายน) รวมจ านวนทั้งสิ้น 105 ตัวอย่าง

และปี พ.ศ. 2552 เกมบตัวอย่างน้ า จ านวน 2 ครั้ง ครัง้แรกในช่วงฤดูแล้ง จ านวน 102 ตัวอย่าง และ

ครั้งที่สองในชว่งฤดูฝน จ านวน 106 ตัวอย่าง

ผลการวิเคราะหแ์ละตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างน้ าผิวดินในปี พ.ศ. 2551-2552

พบว่าคุณภาพน้ าโดยทั่วไปจัดเป็นน้ าจดื และอยู่ในเกณฑ์ดีเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ า

ชลประทานที่ใช้ในการเพาะปลูก มีค่าความน าไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 25-1,348 µS/cm โดยเฉพาะ

ในล าหว้ยสาขาของห้วยปลาหางในท้องที่ต าบลปลาโหลและต าบลวาริชภูมิ อ าเภอวาริชภูมิ จะมีค่า

มากกว่า 750 µS/cm บางตัวอย่างมีปริมาณโซเดียม แคลเซียม คาร์บอเนต และอัตราการดูดซับ

ของโซเดียมสูงเกินมาตรฐาน จากการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของน้ าผิวดินทั้ งสองฤดูกาล

พบว่าโดยทั่วไปค่าความน าไฟฟ้าจะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ในล าห้วยสาขาของห้วยปลาหาง

ห้วยยาม และห้วยบ่อ จะมีค่าสูงกว่าบริเวณอื่น ส าหรับปริมาณธาตุและอนุมูลอื่นๆ จะมีค่า

ไม่แตกต่างกันมากเช่นเดียวกัน และค่าเฉลี่ยในช่วงฤดูแล้งจะสูงกว่าในช่วงฤดูฝนเลมกน้อย (รูปที่ 5.2)

Page 4: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

51

(ฤดูฝน ปี พ.ศ. 2551)

(ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552)

รูปที่ 5.1 แสดงผลการตรวจวัดค่าความน าไฟฟ้าของตัวอย่างดิน พื้นที่ลุ่มน้ าอูน

ที่ระดับความลกึ 0-30 เซนติเมตร

Page 5: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

52

ฤดูฝน ปี พ.ศ. 2551

ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552

ฤดูฝน ปี พ.ศ. 2552

น้้าผิวดิน < 250 µS/cm 250-750 µS/cm 750-1,400 µS/cm

น้้าบ่อขุดตื้น < 800 µS/cm 800-1,600 µS/cm 1,600-4,800 µS/cm 4,800-5,700 µS/cm

น้้าในหลุมเจาะส้ารวจเก็บตัวอย่างดิน < 800 µS/cm 5,300-15,000 µS/cm

รูปที่ 5.2 แสดงค่าความน าไฟฟ้าของตัวอย่างน้ า พื้นที่ลุม่น้ าอูน (ปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552)

Page 6: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

53

5.1.3 ตัวอย่างน้้าบ่อขุดตื้น

ปี พ.ศ. 2551 ได้ท าการเกมบตัวอย่างน้ าบ่อขุดตื้น จ านวน 36 บ่อ รวมทั้งสิ้น

36 ตัวอย่าง และปี พ.ศ. 2552 เกมบตัวอย่างน้ า จ านวน 36 บ่อ รวม 2 ครั้ง ครั้งแรกในช่วงฤดูแล้ง

จ านวน 36 ตัวอย่าง และครั้งที่สองในช่วงฤดูฝน จ านวน 73 ตัวอย่าง นอกจากนี้ได้เจาะส ารวจ

เกมบตัวอย่างน้ าในพืน้ที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด อีกจ านวน 8 หลุม เพื่อเกมบตัวอย่างน้ ารวม 16 ตัวอย่าง

ผลการวิเคราะห์และตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างน้ าบ่อขุดตื้นในปี พ.ศ. 2551-

2552 พบว่าโดยทั่วไปน้ าในบ่อขุดตื้นทั้งระดับบน (ที่ความลึก 0.6-4.9 เมตร) และระดับล่าง

(ที่ความลึก 1.9-10.2 เมตร) มีค่าความน าไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 19-6,650 µS/cm คลอไรด์

<2-1,510 mg/l โซเดียม <2-929 mg/l และปริมาณมวลสารทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ 12-3,681 mg/l

ซึ่งจัดว่าเป็นน้ าจดืถึงเคมมเลมกน้อยและมีคุณภาพดีถึงปานกลาง ยกเว้นในบางแห่งเป็นน้ ากร่อยถึงเคมม

คุณภาพต่ า และมีปริมาณมวลสารทั้งหมดที่ละลายน้ าได้และคลอไรด์สูงเกินกว่ามาตรฐานคุณภาพ

น้ าบาดาลที่ใชบ้ริโภคได้ โดยเฉพาะบ่อน้ าในท้องที่ต าบลแวงกับต าบลธาตุทอง อ าเภอสว่างแดนดิน

และต าบลไฮหย่องกับต าบลแร่ อ าเภอพังโคน จะมีค่าความน าไฟฟ้ามากกว่า 1,600 µS/cm

(ค่าสูงสุดของน้ าระดับบน 4,650 µS/cm และค่าสูงสุดของน้ าระดับล่าง 6,650 µS/cm) น้ าในบ่อขุดตื้น

ที่มคี่าความน าไฟฟ้าสูงสุด อยู่ในบริเวณบ้านสร้างแป้น ต าบลแวง อ าเภอสว่างแดนดิน จากการศึกษา

เปรยีบเทียบคุณภาพของน้ าบ่อขุดตื้นในแต่ละระดับ พบว่าโดยเฉลี่ยค่าความน าไฟฟ้า ค่าความเคมม

คลอไรด์ โซเดียม ปริมาณมวลสารทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ และอัตราการดูดซับของโซเดียม

ในตัวอย่างน้ าระดับล่างมักจะมีปริมาณสูงกว่าระดับบน และแต่ละฤดูกาลจะมีการเปลี่ยนแปลง

ไม่แตกต่างกันมากนัก ซึ่งในช่วงฤดูฝนจะมีคา่สูงกว่าในช่วงฤดูแล้งเลมกน้อย (รูปที่ 5.2)

นอกจากนี้ผลการทดลองวิเคราะห์และตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างน้ าในหลุม

เจาะส ารวจบริเวณพืน้ที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด ในท้องที่ต าบลไฮหย่องกับต าบลพังโคน อ าเภอพังโคน

ต าบลวาริชภูมิ อ าเภอวาริชภูมิ และต าบลตาลเนิ้ง อ าเภอสว่างแดนดิน พบว่าที่ระดับความลึก

ประมาณ 1-2 เมตร จะมีค่าความน าไฟฟ้าค่อนข้างสูงถึงสูงมาก ระหว่าง 2,136-14,980 µS/cm

และมีคา่สูงเกินกว่ามาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริโภคได้ จัดได้ว่าเป็นน้ าเคมม มีคุณภาพต่ ามาก

ไม่สามารถใช้ดื่มกินได้ และไม่เหมาะส าหรับใช้ในการเกษตรกรรม

5.2 คุณสมบัตทิางธรณีเคมี พื้นที่หนองปลา-หนองบักด่อน

5.2.1 ตัวอย่างดิน

ปี พ.ศ. 2551 ได้ท าการเจาะส ารวจเกมบตัวอย่างดิน ตามแนวส ารวจธรณีฟิสิกส์

ในช่วงปลายฤดูแล้ง (เดือนพฤษภาคม) บริเวณพื้นที่ทางด้านทิศตะวันออกของหนองปลา

ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 2 ตารางกิโลเมตร จ านวน 123 หลุม ความลึกรวม 149 เมตร รวม

Page 7: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

54

จ านวนตัวอย่างดิน 422 ตัวอย่าง และปี พ.ศ. 2552 เจาะส ารวจเกมบตัวอย่างดินในช่วงฤดูแล้ง

(เดือนมกราคม) บริเวณพื้นที่ทางด้านทิศตะวันออกของหนองปลา ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ

2 ตารางกิโลเมตร จ านวน 123 หลุม ความลึกรวม 154 เมตร รวมตัวอย่างดิน 430 ตัวอย่าง และ

ช่วงเดือนพฤษภาคมได้เจาะเกมบตัวอย่างดิน (เพิ่มเติม) ในบริเวณพื้นที่ระหว่างหนองปลาและ

หนองบักด่อน ครอบคลุมเนือ้ที่ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร จ านวน 74 หลุม ความลึกรวม 85 เมตร

รวมตัวอย่างดนิ 244 ตัวอย่าง

จากผลการวิเคราะห์และตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างดินที่ได้จากการเจาะ

ส ารวจในปี พ.ศ. 2551-2552 พบว่าช้ันดินโดยทั่วไปมีสภาพค่อนข้างเป็นกรด (ค่าความเป็นกรด-

ด่าง ตั้งแต่ 3.4–9.0) มีทั้งดินเคมมและดินไม่เคมมปะปนกันอยู่ สามารถจ าแนกพื้นที่ตามระดับความเคมม

ของดนิได้ ดังนี้ (รูปที ่5.3)

1) พืน้ที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด พบกระจายตัวเป็นหย่อมๆ อยู่ตามที่ราบลุ่มต่ าบริเวณ

ขอบหนองปลาและหนองบักด่อน คลุมเนื้อที่รวม 0.18 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 110 ไร่

มีคา่ ECe อยู่ระหว่าง 8.01-21.0 dS/m คลอไรด์ 321-3,451 mg/kg และโซเดียม 440-2,361 mg/kg

2) พื้นที่ดินเคมมปานกลาง ปรากฏอยู่ตามพื้นที่ราบลุ่มระหว่างหนองปลากับ

หนองบักด่อน คลุมเนื้อที่รวม 0.33 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 200 ไร่ มีค่า ECe อยู่ระหว่าง

4.01-7.76 dS/m คลอไรด์ 112-2,117 mg/kg และโซเดียม 184-1,320 mg/kg

3) พืน้ที่ดินเคมมเลมกน้อย กระจายตัวติดอยู่กับพืน้ที่ดินเคมมปานกลาง คลุมเนื้อที่รวม

0.42 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 260 ไร่ มีค่า ECe อยู่ระหว่าง 2.01-3.98 dS/m คลอไรด์

<10-1,060 mg/kg และโซเดียม <10-625 mg/kg

4) พืน้ที่ดนิไม่เคมม พบแพร่กระจายเป็นบริเวณกว้างทางทิศตะวันออกของหนองปลา

และเป็นหย่อมเลมกๆ อยู่ระหว่างหนองปลากับหนองบักด่อน ครอบคลุมพื้นที่ประมาณไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 90 มีเนื้อที่รวม 1.26 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 780 ไร่ โดยทั่วไปมีค่า ECe น้อยกว่า

2.00 dS/m คลอไรด์ <10-380 mg/kg และโซเดียม <10-336 mg/kg

5.2.2 ตัวอย่างน้้าผิวดิน

ปี พ.ศ. 2551 ได้ท าการเกมบตัวอย่างน้ าในหนองปลา หนองบักดอน และตามล าห้วย

หนองปลากับห้วยอ้ายกุกที่ไหลลงสู่หนองน้ าทั้งสองในช่วงฤดูแล้ง (เดือนเมษายน) รวมจ านวน

10 ตัวอย่าง และปี พ.ศ. 2552 เกมบตัวอย่างน้ ารวม 2 ครั้ง ครั้งแรกในช่วงฤดูแล้ง จ านวน 10 ตัวอย่าง

และครั้งที่สองในช่วงฤดูฝน จ านวน 10 ตัวอย่าง ซึ่งในครั้งที่สองได้เกมบตัวอย่างน้ าเพิ่มเติมในบริเวณ

กลางหนองปลาและหนองบักด่อน อีกจ านวน 8 ต าแหน่ง รวม 12 ตัวอย่าง

Page 8: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

55

ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2551 ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552

ระดับความลึก 0-30 เซนตเิมตร

ระดับความลึก 30-60 เซนตเิมตร

ระดับความลึก 60-100 เซนตเิมตร

รูปที่ 5.3 แสดงผลการตรวจวัดค่าความน าไฟฟ้าของตัวอย่างดิน พืน้ที่หนองปลา-หนองบักด่อน

ที่ระดับความลกึ 0-100 เซนติเมตร (ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2552)

Page 9: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

56

ผลการวิเคราะหแ์ละตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างน้ าผิวดินในปี พ.ศ. 2551-2552

มีค่าการน าไฟฟ้าอยู่ระหว่าง 88-418 µS/cm คลอไรด์ 20-107 mg/l และโซเดียม 12-61 mg/l

ซึ่งจัดว่าเป็นน้ าจืดและมีคุณภาพอยู่ ในเกณฑ์ดี เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ า

ชลประทานที่ใช้ในการเพาะปลูก ยกเว้นปริมาณโซเดียมบางตัวอย่างจะมีค่าสูงเกินมาตรฐาน

เลมกน้อย ส าหรับน้ าในบริเวณหนองบักด่อนจะมีค่าความน าไฟฟ้าสูงกว่าในบริเวณหนองปลา

เลมกน้อย จากการศกึษาเปรียบเทียบคุณภาพของน้ าผวิดินทั้งสองฤดูกาล พบว่าโดยทั่วไปค่าความน า

ไฟฟ้า ปริมาณธาตุ และอนุมูลอื่น จะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่ค่าเฉลี่ยในช่วงฤดูแล้งจะต่ ากว่า

ในช่วงฤดูฝนเลมกน้อย (รูปที่ 5.4)

5.2.3 ตัวอย่างน้้าบ่อขุดตื้น

ปี พ.ศ. 2551 ได้ท าการเกมบตัวอย่างน้ าบ่อขุดตื้นในช่วงฤดูแล้ง (เดือนเมษายน)

จ านวน 9 บ่อ รวมจ านวน 9 ตัวอย่าง และปี พ.ศ. 2552 เกมบตัวอย่างน้ า จ านวน 9 บ่อ รวม 2 ครั้ง

ครั้งแรกในช่วงฤดูแล้ง จ านวน 9 ตัวอย่าง และครั้งที่สองในช่วงฤดูฝน จ านวน 17 ตัวอย่าง

ผลการวิเคราะห์และตรวจวัดคุณสมบัติของตัวอย่างน้ าบ่อขุดตื้นในปี พ.ศ. 2551-

2552 พบว่าน้ าในบ่อขุดตื้นทั้งระดับบน (ที่ความลึก 0.6-2.0 เมตร) และระดับล่าง (ที่ความลึก

1.7-2.7 เมตร) โดยทั่วไปเป็นน้ าจืดถึงเคมมเลมกน้อยและและมีคุณภาพดีถึงปานกลาง มีค่าความน า

ไฟฟ้า 38-2,770 µS/cm คลอไรด์ 3-448 mg/l โซเดียม 2-426 mg/l และปริมาณมวลสารทั้งหมด

ที่ละลายน้ าได้ 25-1,800 mg/l ยกเว้นบ่อน้ าที่อยู่ทางตอนใต้ของพื้นที่ จัดเป็นน้ ากร่อยเลมกน้อย

มีปริมาณมวลสารทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ คลอไรด์ เหลมก และไนเตรดสูงเกินกว่ามาตรฐานน้ าบาดาล

ที่ใช้บริโภคได้ จากการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพของน้ าบ่อขุดตื้นในแต่ละระดับ พบว่าโดยเฉลี่ย

ค่าความน าไฟฟ้าและปริมาณธาตุกับอนุมูลอื่นๆ ของตัวอย่างน้ าที่ระดับล่างมักจะมีสูงกว่าน้ าที่

ระดับบน และมีการเปลี่ยนแปลงในแตล่ะฤดูกาลไม่แตกต่างกันมากนัก (รูปที่ 5.4)

5.3 ผลการส้ารวจธรณีเคมี

1) จากข้อมูลผลการวิเคราะห์เคมีของตัวอย่างดินและน้ าในพื้นที่ศึกษา พบว่า

ลักษณะการแพร่กระจายของค่าความน าไฟฟ้าหรือค่าความเคมมจะมีความสัมพันธ์กันอย่างดีกับ

อนุมูลของโซเดียมและคลอไรด์ แสดงว่าสาเหตุของความเคมมเกิดมาจากสารประกอบที่มีธาตุ

โซเดียมและคลอไรด์เป็นส่วนประกอบส าคัญ ซึ ่งเป็นองค์ประกอบหลักของแร่เกลือหิน

(Halite: NaCl) ที่วางตัวอยู่ใต้ดินในช้ันหินของหมวดหินมหาสารคาม โดยมีน้ าเป็นตัวกลางส าคัญ

ในการละลายและพาเกลือขึ้นมาสู่ผิวดิน ความเคมมของดินจะเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับคุณสมบัติและ

ส่วนประกอบของดนิ รวมถึงระดับความลกึและความเคมมของน้ าใต้ดิน ตลอดจนลักษณะธรณีวิทยา

และสภาพอุทกธรณีวทิยาในบริเวณนั้น

Page 10: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

57

ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2551 ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552 ฤดูฝน ปี พ.ศ. 2552

น้้าผิวดิน < 250 µS/cm 250-500 µS/cm

น้้าในหนอง < 250 µS/cm 250-400 µS/cm

น้้าบ่อขุดตื้น < 800 µS/cm 800-1,600 µS/cm > 1,600-2,800 µS/cm

รูปที่ 5.4 แสดงคา่ความน าไฟฟ้าของตัวอย่างน้ าผวิดิน น้ าบ่อขุดตื้น และน้ าในหนอง

พืน้ที่หนองปลา-หนองบักด่อน (ปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552)

2) ลักษณะของดินเคมมโดยทั่วไปเป็นดินทรายแป้งหรือทรายแป้งปนดินเหนียวและ

มีสภาพค่อนข้างเป็นกรด บางบริเวณมีคราบเกลือปรากฏให้เหมนตามผิวดิน การกระจายตัวของดินเคมม

จะปรากฏให้เหมนเป็นหย่อมๆ ตามพื้นที่ราบลุ่มต่ าหรือมีน้ าท่วมถึง และจ ากัดอยู่เฉพาะบริเวณ

ที่ถูกรองรับด้วยช้ันหินของหมวดหินมหาสารคาม ซึ่งสามารถจ าแนกพื้นที่ตามสภาพของการน าไฟฟ้า

และระดับความเคมมได้คือ พื้นที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด พื้นที่ดินเคมมปานกลาง พื้นที่ดินเคมมเลมกน้อย

และพืน้ที่ดินไม่เคมม ส่วนใหญ่บริเวณที่เป็นดินเคมมจะมีค่าความน าไฟฟ้าค่อนข้างสูงในช้ันผิวดินหรือ

ช้ันดินทางตอนบน และจะลดลงเลมกน้อยหรือเปลี่ยนแปลงไม่แตกต่างกันมากนักในช้ันดินทางตอนล่าง

จนกระทั่งถึงความลึกประมาณ 1 .5-2.0 เมตร จึงจะค่อยๆ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้น

ตามความลกึ นอกจากนีย้ังพบว่าในพืน้ที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด ระดับน้ าเคมมใต้ดินจะอยู่ตื้น ความลึก

เฉลี่ยไม่เกิน 1.0-1.5 เมตร

3) พื้นที่การแพร่กระจายของดินเคมมในแต่ละฤดูกาล ตั้งแต่ผิวดินจนถึงความลึก

1 เมตร จะมีลักษณะเปลี่ยนแปลงไม่แตกต่างกันมากนัก โดยทั่วไปในช้ันดินตอนบนจะมีขอบเขต

กว้างมากกว่าในช้ันดินตอนล่างเลมกน้อย เฉพาะพื้นที่ดินเคมมในพื้นที่ลุ่มน้ าอูน โดยเฉลี่ยในช่วงฤดูแล้ง

ปี พ.ศ. 2552 จะมีเนื้อที่ลดลงประมาณร้อยละ 2.6-16.8 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงฤดูฝน ปี พ.ศ. 2551

(พื้นที่ดินเคมมมาก-เคมมจัด มีเนื้อที่ลดลงประมาณร้อยละ 4.7-11.4 ส่วนพื้นที่ดินเคมมปานกลางและ

พืน้ที่ดินเคมมเลมกน้อย มีเนื้อที่ลดลงประมาณร้อยละ 10.7-26.5 และ 6.3-16.4 ตามล าดับ)

Page 11: บทที่ 5 สภาพธรณีเคมีบทท 5 สภาพธรณ เคม ข อม ลท ได จากการตรวจว ดในภาคสนามและการว

58

4) พื้นที่ดินเคมมในพื้นที่ลุ่มน้ าอูน พบในท้องที่ต าบลพังโคน ต าบลไฮหย่อง และ

ต าบลแร่ อ าเภอพังโคน ต าบลวาริชภูม ิและต าบลปลาโหล อ าเภอวาริชภูมิ ต าบลตาลเนิ้ง ต าบลแวง

และต าบลธาตุทอง อ าเภอสว่างแดนดิน ต าบลช้างมิ่ง และต าบลพรรณานิคม อ าเภอพรรณานิคม

มีเนื้อที่รวมกัน 105.13 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 65,700 ไร่ (ฤดูฝน ปี พ.ศ. 2551) และ

87.44 ตารางกิโลเมตร หรอืประมาณ 54,650 ไร่ (ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552) ส่วนพื้นที่ดินเคมมในพื้นที่

โครงการทดลองปฎิบัติ (หนองปลา-หนองบักด่อน) พบตามพื้นที่ราบลุ่มระหว่างหนองปลากับ

หนองบักด่อน มีเนื้อที่รวมกัน 0.93 ตารางกิโลเมตร หรอืประมาณ 580 ไร่ (ฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2552)

5) คุณภาพของน้ าผิวดินทั้งในพื้นที่ลุ่มน้ าอูนและพื้นที่หนองปลา-หนองบักด่อน

โดยทั่วไปเป็นน้ าจืด สามารถใช้ได้ในการชลประทานโดยไม่มีข้อจ ากัดและไม่ส่งผลกระทบต่อ

การเพาะปลูก ยกเว้นปริมาณโซเดียมบางตัวอย่างมีคา่สูงเกินมาตรฐานเลมกน้อย ส าหรับค่าความน าไฟฟ้า

ปริมาณธาตุ และอนุมูลอื่นของตัวอย่างน้ าผิวดิน จะมีการเปลี่ยนแปลงไม่แตกต่างกันมากนักในแต่ละ

ฤดูกาล โดยเฉลี่ยในช่วงฤดูแล้งจะมีคา่ต่ ากว่าฤดูฝนเลมกน้อย

6) คุณภาพของน้ าบ่อขุดตื้นทั้งในพื้นที่ลุ่มน้ าอูนและพื้นที่หนองปลา-หนองบักด่อน

โดยทั่วไปเป็นน้ าจดืถึงเคมมเลมกน้อยและมีคุณภาพดีถึงปานกลาง ยกเว้นน้ าบ่อบางแห่งและในหลุมเจาะ

ส ารวจดินบริเวณพื้นที่ดินเคมมมากจะเป็นน้ ากร่อยถึงเคมม คุณภาพต่ า มีปริมาณมวลสารทั้งหมด

ที่ละลายน้ าได้และคลอไรด์สูงเกินกว่ามาตรฐานคุณภาพน้ าบาดาลที่ใช้บริโภคได้ ไม่สามารถใช้ดื่ม

กินได้ และไม่เหมาะส าหรับใช้ในการเกษตรกรรม เฉพาะอย่างยิ่งบ่อน้ าในท้องที่ต าบลพังโคนและ

ต าบลไฮหย่อง อ าเภอพังโคน ต าบลตาลเนิ้ง ต าบลแวง และต าบลธาตุทอง อ าเภอสว่างแดนดิน

และต าบลวาริชภูมิ อ าเภอวาริชภูมิ โดยเฉลี่ยค่าความน าไฟฟ้า ค่าความเคมม ปริมาณมวลสาร

ทั้งหมดที่ละลายน้ าได้ คลอไรด์ โซเดียม และอัตราการดูดซับของโซเดียม ในตัวอย่างน้ าระดับล่าง

มักจะมีปริมาณสูงกว่าน้ าระดับบน ซึ่งในแต่ละฤดูกาลจะมีการเปลี่ยนแปลงไม่แตกต่างกันมากนัก

โดยในช่วงฤดูฝนจะมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าฤดูแล้งเลมกน้อย

5.4 ข้อเสนอแนะ

การจ าแนกและก าหนดขอบเขตการแพร่กระจายของพื้นที่ดินเคมมในพื้นที่ศึกษานี ้

นอกจากจะใชว้ิธีการตรวจวัดคุณสมบัติทางเคมีแล้ว ยังสามารถตรวจวัดระดับความเคมมของดินได้

โดยการตรวจวัดค่าความน าไฟฟ้าในสนามกมเพียงพอ ซึ่งเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายและรวดเรมวกว่า

การวิเคราะหเ์คมี เนื่องจากการตรวจวัดค่าความน าไฟฟ้าในสนามและในห้องปฏิบัติการให้ผลลัพธ์

ไม่แตกต่างกันมากนัก