of 193 /193
การพัฒนาแบบฝึกการอ่านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับปัญหาของวัยรุ ่นตอนต้น สําหรับนักเรียน ชั ้นประถมศึกษาปี ที6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวัดตาก้องอนุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โดย นายจักรพรรดิ คงนะ วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ Íของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

2550 - Silpakorn University · การศึกษา 2550 ทุกคน ที่ให้ความร่วมมือในการทดลองใช้เครื่องมือวิจัยคร้ังน้ีเป็นอย่างดี

  • Author
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Text of 2550 - Silpakorn University · การศึกษา 2550 ทุกคน...

  • การพฒันาแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษทีเ่กีย่วกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนต้น สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที ่6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตาก้องอนุสรณ์ จังหวดันครปฐม

    โดย นายจักรพรรดิ คงนะ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาการสอนภาษาองักฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ

    ภาควชิาหลกัสูตรและวธีิสอน บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2550 ลขิสิทธิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • การพฒันาแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษทีเ่กีย่วกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนต้น สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที ่6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตาก้องอนุสรณ์ จังหวดันครปฐม

    โดย นายจักรพรรดิ คงนะ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิาการสอนภาษาองักฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ

    ภาควชิาหลกัสูตรและวธีิสอน บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2550 ลขิสิทธิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • THE DEVELOPMENT OF ENGLISH READING MATERIALS BASED ON PRE-TEENAGERS' PROBLEMS FOR PRATHOM SIX STUDENTS, LUANGPORCHAEM

    WATTAKONG ANUSORN SCHOOL, NAKHON PATHOM

    By Jakkrapat Kongna

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree MASTER OF EDUCATION

    Department of Curriculum and Instruction Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2007

  • กกกกกกกกบณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัให้วิทยานิพนธ์เร่ือง “การพฒันาแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ สําหรับนักเรียนระดบัชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม” เสนอโดย นายจกัรพรรดิ คงนะเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาองักฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ

    ……........................................................... (รองศาสตราจารย ์ดร.ศิริชยั ชินะตงักรู) คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ........... อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ กกกกกกกก1. ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. บาํรุง โตรัตน์ กกกกกกกก2. ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. เสง่ียม โตรัตน์ กกกกกกกก3. รองศาสตราจารยว์ฒันา เกาศลัย ์ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารยศิ์ลป์ ภาคสุวรรณ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (อาจารยก์าญจนา สุจิต) (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. บาํรุง โตรัตน์) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. เสง่ียม โตรัตน์) (รองศาสตราจารยว์ฒันา เกาศลัย)์ ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 46254204 : สาขาวิชาการสอนภาษาองักฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ คาํสาํคญั : ปัญหาวยัรุ่น / การพฒันาแบบฝึกเสริมการอ่านภาษาองักฤษ จกัรพรรดิ คงนะ : การพฒันาแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ สําหรับนักเรียนระดบัชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม. อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : ผศ.ดร.บาํรุง โตรัตน์ , ผศ.ดร.เสง่ียม โตรัตน์ และ รศ.วฒันา เกาศลัย.์ 180 หนา้. วิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อพฒันาแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ สาํหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ เพื่อเปรียบเทียบความในการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนและหลงัการใช้แบบฝึก และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อแบบฝึกท่ีผูว้ิจ ัยสร้างข้ึน กลุ่มตวัอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนหลวงพอ่แช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ ไดม้าโดยการสุ่มตวัอย่างห้องเรียน 1 ห้องดว้ยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง ไดน้ักเรียนที่เป็นกลุ่มตวัอย่าง 26 คน ทาํการทดลอง โดยให้นักเรียนเรียนดว้ยแบบฝึกที่ผูว้ิจยัสร้างข้ึนจาํนวน 8 บท เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยัประกอบดว้ย 1) แบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ 2) แบบทดสอบวดัความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษก่อนและหลงัการทดลอง 3) แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อแบบฝึกเสริมการอ่าน การวิเคราะห์ขอ้มูลใช ้t-test แบบจบัคู่เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ ของนักเรียนกลุ่มตวัอย่างก่อนและหลงัการเรียนโดยใชส่ื้อท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนใช้ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานในการหาค่าระดบัความคิดเห็นของนกัเรียนท่ีมีต่อส่ือ ผลการวิจยัพบวา่ 1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ มีค่า 75.84/75.12 ซ่ึงถือวา่มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ ์ 2. ความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนหลงัเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้แบบฝึกฯอยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั 0.05 3. นกัเรียนมีความคิดเห็นท่ีดีต่อแบบฝึกเสริมการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้

    ภาควิชาหลกัสูตรและวิธีสอน บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2550 ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ 1. ......................... 2. ........................ 3. .........................

  • 46254204 : MAJOR : TEACHING ENGLISH AS A FOREIGN LANGUAGE KEY WORDS : PRE-TEENAGERS’ PROBLEM / THE DEVELOPMENT OF ENGLISH SUPPLEMENTARY MATERIALS

    JAKKRAPAT KONGNA : THE DEVELOPMENT OF ENGLISH READING MATERIALS BASED ON PRE-TEENAGERS' PROBLEMS FOR PRATHOM SIX STUDENTS, LUANGPORCHAEM WATTAKONG ANUSORN SCHOOL, NAKHON PATHOM. THESIS ADVISORS : ASST.PROF.BAMRUNG TORUT,Ph.D.,ASST.PROF.SA-NGIAMTORUT,Ph.D., AND ASST.PROF.VATANA KAOSAL.. 180 pp.

    The purposes of this research were to construct and test the efficiency of English

    reading supplementary materials for Prathom Six students, Luangporchaem Wattakong Anusorn School, Nakhon Pathom, to compare students’English reading ability before and after using the English reading supplementary materials, and to study students’ opinions toward the materials.

    The sample consisted of one randomly selected class of 26 Prathomsuksa six students of Luangporcham Wattakong Anusorn School, Nakhon Pathom, during the academic year 2007. The eight reading lessons were taught to the students. The duration of the experiment covered 48 hours. After the completion of each lesson, a formative test was administered to measure the subjects’ reading achievement and the questionnaire was done. The average of the formative test scores was compared with the post-test scores in order to determine the effectiveness of the supplementary reading materials. The t-test was used to analyze the data in order to assess the students’ English reading ability before and after using the English reading supplementary materials. In addition, the mean and standard deviation of questionnaire scores were used to evaluate the students’ opinions toward the materials constructed.

    The results of the study were: 1. The effectiveness of the materials was 75.84/75.12 percent. This means that the

    efficiency of the newly constructed English reading supplementary materials was at an acceptable level.

    2. The students’ English reading ability after using the constructed materials was significantly higher than before using the constructed materials at the 0.05 level.

    3. The students’ opinions toward the constructed materials were highly positive. Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2007 Student's signature ........................................... Thesis Advisors' signature 1. ............................ 2. ............................... 3. ...............................

  • กติติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์ฉบบัน้ีสําเร็จไดโ้ดยไดรั้บความอนุเคราะห์อย่างดียิ่งในการให้คาํปรึกษาแนะนําและปรับปรุงแก้ไขจนสําเร็จสมบูรณ์จาก ผูช่้วยศาสตราจารย์ ดร. บาํรุง โตรัตน์ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร . เสง่ียม โตรัตน์ และรองศาสตราจารย์ วัฒนา เกาศัลย์ ตลอดจนคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ผูช่้วยศาสตราจารย ์ศิลป์ ภาคสุวรรณ ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ อาจารยก์าญจนา สุจิต กรรมการผูท้รงคุณวุฒิ จึงขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงไว ้ณ โอกาสน้ี

    ขอขอบพระคุณ อาจารยว์นัวิสาข์ พนัธ์โยธี อาจารยศิ์ริรักษ์ ทฬัหกุลธร อาจารย ์ อรษา เฌรตากอ้ง และอาจารย ์Samel Grubs ท่ีกรุณาใหค้าํแนะนาํ ตรวจแกไ้ขเคร่ืองมือดว้ยความเมตตา

    ขอขอบพระคุณคณาจารยโ์รงเรียนหลวงพอ่แช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม ทุกท่าน ท่ีใหโ้อกาสและกาํลงัใจในการทาํวิจยัคร้ังน้ี และขอขอบคุณนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2550 ทุกคน ท่ีให้ความร่วมมือในการทดลองใชเ้คร่ืองมือวิจยัคร้ังน้ีเป็นอยา่งดี

    ขอขอบคุณเพื่อนๆ รุ่นพี่ และรุ่นนอ้งนกัศึกษาปริญญาโททุกคนท่ีให้ความห่วงใย และเป็นกาํลงัใจในการทาํวิจยัคร้ังน้ี

    สุดทา้ยน้ีขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่ออน้ - คุณแม่ตาล คงนะ ท่ีให้ชีวิตและความปรารถนาดี นางสาวสุภาพ คงนะ รวมทั้งญาติพี่นอ้งของขา้พเจา้ทุกคน เพื่อนร่วมรุ่นทุกท่านท่ีให้กาํลงัใจ และความช่วยเหลือตลอดมา จนทาํใหผู้ว้ิจยัประสบความสาํเร็จในการศึกษาระดบัปริญญาโท คุณค่าและประโยชน์ของวิทยานิพนธ์ฉบบัน้ี ผูว้ิจยัขอมอบเป็นเคร่ืองกราบบูชาพระคุณบิดา-มารดา ตลอดจนผูมี้พระคุณต่อผูว้ิจยัทุกท่าน และขอมอบเป็นส่ิงทดแทนพระคุณครู-อาจารยทุ์กท่านท่ีประสิทธิประสาทวิชาความรู้ใหแ้ก่ขา้พเจา้มาจนตราบเท่าทุกวนัน้ี

  • สารบัญ หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย............................................................................................................... ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ.......................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................... ฉ สารบญัตาราง....................................................................................................................... ฎ บทท่ี 1 บทนาํ................................................................................................................. 1 กกกกกกกกกกกกความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา.................................................. 1 กกกกกกกกกกกกวตัถุประสงคก์ารวิจยั............................................................................... 6 กกกกกกกกกกกกปัญหาการวิจยั..................................................................................... …. 6 กกกกกกกกกกกกสมมติฐานการวจิยั................................................................................... 6 กกกกกกกกกกกกขอบเขตของการวิจยั................................................................................ 7 กกกกกกกกกกกกขอ้ตกลงเบ้ืองตน้..................................................................................... 7 กกกกกกกกกกกกนิยามศพัทเ์ฉพาะ..................................................................................... 8 2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง.......................................................................... 10 กกกกกกกกกกกกการอ่าน............................................................................................... …. 11 กกกกกกกกกกกกกกกกความหมายของการอ่าน.................................................................. 11 กกกกกกกกกกกกกกกกระดบัความเขา้ใจในการอ่าน.......................................................... 12 กกกกกกกกกกกกกกกกขั้นตอนและกิจกรรมการสอนอ่าน................................................. 15 กกกกกกกกกกกกกกกกการประเมินการอ่าน....................................................................... 16 กกกกกกกกกกกกการอ่านเชิงเน้ือหาสาระ........................................................................... 17 กกกกกกกกกกกกกกกกความหมายของการอ่านเน้ือหาสาระ.............................................. 18 กกกกกกกกกกกกกกกกแนวทางการจดัการสอนเน้ือหาสาระ............................................. 18 กกกกกกกกกกกกกกกกการบวนการสอนอ่านเน้ือหาสาระ................................................. 20 กกกกกกกกกกกกกกกกการวดัและประเมินผลการอ่านเน้ือหาสาระ.................................. 23 กกกกกกกกกกกกกระบวนการสอนท่ีเหมาะสมกบัการสอนอ่านเน้ือหาสาระ..................... 24 กกกกกกกกกกกกกกกกการเรียนแบบใชปั้ญหาเป็นฐาน..................................................... 24 กกกกกกกกกกกกกกกกการเรียนรู้ท่ีเนน้ภาระงานเป็นหลกั................................................ 32 กกกกกกกกกกกกกกกกการเรียนรู้แบบโครงงานภาษาองักฤษ............................................ 38

  • บทท่ี หนา้ กกกกกกกกกกกกกระบวนการพฒันาแบบฝึก..................................................................... 44 กกกกกกกกกกกกกกกกความหมายของแบบฝึก.................................................................. 44 กกกกกกกกกกกกกกกกหลกัการสร้างแบบฝึก.................................................................... 45 กกกกกกกกกกกกกกกกประโยชน์ของแบบฝึก................................................................... 48 กกกกกกกกกกกกกกกกการประเมินแบบฝึก....................................................................... 49 กกกกกกกกกกกกขอบข่ายเน้ือหาท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้................................. 50 กกกกกกกกกกกกกกกกสภาพปัญหาสงัคมไทย.................................................................. 50 กกกกกกกกกกกกกกกกปัญหาดา้นร่างกายของวยัรุ่นตอนตน้............................................. 51 กกกกกกกกกกกกกกกกปัญหาดา้นสติปัญญาและอารมณ์ของวยัรุ่นตอนตน้...................... 52 กกกกกกกกกกกกกกกกปัญหาดา้นสงัคมของวยัรุ่นตอนตน้............................................... 52 กกกกกกกกกกกกเอกสารและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง........................................................... …. 53 กกกกกกกกกกกกกกกกงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการพฒันาแบบฝึกทกัษะการอ่าน ภาษาองักฤษ......................................................................... 53 งานวิจยัภายในประเทศ......................................................... 54 งานวิจยัในต่างประเทศ......................................................... 60 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัการสอนภาษาองักฤษเนน้เน้ือหาสาระ....... 62 งานวิจยัภายในประเทศ......................................................... 62 งานวิจยัในต่างประเทศ......................................................... 65 3 วิธีดาํเนินการวิจยั............................................................................................... 71 กกกกกกกกกกกกประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง...................................................................... 71 กกกกกกกกกกกกตวัแปรท่ีศึกษา......................................................................................... 71 กกกกกกกกกกกกเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยั.......................................................................... 71 กกกกกกกกกกกกการสร้างและพฒันาเคร่ืองมือ.................................................................. 72 กกกกกกกกกกกกการเกบ็รวบรวมขอ้มูล............................................................................. 91 กกกกกกกกกกกกการวิเคราะห์ขอ้มูล.................................................................................. 92 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูล........................................................................................ 94 กกกกกกกกกกกกตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลเพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึก การอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้........... 94 ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถ

  • บทท่ี หนา้ ดา้นทกัษะการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนกลุ่มตวัอยา่งก่อน และหลงัการทดลองใชแ้บบฝึก................................................. 98 ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลคะแนนความคิดเห็นจากแบบสอบถาม ความคิดเห็นของนกัเรียนกลุ่มตวัอยา่ง ท่ีมีต่อแบบฝึกการอ่าน ภาษาองักฤษท่ีเก่ียวขอ้งกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ ทั้ง 8 บท.. 99 5 สรุป อภิปราย และขอ้เสนอแนะ......................................................................... 104 สรุปผลการวิจยั....................................................................................... 105 อภิปรายผล......................................................................................... …. 106 ปัญหาท่ีพบในการวจิยั............................................................................ 109 ขอ้เสนอแนะ........................................................................................... 109 ขอ้เสนอแนะดา้นการเรียนการสอน............................................... 109 ขอ้เสนอแนะในการศึกษาวิจยัคร้ังต่อไป....................................... 110 บรรณานุกรม........................................................................................................................ 112 ภาคผนวก............................................................................................................................. 124 กกกกกกกกภาคผนวก ก แบบสอบถามผูเ้ช่ียวชาญเก่ียวกบัความเหมาะสมของ ขอบเขตเน้ือหารูปแบบภาษา และกิจกรรมท่ีจะพฒันา บทเรียนเสริมทกัษะการอ่าน...................................................... 125 กกกกกกกกภาคผนวก ข ค่าดชันีความสอดคลอ้งของผูเ้ช่ียวชาญดา้นความเหมาะสม ของเน้ือหา................................................................................. 130 กกกกกกกกภาคผนวก ค ค่าดชันีความสอดคลอ้ง (IOC) ของความเท่ียงตรงตามเน้ือหา ของแบบทดสอบวดัความสามารถการอ่านภาษาองักฤษ…….. 133 กกกกกกกกภาคผนวก ง ค่าความยากง่าย (p) และค่าอาํนาจจาํแนก (r) ของแบบ ทดสอบวดัความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ.................... 137 กกกกกกกกภาคผนวก จ ค่าความเช่ือมัน่ของแบบทดสอบ………................................... 140 กกกกกกกกภาคผนวก ฉ แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญเก่ียวกบัความตรง ของเน้ือหา ความเหมาะสมของคาํถามและรูปแบบของภาษา ในแบบสอบถามความคิดเห็นของนกัเรียน............................... 144

  • หนา้ กกกกกกกกภาคผนวก ช แบบสอบถามความคิดเห็นของนกัเรียนท่ีมีต่อแบบฝึก ทกัษะการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่น ตอนตน้ระดบัชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6......................................... 148 กกกกกกกกภาคผนวก ซ ค่าความเช่ือมัน่ของแบบสอบถามความคิดเห็นและ ค่าสถิติ t – test ของกลุ่มตวัอยา่ง............................................... 151 กกกกกกกกภาคผนวก ฌ แบบสอบถามความคิดเห็นผูเ้ช่ียวชาญท่ีมีต่อแบบทดสอบ วดัความสามารถ........................................................................ 154 กกกกกกกกภาคผนวก ญ หนงัสือเรียนเชิญผูเ้ช่ียวชาญ และขออนุญาตทดลอง เคร่ืองมือ.................................................................................... 174

    ประวติัผูว้จิยั......................................................................................................................... 180

  • สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้ 1 การวิเคราะห์ค่าเฉล่ียความตอ้งการของนกัเรียนและครูต่อหวัเร่ือง กกกกกกกกกกกกปัญหาท่ีเก่ียวขอ้งกบัวยัรุ่นตอนตน้.......................................................... 76 2 ตารางกาํหนดเน้ือหาแบบฝึก............................................................................. 78 3 ตารางกาํหนดเน้ือหาแบบทดสอบ..................................................................... 85 4 ค่าร้อยละของคะแนนจากการทาํแบบทดสอบทา้ยบทจาํนวน 8 บท และค่าร้อยละของคะแนนจากการทาํแบบทดสอบหลงัเรียน ขั้นทดลองรายบุคคล............................................................................... 88 5 ค่าร้อยละของคะแนนจากการทาํแบบทดสอบรายบท จาํนวน 8 บท และค่าร้อยละของคะแนนจากการทาํแบบทดสอบหลงัเรียน ขั้นทดลองกลุ่มเลก็............................................................................. …. 89 6 รูปแบบการวิจยัเชิงทดลอง................................................................................. 91 7 คะแนนเฉล่ีย ( x ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละ (%) และลาํดบั คะแนนจากการทาํแบบทดสอบรายบทในแบบฝึกแต่ละบท ของนกัเรียนตวัอยา่ง จาํนวน 26 คน................................................... …. 95 8 คะแนนจากการทาํแบบทดสอบรายบท จาํนวน 8 บท และคะแนน แบบทดสอบหลงัเรียน ในขั้นทดลองภาคสนาม โดยทดลองกบั นกัเรียน จาํนวน 26 คน........................................................................... 95 9 สรุปประสิทธิภาพของแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหา ของวยัรุ่นตอนตน้ท่ีพฒันาขึ้น................................................................. 97 10 คะแนนความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนกลุ่มตวัอยา่ง ก่อนและหลงัการทดลอง และผลต่าง (D) ของคะแนนทดสอบ ทั้ง 2 คร้ัง................................................................................................. 98 11 การเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ีย ( x ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลต่างเฉล่ีย (D ) และค่าตวัสถิติทดสอบ t ของนกัเรียนตวัอยา่ง จาํนวน 26 คน......................................................................................... 99 12 ค่าระดบัคะแนนเฉล่ีย ( x ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของนกัเรียนท่ีมีต่อแบฝึกการอ่านภาษาองักฤษ จากการศึกษารายขอ้ 8 บท...................................................................... 100

  • ตารางท่ี หนา้ 13 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของผูเ้ช่ียวชาญท่ีมีต่อแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษ….. 131 14 ค่าดชันีความสอดคลอ้งของผูเ้ช่ียวชาญทั้ง 3 ท่าน…………………………….. 134 15 ค่าความยากง่ายและค่าอาํนาจจาํแนกของแบบทดสอบวดัความสามารถ…....... 138 16 แบบทดสอบที่มีค่าความยากง่ายและอาํนาจจาํแนกเหมาะสมและ เลือกไวจ้าํนวน 30 ขอ้…………………………………………………. 139 17 ค่าความเช่ือมัน่ของแบบทดสอบทั้งฉบบั…………………………………….. 141 18 ค่าความเช่ือมัน่ของแบบทดสอบแยกเป็นรายขอ้…………………………....... 141 19 การปรับปรุงแกไ้ขแบบสอบถามตามคาํแนะนาํของผูเ้ช่ียวชาญ…………........ 146 20 ระดบัความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญท่ีมีต่อแบบสอบถามความคิดเห็น……........ 147 21 ค่าสถิติ t-test ของนกัเรียนกลุ่มตวัอยา่ง………………………………………. 153

  • บทที ่1

    บทนํา ความเป็นมาและความสําคญัของปัญหา

    ในยุคแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาเป็นตวักลางสําคญัในการถ่ายทอดขอ้มูลหรือข่าวสารจากแหล่งหน่ึงไปสู่แหล่งอีกหน่ึง เป็นส่ือกลางระหว่างมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาองักฤษ ซ่ึงถือว่าเป็นภาษาระหว่างประเทศ (International language) คนทัว่โลกสามารถติดต่อส่ือสารกันได้หากมีความรู้ภาษาอังกฤษ และยังเป็นเคร่ืองมือท่ีสําคัญในการดําเนินชีวิตประจาํวนัอีกดว้ย สอดคลอ้งกบั บญัชา อึงสกุล (2545 : 52) ท่ีกล่าวสนบัสนุนว่า ภาษาองักฤษไดเ้ขา้มามีบทบาทสาํคญัต่อการดาํรงชีวิตของคนไทยทั้งในอดีต ปัจจุบนั และอนาคต ซ่ึงคนไทยเราในปัจจุบนันิยมเรียนภาษาองักฤษเพื่อนาํไปใชเ้ป็นเคร่ืองมือในการประกอบอาชีพกนัเป็นจาํนวนมาก รวมทั้งโรงเรียนและสถาบนัต่าง ๆ ต่างก็ตอบสนองความตอ้งการของสังคมด้วยการเปิดโปรแกรมการเรียนการสอนเป็นภาษาองักฤษ ทั้งในระดบัประถมศึกษา มธัยมศึกษา และอุดมศึกษา และ มีแนวโนม้จะเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ กอปรการจดัการศึกษาของไทยกาํลงักา้วไปสู่ความเป็นนานาชาติในระดบัสากล โดยการใช้ภาษาองักฤษเป็นส่ือกลางอย่างเห็นไดช้ัดเจนมากยิ่งข้ึน อีกทั้งในการจดัการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระ กาํหนดไวว้่า กลุ่มสาระการเรียนภาษาต่างประเทศ เป็นพื้นฐานท่ีสําคญั ท่ีผูเ้รียนทุกคนตอ้งเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างพื้นฐานความเป็นมนุษย์ และสร้างศกัยภาพในการคิดและการทาํงานอยา่งสร้างสรรค ์(กรมวิชาการ 2544 : 1) ดว้ยเหตุน้ีภาษาองักฤษจึงมีความจาํเป็นอยา่งยิง่ท่ีตอ้งเรียนรู้ กกกกกกกกอน่ึง ทกัษะการอ่านภาษาองักฤษ ถือวา่มีความสาํคญัและเป็นประโยชน์อยา่งมากในการแสวงหาความรู้ของผูเ้รียน นักเรียน นิสิตนักศึกษาต้องอ่านหนังสือเรียน ตาํราหรือวารสารภาษาอังกฤษเพื่อให้มีความรู้ในสาขาวิชาของตนให้กว้างขวางและลึกซ้ึง สําหรับนักธุรกิจ ขา้ราชการตอ้งใชภ้าษาองักฤษเพื่อประโยชน์ในความกา้วหนา้ของตน (วิสาข ์จติัวตัร์ 2543 : 1) สอดคลอ้งกบั สุภทัรา อกัษรานุเคราะห์ (2530 : 50) ท่ีให้แนวคิดว่า ทกัษะการอ่านเป็นทกัษะท่ีสําคญัและจาํเป็นตอ้งใช้มากกว่าทกัษะอ่ืน ๆ โดยเฉพาะสําหรับผูเ้รียนท่ีเรียนภาษาองักฤษเป็นภาษาต่างประเทศ นอกจากน้ี ฉวีวรรณ คูหาภินนัท ์(2542 : 3) สนบัสนุนวา่ การอ่านมีความสาํคญั และจาํเป็นต่อทุกคนทุกอาชีพทุกเพศทุกวยั การอ่านช่วยใหค้นเรารอบรู้ ฉลาด ทนัโลก

    1

  • ทนัต่อเหตุการณ์และเป็นกญุแจไขไปสู่ความสาํเร็จ กกกกกกกกแมท้กัษะการอ่านภาษาองักฤษจะมีความสําคญัและไดถู้กกาํหนดให้เป็นวิชาหน่ึงในการเรียนการสอน แต่จากการศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวกับการอ่านภาษาอังกฤษพบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิทางการอ่านอยูใ่นระดบัตํ่าและนกัเรียนยงัมีปัญหาในการอ่าน(วิสาข ์จติัวตัร์ 2543 : 1) อีกทั้งการประเมินคุณภาพการศึกษา นกัเรียนชั้นประถมศึกษาทัว่ประเทศ ปีการศึกษา 2545 พบว่า นกัเรียนมีคะแนนเฉล่ียในวิชาภาษาองักฤษตํ่าท่ีสุด (สาํนกัทดสอบทางการศึกษา 2545 : 12) สาเหตุส่วนใหญ่เป็นเพราะนกัเรียนอ่านแลว้ไม่เขา้ใจความหมาย ติดคาํศพัท ์และขาดโครงสร้างความรู้ท่ีเก่ียวขอ้งกบัการอ่าน ทาํให้ไม่สามารถจบัประเด็นและไม่เห็นภาพรวม จึงรู้สึกว่าการอ่านเป็นเร่ืองยากและเบ่ือหน่าย (สมุทร เซ็นเชาวนิช 2542 : 15; พนัธณีย ์วิหคโต 2546 : 27; Vacca and Vacca 1986 : Abstract) กกกกกกกกส่วนปัญหาดา้นผูส้อนนั้น พนัธณีย ์วิหคโต (2546 : 25-26) กล่าวว่า ครูใชภ้าษาไทยในการสอนเป็นส่วนใหญ่ อีกทั้งยงัขาดทกัษะในการสอน เน่ืองจาก ครูส่วนใหญ่ท่ีสอนภาษาองักฤษมีไม่ถึงร้อยละ 14 ท่ีจบวิชาเอกภาษาองักฤษโดยตรง สอดคลอ้งกบั เรวดี หิรัญ (2540 : 151) กล่าวว่า ปัญหาดา้นครูคือ ขาดวิธีการหรือเทคนิคท่ีใชใ้นการสอนไม่เหมาะสม ในการสอนอ่าน ครูควรศึกษาและทาํความเขา้ใจเก่ียวกบัการอ่านในหลาย ๆ ดา้น เช่น องคป์ระกอบหรือปัจจยัท่ีมีอิทธิพลต่อการอ่าน แนวคิดหรือทฤษฎีการสอนอ่าน รวมทั้งกิจกรรมในการสอนอ่าน (นนัทิยา แสงสิน 2540 : 7) กกกกกกกกในปัจจุบนัแนวทางการเรียนการสอนภาษาองักฤษมีหลายรูปแบบดว้ยกนั ซ่ึงช่วยสร้างความคิดท่ีเป็นระบบใหแ้ก่ครูผูส้อน ทาํใหท้ราบถึงการวิเคราะห์ สงัเคราะห์หรือกรอบในการพฒันามโนทศัน์เก่ียวกบัการเรียนการสอนภาษาองักฤษ อาทิเช่น หลกัสูตรภาษาท่ีเนน้ผูเ้รียนเป็นสาํคญั (Learner-Centred Language Curriculum) แนวการสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร (Communicative Language Teaching) การจดัการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning) การจดัการเรียนรู้โดยใชปั้ญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) การจดัการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การจดัการเรียนการสอนภาษาที่เนน้เน้ือหา (Content-Based Instruction) และการเรียนรู้ท่ีเนน้ภาระงาน (Task-Based Learning) เป็นตน้ (กรมวิชาการ 2545 : 105-106) กกกกกกกกสภาพแห่งสังคมยุคขอ้มูลข่าวสาร แหล่งขอ้มูลต่าง ๆ เช่น โทรทศัน์ หนงัสือพิมพแ์ละอินเตอร์เน็ตท่ีมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู ่ดงันั้นจาํเป็นตอ้งจดัการเรียนการสอนใหผู้เ้รียนรู้จกัคิดวิเคราะห์ เพื่อใหส้ามารถเลือกขอ้มูลท่ีเหมาะสมต่อตนเองได ้(เสง่ียม โตรัตน์ 2546 : 26) ตวัอยา่งแนวการจดัการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นให้ผูเ้รียนมุ่งการคิดวิเคราะห์และบูรณาการเน้ือหาความรู้ อาทิเช่น การเรียนการสอนโดยใชปั้ญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) เป็นการเรียนท่ีเป็นผลมาจากกระบวนการทาํงานท่ีมุ่งความเขา้ใจหรือการแก้ปัญหา ปัญหาท่ีได้ประสบคร้ังแรกใน

    2

  • กระบวนการเรียนใชเ้ป็นจุดรวมหรือเป็นส่ิงกระตุน้เพื่อการประยกุตใ์ชก้ารแกปั้ญหาหรือทกัษะการให้เหตุผล และเพื่อค้นหาหรือศึกษาความรู้ต่าง ๆ ท่ีต้องการทาํความเข้าใจกลไกการทาํงาน ท่ีรับผดิชอบต่อปัญหาและวิธีการแกปั้ญหา (Barrows and Tamblyn 1980 : 18) ขั้นตอนในการเรียนแบบใชปั้ญหาเป็นฐานนั้น ผูเ้รียนจะไดรั้บปัญหาหรือสถานการณ์ก่อน ต่อมาทาํงานเป็นกลุ่มย่อยเพื่อทาํความเขา้ใจในปัญหาหรือสถานการณ์ ช่วยกนัระดมความคิดโดยใชค้วามรู้เดิม สรุปส่ิงท่ีรู้และยงัไม่รู้โดยกาํหนดเป็นวตัถุประสงค์การเรียนของตนเอง จากนั้นแบ่งหน้าท่ีช่วยกนัคน้ควา้แสวงหาความรู้ เพื่อตอบปัญหาหรือสถานการณ์ท่ียงัไม่รู้ แลว้นาํเสนอขอ้สรุปแนวทางของแต่ละกลุ่ม โดยหาเหตุผลมาสนบัสนุนจุดยืนของกลุ่มตน หลกัการท่ีสาํคญัของการเรียนแบบใชปั้ญหาเป็นฐาน (Problem based learning) เป็นวิธีการสอนท่ีสอนโดยการนาํเสนอสถานการณ์ปัญหาเพื่อให้ผูเ้รียนไดแ้กไ้ข ซ่ึงมกัไม่มีคาํตอบท่ีถูกตอ้งเพียงขอ้เดียว ผูเ้รียนจะเรียนรู้โดยพยายามแกไ้ขปัญหา ซ่ึงพวกเขาตอ้งตีความ รวบรวมขอ้มูล หาแนวทางแกไ้ขท่ีเป็นไปได ้และเลือกแนวทางท่ีดีท่ีสุดเพื่อนาํเสนอบทสรุปของพวกเขา ( Delisle 1997 : v) ซ่ึงเป็นการส่งเสริมใหผู้เ้รียน คิดเป็น ทาํเป็นและแกปั้ญหาเป็น กกกกกกกกการเรียนการสอนภาษาที่เนน้เน้ือหา (Content-Based Instruction Curriculum) เป็นการจดัการเรียนรู้ท่ีพฒันาความสามารถทางภาษาของผูเ้รียนวิธีหน่ึงท่ีช่วยให้ผูเ้รียนเกิดการเรียนรู้ เน้ือหา ทกัษะทางภาษา กระบวนการคิด เจตคติและวฒันธรรม นอกจากน้ีการเรียนการสอนภาษาที่เนน้เน้ือหาตอบสนองความตอ้งการและความสนใจของผูเ้รียน ส่งเสริมให้ผูเ้รียนเรียนรู้ภาษาท่ีใช้จริงในชีวิตประจาํวนัและเช่ือมโยงความคิดในเน้ือหาวิชาการท่ีหลากหลาย ช่วยให้ผูเ้รียนเรียนรู้อย่างมีความหมายและสนับสนุนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้จากการทาํกิจกรรม การเรียนรู้จากการฝึกงาน การเรียนรู้จากประสบการณ์และการเรียนรู้จากโครงงาน (กรมวิชาการ 2545 : 121) ประโยชน์ท่ีสาํคญัท่ีสุดของแนวการสอนน้ีคือ ผูเ้รียนไดเ้รียนรู้การใชภ้าษาเพื่อการส่ือสารไปพร้อม ๆ กบัทกัษะการเรียนท่ีสามารถนาํไปใชใ้นการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และช่วยให้ผูเ้รียนคิดเป็น วิพากษว์ิจารณ์เป็น ใชภ้าษาเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้อยา่งต่อเน่ือง (กรมวิชาการ 2545 : 126) กกกกกกกกการเรียนรู้ ท่ีเนน้ภาระงาน (Task-Based Learning) เป็นการจดัการเรียนรู้ท่ีใชภ้าระงานเป็นหลกัในการวิเคราะห์ เปิดโอกาสให้ผูเ้รียนมีส่วนร่วมในการพฒันาการเรียนการสอนและภาระงานท่ีนาํมาใชต้รงกบัความตอ้งการของผูเ้รียน เน้ือหาจะประกอบไปดว้ย 3 ส่วนคือ การใชภ้าษา คาํศพัทแ์ละโครงสร้างไวยากรณ์ ภาระงานแต่ละงานมีองคป์ระกอบสาํคญั 6 ประการคือ เป้าหมาย เน้ือหา กิจกรรม บทบาทผูเ้รียน บทบาทครูผูส้อนและการจดัสภาพการเรียนรู้ การสอนแบบน้ีเก่ียวขอ้งกบัความสามารถในการส่ือสารและกระบวนการทางปัญญา มุ่งใหผู้เ้รียนสามารถใชภ้าษา

    3

  • เพื่อส่ือสาร นาํไปใชใ้นชีวิตประจาํวนัไดแ้ละพฒันาทกัษะการคิด อีกทั้งปรับตวัร่วมงานกบัผูอ่ื้นได ้ (กรมวิชาการ 2545 : 134) สรุปไดว้่าจุดมุ่งหมายท่ีสาํคญัของการจดัการเรียนการสอนคือหาวิธีการทาํให้ผูเ้รียนเรียนภาษาไดเ้ร็วข้ึน สามารถใชภ้าษาเพื่อการส่ือสารไดดี้ยิ่งข้ึน ตลอดจนการพฒันาตนเอง รู้จกักระบวนการเรียนรู้ และมีทกัษะการเรียน รู้จกัแสวงหาความรู้เพิ่มเติม อีกทั้งพฒันาทกัษะการเรียนรู้ภาษาไดอ้ยา่งต่อเน่ือง (กรมวิชาการ 2545 : 137) กกกกกกกกอน่ึงจากการศึกษาขอ้มูลจากแหล่งต่าง ๆ พบปัญหาท่ีเก่ียวกบัเดก็แยกเป็น 3 ดา้นใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาเน่ืองจากสาเหตุทางสภาพร่างกาย เช่นเด็กเรียนชา้ สายตาสั้น หูไม่ไดย้ิน เป็นตน้ อีกประการหน่ึงคือพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาเน่ืองจากสาเหตุทางสภาพแวดลอ้ม เช่น สภาพครอบครัว โรงเรียน เพื่อน เป็นต้น และประการสุดท้ายคือ พฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาในระยะพัฒนาก า ร เ ช่ น ปัญห าก า ร กิน ปัญหาก า รขับ ถ่ า ย และ ปัญหาก า ร เ รี ยน รู้ เ ป็ นต้น (มหาวิทยาลยัสุโขทยัธรรมาธิราช 2524 : 247-248) นอกจากน้ีจากการวิจยัพฒันาการแบบองคร์วมของเด็กไทย เก่ียวกบัสภาวะสุขภาพและสังคมของเด็กไทย พบปัญหาการใชเ้วลาว่างของเด็กกลุ่มตวัอยา่ง อาย ุ6-13 ปีเกือบทั้งหมด ใชเ้วลาว่างในการดูโทรทศัน์หรือวีดีโอ ระยะเวลาท่ีใชจ้ะเพิ่มข้ึนตามอาย ุรายการท่ีดู 3 ลาํดบัแรกคือ การ์ตูน ละครหรือภาพยนตร์และเกมโชว ์เด็กใชเ้วลาถึงหน่ึงในห้าของเวลาต่ืน ดูโทรทศัน์และหน่ึงในสอง ถึงสองในสามของเด็ก ใชเ้วลาว่างในการเล่นเกมกดหรือเกมคอมพิวเตอร์ ส่วนสาเหตุของการเจบ็ป่วยอนัดบัตน้คือโรคไขเ้ลือดออกและอุบติัเหตุ (ลดัดา เหมาะสุวรรณ 2547 : 7-11) และการวิจยัเก่ียวกบัการเจริญเติบโต ภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกาย พบปัญหาโภชนาการและโรคอว้นท่ีสูงข้ึนอยา่งมาก ความยากจนและการขาดความรู้เร่ืองโภชนาการ เป็นปัจจยัทาํใหเ้กิดปัญหาทุพโภชนาการ (ลดัดา เหมาะสุวรรณ 2547 : 64-67) ซ่ึงจะเห็นไดว้่าปัญหาต่าง ๆ เป็นปัญหาท่ีใกลต้วัเด็ก จึงตอ้งเร่งใหค้วามรู้ท่ีถูกตอ้งและทาํการป้องกนัอยา่งถูกวิธี กกกกกกกกสภาพของชุมชนโรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตาก้องอนุสรณ์ ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรับจา้ง ฐานะปานกลางถึงค่อนขา้งยากจน ดงันั้นผูป้กครองนกัเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีเวลาดูแลบุตร เพราะตอ้งทาํงาน นักเรียนบางคนตอ้งอาศยัอยู่กบัญาติ เพราะผูป้กครองไปทาํงานท่ีอ่ืน ส่วนนกัเรียนท่ียา้ยเขา้มาส่วนมากเป็นการยา้ยตามผูป้กครองท่ีมาหางานทาํ (ทะเบียนนกัเรียนโรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ : 2548) ดงันั้น จึงเกิดปัญหาดา้นการเรียนมากเน่ืองจากเรียนไม่ทนัเพื่อน ปัญหาการปรับตวัเขา้กบัเพื่อน และพฤติกรรมกา้วร้าว ส่วนปัญหาด้านสุขภาพอนามัย พบว่า นักเรียนส่วนมากไม่รับประทานอาหารเช้า จํานวนหน่ึงรับประทานขนมแทน จึงทาํใหเ้ป็นปัญหาต่อสุขภาพ เช่น โรคกระเพาะ ฟันผเุป็นตน้ อยา่งไรก็ตามจากการสํารวจนํ้ าหนักและส่วนสูงพบว่า นักเรียนอย่างน้อยร้อยละ 5 ท่ีมีนํ้ าหนักเกินมาตรฐาน

    4

  • จนถึงขั้นอว้น สาเหตุอาจเน่ืองจากการรับประทานอาหารประเภทแป้งและขนมหวานเป็นประจาํ ดา้นปัญหาส่ิงแวดลอ้ม เน่ืองจากโรงเรียนมีการขายอาหารหลายเวลา และมีแม่คา้มาขายหลงัเลิกเรียน ทาํให้มีปัญหาขยะถุงพลาสติกตามมาดว้ย กล่าวโดยสรุปแลว้ปัญหาสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ส่วนใหญ่เก่ียวกบัปัญหาทางกายเป็นส่วนใหญ่ คือดา้นสุขภาพ หากนักเรียนไดเ้รียนรู้ภาษาผ่านเน้ือหาเก่ียวกบัประเด็นหัวเร่ืองปัญหาดงักล่าว จะทาํให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมาย และเกิดประโยชน์ต่อผูเ้รียนในการนาํไปประยกุตใ์ชใ้หเ้กิดประโยชน์ต่อตนเองในชีวิตประจาํวนัได ้กกกกกกกกจากความสาํคญัของปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกบัวยัรุ่นตอนตน้ ผูว้ิจยัจึงมีความสนใจท่ีจะนาํประเด็นปัญหา ไปใชใ้นการสอนทกัษะอ่านภาษาองักฤษ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามแนวการสอนท่ีเนน้ภาระงาน (Task-based learning) โดยมุ่งให้ผูเ้รียนพฒันาทกัษะการอ่านพร้อมกบัการบูรณาการเน้ือหาไดอ้ยา่งมีความหมาย สอดคลอ้งกบั โมฮาน (Mohan 1986) ท่ีกล่าวว่า การจดัการเรียนการสอนไม่ควรจะสอนเฉพาะทกัษะภาษาเท่านั้น ควรมีการเน้นเน้ือหาแบบบูรณาการไปพร้อม ๆ กนัเพื่อให้ผูเ้รียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและนาํไปประยุกตใ์ชใ้นชีวิตประจาํวนัได ้ ประเด็นหัวเร่ืองปัญหานั้น ไดม้าโดยการศึกษาขอ้มูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น โทรทศัน์ หนังสือพิมพ ์เอกสาร หนังสือ และงานวิจยั ทะเบียนนักเรียน สมุดประจาํตวันักเรียน เป็นต้น จากนั้ นกําหนดประเด็นหัวเ ร่ืองเก่ียวกับปัญหาเด็กในด้านต่าง ๆ ต่อจากนั้ นสร้างแบบสอบถามเพื่อสาํรวจความตอ้งการ (Need analysis) เพื่อใหไ้ดป้ระเด็นปัญหาท่ีเก่ียวขอ้งและอยู่ในความสนใจของผูเ้รียนและครูโดยการนาํมาหาค่าเฉล่ียและเรียงลาํดบัค่าจากมากไปนอ้ย จากนั้นนาํไปสร้างเป็นแบบฝึกทกัษะการอ่านภาษาองักฤษใชใ้นการเรียนการสอนต่อไป เน่ืองจากแบบฝึกเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยใหผู้เ้รียนฝึกทกัษะการใชภ้าษาไดดี้ข้ึน ช่วยในเร่ืองความแตกต่างระหวา่งบุคคล อีกทั้งเสริมทกัษะทางภาษาโดยฝึกทนัทีหลงัผูเ้รียนเรียนรู้ (ยุพาภรณ์ ชาวเชียงขวาง 2537 : 16) สอดคลอ้งกบั วนิดา สุขวนิช (2536 : 36) กล่าวว่า แบบฝึกช่วยทาํให้ครูมองเห็นปัญหาต่าง ๆ ของผูเ้รียน ทาํใหส้ามารถหาแนวทางแกไ้ขไดต้รงจุด ส่วนผูเ้รียนกส็ามารถเห็นความกา้วหนา้ของตนเองด้วย ผูว้ิจัยสร้างแบบฝึกทกัษะการอ่านภาษาอังกฤษท่ีเน้นประเด็นปัญหา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีจุดประสงค ์เพื่อพฒันาทกัษะการอ่านพร้อมกบัเรียนรู้เน้ือหาเก่ียวกบัหัวเร่ืองปัญหาท่ีเก่ียวขอ้งกบัผูเ้รียน เพื่อใหผู้เ้รียนไดเ้รียนรู้และเขา้ใจถึงสภาพปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน อนัจะนาํไปสู่การปรับตวัและประยกุตใ์ชใ้หเ้กิดประโยชน์ต่อตนเองและสงัคมสืบต่อไป

    5

  • วตัถุประสงค์ของการวจัิย กกกกกกกกการวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคด์งัน้ี กกกกกกกก1. เพื่อพฒันาแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ สาํหรับนักเรียนประถมศึกษาชั้นปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ ์75/75 (ชยัยงค ์พรหมวงศแ์ละคณะ 2520 : 136-142) กกกกกกกก2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพอ่แช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จ. นครปฐม ก่อนและหลงัการเรียนโดยใชแ้บบฝึกท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน กกกกกกกก3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนกัเรียนประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐมท่ีมีต่อแบบฝึกท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน ปัญหาในการวจัิย กกกกกกกก1. แบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ สาํหรับนกัเรียนประถมศึกษาชั้นปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม มีประสิทธิภาพตามเกณฑ ์75/75 หรือไม่ กกกกกกกก2. ความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จ. นครปฐม หลงัการเรียนโดยใชแ้บบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนสูงกวา่ก่อนเรียนหรือไม่ กกกกกกกก3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม มีความคิดเห็นท่ีดีต่อแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนหรือไม่ สมมติฐานการวจัิย กกกกกกกก1. แบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้สาํหรับนกัเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม มีประสิทธิภาพตามเกณฑ ์75/75 กกกกกกกก2. ความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จ. นครปฐม หลงัการเรียนโดยใชแ้บบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนสูงกวา่ก่อนเรียน กกกกกกกก3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ จงัหวดันครปฐม มีความคิดเห็นท่ีดีต่อแบบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน

    6

  • ขอบเขตของการวจัิย กกกกกกกกผูว้ิจยักาํหนดขอบเขตของการวิจยัดงัน้ี กกกกกกกก1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กกกกกกกก ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ ปีการศึกษา 2550 อ. เมือง จ. นครปฐม กกกกกกกก กลุ่มตวัอยา่ง คือ นกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนหลวงพ่อแช่มวดัตากอ้งอนุสรณ์ อ. เมือง จ. นครปฐม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2550 จาํนวน 1 หอ้งเรียน 26 คน ไดม้าโดยการเลือกแบบเจาะจง กกกกกกกก2. ตัวแปรทีศึ่กษา

    1. ความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ กกกกกกกกกกกก2. ความคิดเห็นของนกัเรียนท่ีมีต่อแบบฝึกทกัษะการอ่าน

    ข้อตกลงเบือ้งต้น กกกกกกกก1. การวิจยัคร้ังน้ีไม่คาํนึงถึงตวัแปรดา้น ความถนัด พื้นฐานการศึกษา สภาวะทางเศรษฐกิจ สภาพครอบครัว และระดบัสติปัญญา เน่ืองจากกลุ่มตวัอยา่งมีลกัษณะตวัแปรดงักล่าวไม่แตกต่างกนัมากนกั กกกกกกกก2. การกาํหนดเกณฑป์ระสิทธิภาพของส่ือเสริมการอ่านในการวิจยัคร้ังน้ี กาํหนดไว ้75/75 (ชยัวงศ ์พรหมวงศ ์และคณะ 2520 : 136-142) ซ่ึงถือว่าให้ค่าความคลาดเคลื่อนในการยอมรับหรือไม่ยอมรับประสิทธิภาพของส่ือไวร้้อยละ 2.5-5 กล่าวคือ 2.1 เม่ือประสิทธิภาพของแบบฝึกการอ่านสูงกวา่เกณฑท่ี์ตั้งไวร้้อยละ 2.5 ข้ึนไปถือวา่ส่ือการอ่านมีประสิทธิภาพดีมาก 2.2 เม่ือประสิทธิภาพของส่ือเสริมการอ่านสูงกว่าหรือเท่ากบัเกณฑท่ี์ตั้งไวแ้ต่ไม่เกินร้อยละ 2.5 ถือวา่เป็นส่ือการอ่านท่ีมีประสิทธิภาพดี 2.3 เม่ือประสิทธิภาพของส่ือเสริมการอ่านตํ่ากว่าเกณฑท่ี์ตั้งไว ้แต่ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 2.5 ถือวา่ยงัมีประสิทธิภาพเป็นท่ียอมรับได ้หรืออยูใ่นระดบัพอใช ้ 2.4 เม่ือประสิทธิภาพของส่ือเสริมการอ่านตํ่ากว่าเกณฑแ์ละมากกว่าร้อยละ 2.5ถือวา่เป็นเกณฑท่ี์มีประสิทธิภาพตํ่า (ชยัยงค ์ พรหมวงศ ์และคณะ 2520 : 136 -142) กกกกกกกก3. คะแนนท่ีไดจ้ากการทดสอบคร้ังแรก (Pre-test) เป็นเคร่ืองบ่งช้ีถึงความสามารถทางในการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนแต่ละคนก่อนการเรียนโดยใชแ้บบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน

    7

  • กกกกกกกก4. คะแนนท่ีไดจ้ากการทดสอบหลงัเรียน (Post-test) เป็นเคร่ืองบ่งช้ีถึงความสามารถ ในการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนแต่ละคนก่อนการเรียนโดยใชแ้บบฝึกการอ่านภาษาองักฤษท่ีท่ีเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ ท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน กกกกกกกก5. ผูว้ิจยัเป็นผูด้าํเนินการทดลองดว้ยตนเอง เพื่อใหเ้ป็นไปตามรูปแบบการวิจยัท่ีกาํหนด

    นิยามศัพท์เฉพาะ กกกกกกกก1. แบบฝึกการอ่าน หมายถึง ส่ือการเรียนท่ีพฒันาทกัษะการอ่านภาษาองักฤษท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนโดยมีหัวขอ้ซ่ึงไดจ้ากการวิเคราะห์สภาพปัญหาวยัรุ่นตอนตน้ และรูปแบบของแบบฝึกพฒันาทกัษะการอ่านประกอบดว้ยกิจกรรมการอ่านท่ีเป็นภาระงานโดยเร่ิมจากการกิจกรรมก่อนการอ่าน กิจกรรมระหว่างการอ่าน และกิจกรรมหลงัการอ่าน แต่ละแบบฝึกจะมีการประเมินผลรายบท กกกกกกกก2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง ชุดขอ้สอบท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึน โดยอิงจุดประสงคก์ารเรียนรู้รายวิชาภาษาองักฤษดา้นทกัษะการอ่าน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ซ่ึงเน้ือหาบทอ่านเก่ียวกบัปัญหาของวยัรุ่นตอนตน้ โดยไดม้าจากการสํารวจความสนใจ (Need analysis) เก่ียวกบัปัญหาต่าง ๆ เช่น สุขภาพ สติปัญหา อารมณ์ และสังคมของนักเรียน เป็นแบบทดสอบแบบปรนยัชนิดเลือกตอบ มี 4 ตวัเลือก จาํนวน 30 ขอ้ ใชเ้วลาทาํขอ้สอบ 60 นาที เพื่อใชว้ดัความสามารถในการอ่านก่อนและหลงัการใชแ้บบฝึกการอ่านภาษาองักฤษ กกกกกกกก3. ประสิทธิภาพของส่ือการอ่าน หมายถึง คุณภาพของส่ือการอ่านภาษาองักฤษ เม่ือนักเรียนได้เรียนด้วยส่ือน้ีแลว้สามารถทาํคะแนนได้ไม่ตํ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 ซ่ึงมีความหมายดงัน้ี กกกกกกกกกกกก75 ตวัแรก หมายถึง ผลรวมเฉล่ียของคะแนนท่ีไดจ้ากการทาํแบบทดสอบทา้ยบทแต่ละบทของแบบฝึกการอ่าน ระหวา่งเรียนของนกัเรียนกลุ่มตวัอยา่งไดร้้อยละ 75 กกกกกกกกกกกก75 ตวัหลงั หมายถึง ผลรวมเฉล่ียของคะแนนท่ีไดจ้ากการทดสอบหลงัจากไดรั้บการสอนโดยใชแ้บบฝึกการอ่านภาษาองักฤษของกลุ่มตวัอยา่งไดร้้อยละ 75 กกกกกกกก4. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง คะแนนความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษของนกัเรียนประถมศึกษาชั้นปีท่ี 6 ท่ีไดจ้ากการทาํแบบทดสอบวดัความสามารถในการอ่านภาษาองักฤษ กกกกกกกก5. ความคิดเห็น หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของนกัเรียนท่ีมีต่อส่ือการอ่านท่ีผูว้ิจยัสร้างข้ึนในด้านเน้ือหา ด้านการออกแบบ ด้านกิจกรรม และด้านประโยชน์ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นลกัษณะเป็นมาตราประมาณค่าใหเ�