106
รายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําปการศึกษา 2558 (1 สิงหาคม 2558 31 กรกฎาคม 2559)

ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

รายงานการประเมินตนเอง

โรงเรียนการเรอืน

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

ประจําปการศึกษา 2558

(1 สิงหาคม 2558 – 31 กรกฎาคม 2559)

Page 2: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

คํานํา

โรงเรียนการเรือน ไดจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2558 เพ่ือรายงานผล

การดําเนินงานดานตาง ๆ ตามพันธกิจ ของโรงเรียนการเรือน โดยดําเนินการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา

ภายในระดับหลักสูตร แลวนําผลมาสังเคราะหเปนภาพรวมของโรงเรียน ตามตัวบงชี้คุณภาพท่ีสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา กําหนด

รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ ประกอบดวยเนื้อหาสาระสําคัญสามสวน โดยสวนแรก คือ

บริบทของโรงเรียนการเรือน สวนท่ีสอง คือ ผลการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน จํานวน 13 ตัวบงชี้

สวนท่ีสาม คือ สรุปผลการประเมิน โดยคณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําป

การศึกษา 2558 ไดดําเนินการตามระบบกลไกดานการประกันคุณภาพการศึกษา และไดรับความรวมมืออยางดียิ่ง

จากบุคลากรทุกคนของโรงเรียนการเรือน ทําใหงานประกันคุณภาพการศึกษาขับเคลื่อนไปไดดวยดีตลอดมา

โรงเรียนการเรือน คาดหวังวารายงานการประเมินตนเองฉบับนี้ จะเปนประโยชนในการพัฒนา

ดานประกันคุณภาพการศึกษา รวมท้ังพัฒนาการบริหารจัดการงานของโรงเรียนการเรือน และนําไปสูการพัฒนา

คุณภาพการศึกษา รวมท้ังพัฒนาการบริหารจัดการงานของโรงเรียนการเรือน ใหมีคุณภาพดียิ่งข้ึน ตามปณิธาน

ของงานประกันคุณภาพตอไป

ดร.กนกกานต วีระกุล

คณบดโีรงเรียนการเรือน

Page 3: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

สารบัญ

หนา คํานํา สารบัญ ก บทสรุปผูบริหาร ข สวนท่ี 1 บริบทองคกร

บทนํา 2 ขอมูลสารสนเทศ 8 การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจประเมิน

คุณภาพภายใน ปการศึกษา 7255 12

สวนท่ี 2 การดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

องคประกอบท่ี 1 การผลิตบัณฑิต 15 องคประกอบท่ี 2 การวิจัย 38 องคประกอบท่ี 3 การบริการวิชาการ 56 องคประกอบท่ี 4 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 60 องคประกอบท่ี 5 การบริหารจัดการ 64

สวนท่ี 3 สรุปผลการดําเนินงาน

ตารางท่ี 1 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จําแนกรายตัวบงชี้ ตารางท่ี 2 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จําแนกรายองคประกอบ

83 84

ภาคผนวก

กําหนดการตรวจ คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ ป

การศึกษา 2558 ขอมูลพ้ืนฐาน ประจําปการศึกษา 2558 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ปการศึกษา 2558

88 89

94 99

Page 4: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

บทสรุปผูบริหาร

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พัฒนาข้ึนมาจากการเปนโรงเรียนวิสามัญการเรือน ซ่ึงมีความเขมแข็งทางดาน

วิชาการเก่ียวกับอาหาร จึงเปนจุดเดนและถูกพัฒนาตอเนื่องมาโดยตลอด จนเปนอัตลักษณสาขาหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และจากแผนการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ท่ีมุงเนนการพัฒนาดานอัตลักษณเปนสําคัญ สภามหาวิทยาลัยจึงไดอนุมัติจัดตั้ง โรงเรียนการเรือน ข้ึนในวันท่ี 26 กุมภาพันธ 2553 มีสถานะเปนหนวยงานเทียบเทาคณะและมีขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตวาดวยโรงเรียนการเรือน พ.ศ. 2553

โรงเรียนการเรือน เปนหนวยงานท่ีมีภารกิจหลักในการผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพทางวิชาชีพข้ันสูงดานการประกอบอาหาร และการจัดตกแตง การสรางและพัฒนาองคความรู และนวัตกรรมเพ่ือเผยแพรและเปนแหลงอางอิงแกสังคมและทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ในปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีการจัดการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี แบงตามหลักสูตร 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ประกอบดวยสาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ สาขาวิชาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และสาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร และหลักสูตรศิลป ศาสตรบัณฑิต ไดแก สาขาวิชาคหกรรมศาสตร และมีศูนยฝกปฏิบัติการอาหารนานาชาติ โครงการศูนยปฏิบัติการเนย โรงน้ําด่ืมดุสิตา และงานอนามัยและสุขาภิบาลอาหาร ทําหนาท่ีเปนหนวยงานสนับสนุนการจัดการศึกษา ใหเปนไปดวยความเปนระเบียบเรียบรอย และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

มีนักศึกษาเต็มเวลา จํานวน 2,233 คน สําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2558 จํานวน 524 คน มีบุคลากรสายวิชาการจํานวน 79 คน และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ จํานวน 109 คน โรงเรียนการเรือนไดพัฒนาระบบบริหารงานและงานประกันคุณภาพการศึกษาเปนไปตามระบบประกันคุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยมีระบบและกลไกตามกระบวนการควบคุมคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ ซ่ึงแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนการเรือน และจัดทําคูมือการประกันคุณภาพในระดับคณะ เพ่ือใชเปนเกณฑในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองรองรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

สรุปผลการประเมินตนเอง

โรงเรียนการเรือน ดําเนินการประเมินตนเองตามเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษาภายในประจําปการศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบงชี้ ผลการประเมินตนเอง ไดคะแนนเฉลี่ย 4.20 อยูในระดับดี

Page 5: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

1

สวนที่ 1 บริบทองคกร

Page 6: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

2

สวนที่ 1

บริบทองคกร

1.1 ประวัติความเปนมา

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กอตั้งเมื่อป พ.ศ.2577 ในชื่อ“โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” ตามนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการที่ตองการใหผูหญิงในขณะนั้นไดมีการศึกษาเรียนรูเก่ียวกับการบานการเรือนที่ดี เปนโรงเรียน

การเรือนแหงแรกของประเทศไทย โดยใชสถานที่วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์เปนสถานที่เรียน (ปจจุบันเปนที่ตั้ง

ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร) ตอมาป พ.ศ.2480 ไดยายมาอยูที่สวนสุนันทา

(ที่ตั้งปจจุบัน) ป พ.ศ.2483 กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายที่จะพัฒนาการจัดการศึกษาในระดับประถมวัยข้ึนจึงได

จัดตั้ง “โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ” ข้ึน ในพื้นที่ติดกับโรงเรียนการเรือนโดยเปนโรงเรียนอนุบาลของรัฐแหงแรกใน

ประเทศไทย โรงเรียนการเรือนและโรงเรียนอนุบาลแยกการบริหารจัดการออกจากกัน ไมข้ึนตอกันและพัฒนาควบคู

กันมาโดยตลอด จนกระทั่งป พ.ศ.2504 โรงเรียนการเรือน เปลี่ยนสภาพเปนวิทยาลัยครูสวนดุสิต ระยะแรกผลิตครู

ทางดาน คหกรรมศาสตร ที่พัฒนามาจากการเรือน เปนหลัก สวนโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศก็มีแผนกฝกหัดครู ผลิต

ครูอนุบาล ควบคูไปกับการจัดการศึกษาสําหรับเด็กอนุบาล ป พ.ศ. 2518 เมื่อมีพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ.2518

โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ จึงไดยายมารวมกับวิทยาลัยครูสวนดุสิต ทั้งแผนกฝกหัดครูและเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล

ละอออุทิศ จึงเปลี่ยนชื่อใหมเปน โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ ทั้งนี้การพัฒนาของวิทยาลัยครูสวนดุสิตจะเนนใน

ดานคหกรรมศาสตร และการศึกษาปฐมวัยเปนหลัก

พ.ศ. 2538 วิทยาลัยครูสวนดุสิตเปลี่ยนสภาพเปน สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ตาม พ.ร.บ.สถาบันราชภัฏ พ.ศ.

2538 ในการจัดทําแผนกลยุทธของสถาบันราชภัฏสวนดุสิตไดมีการกําหนดอัตลักษณของสถาบันเอาไว 4 ดานดวยกัน

คือ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมบริการ การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาพิเศษ โดยหลักสูตรตางๆของสถาบัน

จะตองมีการพัฒนาบนพื้นฐานของอัตลักษณของสถาบัน การใชงบประมาณบุคลากร ทุนการศึกษาของบุคลากร ลวน

เนนหนักในดานอัตลักษณทั้ง 4 ดาน รวมทั้งการทําใหปรากฏในการยอมรับของสังคมภายนอกดวย จากการออกไปรับ

งานตางๆ ที่เปนสวนสนับสนุน เชน การทําอาหารในงานกีฬาเอเชี่ยนเกมส คร้ังที่ 13 การดูแลหองพักนักกีฬาเปนตน

พ.ศ.2547 สถาบันราชภัฏสวนดุสิต เปลี่ยนสถานภาพเปน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ตาม พ.ร.บ.

มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 การพัฒนางานของมหาวิทยาลัยยังคงเนนหนักในดานอัตลักษณเดิมที่สืบเนื่องมาจาก

สถาบันราชภัฏ

พ.ศ.2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติ จัดตั้งหนวยงานเทียบเทาคณะ คือ

โรงเรียนการเรือน (School of Culinary Arts) ข้ึนในวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 และมีขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนดุสิตวาดวยโรงเรียนการเรือน พ.ศ.2553 เปนขอบังคับในการบริหารจัดการของโรงเรียนการเรือน

พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เปลี่ยนสภาพเปนมหาวิทยาลัยใน กํากับของรัฐ ตาม

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 17 กรกฏาคม พ.ศ. 2558

และมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 18 กรกฏาคม พ.ศ. 2558 มีฐานะเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ภายในการกํากับดูแลของ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ โดยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงลงพระ

ปรมาภิไธยในวันที่ 16 กรกฏาคม พ.ศ. 2558 อันถือเปนสิริมงคลยิ่งแกมหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยในการประชุม

Page 7: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

3

คร้ังที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 24 กรกฏาคม 2558 จึงกําหนดใหวันดังกลาว คือวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เปนวันเกิด

ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ไดพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ความเขมแข็งทางวิชาการ อยูบนพื้นฐานเดิมของ

มหาวิทยาลัยมาโดยตลอด จนสรางความเขมแข็งใหกับมหาวิทยาลัยในปจจุบัน ในการจัดทําแผนกลยุทธของ

มหาวิทยาลัยในระยะ 5 ป (พ.ศ.2552-2556) ตอเนื่องมาถึงแผนกลยุทธมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําปงบประมาณ

พ.ศ.2557-2560 ไดมีการกําหนดไวชัดเจนวามหาวิทยาลัยจะมุงเนนไปดานอาหาร อุตสาหกรรมบริการ การศึกษา

ปฐมวัย และพยาบาลศาสตร

ในปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีการจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี แบงตามหลักสูตร 2

หลักสูตร ไดแก หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ประกอบดวยสาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร และสาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร และหลักสูตรศิลปศาสตร

บัณฑิต ไดแก สาขาวิชาคหกรรมศาสตร มีหนวยงานที่สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีภารกิจแตกตางกัน

ดังนี้

1. ศูนยฝกปฏิบัติการอาหารนานาชาติ มีภารกิจดูแลหองปฏิบัติการอาหารใหพรอมในการจัดการเรียน

การสอน จัดหลักสูตรฝกอบรมดานอาหารใหกับบุคคลภายนอก และจําหนาย เบเกอร่ี

2. โครงการศูนยปฏิบัติการเนย มีภารกิจในการผลิตและจําหนายเนยและเปนสถานฝกประสบการณ

วิชาชีพใหกับนักศึกษา

3. โรงน้ําดุสิตา มีภารกิจในการผลิตและจําหนายน้ําดื่ม และเปนสถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพใหกับ

นักศึกษา

4. งานอนามัยและสุขาภิบาลอาหาร มีภารกิจในการจัดสิ่งอํานวยความสะดวกดานสุขาภิบาลใหกับ

บุคลากร นักศึกษา และตรวจสอบคุณภาพของสถานที่ผลิตและการบริการอาหาร

1.2 ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร

ปรัชญา: โรงเรียนการเรือนคือผูนําดานอาหาร

วิสัยทัศน: โรงเรียนการเรือนเปนหนวยงานที่มีความเปนเลิศดานการประกอบอาหารไทย และการจัดตกแตง ในป 2020

พันธกิจ: โรงเรียนการเรือนเปนหนวยงานผลิตบัณฑติใหมีคุณภาพทางวิชาชีพข้ันสูงดานการประกอบอาหาร และการจัดตกแตง การสรางและพัฒนาองคความรู และนวัตกรรมเพื่อเผยแพรและเปนแหลงอางอิงแกสังคมและทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ประเด็นยุทธศาสตร 1. การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีทกัษะดานการประกอบอาหารไทยและการจัดตกแตง และมีคุณลกัษณะความ

เปนสวนดุสิตทีต่อบสนองความตองการของตลาดแรงงาน 2. การสรางและพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมในดานที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อใหบริการวิชาการและเปนแหลง

อางอิงของสังคม

Page 8: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

4

3. การประสานประโยชนและความรวมมือในการพัฒนาความรูและนวัตกรรมของโรงเรียนการเรือนและหนวยงานภายนอกเพื่อบริการวิชาการ

4. การรักษาบุคลากรที่เปนเลิศและพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรเพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 5. การบริหารจัดการโรงเรียนการเรือนใหเทาทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อความอยูรอดและเติบโตอยางยั่งยืน

เปาประสงค

1. การจัดการเรียนการสอนเนนการบูรณาการสูการทาํงานจริง (Work – based Learning) และบัณฑิตไดรับการยอมรับเปนไปตามความตองการของสังคมและตลาดแรงงาน

2. การเผยแพรผลงานทางวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ และการประยุกตใชองคความรู/นวัตกรรมในการเรียนการสอนและการบริการวิชาการ

3. สรางประโยชนจากความรวมมอืในการบริการวิชาการ 4. บุคลากรไดรับการพัฒนาไปสูความเปนมืออาชีพ และมีความเขาใจองคกร 5. การบริหารจัดการองคกรแบบมีสวนรวมที่มปีระสิทธิภาพ ประสทิธิผล

1.3 แผนผังโครงสรางของโรงเรียนการเรือน

โรงเรียนการเรือน

สํานักงานโรงเรียนการเรือน

สายสนับสนุน

สํานักงานฝกประสบการณ

สายวิชาการ

หลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

หลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร

หลักสูตรโภชนาการและการประกอบ

หลักสูตรคหกรรมศาสตร สํานักงานโรงเรียน

ศูนยฝกปฏิบัติการอาหาร

ศูนยปฏิบัติการเนย

โรงน้ําดุสิตา

งานอนามัยและสขุาภิบาล

Page 9: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

5

1.4 รายช่ือคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน

ดร.กนกกานต วีระกุล

คณบดี ประธานกรรมการ

รศ.ดร.วราภรณ ธาระวานิช

ผูทรงคุณวุฒ ิกรรมการ

รศ.ดร.วิไล รงัสาดทอง ผูทรงคุณวุฒ ิกรรมการ

รศ.ดร.วัชรพงศ วิสุทธิพงศ ผูทรงคุณวุฒิ กรรมการ

นายวิลเมนท ลีออง

ที่ปรกึษา

นางสาวธิติมา แกวมณี

รองคณบดี รองประธานกรรมการ

ดร.วราภรณ วิทยาภรณ รองคณบดี กรรมการ

ผศ.เอกพล ออนนอมพันธุ

ประธานกรรมการบรหิารหลกัสูตรคหกรรมศาสตร กรรมการ

อาจารยวีระ พุมเกิด

ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร

กรรมการ

นางจันทรจนา ศิริพันธวัฒนา

ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

กรรมการ

ผศ.พัทธนันท ศรีมวง

ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรโภชนาการและการประกอบอาหาร

กรรมการ

ประธานกรรมการบรหิารหลกัสูตรคหกรรมศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบรุี กรรมการ

นางสาวบุญญาพร เช่ือมสมพงษ

ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

วิทยาเขตสุพรรณบรุี กรรมการ

นางสาวสรุียพร ธัญญะกิจ

ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

ศูนยการศึกษานอกที่ต้ัง ลําปาง กรรมการ

นางสาวสาวิตรี ณุวงศศร ี

ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

ศูนยการศึกษานอกที่ต้ัง ตรัง กรรมการ

ผศ.ดร.แสงอรุณ เช้ือวงษบุญ

คณาจารยประจําโรงเรียนการเรือน กรรมการ

นายอัครพล ไวเชียงคา

คณาจารยประจําโรงเรียนการเรือน กรรมการ

ผศ.ดร.นฤมล นันทรกัษ

หัวหนาสํานักงานฝกประสบการณวิชาชีพ กรรมการ

นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

รักษาการหัวหนาสํานักงานคณบดี กรรมการและเลขานุการ

Page 10: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

6

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร

อาจารยวีระ พุมเกิด

ประธานกรรมการ

ดร.สุวรรณา พิชัยยงควงคดี

กรรมการ

ดร.ฐิตา ฟูเผา

กรรมการ

อาจารยวีระพงศ วิรุฬหธนกฤษณ กรรมการ

ดร.วราภรณ วิทยาภรณ กรรมการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

อาจารยจันทรจนา ศิริพันธวัฒนา ประธานกรรมการ

อาจารยนราธิป ปุณเกษม กรรมการ

ดร.ธีรนุช ฉายศิริโชติ

กรรมการ

อาจารยณจัยา เมฆราวี กรรมการ

อาจารยธัญลักษณ ศรีสําราญ กรรมการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรคหกรรมศาสตร

ผศ.เอกพล ออนนอมพันธุ ประธานกรรมการ

อาจารยนิลุบล ประเคนแสง

กรรมการ

อาจารยปวิตรา ภาสุรกุล

กรรมการ

อาจารยสายบังอร ปานพรม กรรมการ

อาจารยจารุณี วิเทศ กรรมการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรโภชนาการและการประกอบอาหาร

ผศ.พัทธนันท ศรีมวง ประธานกรรมการ

อาจารยฉัตรชนก บุญไชย

กรรมการ

อาจารยหทัยชนก ศรีประไพ กรรมการ

ดร.ยศพร พลายโถ กรรมการ

อาจารยยศสินี หัวดง กรรมการ

Page 11: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

7

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

วิทยาเขตสุพรรณบุรี

ผศ.ดร.นฤมล นันทรักษ ประธานกรรมการ

อาจารยผสุดี ขจรศักด์ิสิริกุล กรรมการ

อาจารยบุญญาพร เช่ือมสมพงษ

กรรมการ

อาจารยพรทวี ธนสัมบัณณ กรรมการ

อาจารยมนฤทัย ศรีทองเกิด กรรมการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรคหกรรมศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบุรี

อาจารยกาญจนา เฟองศรี ประธานกรรมการ

อาจารยนุชนาฏ กุลวิทย กรรมการ

อาจารยจันทกานต ทรงเดช กรรมการ

อาจารยณัฐธิดา กิจเนตร กรรมการ

อาจารยอัครพล ไวเชียงคา

กรรมการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

ศูนยการศึกษานอกท่ีตั้ง ลําปาง

อาจารยสุรียพร ธัญญะกจิ ประธานกรรมการ

อาจารยอรรถ ขันสี กรรมการ

อาจารยฐิติวรฎา ใยสําล ีกรรมการ

อาจารยจรรยา โทะนาบุตร กรรมการ

อาจารยสังวาลย ชมภูจา กรรมการ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ

ศูนยการศึกษานอกท่ีตั้ง ตรัง

อาจารยสาวิตรี ณุวงศศรี ประธานกรรมการ

อาจารยสุภาวดี นาคบรรพ กรรมการ

อาจารยทิพยพิกา ธรฤทธ์ิ กรรมการ

อาจารยดุษฎี ทรัพยบัว กรรมการ

อาจารยสรินทรทิพย สุตตาพงศ กรรมการ

Page 12: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

8

2. ขอมูลสารสนเทศ ประจําปการศึกษา 2558

2.1 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน หนวย : หลักสูตร

ระดับ จํานวน ปริญญาตรี 4 ประกาศนียบัตรบัณฑิต - ปริญญาโท - ปริญญาเอก -

รวมทั้งหมด 4 2.2 จํานวนนักศึกษา

จํานวนนักศึกษาใหม รหัส 58 หนวย : คน

หลักสูตร

ระดับการศึกษา

รวม ปริญญาตรี

ประกาศนียบัตรบัณฑิต

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

คหกรรมศาสตร 94 - - - 94

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 170 - - - 170

เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 58 - - - 58

โภชนาการและการประกอบอาหาร 54 - - - 54

คหกรรมศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบุรี 44 - - - 44

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

61 - - - 61

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง

46 - - - 46

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้งลําปาง

29 - - - 29

รวมทั้งหมด 556 - - - 556

Page 13: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

9

จํานวนนักศึกษาทั้งหมด (รหัส 55-58) หนวย : คน

หลักสูตร

ระดับการศึกษา

รวม ปริญญาตรี

ประกาศนียบัตรบัณฑิต

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

คหกรรมศาสตร 443 - - - 443

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 683 - - - 683

เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 206 - - - 206

โภชนาการและการประกอบอาหาร 217 - - - 217

คหกรรมศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบุรี 124 - - - 124

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

286 - - - 286

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง

141 - - - 141

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้งลําปาง

133 - - - 133

รวมทั้งหมด 2,233 - - - 2,233

จํานวนผูสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2558 หนวย : คน

หลักสูตร

ระดับการศึกษา

รวม ปริญญาตรี

ประกาศนียบัตรบัณฑิต

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

คหกรรมศาสตร 115 - - - 115

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 169 - - - 169

เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 26 - - - 26

โภชนาการและการประกอบอาหาร 37 - - - 37

คหกรรมศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบุรี 41 - - - 41

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ วิทยาเขตสุพรรณบุรี

96 - - - 96

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง ตรัง

19 - - - 19

เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้งลําปาง

21 - - - 21

รวมทั้งหมด 524 524

Page 14: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

10

2.3 จํานวนบุคลากร

จํานวนบุคลากรสายวิชาการ

วุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ

ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม

อาจารย - 54 13 67 ผูชวยศาสตราจารย - 5 7 12 รองศาสตราจารย - - - - ศาสตราจารย - - - -

รวมทั้งหมด - 59 20 79

จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

วุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ

ต่ํากวา ป.ตรี

ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม

เจาหนาที ่ 39 62 8 - 109 นักวิจัย - - - - -

รวมทั้งหมด 39 62 8 - 109

2.4 ขอมูลพ้ืนฐานโดยยอเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่

จํานวนงบประมาณที่ไดรับจดัสรร ปงบประมาณ 2559 หนวย : บาท

ประเภทงบประมาณ จํานวนเงิน

งบประมาณแผนดิน 4,686,779.76

งบบาํรุงการศึกษา -

งบประมาณจากภายนอก 9,836,090.50

รวมที่ไดรับจัดสรร 14,522,870.26

Page 15: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

11

อาคารสถานที่ในมหาวิทยาลัยสวนดุสิตและศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง อาคาร หองปฏิบัติการ หองพักอาจารย หองสํานักงาน อ่ืน ๆ รวม

อาคาร 10 7 2 1 - 10 อาคาร 12 4 - 1 - 5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ

4 2 - - 6

อาคารปฏิบัติการอาหารนานาชาต ิ

4 1 1 - 6

อาคารวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

- 3 - - 3

อาคารแววเที่ยงธรรม วิทยาเขต สุพรรณบุรี

6 2 3 - 11

ศูนยฝกปฏิบตัิการอาหารนานาชาติ ศูนยการศึกษานอกที่ตั้งลําปาง

2 1 - - 3

ศูนยฝกปฏิบตัิการอาหารนานาชาต ิหวยยอด ศูนยการศึกษานอกที่ตั้ง

3 1 - - 4

รวม 30 12 6 - 48

2.5 เอกลักษณหรือวัฒนธรรม วัฒนธรรมองคการ

1. บุคลากรและนักศึกษามีบุคลิกภาพที่ดี 2. ศึกษาและพัฒนาองคความรูดานอาหารและคหกรรมศาสตร 3. มีวินัย คุณธรรม และรับฟงความคิดเห็นของคนอ่ืน 4. สามารถใชเทคโนโลยีใหเปนประโยชน 5. มีความประณีตและรูจริงในงานที่ทํา

คานิยม

SCA S=Specialization ความเชี่ยวชาญเฉพาะ C= Creative สรางสรรคพัฒนาองคความรู A=Attraction ความมีเสนหจากบุคลิกภาพเฉพาะของบุคลากรและนักศึกษา

Page 16: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

12

การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ

ตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ปการศึกษา 2557

องคประกอบ จุดเดน แนวทางการพัฒนา

องคประกอบที่ 1การผลิตบัณฑิต

- ควรใชศักยภาพของศิษยเกา โดยใหเขามาม ี สวนรวมในการพัฒนาทั้งดานการจัดการเรียนการสอน และสวนรวมในกิจกรรมตางๆ เพื่อตอ ยอดความรู การปรับปรุง โรงเรียนการเรือนไดมีการจัดโครงการตางๆ อาทิเชน โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาแบบบูรณาการ ประกอบดวยกิจกรรมรวมพลังชาวการเรือน สานสัมพันธนอง-พี่ ประจําปการศึกษา 2558, กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2558, กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม Freshy Day 2015, กิจกรรมกีฬาตานยาเสพติด สานสัมพันธโรงเรียนการเรือนคร้ังที่ 5, กิจกรรมพัฒนานักศึกษาตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษา ,กิจรรมปจฉิมนิเทศโรงเรียนการเรือน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหศิษยเกาไดมี สวนในการแนะนําใหความรู และรวมในกิจกรรมตางๆ

องคประกอบที่ 2 การวิจัย

คณะมีกระบวนการในการบริหาร และพัฒนางานวิจัย และงานสรางสรรคที่เดนชัด และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งบุคลากรมีความสามารถในการหา แหลงทุนทั้งภายในและภายนอกจนแสดงผลงานออกมาเปนที่ประจักษ

ค ณ ะ ค ว ร ดึ ง ศั ก ย ภ า พ ข อ งบุ ค ล า ก ร ที่ มีผลงานวิจัยใหนํามาตอยอดในการพัฒนาเปน ผลงานทางวิชาการเพื่อใหอาจารยกาวเขาสูการขอรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงทางวิชาการในคณะใหเพิ่มข้ึน การปรับปรุง - โรงเรียนการเรือนสงเสริมใหอาจารยเขารวมโครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสายวิชาการอย างตอ เนื่ อง และในป การศึกษา 2558 มีบุคลากรสายวิชาการได รับตําแหน งผู ช วยศาสตราจารยเพิ่มข้ึน จํานวน 3 คน - โรงเรียนการเรือนสงเสริมใหอาจารยศึกษาตอในระดับปริญญาเอกในสาขาที่เก่ียวของ และมีการติดตามผลการศึกษาของอาจารยที่ลาศึกษา

องคประกอบที่ 3ก า ร บ ริ ก า รวิชาการ

คณะมีผลงานทางดานการบริการวิชาการเปนที่ยอมรับของสังคม ซึ่งสามารถที่ จะใช การยอมรับจากสังคมภายในและภายนอกไปสูการ

คณะควรสรางกระบวนการจัดทําแผนในการบริหารงานดานบริการวิชาการใหชัดเจน และมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสามารถนําไปประยุกตใชไดอยางเปนระบบ

Page 17: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

13

องคประกอบ จุดเดน แนวทางการพัฒนา

บริการวิชาการที่มีประสิทธิภาพ จะสงผลตอการยอมรับที่ดียิ่งข้ึน

การปรับปรุง โร ง เ รี ย น ก า ร เรื อ น มี ก า รจั ด ทํ า แ ผ น ก า รบริหารรงานดานการบริการวิชาการอยางเปนลายลักษณ อักษร เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานดานการบริการวิชาการ

องคประกอบที่ 4ก า ร ทํ า นุ บํ า รุ งศิ ล ป ะ แ ล ะวัฒนธรรม

ค ณ ะ /มี ส า ข า เป น ที่ ย อ ม รั บ โดยเฉพาะศักยภาพของบุคลากร ดานอาหารเปนที่ยอมรับของสังคม

คณะควรสรางกระบวนการจัดทําแผนในดาน ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมใหชัดเจน และมีประสิทธิภาพ เพื่อใหสามารถนําไปประยุกตใชไดอยางเปนระบบ การปรับปรุง โรงเรียนการเรือนมีการจัดทําในดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมอยางเปนลายลักษณอักษร เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานดานทํานุ-บํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

องคประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

คณะมีแผนกลยุทธ ที่ ชัดเจน ซึ่ งสามารถนําไปสู แผนกลยุทธ ทางการเงินและแผนปฏิบัติราชการไดอยางชัดเจน

- คณะควรมีการจัดทํ าแผนความเสี่ ยงตามข้ันตอนและวิธีการที่ถูกตองและเหมาะสมจะสงผล ตอการดําเนินงานตามพันธกิจของคณะไดอยางมีประสิทธิภาพ การปรับปรุง - โรงเรียนการเรือนมีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ ย ง เพื่ อ ให การดํ า เนิ น งาน เป น ไปอย างมีประสิทธิภาพ - โรงเรียนการเรือนสนับสนุนใหบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุนเขารวมเปนกรรมการดานวิชาชีพระดับชาติ หรือ นานาชาติ เพื่อเปนการเผยแพรองคความรู และแนวปฏิบัติที่ดีของบุคลากร แกวงการวิชาชีพดานอาหาร

Page 18: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

14

สวนที่ 2

ผลการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Page 19: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

15

องคประกอบท่ี 1 การผลิตบัณฑิต

ตัวบงช้ืท่ี 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม ชนิดของตัวบงช้ี ผลลัพธ เกณฑการประเมิน คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินทุกหลักสูตรท่ีคณะรับผิดชอบ สูตรการคํานวณ คะแนนท่ีได =

ขอมูลพ้ืนฐาน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีการจัดการเรียนการสอนท้ังสิ้น 4 หลักสูตร โดยมีผลรวมคาคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร เทากับ 12.13 คิดเปนคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมของโรงเรียนการเรือน เทากับ 3.03 คะแนน ซ่ึงบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 2.50 คะแนน 3.03 คะแนน 3.03 คะแนน บรรลุ

ผลรวมคาคะแนนประเมินของทุกหลักสตูร

จํานวนหลักสตูรท้ังหมดท่ีคณะรับผิดชอบ

ลําดับ รายช่ือหลักสูตร คะแนนเฉล่ียประเมินหลักสูตร 1. หลักสูตรคหกรรมศาสตร 2.68 2. หลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 3.15 3. หลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 3.49 4. หลักสูตรโภชนาการและการประกอบอาหาร 2.81

ผลรวมคาคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร (4 หลักสูตร) 12.13 คะแนนเฉล่ียภาพรวมคณะ 3.03

Page 20: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

16

รายการหลักฐาน รหัส รายการหลักฐาน

กร.1.1.0.1 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรคหกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 8255

กร.1.1.0.2 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ ประจาํปการศึกษา 8255

กร.1.1.0.3 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร ประจําปการศึกษา 8255

กร.1.1.0.4 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรโภชนาการและการประกอบอาหาร ประจําปการศึกษา 2558

จุดเดน - จุดท่ีควรพัฒนา

- ผูกํากับ 1. ดร.กนกกานต วีระกุล ผูจัดเก็บขอมูล

1. นางสาวดวงสุดา ลีลา

ผูเขียนผลดําเนินการ

1. นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

Page 21: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

17

ตัวบงช้ีท่ี 1.2 อาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบงช้ี ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน โดยการแปลงคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกเปนคะแนนระหวาง 0 – 5 เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2 คารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 40 ข้ึนไป สูตรการคํานวณ 1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก ตามสูตร

จํานวนอาจารยประจาํคณะทีม่คุีณวุฒิปริญญาเอก X 100

จํานวนอาจารยประจาํคณะทั้งหมด 2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบเปนคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒิปรญิญาเอก

X 5 รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีมีคุณวุฒิปรญิญาเอกท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเตม็ 5

ขอมูลพ้ืนฐาน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีจํานวนอาจารยประจําวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา รวมท้ังสิ้น 20 คน จํานวนอาจารยประจํารวมท้ังสิ้น 79 คน คิดเปนรอยละ 25.31 มีคาคะแนน เทากับ 3.16 ซ่ึงไมบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด

ลําดับ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลดําเนินงาน 1. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 79 2. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทา - 3. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา 59 4. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ วุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา 20

5. คารอยละของอาจารยประจํา วุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา (20x100)/79 25.31 6. คาคะแนนท่ีได (25.31x5)/40 3.16

Page 22: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

18

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย รอยละ 31 รอยละ 25.31 3.16 คะแนน ไมบรรลุ

รายการหลักฐาน

รหัส รายการหลักฐาน กร.1.2.0.1 รายนามบุคลากรสายวิชาการโรงเรียนการเรือน

จุดเดน - จุดท่ีควรพัฒนา - ควรมีระบบและกลไกการติดตามความกาวหนาในการลาศึกษาตอปริญญาเอกของบุคลากรท่ีเปนรูปธรรม ผูกํากับ 1. ดร.กนกกานต วีระกุล ผูจัดเก็บขอมูล 1. นางสาวสุธิดา โสดา 2. นางสาวดวงพร ยาคํา ผูเขียนผลดําเนินการ 1. นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

Page 23: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

19

ตัวบงช้ีท่ี 1.3 อาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ

ชนิดของตัวบงช้ี ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน โดยการแปลงคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการเปนคะแนนระหวาง 0 – 5 เกณฑเฉพาะสถาบันกลุม ข และ ค2 คารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารยรวมกัน ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 60 ข้ึนไป สูตรการคํานวณ 1. คํานวณคารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ ตามสูตร

จํานวนอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ X 100

จํานวนอาจารยประจําคณะท้ังหมด

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนทีไ่ด = รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ

X 5 รอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5

ขอมูลพ้ืนฐาน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีจํานวนอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ รวมท้ังสิ้น 12 คน จํานวนอาจารยประจํารวมท้ังสิ้น 79 คน คิดเปนรอยละ 15.18 มีคาคะแนน เทากับ 1.26 ซ่ึงบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด

ลําดับ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลดําเนินงาน 1. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 79 2. จํานวนอาจารยประจาํทั้งหมดทีด่ํารงตําแหนงอาจารย 67 3. จํานวนอาจารยประจาํทั้งหมดทีด่ํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย 12 4. จํานวนอาจารยประจาํทั้งหมดทีด่ํารงตําแหนงรองศาสตราจารย -

5. จํานวนอาจารยประจาํทั้งหมดทีด่ํารงตําแหนงศาสตราจารย -

6. จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ 12

7. คารอยละของอาจารยประจําคณะท่ีดํารงตําแหนงทางวิชาการ (12x100)/79 15.18 8. คาคะแนนท่ีได (15.18x5)/60 1.26

Page 24: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

20

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย รอยละ 15 รอยละ 15.18 1.26 คะแนน บรรลุ

รายการหลักฐาน

รหัส รายการหลักฐาน กร.1.3.0.1 รายนามบุคลากรสายวิชาการโรงเรียนการเรือน

จุดเดน - จุดท่ีควรพัฒนา ควรมีระบบกลไกสงเสริมใหอาจารยเขาสูตําแหนงทางวิชาการท่ีมีประสิทธิภาพ ผูกํากับ 1. ดร.กนกกานต วีระกุล ผูจัดเก็บขอมูล

1. นางสาวสุธิดา โสดา 2. นางสาวดวงพร ยาคํา ผูเขียนผลดําเนินการ 1. นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

Page 25: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

21

ตัวบงช้ีท่ี 1.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา ชนิดของตัวบงช้ี ปจจัยนําเขา เกณฑการประเมิน ในกรณีท่ีจานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจํานอยกวาหรือเทากับเกณฑมาตรฐานกําหนดเปนคะแนน 5 ในกรณีท่ีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจํามากกวาเกณฑมาตรฐานให คํานวณหาคาความแตกตางระหวางจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจํากับเกณฑมาตรฐาน และนําคาความแตกตางมาพิจารณาดังนี้ คาความแตกตางของจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจาท่ีสูงกวาเกณฑมาตรฐานตั้งแตรอยละ 20 กําหนดเปนคะแนน 0 คาความแตกตางของจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจําท่ีสูงกวาเกณฑมาตรฐานตั้งแตรอยละ 0.01 และไมเกินรอยละ 20 ใหนํามาเทียบบัญญัติไตรยางศตามสูตรเพ่ือเปนคะแนนของหลักสูตรนั้นๆ สูตรการคํานวณจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา 1. คํานวณคาหนวยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours: SCH) ซ่ึงก็คือผลรวมของผลคูณระหวางจํานวน นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนกับจํานวนหนวยกิตแตละรายวิชาท่ีเปดสอนทุกรายวิชาตลอดปการศึกษา รวบรวมหลังจากนักศึกษาลงทะเบียนแลวเสร็จ (หมดกําหนดเวลาการเพ่ิม-ถอน) โดยมีสูตรการคํานวณ ดังนี้ SCH = ∑nici เม่ือ ni = จํานวนนักศึกษาท่ีลงทะเบียนในวิชาท่ี i ci = จํานวนหนวยกิตของวิชาท่ี i 2. คํานวณคา FTES โดยใชสูตรคํานวณ ดังนี้

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทยีบเทาตอป ( FTES) = Student Credit Hours (SCH) ทั้งป

จํานวนหนวยกิตตอปการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการลงทะเบียนในระดับปริญญานั้น ๆ

การปรับจํานวนในระหวางปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาใหมีการปรับคาจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาในระดับ บัณฑิตศึกษาใหเปนระดับปริญญาตรี เพ่ือนํามารวมคํานวณหาสัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจํา

นักศึกษาเต็มเวลาในหนวยนับปริญญาตรี 1. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ 2. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรกายภาพ 3. กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

= FTES ระดับปริญญาตรี + FTES ระดับบัณฑิตศึกษา = FTES ระดับปริญญาตรี + (2 x FTES ระดับบัณฑิตศึกษา) = FTES ระดับปริญญาตรี + (1.8 x FTES ระดับบัณฑิตศึกษา)

Page 26: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

22

สัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตออาจารยประจําแยกตามกลุมสาขา

กลุมสาขา สัดสวนจํานวนนักศึกษา

เต็มเวลาตออาจารยประจํา 1. วิทยาศาสตรสุขภาพ 8:1 2. วิทยาศาสตรกายภาพ 20:1 3. วิศวกรรมศาสตร 20:1 4. สถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง 8:1 5. เกษตร ปาไมและประมง 20:1 6. บริหารธุรกิจ พาณชิยศาสตร บัญชี การจัดการ การทองเที่ยว เศรษฐศาสตร 25:1 7. นิติศาสตร 50:1 8. ครุศาสตร/ศึกษาศาสตร 30:1 9. ศิลปกรรมศาสตร วิจิตรศิลปและประยุกตศิลป 8:1 10. สังคมศาสตร/มนุษยศาสตร 25:1

สูตรการคํานวณ 1) คํานวณหาคาความแตกตางจากเกณฑมาตรฐานและนํามาคิดเปนคารอยละ ตามสูตร

สัดสวนจํานวนนกัศึกษาเต็มเวลาตอจํานวนอาจารยประจําที่เปนจริง – สัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตอจํานวนอาจารยประจําตามเกณฑมาตรฐาน X 100

สัดสวนจํานวนนกัศึกษาเต็มเวลาตอจํานวนอาจารยประจําตามเกณฑมาตรฐาน

2) นําคารอยละจากขอ 1 มาคํานวณคะแนน ดังนี้ 2.1) คารอยละนอยกวาหรือเทากับรอยละ 0 คิดเปน 5 คะแนน 2.2) คารอยละมากกวาหรือเทากับรอยละ 20 คิดเปน 0 คะแนน 2.3) คารอยละมากกวารอยละ 0 แตนอยกวารอยละ 20 ใหนํามาคิดคะแนน ดังนี้

คะแนนท่ีได = (5 – (คารอยละท่ีคํานวณไดจากขอ 2.3)

4

ขอมูลพ้ืนฐาน

ลําดับ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลดําเนินงาน มนุษยศาสตร วิทยาศาสตรกายภาพ

1. จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอป (FTES) 488.78 1597.64 2. สัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตอจํานวนอาจารยประจาํที่เปนจริง 488.78/19

=25.73 1597.64/51

=31.33 3. สัดสวนจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาตอจํานวนอาจารยประจาํตามเกณฑ

มาตรฐาน 25:1 20:1

4. ผลตางสัดสวนจาํนวนนกัศึกษาเต็มเวลาตอจํานวนอาจารยประจําที่ได 0.73 11.33

5. คารอยละของผลตางจากเกณฑมาตรฐาน (0.73x100)/25 =2.92

(11.33x100)/20 =56.65

6. คาคะแนนท่ีได 4.27 0

Page 27: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

23

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา คิดเปนรอยละของผลตางจากเกณฑมาตรฐาน กลุมสาขามนุษยศาสตร และวิทยาศาสตรกายภาพ รอยละ 2.88 และ 33.10 ตามลําดับ การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย

5 คะแนน สาขามนุษยศาสตร 5 คะแนน สาขาวิทยาศาสตร 0 คะแนน

2.135 คะแนน ไมบรรลุ

หมายเหตุ : สาขามนุษยศาสตร ไดแก หลักสูตรคหกรรมศาสตร สาขาวิทยาศาสตรกายภาพ ไดแก หลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร หลักสูตรโภชนาการและการประกอบอาหาร และหลักสูตรเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ รายการหลักฐาน

รหัส รายการหลักฐาน กร.1.4.1.1 ขอมูลจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอป จุดเดน - จุดท่ีควรพัฒนา - ผูกํากับ 1. ดร.กนกกานต วีระกุล ผูจัดเก็บขอมูล 1. นางสาวสุธิดา โสดา 2. นางสาวดวงพร ยาคํา ผูเขียนผลดําเนินการ 1. นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

Page 28: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

24

ตัวบงช้ีท่ี 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

1 จัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการ และการใชชวีิตแกนักศึกษาในคณะ

โรงเรียนฯ มีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางวิชาการ และการแนะนําการใชชีวิตแกนักศึกษาในคณะ โดยทางมหาวิทยาลัยฯ มอบนโยบายการจัดบริการให คําปรึกษาแนะแนวการใชชีวิตในมหาวิทยาลัย กํากับดูแลโดยรองอธิการบดีฝายกิจการนักศึกษา (กร.1.5.1.1) เพื่ อใหคณะซึ่ งมีคณะกรรมการกิจการนักศึกษาของโรงเรียน (กร.1.5.1.2) ดําเนินการตอไป

- สํานักสงเสริมวิชาการ และงานทะเบียนกําหนดใหโรงเรียนจัดสงรายชื่ออาจารยเพื่อจัดทําการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาของนักศึกษาแตละชั้นป เพื่อให คําปรึกษาทางวิชาการ และการแนะนําการใชชีวิตแกนักศึกษา (กร.1.5.1.3)

- มีการจัดทําคูมืออาจารยที่ปรึกษา เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานในการใหคําปรึกษาแตละหลักสูตร (กร.1.5.1.4)

- มหาวิทยาลั ยฯ จั ดให มี การปฐมนิ เทศนักศึกษาในภาพรวมของมหาวิทยาลัย และแยกตามคณะ และหลั กสู ตร ผ านโครงการปฐมนิ เทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 (กร.1.5.1.5)

- มีศูนยสนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ โดยมีบุคลากรของศูนยสนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพใหคําปรึกษาแกนักศึกษา (กร.1.5.1.6)

- กร.1.5.1.1 รายงานการประชุมมอบนโยบายการดําเนินงานดานกิ จการนั กศึ กษา ประจํ าปการศึกษา 2558 - กร.1.5.1 .2 คําสั่ งแต งตั้ งคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา - กร.1.5 .1 .3 คํ าสั่ งแต งตั้ งอ า จ า ร ย ที่ ป รึ ก ษ า ข อ งนักศึกษารหัส 58 - กร.1.5.1.4 คูมืออาจารยที่ปรึกษา - กร .1 .5 .1 .5 รายงานสรุป กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2558 - กร.1.5.1.6 ศูนยสนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ

2 มีการใหขอมูลของหนวยงานที่ใหบริการกิจกรรมพิเศษนอก

โรงเรียนฯ มีการใหขอมูลของหนวยงานที่ใหบริการกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหลง

Page 29: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

25

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

หลักสูตร แหลงงานทั้งเต็มเวลา และนอกเวลาแกนักศึกษา

งานทั้งเต็มเวลาและนอกเวลาแกนักศึกษา ดังนี้

- มีการประชาสัมพันธขอมูลหนวยงานที่ใหบริการกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตรผานศูนยสนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ (กร.1.5.2.1)

- มี การป ระชาสั มพั น ธข าวสารของหนวยงานที่ ใหบริการกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตรผานบอรดประชาสัมพันธภายในม ห า วิ ท ย า ลั ย ร ว ม ถึ ง ช อ ง ท า ง ก า รป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ผ า น เว็ ป ไ ซ ต ข อ งมหาวิทยาลัย www.dusit.ac.th เวปไซตของโรงเรียน (กร.1.5.2.2)

- การประชาสัมพันธผานชองทางการสื่อสารของคณะและศูนยการศึกษา เชน เวปไซตของโรงเรียนฯ /ศูนยการศึกษา, Facebook โรงเรียนฯ /ศูนยการศึกษา เปนตน (กร.1.5.2.3)

นอกจากนี้โรงเรียนยังมีเครือขายความ

รวมมือกับหนวยงานและสถาบันตางๆ เพื่อ

เพิ่ ม ศักยภาพ ประสบการณ และสราง

ประโยชนใหแกนักศึกษา เชน

- ความรวมมือระหวางโรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กับบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาเขาฝกปฏิบัติงานดานการประกอบอาหารบ ริ ก า ร บ น เค ร่ื อ ง บิ น แ ล ะ ใน ส ถ า นประกอบการของบริษัท (กร.1.5.2.4)

- ความรวมมือในการสงนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพกับสถานประกอบการธุรกิจโรงแรมในระดับ 5 ดาว (กร.1.5.2.5)

- กร.1.5.2.1 ศูนยสนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ - กร .1 .5 .2 .2 เว็ ป ไซต ขอ งมหาวิทยาลัยwww.dusit.ac.th เว็ปไซตของโรงเรียนการเรือน - กร.1 .5 .2 .3 เฟ สบุ คของโรงเรียนการเรือน - กร.1.5 .2 .4 ความร วมมื อระหว างโรงเรี ยนการเรื อน มหาวิทยาลั ยสวนดุ สิ ต กับบ ริษั ท การบิ น ไทย จํ ากั ด (มหาชน) - กร.1.5.2.5 หนั งสื อส งตั วนั กศึ กษาฝ กประสบการณวิชาชีพกับสถานประกอบการธุรกิจโรงแรมในระดับ 5 ดาว

3 จัดกิจกรรมเตรียมความพรอมเพื่อการทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษาแกนักศึกษา

มหาวิทยาลัยฯ กําหนดใหโรงเรียนฯ จัดกิจกรรม/โครงการ เชน โครงการแนะแนวและการเตรียมความ

- ก ร .1 .5 .3 .1 ร า ย ง า นโครงการแนะแนวและการเตรียมความพรอมกอนการ

Page 30: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

26

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

พรอมกอนการฝกประสบการณวิชาชีพใหกับ

นักศึกษาชั้นปที่ 4 (กร.1.5.3.1) เพื่อเตรียม

ความพรอมกอนออกฝกประสบการณวิชาชีพ

ในสถานประกอบการณ และเมื่อนักศึกษาฝก

ประสบการณวิชาชีพเสร็จเรียบรอย ทาง

โรงเรียนจึงไดจัดโครงการ /กิจกรรม ปจฉิม

นิเทศ แยกตามหลักสูตรฯ เพื่อเตรียมความ

พรอมในการทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษาแก

นักศึกษา สําหรับนักศึกษาชั้นปที่ 4 (กร.

1.5.3.2) โดยการประสานงานเชิญศิษยเกา

และวิทยากรภายนอกจากสถานประกอบการ

และหนวยงานตาง ๆ มารวมบรรยายเพื่อแนะ

แนวทางการประกอบอาชีพแกนักศึกษาตาม

สายวิชาชีพ เพื่อเปนขอมูลใหกับนักศึกษาใน

การเตรียมพรอมสําหรับประกอบอาชีพใน

อนาคต

ฝกประสบการณวิชาชีพใหกับนักศึกษาชั้นปที่ 4 หลักสูตรคหกรรมศาสตร - กร.1.5.3.2 รายงานสรุปโครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษาโรงเรียนการเรือน

4 ประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมและการจัดบริการในขอ 1 - 3 ทุกขอไมต่ํากวา 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5

โรงเรียนฯ มีผลการประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมและการจัดบริการในตั้แตขอ 1 – ขอ 3 ดังนี้ - จัดบริการใหคําปรึกษาแนะแนวทางดานวิชาการ และดานการใชชีวิตและการเขาสู อ าชีพ แกนั ก ศึกษ าในการจัด กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2558 และโครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษาโรงเรียนการเรือน (กร.1.5.4.1-3) คะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.51

- การใหขอมูลของหนวยงานที่ใหบริการกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตรแหลงงานทั้งเต็มเวลา และนอกเวลาแกนักศึกษา(กร.1.5.4.1) คะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.51

- กิจกรรมเตรียมความพรอมเพื่ อการทํางานเมื่อสําเร็จการศึกษาแกนักศึกษาในโครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษาโรงเรียนการ

- กร.1.5.4.1 รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจตอสิ่งสนั บ สนุ น การเรี ยน รู ขอ งนักศึกษาโรงเรียนการเรือน ปการศึกษา 2558 - ก ร .1 .5 .4 .2 กิ จ ก ร ร มปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2558 - กร.1.5 .4.3 รายงานส รุปโครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษาโรงเรียนการเรือน

Page 31: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

27

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

เรือน (กร. 1.5.4.3) คะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.51

5 นําผลการประเมินจากขอ 4 มาปรับปรุงพัฒนาการใหบริการและการใหขอมูล เพื่อสงใหผลการประเมินสูงข้ึนหรือเปนไปต า ม ค ว า ม ค า ด ห วั ง ข อ งนักศึกษา

โรงเรียนฯ มีการประชุมคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา (กร.1.5.5.1) โดยนําผลการประเมินจากขอ 4 มาปรับปรุงพัฒนาการใหบ ริการและการใหขอมูล เพื่ อส งผลใหนักศึกษามีความพึงพอใจเพิ่มข้ึน ซึ่งขอมูลผลการป ระเมินและการป รับป รุงในการปการศึกษา 2558 ไดสรุปไวในเลมรายงานผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธดานกิจการนักศึกษา ปการศึกษา 2558 (กร.1.5.5.2) และนําขอมูลพัฒนาเปนแผนการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2559 ตอไป

- กร.1.5 .5 .1 รายงานการป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า รกิจกรรมนักศึกษา - กร.1.5.5.2 รายงานผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธด า น กิ จ ก า รนั ก ศึ ก ษ า ปการศึกษา 2559

6 ให ข อมู ลและความ รูที่ เป นป ระ โยชน ใน การป ระกอบอาชีพแกศิษยเกา

โรงเรียนฯ มีการใหขอมูลและขาวสารที่เปนประโยชนตอศิษยเกา โดยผานชองทางสื่อตางๆ ของมหาวิทยาลัย ดังนี้ - ป ระ ช าสั ม พั น ธ ผ าน เว็ บ ไซ ต ข อ งมหาวิ ทยาลั ย www.dusit.ac.th หั วข อข าวประชาสัมพันธ/ศิษยเกา (กร.1.5.6.1) - ประชาสัมพันธผานเว็บไซตของศูนยสนเทศแ น ะ แ น ว ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ อ า ชี พ http://www2.dusit.ac.th/ guidance/ (กร.1.5.6.2) - ประชาสัมพันธผานเว็บไซตของโรงเรียนการอ า ห า ร น า น า ช า ติ http://www.chefschool.dusit.ac.th/ (กร.1.5.6.3) - ประชาสัมพันธผานเว็บไซตของโรงเรียนฯ และเฟสบุคของโรงเรียนฯ และเว็บไซตของศูนยการศึกษา(กร.1.5.6.4) และประชาสัมพันธใหนั กศึ กษาและศิษย เก าเข าร วมกิ จกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดข้ึน เชน การอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร กองสุขาภิบาลอาหาร สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร

- กร.1.5.6.1 ประชาสัมพนัธผานเว็บไซตของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตwww.dusit.ac.th - กร.1.5.6.2 ประชาสัมพันธผานเว็บไซตของศูนยสนเทศแนะแนวการศึกษาและอาชีพ - กร.1.5.6.3 ประชาสัมพันธผานเว็บไซตของโรงเรียนการอ า ห า ร น า น า ช า ติ http://www.chefschool.dusit.ac.th/ - กร.1.5.6.4 ประชาสัมพันธผานเว็บไซตและเฟสบุคของโรงเรียนการเรือน - ก ร .1 .5 .6 .5 ก า รอ บ ร มหลักสูตรสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร - กร.1.5.6.6 รายงานสรุป

Page 32: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

28

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

รวมกับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดอบรมและประเมินผลความรูดานสุขาภิบาลอาหารแกผูประกอบการและผูสัมผัสอาหาร (กร.1.5.6.5), การประชาสัมพันธรับสมัครงานตางๆ เพื่อบริการแกศิษยเกาที่จบการศึกษาไปแลว ซึ่งยังไมมีงานทําหรือตองการแลกเปลี่ยนงาน โดยมีสถานประกอบการ มารวมรับสมัครงาน และมีการจัดกิจกรรมปจฉิมนิเทศใหกับนักศึกษาชั้นปที ่4 (กร.1.5.6.6) มีการเชิญศิษยเกา และตัวแทนสถานประกอบการเขารวมกิจกรรมเพื่อเปนอีกชองทางในการหางานของนักศึกษาและศิษยเกา

โ ค ร ง ก า ร ป จ ฉิ ม นิ เท ศ โรงเรียนการเรือนป 2558

การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 6 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน บรรลุ

จุดเดน โรงเรียนการเรือนมีการสงเสริมการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนานักศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ ในเรื่องรูปแบบ ของการจัดกิจกรรม รวมท้ังการใหเสรีภาพในการจัดกิจกรรมตามท่ีมีนักศึกษาเปนผูดําเนินกิจกรรม จุดท่ีควรพัฒนา ผูกํากับ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร. พรยุพรรณ พรสุขสวัสดิ์ 2. อาจารยจันทรจนา ศิริพันธวัฒนา ผูจัดเก็บขอมูล 1. นางสาวธัญลักษณ ศรีสําราญ 2. นางสาวปรียานิตย ตั้งธานาภักดี ผูเขียนผลดําเนินการ 1. ผูชวยศาสตราจารยดร.พรยุพรรณ พรสุขสวัสดิ์ 2. นางจันทรจนา ศิริพันธวัฒนา 3. นางสาวจารุณี วิเทศ 4. นางสาวธัญลักษณ ศรีสําราญ

Page 33: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

29

ตัวบงช้ีท่ี 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตร ี

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

1 จัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในภาพรวมของคณะ โดยใหนักศึกษามีสวนรวมในการจัดทําแผนและการจัดกิจกรรม

คณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนไดมอบหมายใหคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา (กร.1.6.1.1) จัดทําแผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษา (กร.1.6.1.2) โดยการมีสวนรวมกับคณะกรรมการนักศึกษาโรงเรียนการเรือน โดยกําหนดกิจกรรมตางๆ ใหครบถวนทั้งดานการสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามเอกลักษณของนักศึกษาโรงเรียนการเรือน คุณธรรมจริยธรรม กีฬา สุขภาพ การบําเพ็ญประโยชน การส งเสริมและทํ านุ บํ ารุ งศิ ลปวัฒนธรรม โดยมีกระบวนการจัดทําแผน ดงันี้

1. จัดประชุมคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา โดยมีคณะกรรมการนักศึกษาโรงเรียนการเรือนเขารวมพิ จารณาแผนกลยุทธด านกิจกรรมนักศึกษาใหสอดคลองกับวิสัยทัศน นโยบาย และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ

2. จัดทําแผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษา ปการศึกษา 2558 โดยกําหนดเปาหมาย และตัวชี้วัดของแผนฯ

3. นําเสนอแผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษาตอที่ประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน เพื่ อพิ จารณาให ความเห็ นชอบ ในการประชุ มคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน (กร. 1.6.1.3)

4. จัดทําแผนกิจกรรมนักศึกษาประจําปการศึกษา 2558 โดยการมีสวนรวมของคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษาและกรรมการนักศึกษา จากนั้นนําเสนอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนเพื่อขออนุมัติแผนดําเนินการประจําป

- ก ร .1 .6 .1 .1 คํ า สั่ ง แ ต งตั้ งคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา - กร. 1.6.1.2 แผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษา ปการศึกษา 2558 - กร. 1.6.1.3 รายงานวาระการประชุมคณะกรรมการโรงเรียนการเรือน - กร. 1 .6 .1 .4 ส รุปแผนการดําเนินงานการจัดกิจกรรม ตามแผนกลยุทธกิจกรรมนักศึกษา ปการศึกษา 2558

Page 34: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

30

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

5. ดําเนินงานตามแผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษา

6. สรุปแผนการจัดกิจกรรมตามแผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษา (กร. 1.6.1.4)

2 ใน แผน การจั ด กิ จ ก รรมพัฒนานักศึกษา ใหดําเนินกิ จ ก ร ร ม ที่ ส ง เ ส ริ มคุณ ลั กษณ ะบัณ ฑิ ตตามมาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบ มาต รฐาน คุณ วุฒิแห งช าติ 5 ประการ ใหครบถวน ประกอบดวย (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู (3) ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

โรงเรียนการเรือนมีนโยบายในการสงเสริมการจัดกิจกรรมนักศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมอบหมายใหอาจารยที่ เป นคณ ะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา และคณะกรรมการนักศึกษาโรงเรียนการเรือนใหความรูและดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ในการเขียนโครงการเพื่อการจัดโครงการ/กิจกรรมดานการสงเสริมและพัฒนานักศึกษาเพื่อสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ 5 ประการ โดยมีโครงการ/กิจกรรมดังตอไปนี้

1. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและถวายเทียนจํานําพรรษา ป 2558 และกิจกรรมไหวครูและบายศรีสูขวัญ สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม (กร.1.6.2.1-2)

2. โครงการสวนดุสิต ครัวของแผนดิน กิจกรรมครบเคร่ืองเร่ืองการเรือน สงเสริมดานความรู ทักษะทางปญญา ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (กร.1.6.2.3)

3. กิจกรรมปฐมนิ เทศ (กร.1.6.2.4) กิจกรรม Freshy Day 2015 (กร.1.6.2.5) และกิจกรรมกีฬาตานยาเสพติด สานสัมพันธโรงเรียนการเรือนคร้ังที่ 5 ประจําปการศึกษา 2558 (กร.1.6.2.6) สงเสริมดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความรับผิดชอบ

4. กิ จก รรม รวมพ ลั งช าวก าร เรือน สานสัมพันธนอง-พี่ ปการศึกษา 2558 สงเสริมดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และ

- กร.1.6.2.1 รายงานสรุปโครงการเอกลักษณความเปนไทย กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและถวายเทียนจํานําพรรษา ปการศึกษา 2558 - กร.1.6.2.2 รายงานสรุปโครงการเอกลักษณความเปนไทย กิจกรรมการไหวครูและบายศรีสูขวัญ ปการศึกษา 2558 - กร.1.6.2.3 รายงานสรุปโครงการสวนดุสิต ครัวของแผนดิน - กร.1.6.2.4 รายงานสรุปรายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนั ก ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2558 - กร.1.6.2.5 รายงานสรุปรายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนั ก ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กิจกรรม Freshy Day 2015 - กร.1.6.2.6 รายงานสรุปรายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนั ก ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กิจกรรมกีฬาตานยาเสพติด สานสัมพันธโรงเรียนการเรือนคร้ังที่ 5ประจําป 2558 - กร. 1.6.2.7 รายงานสรุปรายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนั ก ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กิจกรรมรวมพลังชาวการเรือน สานสัมพันธนอง-พี่ ปการศึกษา 2558

Page 35: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

31

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ความรับผิดชอบ การสื่ อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (กร.1.6.2.7)

5. โครงการบูรณาการดานการเรียนการสอนเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารรวมกับสวนงานของโรงเรียนการเรือน สงเสริมดานความรู ทักษะทางปญญา ทักษะความสัมพันธระหวางบุ คคล และความ รับผิ ดชอบ ทั กษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (กร.1.6.2.8)

6. โค ร ง ก า ร Granny Smith Apple season 3 สงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรม และดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความรับผิดชอบ (กร. 1.6.2.9)

- กร. 1.6.2.8 รายงานสรุปโครงการบูรณาการดานการเรียนการสอนเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารรวมกับสวนงานของโรงเรียนการเรือน - กร . 1 .6 .2 .9 ราย งาน ส รุปโ ค ร ง ก า ร Granny Smith Apple season 3

3 จัดกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพแกนักศึกษา

โรงเรียนการเรือนจัดกิจกรรมใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพแกนักศึกษาทุกชั้นป ผาน “โครงการพัฒนานักศึกษาแบบบูรณาการ กิจกรรมพัฒนานักศึกษาตามแนวทางประกันคุณภาพการศึกษา” (กร.1.6.3.1) โดยในกิจกรรม ประกอบดวย การอบรมเร่ืองการประกันคุณภาพการศึกษาจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ และการอบรมเชิงปฏิบัติการแบบกลุมเพื่อใหนักศึกษาไดมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับการประกันคุณภาพการศึกษา และสามารถนําความรูที่ ไดไปใชในการจัดกิจกรรมของนักศึกษาเองโดยใชหลักการ PDCA นอกจากนี้ยังไดใหความรูดานประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษาชั้นปที่ 1 ผานกิจกรรมปฐมนิ เทศ (กร.1 .6 .3.2) เพื่ อ ใหนักศึกษาที่เขาใหมมีความเขาใจตอการประกันคุณภาพการศึกษากอนเปดภาคเรียน

- ก ร .1 .6 .3 .1 ร าย งาน ส รุปโค ร งก า รพั ฒ น า ศั ก ย ภ า พนั ก ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กิจกรรมพัฒนานักศึกษาตามแนวประกันคุณภาพการศึกษา - กร.1.6.3.2 รายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาแบบบูรณาการ กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปท่ี 1 ปการศึกษา 2558

4 ทุกกิจกรรมที่ดําเนินการ มีการประเมินผลความสําเร็จต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส งค ข อ งกิจกรรม และนํ าผลการประเมินมาป รับป รุงการ

1. คณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษากําหนดใหมีการประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของการจัดโครงการ/ กิจกรรม โดยกําหนดคาเปาหมายความสําเร็จตามวัตถุประสงคไว รอยละ 80 ผลการประเมิน

- กร.1.6.4.1 รายงานสรุปโครงการเอกลักษณความเปนไทย กิจกรรมการไหวครูและบายศรีสูขวัญ ปการศึกษา 2558 - กร.1.6.4.2 รายงานสรุปโครงการ

Page 36: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

32

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ดําเนินงานคร้ังตอไป พบวาทุกโครงการ/กิจกรรมดําเนินการไดบรรลุความสําเร็จตามวัตถุประสงคทุกโครงการ/กิจกรรม คิดเปนความสําเร็จรอยละ 100 (กร. 1.6.4.9) 2. นําผลการประเมินไปปรับปรุงในแตละโครงการ/กิจกรรม พบวาการดําเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมบรรลุความสําเร็จตามวัต ถุประสงคทุกโครงการ/กิจกรรม และสามารถส งเส ริม คุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติไดครบทั้ง 5 ประการ ดังนั้น คณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษาจึงไดมีการพิจารณาใหมีการจัดโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ ในป ถัดไป โดยมีแผนการปรับปรุงโครงการ/กิจกรรม (กร. 1 .6 .4 .10 ) ที่ ไดดําเนินการในรอบ 12 เดือนโดยพิจารณาจากผลความสําเร็จตามวัตถุประสงคของกิจกรรม และผลประเมินความพึงพอใจของผูเขารวมกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมปฐมนิ เทศ ควรปรับปรุงดานระยะเวลาการจัดกิจกรรม โดยในปการศึกษา 2559 ไดเพิ่มระยะเวลาในการแนะนําอาจารยแตละหลักสูตรและรายละเอียดของแตละหลักสูตร - กิจกรรมรวมพลังชาวการเรือนสานสัมพันธนอง-พี่ ควรปรับปรุงดานสถานที่ โดยการประสานงานกับฝายอาคาร - กิจกรรมกีฬาตานยาเสพติดสานสัมพันธโรงเรียนการเรือนคร้ังที่ 5 พบวา ควรปรับปรุงดานความเหมาะ สมของสถานที่ โดยเพ่ิมรอบการแขงขัน - กิ จกรรรมพัฒ นานั ก ศึกษาตามแนวประกัน คุณ ภาพการศึกษา ควรเพิ่ มช วงกิจกรรมระหวางบรรยายเพื่อให เกิดความนาสนใจมากยิ่งข้ึน - กิจกรรม Freshy Day 2015 ควรปรับปรุง

เอ ก ลั ก ษ ณ ค ว า ม เป น ไท ย กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและถวายเทียนจํานําพรรษา ป 2558 - กร.1.6.4.3 รายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาแบบบูรณาการ กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2558 - กร.1.6.4.4 รายงานสรุปโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาแบบบูรณาการ Freshy Day 2015 - ก ร .1 .6 .4.5 ราย งาน ส รุ ปโค ร งก า รพั ฒ น า ศั ก ย ภ า พนั ก ศึ ก ษ า แ บ บ บู ร ณ า ก า ร กิจกรรมกีฬาตานยาเสพติด สานสัมพันธโรงเรียนการเรือนคร้ังที่4ประจําป กร.1.6.4.6 รายงานสรุปโครงการสวนดุสิต ครัวของแผนดิน - ก ร . 1 .6 .4 .7 ราย งาน ส รุ ปโครงการบูรณาการดานการเรียนการสอนเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารรวม กับส วน งานของโรงเรียนการเรือน - กร . 1 .6 .4 .8 รายงานส รุปโ ค ร ง ก า ร Granny Smith Apple season 3 - กร. 1.6.4.9 ผลการประเมินผลความสําเร็จตามวัตถุประสงคข อ ง กิ จ ก รรม ด าน กิ จก รรมนักศึกษาทุกโครงการ/กิจกรรม - ก ร . 1 .6 .4 .1 0 แ ผ น ก า รป รับ ป รุ งก ารจั ด โค ร งก า ร /กิจกรรมดานกิจกรรมนักศึกษา

Page 37: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

33

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ดานรูปแบบและความนาสนใจของกิจกรรมโดยใหตัวแทนนักศึกษาของโรงเรียนการเรือนเสนอความคิด เห็น ในการจัด กิจกรรมใหหลากหลายมากข้ึนตอสภานักศึกษาของมหาวิทยาลัย - กิจกรรมการไหวครูและบายศรีสูขวัญ ปการศึกษา 2558 ควรปรับปรุงดานระยะเวลาการจัดกิจกรรม โดยจัดใหมีผูรับผิดชอบในการกํากับเวลาแตละข้ันตอนของกิจกรรมใหเปนไปตามกําหนดการที่วางไว - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและถวายเทียนจํานําพรรษา ปรับปรุงดานความเหมาะสมของสถานที่ โดยแบงนักศึกษาในการทํากิจกรรมเพื่อไมใหนักศึกษาแออัดในสถานที่แตละจุดมากเกินไป - โครงการสวนดุสิตครัวของแผนดิน มีปญหาดานสิ่งอํานวยความสะดวกภายในงาน จึงมีแผนเสนอใหเพิ่มจํานวนที่นั่งพัก และเปดใหใชหองน้ําในตึกเรียนตาง ๆ เพิ่มข้ึน - กิจกรรมเปดหองวิจัยฯ ควรปรับปรุงดานการฝกทักษะการนําเสนอและเผยแพรงานวิจัยดานอาหาร โดยการใหนักศึกษามี โอกาสฝกซอมการนําเสนอกอนกิจกรรมจริง - กิจกรรมเปดหูเปดตา ควรปรับปรุงดานการตอบขอซักถามของวิทยากร และเอกสาร สื่อ รวมถึงอุปกรณในการนําเสนอที่เหมาะสม โด ย ป ร ะ ส า น กั บ วิ ท ย า ก ร แ ล ะ ส ถ า นประกอบการในการจัดเตรียมสื่อใหพรอมกอนวันจัดกิจกรรม - กิจกรรมนักวิทยรุนใหมฯ ควรปรับปรุงดานเอกสาร สื่อ รวมถึงอุปกรณในการนําเสนอที่ เหมาะสม โดยประสานกับวิทยากรและหนวยงานในการจัดเตรียมสื่อใหพรอมกอนวันจัดกิจกรรม - กิจกรรมเตรียมความพรอมนักศึกษาดาน

Page 38: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

34

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ประกันคุณภาพการศึกษา ควรปรับปรุงดานความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรมโดยประสานกับฝายอาคารเพื่อขอหองประชุมที่มีความจุเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษา - กิจกรรมอบรมระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ควรปรับปรุงดานเอกสาร สื่อ รวมถึงอุปกรณในการนําเสนอที่เหมาะสม โดยประสานกับวิทยากรและหนวยงานในการจัดเตรียมสื่อใหพรอมกอนวันจัดกิจกรรม - โครงการปจฉิมนิเทศหลักสูตรเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร มีปญหาดานความสามารถในการถายทอดความรูของวิทยากร มีแผนการป รั บ ป รุ ง โ ด ย จั ด ห า พิ ธี ก ร ที่ มี ค ว า ม รู ความสามารถที่เก่ียวของกับหัวขอบรรยายเพื่อชวยใหวิทยากรสามารถถายทอดความรูใหนักศึกษาไดดียิ่งข้ึน - โครงการบูรณาการการเรียนการสอนดานเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารรวมกับสวนงานของโรงเรียนการเรือน ควรปรับปรุงดานความเหมาะสมของสถานที่ในการจัดกิจกรรม โดยลดจํานวนนักศึกษาตอรอบการฝกปฏิบัติงาน และเพิ่มรอบในการฝกปฏิบตัิงานใหมากข้ึน - โครงการประกวดทักษะฝมือการประกอบอาหารไทย ควรปรับปรุงดานการตัดสินการแขงขัน โดยมีการประชุมกรรมการตัดสินดานเกณฑการตัดสินเพื่อใหการตัดสินไปในทิศทางเดียวกัน - โครงการขยับกาย สบายชี วี ชี วิตสุ ขี รางกายแข็งแรง ควรปรับปรุงดานการเขารับบริการ ณ ศูนยบริหารกายโดยประสานงานกับเจาหนาที่ดูแลศูนย - โครงการแนะแนวและการเตรียมความพรอมกอนฝกประสบการณ วิชาชีพ ควรปรับปรุงดานระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม โดยเลือกหัวขอที่จําเปนเพื่อใหเหมาะสมกับ

Page 39: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

35

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ระยะเวลาการจัดกิจกรรม - โครงการปจฉิมนิเทศหลักสูตร คหกรรมศาสตร ควรปรับปรุงดานระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรม โดยเลือกหัวขอที่นาสนใจตอการประกอบอาชีพของนักศึกษา - โครงการ Granny Smith Apple season 3 ควรปรับปรุงการเอาใจใสชวยเหลือผูเขารวมโครงการจากรุนพี่และเจาหนาที่ โดยมีการประชุมใหเขาใจบทบาทของรุนพี่และเจาหนาที่ในการดําเนินกิจกรรม คณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษาไดสรุปแผนการปรับปรุงการดําเนินงานโครงการ/กิ จ ก ร ร ม ใน ป ถั ด ไป คื อ ก า ร กํ า ห น ดวัตถุประสงคของแตละโครงการ /กิจกรรมจะตองชัดเจน และวัตถุประสงคที่ กําหนดจะตองสามารถวัดผลการดําเนินงานได

5 ประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

คณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา และคณะกรรมการนักศึกษาของโรงเรียนการเรือน ไดประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยคณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษาโรงเรียนการเรือนไดติดตามตรวจสอบการดําเนินงาน ประเมินความสําเร็จ (กร .1.6.5.1 ) ดังนี้

1. ประเมินความสําเร็จของแผนการจัดกิจกรรมจากตัวบงชี้และคาเปาหมายที่แตละกิจกรรมไดกําหนดไวตามตัวบงชี้ ดังนี้

ตัวบงชี้ที่ 1 จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่ไดดําเนินการสําเร็จตามแผน

- มี จํ าน วน โค รงการ/ กิ จกรรม 20 โครงการ/กิจกรรมดํ า เนิ น การสํ า เร็จ ในกําหนดเวลาตามแผน

ตัวบงชี้ที่ 2 คะแนนความพึงพอใจของการจัดโครงการ/กิจกรรมตามแผนฯ

- คะแนนความพึ งพอใจของการจัดโครงการ/กิจกรรม ไม ต่ํ ากว า 3 .51 ทุ ก

- ก ร .1 .6 .5 .1 ส รุ ป ผ ล ก า รดํ า เนิ น ง า น ด า น กิ จ ก ร ร มนักศึกษาของโรงเรียนการเรือน - กร. 1.6.5.2 แผนการปรับปรุงการจัดโครงการ/กิจกรรมดานกิจกรรมนักศึกษา

Page 40: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

36

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

โครงการ/กิจกรรม ตัวบงชี้ที่ 3 จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่

บ รรลุความสํ า เร็จตามวัต ถุป ระสงคของโครงการ/กิจกรรม

- มี จํ าน วน โค รงการ/ กิ จกรรม 20 โครงการ/กิจกรรมบรรลุความสําเร็จตามวัตถุประสงคของโครงการ/กิจกรรม

ผลการประเมินความสําเร็จของแผนฯ พบวาบรรลุความสําเร็จทุกตัวบงชี้ 2.นําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษาในปถัดไป โดยพิ จ ารณ าจากแผนการป รับ ป รุงการจั ดโครงการ/กิจกรรม (กร. 1.6.5.2)

6 นํ า ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ไ ปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา

คณะกรรมการฝายกิจกรรมนักศึกษา โรงเรียนการเรือนนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนกลยุทธสําหรับจัดโครงการ/กิจกรรมในปถัดไป โดยใชผลการประเมินที่ ไดทุ กโครงการ/กิจกรรมเขาประชุมพิจารณาแนวทางการปรับปรุงแผนกลยุทธกิจกรรมนักศึกษาในปการศึกษา 2559 โดยเห็นสมควรใหจัดกิจกรรมนักศึกษาสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามเอกลักษณของนักศึกษาโรงเรียนการเรือนเหมือนในปการศึกษา 2558 และยังคงมีการจัด 2 โครงการหลักของโรงเรียนการเรือน ไดแก โครงการเอกลักษณความเปนไทย และโครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาแบบบูรณาการ

- กร.1.6.1.1 แผนกลยุทธดานกิจกรรมนักศึกษา โรงเรียนการเรือน ปการศึกษา 2558

การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 6 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน บรรลุ

Page 41: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

37

จุดเดน 1. การจัดกิจกรรมของนักศึกษาไดสะทอนอัตลักษณของนักศึกษาโรงเรียนการเรือน ท้ังในดานงานประกอบอาหาร และงานประดิษฐ 2. การจัดกิจกรรมไดมาจากความตองการของนักศึกษา โดยมีการสนับสนุนของอาจารยท่ีใหคําปรึกษาในการดําเนินงาน จุดท่ีควรพัฒนา

- ผูกํากับ 1. ดร.วราภรณ วิทยาภรณ 2. นางจันทรจนา ศิริพันธวัฒนา ผูจัดเก็บขอมูล 1. นางสาวดวงสุดา ลีลา 2. นางสาวปรียานิตย ตั้งธานาภักดี ผูเขียนผลดําเนินการ 1. ดร.วราภรณ วิทยาภรณ 2. นายวีระพงศ วิรุฬหธนกฤษณ

Page 42: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

38

องคประกอบท่ี 2 การวิจัย

ตัวบงช้ีท่ี 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสรางสรรค

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

1 มี ระบบสารสน เทศ เพื่ อการบ ริห ารงานวิจัยที่สามารถนําไปใชประโยชนในการบริหารงานวิจัย หรืองานสรางสรรค

โรงเรียนการเรือนไดมี การใช ระบบสารสน เท ศ (R-system) ผ าน ท างสถาบันวิจัยในการบริหารงานวิจัยของอาจารยและนักวิจัย โดยสามารถยื่นขอทุน และติดตามทุนวิจัยจากเงินทุนวิจัยในแหล งต าง ๆ ได (กร.2.1.1.1) ซึ่ งผูบริหารของโรงเรียนการเรือนสามารถเขาถึงขอมูลในระบบสารสนเทศเพื่ อพิจารณาขอมูลในการบริหารงานวิจัยผ านระบบ R-system โดยผู บริหารสามารถเขาไปตรวจสอบระบบขอมูลการนําสงขอเสนอการวิจัย เพื่อกระตุนใหอาจารยทํางานวิจัยได (กร.2.1.1.2-3)

- กร.2.1.1.1 ระบบฐานขอมูลงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสวนดสิต - กร.2 .1 .1 .2 คู มื อการใช ระบบ R-system สําหรับผูบริหาร - กร.2.1.1.3 อาจารยและบุคลากรที่เขาใชระบบสารสนเทศของสถาบันวิจัยและพัฒนา

2 สนับสนุนพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรค ในประเด็นตอไปนี้ - หองปฏิบัติการหรือหองปฏิบัติงานสรางสรรค หรือหนวยวิจัย หรือศูนยเค ร่ืองมือ หรือศูนยให คําปรึกษาและสนับสนุนการวิจัยหรืองานสรางสรรค - หองสมุดหรือแหลงคนควาขอมูลสนับสนุนการวิจัยหรืองานสรางสรรค - สิ่งอํานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยหรือการผลิตงานสรางสรรค เชน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยใน

โรงเรียนการเรือนมีการสนับสนุน พัน ธ กิจด านการวิจั ยห รืองานสรางสรรค โดยมีการสนับสนุนห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร วิ จั ย ไ ด แ ก หองปฏิบัติการศูนยฝกปฏิบัติการอาหารนานาชาติ ศูนยปฏิบัติการเนย ที่มีคุณภาพสามารถใชทํางานวิจัยได (กร.2.1.2.1) รวมถึงมีการใช ท รัพ ย ากรร วม กั น กับ ศู น ยเคร่ืองมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี (กร.2.1.2.2) โดยหองปฏิบัติการ

- กร.2.1.2.1 หองฝกปฏิบั ติ การอาหารนานาชาติ และศูนยปฏิบัติการเนย (รูปถาย) - กร.2.1.2.2 รายชื่ อเคร่ืองมือวิ เคราะหสําหรับงานวิจัยของโรงเรียนฯ และศูนยเคร่ืองมือปฏิบัติการวิทยาศาสตร - กร.2.1.2.3 คูมือการจัดการความปลอดภัยสําหรับหองปฏิบัติการ - กร.2.1.2.4 เว็บไซตสํ านักวิทยบริการสถาบันวิจัยและพัฒนา และหนวยจัดการทรัพยสินทางปญญาฯ และหนวยบมเพาะวิสาหกิจของมหาวิทยาลัย

Page 43: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

39

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

หองปฏิบัติการ - กิจกรรมวิชาการที่สงเสริมงานวิจัยหรืองานสรางสรรค เชน การจัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสรางสรรค การจัดใหมีศาสตราจารยอาคันตุกะหรือศ า ส ต ร า จ า ร ย รั บ เ ชิ ญ ( visiting professor)

ทั้ งห ม ด มี ระ บ บ รัก ษ าค ว ามปลอดภัย เชน เคร่ืองตรวจจับควัน อุปกรณดับเพลิง เปนตน โดยมีคูมือการจัดการความปลอดภัยสํ าห รับ ห อ งป ฏิ บั ติ ก า ร (ก ร .2.1.2.3) รวมทั้งมีการจัดบริการแหลงคนควาทางวิชาการ เชน สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับคนควาขอมูลดานอาหาร และ คหกรรมศาสตร รวมถึงยังมีจุดเชื่อมตอ wireless เพื่ อ เขาสูการคนขอมูล เชน e-journal e-book ผ า น เว็ ป ไซ ตของมหาวิทยาลัย และยังมีแหลงคนควาขอมูลดานวิจัยและงานสรางสรรค เชน สถาบันวิจัยและพัฒนา และหนวยจัดการทรัพยสินทางปญญาฯ และหนวยบมเพาะวิสาหกิจ (กร. 2.1.2.4) รวมทั้ งทางโรงเรียนฯ ไดมีการเขารวมจัดกิจกรรมที่สงเสริมงานวิจัย โดยเปนคณะกรรมการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู: การเรียนรูในศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 ” ใ น วั น ที่ 7 มิ ถุ น ายน 2559 (ก ร . 2.1.2.5) และมีอาจารยของทางโรงเรียนฯ เขารวมนําเสนอผลงานวิจัยในดานการแกปญหาในชั้น เรียน (กร. 2.1.2.6) นอกจากนั้น โรงเรียนฯ ยังจัดกิจกรรม Researcher Club อัตลักษณอาหาร เพื่อสงเสริมการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอทุน วช. 2561 โดยมีศาสตราจารยรับเชิญ (กร.2.1.2.7)

- กร.2.1.2.5 การประชุมวิชาการระดับชาต ิ“การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู: การเรียนรูในศตวรรษที่ 21” - กร.2.1.2.6 ผลงานวิจัยที่นํ าเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ - ก ร .2.1.2.7 โค ร งก า ร Researcher Club Food พรอมผลลัพธที่ได

Page 44: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

40

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

3 จัดสรรงบประมาณ เพื่อเปนทุนวิจัยหรืองานสรางสรรค

โรงเรียนการเรือนมีการดําเนินการภายใตระบบของสถาบันวิจัยและพั ฒ นา ในเร่ื องของการจั ดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการวิจัยในสวนของงบประมาณแผนดิน และการจั ด ส รรทุ น อุ ด ห นุ น ก ารวิ จั ย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (กร.2.1.3.1) ซึ่ งท างโรงเรี ยน ฯ ได มีโครงการวิจัย จํานวน 27 โครงการ และได รับงบประมาณสนับสนุ น จํานวน 5,976,490.50 (กร.2.1.3.2)

- กร.2.1.3.1 แผนภาพการสรุปรูปแบบ

การจัดสรรทุนการวิจัยดวยงบประมาณ

ของมหาวิทยาลัย

- กร.2.1 .3 .2 โครงการวิจัยที่ ได รับงบประมาณเพื่อสนับสนุนการวิจัย

4 จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ

โรงเรียนการเรือนมีการดําเนินการภายใตระบบของสถาบันวิจัยและพัฒนา ในเร่ืองของการสนับสนุนทุนเพื่อการเผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค โดยไดรับทุนส นั บ ส นุ น ต า ม ป ร ะ ก า ศมห าวิท ย าลั ยส วนดุ สิ ต เร่ื อ งหลักเกณฑ วิธีปฏิบัติ การเสนอโค รงการวิ จั ย แล ะ อั ตราการจ าย เงิน ทุ น อุ ดห นุ น ก ารวิ จั ย (กร.2.1.4.1) ซึ่งทางโรงเรียนฯ ไดมีผลงานวิจัยที่ไดรับงบประมาณสนับสนุนในการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ จํานวน 1 เร่ือง (กร.2.1.4.2)

- กร.2.1.4.1 ประกาศมหาวิทยาลัยสวนดุสิต เร่ืองหลักเกณฑ วิธีปฏิบัติ การเสนอโครงการวิจั ย และ อัตราการจายเงินทุนอุดหนุนการวิจัย - ก ร .2 .1 .4 .2 ง า น วิ จั ย ที่ ไ ด รั บงบประมาณเพื่อสนับสนุนในการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ

5 มีการพัฒ นาสมรรถนะอาจารยและนักวิจัย มีการสรางขวัญและกําลังใจตลอดจนยกยองอาจารย และนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคดีเดน

โรงเรี ยนการเรื อนมี การพั ฒ นาสมรรถนะอาจารย โดยสนับสนุนใหอาจารยเขาอบรมในโครงการตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการวิจัย ไดแก การอบรมวิทยากรวิจัย วช. (แมไก) (กร.2.1.5.1) การอบรมความรูทางดานการประเมินและวิธีการวิจัยทางดานโภชนาการ รุนที่ 16 (กร.2.1.5.2)โครงการสนับสนุนการสรางเครือขายการวิจัยภายใน

- กร.2.1.5.1 เอกสารการอบรมวิทยากรวิจัย และหนังสือเชิญเปนวิทยากรดานการวิจัย - กร.2.1.5.2 เอกสารการอบรมและใบประกาศนียบัตรการเขารับการอบรมความรูทางดานการประเมินและวิธีการวิจัยทางดานโภชนาการ รุนที่ 16 - กร.2.1.5.3 โครงการสนับสนุนการสรางเครือขายการวิจัยภายในตามอัต

Page 45: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

41

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ตามอัตลักษณ (Researcher club) ในดานอาหาร เพื่อสรางความเขมแข็ง ทางวิชาการ ใหแกอาจารยในโรงเรียน ฯ โดยมีการเชิญผูทรงคุณวุฒิมาชวยในการพัฒนาโครงรางงานวิจัยเพื่อเสนอขอสนั บสนุ นทุ นจาภายนอก (กร.2.1.5.3) รวมทั้ งมี การสนั บสนุ นใหอาจารยพัฒนาศักยภาพของตนเองผานโครงการส งเสริมให อาจารย เข าสูตําแหนงทางวิชาการ หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ พบวาอาจารยของโรงเรียนฯ ไดผานการพิจารณาและไดรับตําแหนงทางวิชาการในระดับผูชวยศาสตรจารย (กร.2.1.5.4) นอกจากนี้ยังมีการสรางขวัญและกําลังใจ ดวยการกลาวยกยองชมเชยอาจารยที่มีผลงานวิจัยดีเดน ผานวาระการประชุมคณะกรรมการวิจัย โรงเรียนการเรือน (กร.2.1.5.5)

ลั ก ษ ณ (Researcher club) ด า นอาหาร - กร .2 .1 .5 .4 โครงการส ง เส ริม ใหอาจารยเขาสูตําแหนงทางวิชาการ - กร .2 .1 .5 .5 รายงานการป ระชุ มคณะกรรมการวิจัย โรงเรียนการเรือน

6 มีระบบและกลไกเพื่อชวยในการคุมครองสิทธิ์ของงานวิจัย หรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชนและดําเนินการตามระบบที่กําหนด

โรงเรียนการเรือนมีระบบและกลไกรวมถึงแนวทางการดําเนินงานดานทรัพยสินทางปญญา เพื่อดําเนินการสนับสนุนการจดสิทธิบัตรการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของงานวิจั ย หรือสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัยเจาของผลงาน (กร.2.1.6.1-4)

- กร.2.1.6.1 ข้ันตอนในการการยื่นขอจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร - กร.2.1.6.2 หนังสือกินดีอยูดี - กร.2.1.6.3 อนุสิทธิบัตร

การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 6 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน บรรลุ

จุดเดน

โรงเรียนการเรือนมีนโยบายสนับสนุนใหอาจารยและบุคลากรผลิตผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค รวมท้ัง

นําผลงานท่ีไดไปสูการตีพิมพเผยแพรในระดับชาติและนานาชาติ หรือการนําผลงานวิจัย/งานสรางสรรคไปใช

Page 46: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

42

ประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสงเสริมและสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยงานสรางสรรคท่ีมีคุณภาพและมีคุณคา

ตรงตามอัตลักษณของมหาวิทยาลัย

จุดท่ีควรพัฒนา

-

ผูกํากับ

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุบล ชื่นสําราญ

ผูจัดเก็บขอมูล

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฐติา ฟูเผา 2. นางสาวฐานิช วงศเมือง

ผูเขียนผลดําเนินการ

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุบล ชื่นสําราญ 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฐิตา ฟูเผา

Page 47: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

43

ตัวบงช้ีท่ี 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค

ชนิดชองตัวบงช้ี ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน โดยการแปลงจํานวนเงินตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําเปนคะแนนระหวาง 0 – 5

เกณฑเฉพาะคณะกลุม ข และ ค2 จําแนกเปน 3 กลุมสาขาวิชา กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทข้ึนไปตอคน กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทข้ึนไปตอคน กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทข้ึนไปตอคน สูตรการคํานวณ คํานวณจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัย

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยัฯ = จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยัฯ จากภายในและภายนอก

จํานวนอาจารยประจําและนักวิจยั

2.แปลงจํานวนเงินที่คํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยัฯ จากภายในและภายนอก

X 5 จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจยัฯ ท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเตม็ 5

สรุปคะแนนท่ีไดในระดับคณะ คะแนนท่ีไดในระดับคณะ =คาเฉลี่ยของคะแนนท่ีไดของทุกกลุมสาขาวิชาในคณะ

Page 48: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

44

ขอมูลพ้ืนฐาน

ผลดําเนินงาน ในปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน ไดรบัทุนสนับสนุนการวิจัยจากทุกแหลงทุน จําแนกดังนี้ สายวิทยาศาสตร - แหลงเงินทุนสนับสนุนภายในมหาวิทยาลัย จํานวน 1,317,110.00 บาท - แหลงเงินทุนสนับสนุนภายนอกมหาวิทยาลัย จํานวน 3,821,287.00 บาท โดยมีอาจารยประจําและนักวิจัยประจําท่ีปฏิบัติงานจริง จํานวน 51 คน คิดเปนจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําเทากับ 100,752.88 บาท มีคาคะแนน เทากับ 5 ซ่ึงบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรฯ - แหลงเงินทุนสนับสนุนภายในมหาวิทยาลัย จํานวน - บาท - แหลงเงินทุนสนับสนุนภายนอกมหาวิทยาลัย จํานวน 838,093.50 บาท โดยมีอาจารยประจําและนักวิจัยประจําท่ีปฏิบัติงานจริง จํานวน 19 คน คิดเปนจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจําเทากับ 44,110.18 บาท มีคาคะแนน เทากับ 5 ซ่ึงบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด

กลุมสาขา

แหลงเงินทุนสนบัสนนุ

รวมเงินสนับสนนุ

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (ปฏิบัติงาน

จริง)

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด

เงินสนบัสนุนตออาจารยประจําและ

นักวิจัยประจาํ )บาท/คน( )

คาคะแนน

ที่ได

เงินสนับสนุนภายใน

มหาวิทยาลัย

เงินสนับสนุนภายนอก

มหาวิทยาลัย

วิทยาศาสตรฯ 1,317,110.00 3,821,287.00 5,138,397.00 51 - 100,752.88 5

วิทยาศาสตรสุขภาพ

- - - - - - -

สังคมศาสตรฯ - 838,093.50 838,093.50 19 - 44,110.18 5

รวมทั้งสิ้น 1,317,110.00 4,659,380.50 5,976,490.50 79 - 129,750.13 5

Page 49: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

45

การประเมินตนเอง สายวิทยาศาสตร

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย

60,000 บาท/คน 100,752.88 บาท/คน 5 คะแนน บรรลุ

สายสังคมศาสตรฯ

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย

25,000บาท/คน 44,110.18 บาท/คน 5 คะแนน บรรลุ

รายการหลักฐาน

รหัส รายการหลักฐาน กร 2.2.1.1 รายชื่ออาจารยประจําคณะโรงเรียนการเรือน กร. 2.2.1.2 สัญญางานวิจัย จุดเดน

อาจารยท้ังสายวิทยาศาสตรและสายสังคมศาสตรมีการขอทุนวิจัยท้ังภายในและภายนอกมากข้ึน และผานบรรจุท้ัง 2 สาขา ผูกํากับ 1 . ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุบล ชืน่สําราญ

ผูจัดเก็บขอมูล 1 . ผศ.ดร.สุวรรณา พิชัยยงควงศดี 2. อ.หทัยชนก ศรีประไพ

ผูเขียนผลดําเนินการ 1 . ผศ.ดร.สุวรรณา พิชัยยงควงศดี 2. นางสาวฐานชิ วงศเมือง

Page 50: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

46

จุดท่ีควรพัฒนา -- ผูกํากับ

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อุบล ชื่นสําราญ

ผูจัดเก็บขอมูล

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สวุรรณา พิชัยยงควงศดี 2. นางสาวฐานิช วงศเมือง

ผูเขียนผลดําเนินการ

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สวุรรณา พิชัยยงควงศดี 2. นางสาวหทัยชนก ศรีประไพ

Page 51: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

47

ตัวบงช้ีท่ี 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัย

ชนิดของตัวบงช้ี ผลลัพธ

เกณฑการประเมิน โดยการแปลงคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจํา และนักวิจัยเปนคะแนนระหวาง 0 - 5 เกณฑแบงกลุมตามสาขาวิชา ดังนี้ เกณฑเฉพาะคณะ กลุม ข และ ค2 กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไวเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ข้ึนไป กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไวเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 30 ข้ึนไป กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดไวเปนคะแนนเต็ม 5 = รอยละ 20 ข้ึนไป สูตรการคํานวณ 1. คํานวณคารอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัย สูตรการคํานวณ

ผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัย X 100 จํานวนอาจารยประจําและนักวิจยัท้ังหมด

2. แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดในขอ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5

คะแนนท่ีได = รอยละผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัย

X 5 ผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําและนักวิจัยท่ีกําหนดใหเปนคะแนนเต็ม 5

Page 52: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

48

ขอมูลพ้ืนฐาน

รายการขอมูล คา

นํ้าหนัก

ชิ้นงาน ผลรวมถวง

นํ้าหนัก 1* 2* 3*

.1 จํานวนผลงานทางวิชาการ - บทความวิจยัหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเน่ือง จากการประชุมวิชาการระดบัชาต ิ

0.20 11 (2.2)

1 (0.2)

2.4

- บทความวิจัยหรอืบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติหรอืในวารสารทาง วิชาการระดบัชาติท่ีไมอยูในฐานขอมลู ตามประกาศ ก.พ.อ.หรอืระเบียบคณะกรรมการการอุดมศกึษาวาดวย หลกัเกณฑการพิจารณา วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมตัแิละจดัทําเปนประกาศให ทราบเปนการท่ัวไปและแจงให กพอ./กกอ.ทราบภายใน 30 วันนับแตวันท่ีออกประกาศ - ผลงานท่ีไดรบัการจดอนุสิทธิบัตร

0.40 9 (3.6)

3.6

- บทความวิจยัหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในวารสารทางวิชาการท่ีปรากฏในฐานขอมลู TCI กลุมท่ี 2

0.60 1 (0.6)

0.6

- บทความวิจยัหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอยูในฐานขอมลูตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาวาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรบัการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 แตสถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจดัทําเปนประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และแจงให กพอ./กกอ. ทราบ ภายใน 30 วันนับแตวันท่ีออกประกาศ (ซึ่งไมอยูใน Beall’s list) หรือตีพิมพในวารสารวิชาการท่ีปรากฏในฐานขอมลู TCI กลุมท่ี 1

0.80 8 (6.4)

6.4

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณท่ีตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูลระดับนานาชาตติาม ประกาศ ก .พ.อ .หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษา วาดวยหลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ พ.ศ.2556 - ผลงานไดรับการจดสิทธิบัตร - ผลงานวิชาการรับใชสังคมท่ีไดรบัการประเมินผานเกณฑการขอตาํแหนงทางวิชาการแลว - ผลงานวิจัยท่ีหนวยงานหรือองคกรระดับชาติวาจางใหดําเนินการ - ผลงานคนพบพันธุพืช พันธุสัตว ท่ีคนพบใหมและไดรับการจดทะเบียน - ตําราหรือหนังสือท่ีไดรับการประเมินผานเกณฑการขอตําแหนงทางวิชาการแลว - ตําราหรือหนังสือท่ีผานการพิจารณาตามหลักเกณฑการประเมินตาํแหนงทาง

1.00 15 (15)

1 (1.0)

16.0

Page 53: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

49

รายการขอมูล คา

นํ้าหนัก

ชิ้นงาน ผลรวมถวง

นํ้าหนัก 1* 2* 3*

วิชาการแตไมไดนํามาขอรับการประเมินตําแหนงทางวิชาการ 2. ผลรวมคาน้ําหนักผลงานทางวิชาการ 27.8 1.2 29.0

3. จํานวนผลงานสรางสรรค งานสรางสรรคท่ีมีการเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหน่ึง หรือผานสือ่อิเลก็ทรอนิกส online

0.20 1 (0.2)

3 (0.6)

0.8

งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบัน 0.40 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาต ิ 0.60 1

(0.6) 1

(0.6) 1.2

งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 0.80 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภมูภิาคอาเซียน/นานาชาต ิ 1.00 .4 ผลรวมคาน้ําหนักผลงานสรางสรรค 0.8 1.2 2.0

รายการขอมูล จํานวน

ผลรวม 1* 2* 3*

1. จํานวนอาจารยประจํา 79 1.1 จํานวนอาจารยประจําท่ีปฏบัิติงานจริง 54 - 19 73 1.2 จํานวนอาจารยประจําท่ีลาศึกษาตอ 6 - - 6 2. จํานวนนักวิจัยประจํา (ถามี) - - - - 2.1 จํานวนนักวิจัยประจาํท่ีปฏบัิติงานจริง 2.2 จํานวนนักวิจัยประจาํท่ีลาศึกษาตอ 3. รวมจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยท้ังหมด 60 - 19 79 4. ผลรวมคาน้ําหนักผลงานทางวิชาการและผลงานสรางสรรค 28.6 11.4 40.0 5. คารอยละของผลรวมคาน้ําหนักผลงานทางวิชาการและผลงานสรางสรรค 47.67 60.0 53.84 6. คาคะแนนท่ีได 5 5 5 1* = กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรเทคโนโลย ี

2* = กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

3* = กลุมสาขาวิชามนษุยศาสตรและสังคมศาสตร

ผลดําเนินงาน ในปการศึกษา 2558 โรงเรียนการเรือน มีผลงานวิชาการท้ังสิ้น 50 เรื่อง จําแนกดังนี้ - ผลงานทางวิชาการ จํานวน 45 เรื่อง - ผลงานสรางสรรค จํานวน 5 เรื่อง

Page 54: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

50

มีอาจารยประจํากลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีปฏิบัติงานจริง จํานวน 60 คน คิดเปนคา

รอยละของผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการและผลงานสรางสรรค เทากับ (100x28.6)÷60 = 47.60

มีคาคะแนนเทากับ (47.60x5) ÷ 30 = 7.93 มีอาจารยประจํากลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรท่ีปฏิบัติงานจริง จํานวน 19 คน คิดเปนคารอยละของ

ผลรวมถวงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการและผลงานสรางสรรค เทากับ (100x11.4)÷19 = 60.00 มีคาคะแนน

เทากับ (60x5) ÷ 20 = 15.0 คาเฉลี่ยรอยละของผลรวมถวงน้ําหนัก เทากับ (47.67+60.00) ÷ 2 = 53.84

คาเฉลี่ยระดับคะแนน เทากับ (5.00 + 5) ÷ 2 = 5 ซ่ึงบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย รอยละ 5 รอยละ 53.84 5 คะแนน บรรลุ

รายการหลักฐาน ตารางงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพร (สายสังคมศาสตรฯ)

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองท่ีตีพิมพ ชื่อแหลงตีพิมพ ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

ผศ.เอกพล ออนนอมพันธุ การศึกษาผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา โดยการใช You tube เปนสื่อในการสงเสริมการเรียนรู วิชาหลักการประกอบอาหารนานาชาติ

การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเพ่ือพัฒนากรเรียนรู: การเรยีนรูในศตรวรรษท่ี 21”

7 มิถุนายน 2559

0.2

ตารางงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพร (สายวิทยาศาสตรฯ)

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองท่ีตีพิมพ ชื่อแหลงตีพิมพ ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

ดร.ธีรนุช ฉายศริิโชต ิ

การพัฒนาเตาหูนมสดเสริมใยอาหารจากเปลือกสมโอ

Proceeding ในงานมหกรรมงานวิจัยแหงชาติ 2558

16-20สิงหาคม 2558

.0 2

ดร.นราธิป ปุณเกษม

การพัฒนาคุกก้ีเนยจากเนยสวนดุสติเสริมใยอาหารจากอัลเบโดของสมโอ

Proceeding ในงานมหกรรมงานวิจัยแหงชาติ 2558

16-20สิงหาคม 2558

.0 2

ดร.นราธิป ปุณเกษม การพัฒนาเคกเนยสดจากเนยสวนดสุิตโดยใชสารไฮโดรคอลลอยดรวมกับการปรับสภาพบรรยากาศในบรรจุ

Proceedingในงานมหกรรมงานวิจัยแหงชาติ 2558

16-20สิงหาคม 2558

.0 2

Page 55: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

51

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองท่ีตีพิมพ ชื่อแหลงตีพิมพ ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

ภัณฑ อ.ดุษฎี ทรัพยบัง การพัฒนาผลิตภณัฑไอศกรีม

จากดอกดาหลา การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อ.ตรัง วิจัย

1 เมษายน 2559

0.2

อ.สาวิตรี ณุวงศศร ี การพัฒนามาการองเสรมิจมูกขาว

การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อ.ตรัง วิจัย

1 เมษายน 2559

0.2

ดร.นราธิป ปุณเกษม

การศึกษาผลสมัฤทธทางการเรียนวิชาคณติศาสตรการประกอบอาหารของนักศึกษท่ีมีความสามารถดานการคํานวณแตกตางกันโดยใชแบบฝกหัดปรับพ้ืนฐาน

Oral Presentation ในการการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู: การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21” วันท่ี 7 มิถุนายน 2559

)หนา 22-23). ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ

7 มิถุนายน 2559

.0 2

ดร.ธีรนุช ฉายศริิโชต ิ

การพัฒนาทักษะการคํานวณเบเกอรเปอรเซนตของนักศึกษาในวิชาขนมปง

Oral Presentation ในการการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู: การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21” วันท่ี 7 มิถุนายน 2559

)หนา 22-23). ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ

7 มิถุนายน 2559

.0 2

อ.บุญญาพร เช่ือมสมพงษ การปรับพฤติกรรมนักศึกษาขาดความรับผิดชอบตอการเรียนวิชาคุกก้ีโดยการสอนแบบรวมแรงรวมใจและปรับพฤติกรรมแบบยอมรับ

Oral Presentation ในการการประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู: การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21” วันท่ี 7 มิถุนายน 2559

)หนา 22-23). ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ

7 มิถุนายน 2559

0.2

ผศ.อุบล ช่ืนสําราญ การเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิและปรับพฤติกรรมทางการเรียนรายวิชาชีวเคมีอาหารโดยใชเครือขายสังคม .

การประชุมวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู: การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21” วันท่ี 7 มิถุนายน 2559

)หนา 22-23). ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหา

7 มิถุนายน 2559

0.2

Page 56: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

52

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองท่ีตีพิมพ ชื่อแหลงตีพิมพ ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

วชิราลงกรณ มหาวิทยาลัย สวนดุสติ

อ.ทิพยพิกา ธรฤทธ์ิ

การพัฒนาผลิตภณัฑลอดชองมะมวงนํ้าดอกไม

การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณวิจัย ”ครั้งท่ี 8

ม.วลัยลักษณ จ.นครศรีธรรมราช

8 กรกฎาคม2559

0.2

อ.สิรินทรทิพย สตุตาพงค การพัฒนาผลิตภณัฑเสนบะหมี่อัญชัน

การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณวิจัย ”ครั้งท่ี 8

ม.วลัยลักษณ จ.นครศรีธรรมราช

8 กรกฎาคม2559

0.2

อ.บุญญาพร เช่ือมสมพงษ Development of a Waffle Cone fortified with Hom Nil Rice Flour

Oral Presentation in 7th International Science, social science, engineering and energy Conference )I–SEEC 2015 (University engagement at wangchanriverview Hotel PibulsongkramRajabhat University, Phitsanulok

24-26 November

2015

0.4

อ.สุรียพร ธัญญะกิจ ผลงานวิจัยเรื่อง Substitution of wheat flour with bio-bean flour in breadsticks

การประชุมวิชาการนานาชาติ”The 6th International Conference on Natural Product for Health and Beauty )NATPRO6 (ระหวางวันท่ี 21-23 มกราคม 2559มหาวิทยาลยัขอนแกน

21-23 มกราคม 2559

0.4

อ.อรรถ ขันส ี ผลงานวิจัยเรื่อง The development of sherbet addedartifical sweetener for diabetics

การประชุมวิชาการนานาชาติ”The 6th International Conference on Natural Product for Health and Beauty )NATPRO6 (ระหวางวันท่ี 21-23 มกราคม 2559 มหาวิทยาลยัขอนแกน

21-23 มกราคม 2559

0.4

อ.อรรถ ขันสี และคณะ การจดอนุสิทธิบัตรเรื่อง ปอเปยะขาวกลองผัดนํ้าพริกลงเรือ

เลขท่ีอนุสิทธิบัตร 10332

4 กันยายน 2558

0.4

Page 57: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

53

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองท่ีตีพิมพ ชื่อแหลงตีพิมพ ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

อ.สุรียพร ธัญญะกิจ และคณะ

การจดอนุสิทธิบัตรเรื่อง ขนมจีบขาวลืมผัว

เลขท่ีอนุสิทธิบัตร 10333

4 กันยายน 2558

0.4

อ.สุรียพร ธัญญะกิจ

และคณะ

การจดอนุสิทธิบัตรเรื่อง ไอศกรีมขาวกลองงอกและเม็ดแมงลัก

เลขท่ีอนุสิทธิบัตร 10574

14 ตุลาคม 2558

0.4

อ.สุรียพร ธัญญะกิจ และคณะ

การจดอนุสิทธิบัตรเรื่องขาวแตนซอสตมยํากุงขาวหอม

เลขท่ีอนุสิทธิบัตร 10724

12 พฤศจิกายน

2558

0.4

อ.ผุสดร ขจรศักดิ์สริิกุล และคณะ

ปนขลิบทอดไส นํ้าพริกเผาปลาสลิด

เลขท่ีอนุสิทธิบัตร 10722 12 พฤศจิกายน

2558

0.4

ผศ.บุญญาพร เช่ือมสมพงษ ทารตตาแต็งพุทรา เลขท่ีอนุสิทธิบัตร 10818 27 พฤศจิกายน

2558

0.4

ดร.ยศพร พลายโถ การพัฒนาผลิตภัณฑ นํ้าพริกแหงจากเม็ดบัว

วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ ในประบรมราชูปถัมภ สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปท่ี 11 ฉบับท่ี 1 (มกราคม-พฤษภาคม 2559)

มกราคม-พฤษภาคม 2559

0.6

อ.อรรถ ขันส ี การพัฒ นาตํ ารับ ไอศกรีมสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน โรงพยาบาลจังหวัดลําปาง

วารสารพยาบาลสาร (TCI), ปท่ี 43 ฉบับท่ี 2 เดือนเมษายน –มิถุนายน 2559

เมษายน –มิถุนายน

2559

0.8

ผศ.ดร. สุวรรณา พิชัยยงควงศดี

การพัฒนาผลิตภณัฑ นํ้าลูกเดือยพรอมดืม่ผสม นํ้าใบยานางเขมขน

วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีปที 8 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2558

พฤษภาคม - สิงหาคม

2558

0.8

ดร.กนกกานต วีระกุล การสกัดใยอาหารจากเปลือกกลวยนํ้าวาโดยใชเอนไซมและการนําไปประยุกตใชในผลิตภณัฑโยเกิรต

วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีปที 8 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธันวาคม 2558

กันยายน - ธันวาคม 2558

0.8

ดร.ชุติปภา สุวรรณกนิษฐ Influences of Different Soup Stock on Chemical and Organoleptic Properties of Tom Yum

วารสารวิจัยวิทยาศาสตรและเท ค โน โล ยี ม ห า วิท ย าลั ยอุบลราชธานี ปท่ี 17 ฉบับท่ี 3

กันยายน-ธันวาคม2558

0.8

ดร.นราธิป ปุณเกษม การพัฒนาคุกก้ีเนยสดเสริม วารสารวิจัย มสด สาขา มกราคม- 0.8

Page 58: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

54

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองท่ีตีพิมพ ชื่อแหลงตีพิมพ ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

ใยอาหารจากอัลเบโดของ สมโอ

วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีปที 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - เมษายน 2559

เมษายน2559

ดร.ยศพร พลายโถ ฤทธ์ิการปองกันภาวะเครียดจากออกซิเดชันในเซลลลําไสมนุษยของขาวหมากจากขาวเห นียวดํ าสายพัน ธุ ลื มผั ว ) Oryza Sativa L. Variety Leum Phua(

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี ปท่ี 24 ฉบับท่ี 5

)ฉบับพิเศษ ( 2559 หนา 813-830

2559

0.8

ผศ.ดร.อุบล ช่ืนสําราญ Mitigating Health

Inequity through Healthy

Foods Network

Development.

SDU Research Journal

(Special Issue: Tourism,

Hospitality and Culinary

Arts, Volume 11 January -

December 2015). pp. 87-

94.

2559 0.8

ดร.ฐิตา ฟูเผา การสังเคราะหวัสดุซิงคออกไซด/คอปเปอรออกไซด นาโนคอมโพสิท เพ่ือยับยั้งเช้ือแบคทีเรียกอโรคสําหรับการประยุกตใชในบรรจุภณัฑอาหาร

วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีปที 9 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2559

พฤษภาคม-สิงหาคม 2559

0.8

ดร.ฐิตา ฟูเผา Protease producing bacteria isolated from mangrove forest sediments in eastern Thailand: Screening, Identification and Optimization

Asian journal of Microbiology biotechnology and environmental science 17 )4( : 907-916.

ธันวาคม 2558

1.0

ดร.นราธิป ปุณเกษม

Effect of HPMC Addition and Modified Atmosphere Packaging on the Qualities of Chilled Pound Cake

Journal of Culinary Science & Technology Published online: 20 Jul 2016

20 กรกฎาคม

2559

1.0

Page 59: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

55

ผลงานวิจัยที่หนวยงานหรือองคกรระดับชาติวาจางใหดําเนินการ (สายสังคมศาสตรฯ)

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ือง หนวยงานท่ีวาจาง ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

ผศ.เอกพล ออนนอมพันธ และคณะ

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑประเภทขนมใหเปนอัตลักษณของจังหวัดกระบี ่

สํานักพัฒนาชุมชน จ.กระบ่ี 23 มี.ค.-2 ก.ค. 2559

1.0

ผศ.เอกพล ออนนอมพันธ และคณะ

โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารไทยใหเปนครัวอาหารคุณภาพของโลก (GMP) จํานวน 9 เร่ือง 1. โรงแรมบานสวนดุสิต 2. โรงแรม แกรน ด แป

ซิฟค ชะอํา 3. ศูนยกระจายสินคา 7-

11 มหาชัย 4. ศูนยอาหารตลาด

หลักทรัพยแหงประเทศไทย

5. บ.ยูเซน โซยา จก. 6. ศูนยสัมมนากิตติ

ธเนศวร 7. บ.โคลฟ จก. 8. บ.ฟูด ออฟ เอซีย จก. 9. รพ.จุฬาภรณ

สถาบันอาหาร กรกฎาคม 2559

9.0

ผลงานวิจัยที่หนวยงานหรือองคกรระดับชาติวาจางใหดําเนินการ (สายวิทยาศาสตร)

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ือง หนวยงานท่ีวาจาง ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

อ.จันทรจนา ศิริพันธวัฒนา และคณะ

โครงการพัฒนาผลิตภัณฑประเภทขนมใหเปนอัตลักษณของจังหวัดกระบี ่

สํานักพัฒนาชุมชน จ.กระบ่ี 23 มี.ค.-2 ก.ค. 2559

1.0

อ.จันทรจนา ศิริพันธวัฒนา และคณะ

โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารไทยใหเปนครัวอาหารคุณภาพของโลก (GMP) จํานวน 9 เร่ือง

สถาบันอาหาร กรกฎาคม 2559

9.0

Page 60: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

56

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ือง หนวยงานท่ีวาจาง ว/ด/ป

ท่ีเผยแพร คาน้ําหนัก

1.โรงแรมบานสวนดุสิต 2.โรงแรมแกรนด แปซิฟค ชะอํา 3.ศูนยกระจายสินคา 7-11 มหาชัย 4 . ศู น ย อ า ห า ร ต ล า ดหลักท รัพยแห งประเทศไทย 5.บ.ยูเซน โซยา จก. 6. ศูนยสัมมนากิตติธเนศวร 7.บ.โคลฟ จก. 8.บ.ฟูด ออฟ เอซีย จก. 9.รพ.จุฬาภรณ

อ.จันทรจนา ศิริพันธวัฒนา และคณะ

โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป จํานวน 3 เร่ือง 1. บ. มิส มามอน จาํกัด 2. บ.โกจิโซ ดิสริบิวชัน่

จํากัด 3. บ.ทรงอภิรัช จํากัด

สถาบันอาหาร กรกฎาคม 2559

3.0

ตารางงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรสูสาธารณะผานสือ่อิเล็กทรอนิกส online (สายสังคมศาสตรฯ)

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองที่เผยแพร แหลงที่นําไปเผยแพร ว/ด/ป

ที่เผยแพร คา

นํ้าหนัก อ.นุชนาฎ กุลวทิย 44แกงข้ีเหล็กหมูยางยานาง SDU channels 2 กันยายน 2558 0.2 อ.ปภัสมน เวชกิจ คุกก้ียานาง SDU channels 2 กันยายน 2558 0.2

อ.ปภัสมน เวชกิจ คัพเคกยานาง SDU channels 2 กันยายน 2558 0.2 คณาจารยโรงเรียน การเรือน

กินดี อยูดี อมรินทร 2559 0.6

Page 61: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

57

ตารางงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรสูสาธารณะผานสือ่อิเล็กทรอนิกส online (สายวิทยาศาสตรฯ)

ชื่อเจาของผลงาน ชื่อเร่ืองที่เผยแพร แหลงที่นําไปเผยแพร ว/ด/ป

ที่เผยแพร คา

นํ้าหนัก ดร.ชุติปภา สวุรรณกนิษฐ พุดดิ้งยานาง SDU channels 2 กันยายน 2558 0.2

คณาจารยโรงเรียน การเรือน

กินดี อยูดี อมรินทร 2559 0.6

จุดเดน 1. โรงเรียนการเรือนเปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัยทางดานอาหาร ซ่ึงมหาวิทยาลัยมีความโดดเดนในดาน

ทําใหไดรับงบประมาณสนับสนุนในการจัดทําผลงานและสื่อสรางสรรคตางๆ การจัดกิจกรรมในระดับประเทศ และไดรับโอกาสในการสรางเครือขายดานอาหารกับหนวยงานตางๆ จํานวนมาก

2. โรงเรียนการเรือน มีโรงเรียนอาหารนานาชาติ ซ่ึงมีความสามารถในการแขงขันดานการประกวดอาหาร และสรางชื่อเสียงใหมหาวิทยาลัย

จุดท่ีควรพัฒนา

1. การเรือนมีกิจกรรมดานอาหารจํานวนมาก ควรมีการถอดบทเรียน และเขียนผลงานสรางสรรคในลักษณะพ็อคเก็ตบุค

ผูกํากับ 1. ผูชวยศาสาตราจารย ดร.อุบล ชื่นสําราญ ผูจัดเก็บขอมูล

1. ดร.ยศพร พลายโถ 2. นางสาวฐานิช วงศเมือง ผูเขียนผลดําเนินการ

1. ดร.ยศพร พลายโถ 2. ดร.ณัชนก มีประถม

Page 62: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

58

องคประกอบท่ี 3 การบริการวิชาการ

ตัวบงช้ีท่ี 3.1 การบริการวิชาการแกสังคม

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

1 จัดทําแผนการบริการวชิาการประจําปที่สอดคลองกับความตองการของสังคมและกําหนดตัวบงชี้ วัดความสําเร็จ ในระดับแผนและโครงการบริการวิชาการแกสังคมและเสนอกรรมการประจําคณะ เพื่อพิจารณาอนุมัต ิ

คณะกรรมการบริการวิชาการ โรงเรียนการเรือน (กร. 3.1.1.1) จัดประชุมระดมความคิดเห็นและประสานงานกับหน วยงานภายนอกที่รองขอใหมีการบริการวิชาการ (กร. 3.1.1.2) เพื่ อจัดทํ าแผนการบริการวิชาการประจําป ที่สอดคลองกับกลยุทธของมหาวิทยาลัย (กร. 3.1.1.3) มีการกําหนดวัตถุประสงค และตัวบงชี้วัดความสําเร็จของแผนฯ กําหนดโครงการบริการวิชาการประจํ าป และผู รับผิดชอบหลักในการดําเนินงานและประเมินผล โดยประกอบดวยโครงการหลกั 4 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการเปดศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย กิจกรรม “อบรมเชิ งปฏิบัติการทําอาหารและขนมไทย” 2. โครงการการจัดอบรมและประเมินผลความรูดานการสุขาภิบาลอาหาร ของกรุงเทพมหานคร 3. โครงการกิจกรรมใหความรูกับชุมชน ณ พัฒนาวิชาการ อุทยานการอาชีพชัยพัฒนา 4. โครงการ “สวนดุสิต ครัวของแผนดิน” คณะกรรมการประจําคณะ พิจารณาอนุมัติแผนการบริการวิชาการประจําป 2558 ใน

- ก ร . 3 .1 .1 .1 คํ า สั่ ง แ ต ง ตั้ งคณ ะกรรมการบ ริการวิช าการ โรงเรียนการเรือน - กร. 3.1.1.2 หนังสือขอความรวมมือการบริการวิชาการ ในโครงการเปดศูนยวัฒนธรรม การจัดอบรมและประเมินผลความรูดานสุขาภิบาล และกิจกรรมใหความรู ณ อุทยานการอาชีพชัยพัฒนา - กร. 3.1.1.3 แผนการบริการวิชาการ ประจําป 2558 - กร. 3.1.1.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําเดือนกันยายน 2558

Page 63: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

59

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

การประชุ มประจํ าเดื อนกันยายน (กร. 3.1.1.4)

2 โครงการบริการวิชาการแกสังคมตามแผน มีการจัดทาํแผนการใชประโยชนจากการบริการวิชาการ เพื่อใหเกิดผลตอการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคม

โครงการจัดอบรมและประเมินผลความรูด าน ก ารสุ ข า ภิ บ าล อาห าร ขอ งกรุงเทพมหานคร มุงเนนในการใหความรูด า น ก า รสุ ข า ภิ บ าล อ าห าร แ กผูประกอบการ และผูสัมผัสอาหาร จํานวนประมาณ 1,000 คน ทั่ ว เขตพื้ นที่กรุงเทพมหานคร โดยจะมีการทดสอบประเมินผลความรูที่ไดรับจากการอบรม ทั้งนี้เพื่อเปนการเสริมสรางความปลอดภัยในอาหารที่ ผลิตและจัดจําหนาย (กร. 3.1.2.1) โครงการ “สวนดุสิต ครัวของแผนดิน” มีการรวบรวมองคความรูดานอาหาร และจัดพิมพเพื่อเผยแพรในรูปแบบหนังสือ “กินดี อยูดี” ซึ่งเปนการจัดสํารับอาหารจํานวน 10 ชุด ที่เนนในเร่ืองการควบคุมพลังงานที่ควรไดรับ โดยมีการคํานวณปริมาณพลังงานที่ไดรับจากอาหารในแตละสํารับ และจัดพิมพ 2 ภาษา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มุงหวังให เกิดประโยชนในการนําองคความรู ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือนําไปประยุกตใชในการพั ฒนาวิ ชาชี พ ชุ มชน หรือสั งคม ตลอดจนเปนการเผยแพรองคความรูดานอาหารไทยสูสากล (กร. 3.1.2.2)

- กร. 3.1.2.1 รายงานสรุปผลการดําเนิน

โครงการ การจัดอบรมและประเมินผล

ความรูดานการสุขาภิบาลอาหารของ

กรุงเทพมหานคร

- กร. 3.1.2.2 รายงานสรุปผลการ

ดําเนินงานเพื่อจัดทําหนังสือ “กินดี อยู

ดี”

3 โครงการบริการวิชาการแกสังคมในขอ 1 อยางนอยตองมีโครงการที่บริการแบบใหเปลา

โครงการกิจกรรมใหความรูกับชุมชน ณ พัฒนวิชาการ อุทยานการอาชีพชัยพัฒนา เปนการบริการวิชาการแบบใหเปลา โดยบูรณาการรวมกับการจัดการเรียนการสอน เพื่อสงเสริมการสรางอาชีพ และพัฒนาคุณลักษณะนักศึกษาที่พึงประสงค (กร. 3.1.3.1)

- กร. 3.1.3.1 รายงานผลการดําเนินโครงการกิจกรรมให ความ รู กับชุมชน ณ พัฒนวิชาการ อุทยานการอาชีพชัยพัฒนา

Page 64: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

60

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

4 ประเมินความสําเร็จตามตัวบงชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแกสังคมในขอ 1 และนาํเสนอกรรมการ ประจําคณะ เพือ่พิจารณา

คณะกรรมการบริการวิชาการ โรงเรียนการเรือน ประเมินความสําเร็จตามตัวบงชี้ของแผนฯ และโครงการบริการวิชาการ รอบ 9 เดือน และ 12 เดือน รายงานในการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําเดือนเมษายน และสิงหาคม รายละเอียดโดยสรุปดังนี้ 1. โครงการ/กิจกรรม การบริการวิชาการดําเนินการสําเร็จตามแผน รอยละ 100 2 . ทุ ก โค ร งก าร ใน แ ผ น ฯ มี ก า รประเมินผลการดําเนินงาน คาเฉลี่ยความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ สูงกวา 3.51 คะแนนจากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ในทุกโครงการ ดังนี้ - โครงการเปดศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย เปนแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม กิจกรรมแหลงเรียนรูศิลปะและวัฒนธรรม “อบรมเชิงปฏิบัติการทําอาหารและขนมไทย” คะแนนเฉลี่ย 4.77 - โครงการการจัดอบรมและประเมินผลความรูดานการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร คะแนนเฉลี่ย 4.33 - โครงการใหความรูกับชุมชน ณ พัฒนวิชาการ อุทยานการอาชีพชัยพัฒนา คะแนนเฉลี่ย 4.15 - โค ร งก าร “ส วน ดุ สิ ต ค รั วขอ งแผนดิน” คะแนนเฉลี่ย 3.74 (กร. 3.1.4.1 - กร. 3.1.4.3)

- กร. 3.1.4.1 รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามแผนการบริการวิชาการ ประจําป 2558 - กร. 3.1.4.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําเดือนเมษายน 2559 - กร. 3.1.4.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําเดือนสิงหาคม 2559

5 นําผลการประเมินตามขอ 4 มาปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการใหบริการวิชาการสังคม

จากผลการประเมินโครงการ “สวนดุสิต ครัวของแผนดิน” ซึ่งจัดข้ึนเปนประจําทุกป คะแนนเฉลี่ย 3.74 พบขอเสนอแนะในการปรับปรุงการดําเนินงาน ดังนี้ 1. ควรบูรณาการงานดานการบริการวิชาการ

- กร. 3.1.5.1 แผนการพัฒนาปรับปรุงการบริการวิชาการ โรงเรียนการเรือน ประจําป 2559

Page 65: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

61

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

รวมกับการจัดการเรียน การสอน และกิจกรรมดานวิชาการ ใหมากข้ึน 2. ควรเพิ่มการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียใหมากข้ึน ซึ่งคณะกรรมการบริการวิชาการ โรงเรียนการเรือน นํ าข อเสนอแนะต างๆ ไปจั ดทํ าแผนการปรับปรุงการบริการวิชาการ โรงเรียนการเรือน ประจําป 2559 (กร. 3.1.5.1)

6 คณะมีสวนรวมในการบริการวิชาการแกสังคมในระดับสถาบนั

โรงเรียนการเรือน เปนหนึ่งหนวยงานหลัก ดําเนินโครงการ “สวนดุสิต ครัวของแผ น ดิน” ร วมกับทุ กหน วยงานในมหาวิทยาลัย (กร. 3.1.6.1)

- กร. 3.1.6.1 สรุปโครงการ และคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานโครงการ “ส วน ดุ สิ ต ค รั วข อ งแผนดิน”

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย

6 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน บรรลุ จุดเดน โรงเรียนการเรือน ดําเนินการบริการวิชาการท่ีสอดคลองกับกลยุทธของมหาวิทยาลัย และเปนไปตามความตองการของชุมชนและสังคม โดยมีการบูรณาการรวมกันกับหนวยงานท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย มุงเนนการบริการวิชาการท่ีกอใหเกิดประโยชนในการพัฒนาท้ังในเชิงวิชาการและวิชาชีพ จุดท่ีควรพัฒนา - ผูกํากับ

1. ผูชวยศาสตราจารยแสงอรุณ เชื้อวงษบุญ 2. อาจารยธิติมา แกวมณี

ผูจัดเก็บขอมูล

1. นางสาวยศนี หัวดง 2. นางไพรินทร บุญญสิริสกุล

3. นางสาวกัญจนณัฏฐ ไวยคูนา

ผูเขียนผลดําเนินการ

1. ผูชวยศาสตราจารยแสงอรุณ เชื้อวงษบุญ 2. อาจารยธิติมา แกวมณี

3. ดร.สายบังอร ปานพรหม

Page 66: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

62

ตัวบงช้ีท่ี 4.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 – 7 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนนิงาน หลักฐานอางอิง

1 กําหนดผูรับผิดชอบในการทํ านุบํ า รุงศิลปะและวัฒนธรรม

โรงเรียนการเรือน แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม อยางชัดเจน โดยมีประธานหลักสูตรคหกรรมศาสตรเปนผูรับผิดชอบหลัก และมีอาจารยและบุคลากรจากทุกหลักสูตรและหนวยงานท่ีเก่ียวของภายใตสังกัดโรงเรียนการเรือน เปนตัวแทนเขารวมเปนคณะกรรมการในการดําเนินโครงการ/กิจกรรม โดยทําหนาท่ีกําหนดนโยบาย จัดทําแผนดานทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม กําหนดตัวบงชี้วัดความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผน จัดทําระบบและกลไกการดําเนินงาน สงเสริมใหอาจารยและนักศึกษาดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปและวัฒนธรรม กํากับติดตามใหมีการดําเนินงาน จัดทํารายงานและประเมินความสําเร็จตามตัวบงชี้ของแผนและโครงการ (กร. 4.1.1.1)

- ก ร . 4 .1 .1 .1 คํ า สั่ ง

แตงตั้งคณะกรรมการดาน

ทํ านุ บํ า รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ

วัฒนธรรม

2 จั ดทํ าแผนด านทํ านุบํ า รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะวัฒนธรรม และกําหนดตัวบงชี้วัดความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผน รวมทั้ งจั ดส รรงบ ป ระ ม าณ เพื่ อ ใหสามารถดําเนินการไดตามแผน

คณะกรรมการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ดําเนินการตามระบบและกลไกการดําเนินงานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โรงเรียนการเรือน (กร.4.1.2.1) โดยจัดทําแผนการปฏิบัติงานดานทํานุบํารุงศิลปวฒันธรรม โรงเรียนการเรือน ประจําปการศึกษา 2558 (กร.4.1.2.2) และกําหนดตัวบงชี้วัดความสําเร็จตามวัตถุประสงคของแผน รวมท้ังงบประมาณท่ีจัดสรร โดยแผนการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม สอดคลองกับแผนการสรางเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย

- กร.4.1.2.1 ระบบกลไกการดําเนินงานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โรงเรียนการเรือน -กร .4 .1 .2 .2 แผนการปฏิบัติงานดาน ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โรงเรียนก า ร เ รื อ น ป ร ะ จํ า ปการศึกษา 2558 - กร.4 .1 .2 .3 แผนงานส ร า ง เส ริ ม ทํ านุ บํ า รุ ง

Page 67: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

63

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนนิงาน หลักฐานอางอิง

สวนดุสิต ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2557-2560 (กร.4.1.2.3) โดยมีกระบวนการจัดทําแผนการปฏิบัติงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมประจําป โรงเรียนการเรือน ดังนี ้ 1) คณะกรรมการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม พิจารณาทบทวนผลการดําเนินท่ีผานมา ประกอบกับบริบทองคกร และแผนงาน ส ร า ง เส ริ ม ทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เพ่ือใช เปนแนวทางกําหนดกรอบแนวคิดในการจัดทําแผนปฏิบัติงานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประจําป โรงเรียนการเรือน โดยมีการกําหนดวัตถุประสงคของแผนฯ ตัวบงชี้ความสําเร็จ และโครงการ/กิจกรรมหลัก ท่ีจะดําเนินการ พรอมงบประมาณท่ีใชในการดําเนินการ 2) ประชาสั ม พั นธกรอบแนวคิด ในการปฏิบัติงานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ใหทุกหนายงาน นําเสนอโครงการ/กิจกรรม และง บ ป ร ะ ม า ณ ท่ี ใ ช ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร คณะกรรมการฝายกิจกรรม นักศึกษาและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม พิจารณาคัดเลือกโครงการ/กิจกรรมท่ีนาสนใจ เพ่ือบรรลุในแผนปฏิบัติงานฯ 3) นําเสนอแผนปฏิบัติงานดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประจําป ตอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน เพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบ

ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม มหาวิทยาลัยสวนดุสิ ต 2558

3 กํากับ ติดตามใหมีการดํ า เนิ น งานตามแผนดานทํานุบํ า รุงศิลปะและวัฒนธรรม

คณะกรรมการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ทํ าหน าท่ี ในการกํ ากั บ ติ ดตาม การดําเนินงาน ตามแผนการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีการสรุปผลการดําเนินการตามแผนฯ เสนอตอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ในรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน

-กร.4.3.3.1 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน เดือนมีนาคม 2559

Page 68: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

64

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนนิงาน หลักฐานอางอิง

(กร.4.3.3.1 - กร.4.3.3.2)

-กร.4.3.3.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน เดือนสิงหาคม 2559

4 ประเมินความสํ าเร็จต า ม ตั ว บ ง ชี้ ที่ วั ดค ว า ม สํ า เ ร็ จ ต า มวัตถุประสงคของแผนดานทํานุบํ า รุงศิลปะและวัฒนธรรม

คณะกรรมการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ดําเนินการประเมินความสําเร็จตามตัวบงชี้ท่ีวัดความสําเร็จตามวัตถุประสงค แผนงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และมีการรายงานสรุปผลการดําเนินการตามแผนฯ เสนอตอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน (กร.4.1.4.1-กร.4.1.4.3)

-กร.4.1.4.1รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน เดือนสิงหาคม 2559 -กร .4 .1 .4 .2 ร าย งานติดตามผลการดําเนินงานปงบประมาณ พ.ศ. 2558 -กร.4.1.4.3 รายงานผลการดําเนินกิจกรรมทํานุบํ า รุ ง ศิ ล ป วัฒ น ธ รรมประจาํป 2558

5 นําผลการประเมินไปป รั บ ป รุ ง แ ผ น ห รื อกิจกรรมดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

คณะกรรมการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม พิจารณาทบทวนผลการดําเนินงานท่ีผานมา วิเคราะหจุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค เพ่ือนํามาจัดทําแผนการดําเนินงานดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม แผนงบประมาณประจําป พ.ศ. 2559 (กร.4.1.5.1 - กร.4.1.5.2)

-กร.4.1.5.1 รายงานผลการดําเนินกิจกรรมทํานุบํ า รุ ง ศิ ล ป วัฒ น ธ รรมประจาํป 2558 -กร.4 .1 .5 .2 แผนการปฏิบัติงานดาน ทํานุบํารุงศิ ลป ะและวัฒ น ธรรม โ ร ง เ รี ย น ก า ร เ รื อ น ประจาํป 2559

6 เผยแพรกิจกรรมหรือการบ ริการด านทํ านุบํ า รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะวั ฒ น ธ ร ร ม ต อสาธารณชน

โรงเรียนการเรือน จัดใหมีการเผยแพรกิจกรรมหรือการบริการด านทํ านุบํ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมตอสาธารณชน เชน โครงการ ครัวของแผนดิน มีการเผยแพรท้ังสื่อสิ่งพิมพ สื่อวีดีทัศน ซ่ึงจัดข้ึนโดยมีวัตถุประสงค (กร.4.1.6.1)

-กร.4.1.6.1 เลมสรุป โครงการ ครัวของแผนดิน และการเผยแพรในสื่อตาง ๆ

7 กํ า ห น ด ห รื อ ส ร า งมาตรฐานดาน ศิลปะและวัฒนธรรมซึ่งเปนที่

- -

Page 69: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

65

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนนิงาน หลักฐานอางอิง

ยอมรับในระดับชาติ

การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 6 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน บรรลุ

จุดเดน โรงเรียนการเรือนมีการดําเนินงานเพ่ือสงเสริมและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีกระบวนการในการกํากับติดตามและประเมินผลการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนการดําเนินงานท่ีมีความสอดคลองตามพันธกิจของโรงเรียนและกลยุทธของมหาวิทยาลัย ตลอดจนการบูรณาการความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ จุดท่ีควรพัฒนา การสรางมาตรฐานดานศิลปะและวัฒนธรรม โรงเรียนการเรือนใหเปนท่ียอมรับในระดับชาติ

ผูกํากับ

1. ผูชวยศาสตราจารยเอกพล ออนนอมพันธุ 2. นางสาวราตรี เมฆวิลัย

ผูจัดเก็บขอมูล

1. นางสาวราตรี เมฆวิลัย 2. ดร.สายบังอร ปานพรหม 3. นางไพรินทร บุญญสิริสกุล

ผูเขียนผลดําเนินการ

1. นายฉัตรชนก บุญไชย 2. นางสาวราตรี เมฆวิลัย 3. ดร.สายบังอร ปานพรหม

Page 70: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

66

องคประกอบท่ี 5 การบริหารจัดการ

ตัวบงช้ีท่ี 5.1 การบริหารของคณะเพ่ือการกํากับติดตามผลลัพธตามพันธกิจ กลุมสถาบัน และเอกลักษณของคณะ

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 – 6 ขอ

มีการดําเนินการ 7 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

1 พั ฒ น าแ ผ น ก ล ยุ ท ธ จ าก ผ ล ก ารวิ เคราะห SWOT โดยเชื่ อมโยงกับวิสัยทัศนของคณะ และสอดคลองกับวิสัยทัศน ของคณะ สถาบัน รวมทั้งส อ ด ค ล อ ง กั บ ก ลุ ม ส ถ าบั น แ ล ะเอกลักษณของคณะ และพัฒนาไปสูแ ผ น ก ล ยุ ท ธ ท า ง ก า ร เงิ น แ ล ะแผนปฏิบัติการประจําปตามกรอบเวลาเพื่อใหบรรลุผลตามตัวบงชี้ และเปาหมายของแผนกลยุทธและเสนอผูบริหารระดับสถาบันเพื่อพิจารณาอนุมัติ

โรงเรียนการเรือน มีการจัดทํ าแผนกลยุทธและแผนปฏิบั ติ ราชการ 4 ป พ.ศ. 2558 – 2560 ที่สอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยให ความสํ าคัญกับการมี ส วนรวมของบุ คลากร โดยเฉพาะอย างยิ่ งการมี ส วนรวมของคณะกรรม การประจําโรงเรียนการเรือน บุคลากร ผูทรงคุณวุฒิ และนักศึกษา ดังนี้ 3.1 ข้ันตอนการจัดทําแผนกลยุทธ

- แตงตั้งคณะกรรรมการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธ (กร.5.1.1.1)

- ทบทวนและพัฒนาแผนกลยุทธ พ.ศ.2558-พ.ศ.2560 และวิเคราะห SWOT ANALYSIS ในการวิ เคราะห จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม และทบทวนปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค กลยุทธ ตัวชี้วัด ที่ชัดเจนครอบคลุมทุกภารกิจของโรงเรียนฯ โดยจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากร โรงเรียนการเรือน เดือนสิ งหาคม 2558 (กร.5.1.1.2) และนําผลการทบทวนแผนก ล ยุ ท ธ พ . ศ . 2 5 5 8 -2 5 6 0 (กร.5.1.1.3) และขอเสนอแนะตางๆ มาเปนขอมูลกําหนดแผนสูการปฏิบัติจริง

- กร.5.1.1.1 แตงตั้งคณะกรรรมการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธ - ก ร .5 .1 .1 .2 ร าย งาน ก า รประชุมบุคลากรโรงเรียนการเรือน (เดือนสิงหาคม 2558) - ก ร .5 .1 .1 .3 แ ผ น ก ล ยุ ท ธโรง เรียนการเรือนป ระจํ าปงบประมาณ พ.ศ.2558-2560

Page 71: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

67

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

3.2 ข้ันตอนการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ.2559 และแผนกลยุทธทางการเงิน

- คณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนประชุมจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป 2559 และแผนกลยุทธทางการเงินประจําป 2559 ที่สอดคลองกับแผนกลยุทธโรงเรียนการเรือน และแผน กลยุทธมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 4 ป พ.ศ. 2558 – 2560 (กร.5.1.1.4-กร.5.1.1.6)

- นําแผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ.2559 และแผนกลยุทธทางการเงินเส น อ ต อ ค ณ ะก รรม ก ารบ ริห า รมหาวิทยาลัย (ประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยสวนดุสิต คร้ังที่2/2558 เดือนกันยายน 2558) และนําเสนอตอสภามหาวิทยาลัย เพื่ อพิ จ า รณ าอนุ มั ติ ต าม ลํ า ดั บ (กร .5.1.1.7-กร.51.1.8)

3.3 ดําเนินการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติราชการประจําป 2559 และแผนกลยุทธ ฯ รอบ 6 เดือน แ ล ะ 9 เดื อ น โด ย ติ ด ต าม ผ ล ก า รดําเนินงานในที่ประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนเดือนเมษายน 2559 (กร.5.1.1.9) และเดือนมิถุนายน 2559 (กร.5.1.1.10) และเสนอกองนโยบายและแผน โดยกรอกขอมู ลร า ย ง า น ร ะ บ บ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ง า นป ง บ ป ร ะ ม า ณ 2559 http://sduplan.dusit.ac.th/plan2559/ (กร.5.1.1.11) เพื่ อนํ าเสนอในที่ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร

- ก ร .5 .1 .1 .4 ราย งาน ก า รประชุมคณะกรรมการประจําโร ง เ รี ย น ก า ร เ รื อ น ( เดื อ นกันยายน 2558) - ก ร .5 .1 .1 .5 แ ผ น ป ฏิ บั ติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 - กร.5.1.1.6 แผนกลยุทธทางการเงินประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557-2560 - ก ร .5 .1 .1 .7 ม ติ ที่ ป ระ ชุ มค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า รมหาวิทยาลัย คร้ังที่ 2/2558 - กร.5.1.1.8 สรุปประเด็นสําคัญจ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม ส ภ ามหาวิทยาลัยสวนดุสิต คร้ังที่ 8/2558 - ก ร .5 .1 .1 .9 ร าย งาน ก า รประชุมคณะกรรมการประจําโร ง เ รี ย น ก า ร เ รื อ น (เดื อ นเมษายน 2559) - กร.5 .1 .1 .10 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโ ร ง เ รี ย น ก า ร เ รื อ น (เดือนกรกฏาคม 2559) - กร.5.1.1.11 รายงานผลการดําเนินงานในระบบแผนปฏิบัติง า น ป ง บ ป ร ะ ม า ณ 2559 http://sduplan.dusit.ac.th/plan2559/

Page 72: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

68

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

มหาวิทยาลัย 3.4 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนกล

ยุทธโรงเรียนการเรือนที่สอดคลองกับแผนกลยุทธมหาวิทยาลัยฯ รอบ 6 เดือน และ 9 เดือน เพื่อวางแผนการดําเนินงานใหไดตามเปาหมายตัวบงชี้ที่กําหนดไว

3.5 นําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยสวนดุสิตไปปรับปรุงแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติราชการประจําป พ.ศ. 2560 และแผนกลยุทธทางการเงิน ในการป ระชุ ม คณ ะกรรมการป ระจํ าโรงเรียนการเรือน

2 ดําเนินการวิเคราะหขอมูลทางการเงินที่ประกอบไปดวยตนทุนตอหนวยในแตละหลักสูตร สัดสวน คาใชจาย เพื่อพัฒนานักศึกษา อาจารย บุคลากร การจั ด การเรียนการสอน อย า งตอเนื่อง เพื่อวิเคราะหความคุมคาของการบริหารหลักสูตร ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต และโอกาสในการแขงขัน

โรงเรียนการเรือน ไดวิเคราะหขอมูลทางการเงินที่ประกอบดวยตนทุนตอหนวยในแตละหลักสูตร (กร.5.1.2.1) โดยมีขอมูลดังนี้ 1.ความคุมคาของการบริหารหลักสูตร 2.วิเคราะหประสิทธิภาพในการผลิต 3.วิเคราะหประสิทธิผลในการผลิตบัณฑิต 2.1 เมื่อมีการคํานวณตนทุนของแตละหลักสูตร

แลว นําเสนอตอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนเพื่อพิจารณา และนําขอมูลทั้งหมดเสนออาจารยผูรับผิดชอบเพื่อพิจารณาคาใชจายของตนเองตอไป

2.2 คณะกรรมการประจําโรงเรียน การเรือน วิเคราะหเงินงบประมาณและเงินรายไดทั้งหมดที่ได รับจัดสรรจากมหาวิทยาลัย ยอนหลัง 3 ป จัดสรรตามพันธกิจของโรง เรี ยน การ เรือ น ทั้ ง 4 ด า น ได แ ก การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทํานุบํ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงการพัฒนาบุคลากร เพื่อใหผูบริหารโรงเรียนฯ ไดเห็นคาใชจายที่เกิดข้ึนในแตละป และแนวโนมคาใชจายที่เปลี่ยนแปลงไปตามวิสัยทัศนและแผนกล

ก ร .5 .1 .2 .1 ร า ย ง า น ก า รวิเคราะหขอมูลทางการเงิน

Page 73: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

69

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ยุทธที่เปลี่ยนแปลงไป โดยจัดทําเปนขอมูลเพื่อการตัดสินใจใหกับผูบริหารโรงเรียนการเรือนไดเห็นภาพการดําเนินงานและผลลัพธของโรงเรียนฯ ที่ผานมา ทําใหสามารถวางแผนทางการเงินไดอยางเหมาะสมในอนาคต

3 ดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงที่เปนผลจากการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่เกิดจากปจจัยภายนอก หรือปจจัยที่ ไมสามารถควบคุมไดที่สงผลตอการดําเนินงานตามพันธกิจของคณะ และใหระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม

โรงเรียนการเรือนดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ดังนี้ 3.1 แต งตั้ งคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง (กร. 5.1.3.1) โดยมีผูบริหารของโรงเรียนฯ อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรทุกหลักสูตร และตัวแทนจากหนวยงานที่เก่ียวของรวมเปนคณะกรรมการ 3.2 กําหนดแนวทางและหลักเกณฑในการประเมินความเสี่ยง เพื่อกําหนดวัตถุประสงคของการบริหารความเสี่ยง การเลือกโครงงานหรืองานที่มีผลกระทบตอพันธกิจของโรงเรียน โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 3.3 วิเคราะหและระบุความเสี่ยง รวมถึงปจจัยที่ทํ าให เกิ ดความเสี่ ยง จากการประชุ มของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โรงเรียนการเรือน โดยใชขอมูลจากรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายในของโรงเรียนการเรือน และขอมูลจากหนวยงานตาง ๆ จากที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่ เกิดจากปจจัยภายนอกหรือปจจัยที่ไมสามารถควบคุมไดที่สงผลตอการดําเนินงานตามพันธกิจของโรงเรียนการเรือน ได 3 ดาน (กร. 5.1.3.2) ดังนี้ 1) ดานการดําเนินการ (การสราง พัฒนา และรักษาบุคลากรดานอาหารที่มีศักยภาพเปนที่ยอมรับ) 2) ดานการปฏิบัติตามและไมปฏิบัติตาม

กฎหมายและกฎระเบี ยบการป ฏิบั ติ ตาม

-กร . 5 .1 .3 .1 คํ าสั่ งแ ต งตั้ งคณะกรรมการบ ริหารความเสี่ยง -กร. 5.1.3.2 การวิเคราะหและระบุความเสี่ยง ตามแผนบริหารความเสี่ยงประจําปงบประมาณ 2559 -กร. 5.1.3.3 ประเมินโอกาสและผลกระทบ ตามแผนบริหารความเสี่ยงประจําปงบประมาณ 2559 -กร.5.1.3.4 การจัดการความเสี่ ยง ตามแผนบริหารความเสี่ยงประจําปงบประมาณ 2559 -กร.5.1.3.5 แผนบริหารความเสี่ยงประจําปงบประมาณ 2559 -กร.5.1.3.6 รายงานวาระการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน รอบ 6 เดือน -กร.5.1.3.7 วาระการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน รอบ 9 เดือน

Page 74: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

70

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

นโยบาย กฎหมาย เงื่อนไขสัญญาหรือระเบียบ

ตาง ๆ ใหถูกตอง (การชี้แจงกฎระเบียบเงื่อนไข

การตอสัญญาจางรวมทั้งเกณฑการประเมินผล

การปฏิบัติงานใหกับบุคลากรทราบ)

3) ดานการเงินและงบประมาณ (การติดตาม ตรวจสอบ และเรงรัดการใชงบประมาณแผนดินเพื่อการเบิกจายงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ) เมื่อทําการประเมินโอกาสและผลกระทบ แลวจัดลําดับความเสี่ยง พบวาผลประเมินโอกาสและผลกระทบที่อยู ในระดับสูง (กร.5.1.3.3) มี 2 ดาน ดังนี้ 1) ดานการดําเนินการ (การสราง พัฒนา และรักษาบุคลากรดานอาหารที่มีศักยภาพเปนที่ยอมรับ) 2) ดานการปฏิบัติตามและไมปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ ) การปฏิบัติตามนโยบาย กฎหมาย เงื่อนไขสัญญาหรือระเบียบตาง ๆ ใหถูกตอง) 3.4 กําหนดมาตรการจัดการความเสี่ยง (กร.5.1.3.4) เพื่อใชเปนแนวทางในการแกไข ลด หลีกเลี่ยงปจจัยตาง ๆ ที่จะทําใหโรงเรียนฯ เกิดความเสียหาย ไดแก 1) ดานการดําเนินการ (การสราง พัฒนา และรักษาบุคลากรดานอาหารที่มีศักยภาพเปนที่ยอมรับ) มีมาตรการจัดการความเสี่ยง โดย พัฒนาศักยภาพบุคลากรอยางตอเนื่องทั้งการนําวิทยากรจากภายนอกและการแลกเปลี่ยนความรูกับผูเชี่ยวชาญภายในหนวยงานเอง และส ร า งค ว าม เข า ใจ กั บ บุ ค ล าก ร เ ก่ี ย ว กั บความกาวหนาในงานและสายอาชีพที่ปฏิบัติ ตลอดจนสรางความรักและความภูมิ ใจตอองคกร 2) ดานการปฏิบัติตามและไมปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ ) การปฏิบัติตาม

Page 75: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

71

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

นโยบาย กฎหมาย เงื่อนไขสัญญาหรือระเบียบตาง ๆ ใหถูกตอง) มีมาตรการจัดการความเสี่ยง ดังนี้ โรง เรียน การเรือน ได จั ดป ระชุ ม ชี้ แจ งกฎระเบียบ เงื่อนไขการตอสัญญาจาง รวมทั้งเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานใหบุคลากรทราบ รวมถึงการแจงผานชองทางการสื่อสารตางๆ ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังมีการติดตามผลการปฏิบัติตามกฎระเบียบและเงื่ อน ไขสัญ ญ าต า ง ๆ ของบุ ค ล ากรโดยคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนและคณะกรรมการจรรยาบรรณระดับคณะ 3.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดจัดทําแผนการบริหารความเสี่ยง (กร.5.1.3.5) ในดานที่มีความเสี่ยงสูง และสื่อสารใหบุคลากรในโรงเรียนทราบและดําเนินการตามแผนฯ ที่กําหนดไว 3.6 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารความเสี่ยงและรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน รอบ 6 เดือน และ 9 เดือน (กร.5.1.3.6-7) เพื่อนําเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัยตอไป พ บ ว า ค ว าม เสี่ ย ง ด านการดํ าเนิ นการ (การสราง พัฒนา และรักษาบุคลากรดานอาหารที่มีศักยภาพเปนที่ยอมรับ) มีแนวโนมที่ลดลง บุ คลากรได รับการพัฒ นาด านการประกอบอาหารมากข้ึน และบุคลากรลาออกนอยลง สวนความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามและไมป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ก ฎ ร ะ เบี ย บ (การปฏิบัติตามนโยบาย กฎหมาย เงื่อนไข

Page 76: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

72

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

สัญ ญ าห รือระ เบี ยบต าง ๆ ให ถูกต อง) มีแนวโนมลดลง 3.7 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงนําผลการประเมินและขอเสนอแนะจากที่ประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนไปใชในการปรับปรุงกระบวนการจัดทําแผนการบริหารความเสี่ยงในปงบประมาณถัดไป

4 บริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลอยางครบถวนทั้ง 10 ประการที่อธิบายการดําเนินงานอยางชัดเจน

ผูบริหาร บริหารงานดวยหลักธรรมา ภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของโรงเรียนการเรือน และผูมีสวนไดสวนเสีย ดังนี ้ 1. หลักประสิทธิผล (Effectiveness) โรงเรียนคํ านึ ง ถึ งผลที่ จ ะบ รรลุ วั ต ถุป ระส งค และเปาหมายตามแผนปฏิบัติราชการ รวมทั้งพันธกิจหลักของโรงเรียน (กร.5.1.4.1) 2. หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) โรงเรียนคํานึงถีงประสิทธิภาพ การดําเนินงานในดานการอนุรักษพลังงานตามนโยบายและมาตรการประหยัดพลังงาน ของมหาวิทยาลัย (กร.5.1.4.2) 3. หลักการตอบสนอง (Responsiveness) โรงเรียนไดแตงตั้ งคณะทํางานดานการจัดการพลังงานระดับหนวยงานซึ่งมีบุคลากรทุกหนวยงานทําหนาที่ประสานงาน ควบคุมดูแลใหมีการดําเนินการจัดการพลังงานใหสอดคลองกับนโยบายและมาตรการการอนุ รักษพลังงาน (กร.5.1.4.3) 4. หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) โรงเรียนไดบ ริหารงาน โดยมีบันทึก/คําสั่ งมอบหมายงานและอํานาจใหรองคณบดี ปฏิบัติร า ช ก า ร แ ท น ค ณ บ ดี มี คํ า สั่ ง แ ต ง ตั้ งคณะกรรมการตามภาระกิจตางๆของโรงเรียน (กร.5.1.4.4) 5 . ห ลั ก ค ว า ม โป ร ง ใส (Transparency) มหาวิทยาลัย โดยกองกฎหมาย กองบริหารงาน

- ก ร .5 .1 .4 .1 แ ผ น ป ฏิ บั ติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 - กร.5.1.4.2 ประกาศมหาวิทยาลยัสวนดุสิต เร่ือง นโยบายและมาตรการประหยัดพลังงาน - กร.5.1.4.3 คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานดานการจัดการพลังงานระดบัหนวยงานของมหาวทิยาลัยสวนดสุิต - กร.5.1.4.4 คําสั่งตางๆ - กร.5.1.4.5 เว็บไซด dusit.ac.th

Page 77: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

73

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

บุคคล กองคลั ง จะมีการแจ งเวียน ใหทุ กหนวยงานทราบถึงขอบังคับ/ประกาศ/ระเบียบ ตางๆ ผานเว็บไซด ( ก ร .5 .1 .4 .5 ) ผ า น ช อ ง ท า ง E-office (กร.5.1.4.6) เพื่อใหบุคลากรสามารถรับทราบขอมูลขาวสารได โดยจะสงขอมูลที่ไดจาก E-office ผ าน ไป ให กั บ บุ ค ล าก รป ฏิบั ติ ต ามแนวทางไดอยางถูกตอง 6 . ห ลั ก ก า รมี ส ว น ร ว ม (Participation) โรงเรียนการเรือนเปดโอกาสใหบุคลากรหรือผูมีสวนเก่ียวของเขามามีสวนรวมและพัฒนาการจัดการศึกษา การบริหารงานใหมี คุณภาพ ตลอดจนการประสานความรวมมือในดานตางๆ ไดแก คณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ที่ประกอบดวย คณบดี รองคณบดี ประธานหลักสูตร ผูแทนคณาจารย หัวหนาสํานักงาน และผูทรงคุณวุฒิภายนอก (กร.5.1.4.7) 7 . ห ลั ก ก า ร ก ร ะ จ า ย อํ า น า จ (Decentralization) โร ง เ รี ย น ก า ร เรื อ น ใชหลั กการกระจายอํานาจ โดยคณ บดี จะมอ บ ห ม าย ให รอ งค ณ บ ดี ห รือป ระ ธานกรรมการบริหารหลักสูตร ดําเนินการปฏิบัติงานแทน ตามภาระกิจตางๆ (กร.5.1.4.8) 8. หลักนิติธรรม (Rule of Law) โรงเรียนการเรือน ไดบริหารจัดการโดยใชขอบังคับ ระเบียบ และประกาศตางๆ ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ห ากมี ก ารพิ จ ารณ าผล ใน เร่ือ งต า งๆ จะดําเนินการในรูปของคณะกรรรมการ เชน คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจําป (กร.5.1.4.9) 9. หลักความเสมอภาค (Equity) ผูบริหารของโรงเรียนการเรือน มี การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรดวยความเปนธรรม ในรูปของคณะกรรมการ การประเมินผลการ

- กร.5.1.4.6 ตัวอยาง E-office - กร.5.1.4.7 คําสั่งคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน - กร.5.1.4.8 บันทึกขอความปฏิบัติราชการแทนคณบดี - ก ร . 5 . 1 . 4 . 9 คํ า สั่ งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการ - กร.5.1.4.10 ชี้แจงเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจําปและแบบประเมินผล

Page 78: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

74

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ปฏิบัติราชการประจําป ไดชี้แจงเกณฑการประเมินในแบบประเมินใหบุคลากรทุกคนรับทราบเกณฑการประเมินกอนการประเมิน (กร.5.1.4.10) และการประเมินผลดําเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการ หลังสิ้นสุดการประเมินจะแจงผลการประเมินใหบุคลากรไดรับทราบผลการประเมินฯ ทุกคร้ัง 1 0 .ห ลั ก มุ ง เน น ฉั น ท าม ติ (Consensus Oriented) โรงเรียนการเรือนมีการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนเปนประจํา ซึ่งคณะกรรมการยอมรับฉันทามติของที่ประชุมโดยคํานึงถึงประโยชนและสวนรวมเปนสําคัญ (กร.5.1.4.11)

- กร.5 .1 .4 .11 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน

5 คนหาแนวปฏิบัติที่ดีจากความรูทั้งที่มีอ ยู ใน ตั ว บุ ค ค ล ทั ก ษ ะ ข อ งผู มีประสบการณตรง และแหลงเรียนรูอ่ืนๆ ตามประเด็นความรู อยางนอยครอบคลุมพันธกิจดานการผลิตบัณฑิตและดานการวิจัย จัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษรและนํามาปรับใชในการปฏิบัติงานจริง

โรงเรียนการเรือน แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานการจัดการความรู ประจําปการศึกษา 2558 (กร. 5.1.5.1) ประยุกตใชกระบวนการจัดการความรูเพื่อคนหาแนวปฏิบัติที่ดีในการดําเนินงาน โดยจัดทําเปนแผนการจัดการความรู โรงเรียนการเรือน ประจําปการศึ กษา 2558 (กร. 5.1.5.2) มี การกํ าหนดเป าประสงค ในการจัดการความรูครอบคลุม 2 ประเด็นหลัก ไดแก 1. ดานการผลิตบัณฑิต : การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาขาว 2. ดานการวิจัย : การพัฒนา/เขียน โครงรางงานวิจัย การจัดการความรูเพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน รายวิชาขาว มีเปาประสงคในการระดมความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ระหวางอาจารยผู สอนที่ เก่ียวของในทุกศูนยการศึกษา ผูจัดการโรงสีขาวสวนดุสิต และผูทรงคุณวุฒิ ไดแก ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิทักษ จันทรเจริญ รองอธิการบดีฝายบริหาร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ที่เปนผูมีความรูเร่ืองขาวและมีประสบการณในการบริหารจัดการโรงสีขาวสวนดุสิต โดยจัดประชุมระดมความ

- ก ร. 5 .1 .5 .1 คํ าสั่ งแ ต งตั้ งคณะกรรมการดําเนินงานการจัดการความรู โรงเรียนการเรือน - กร. 5.1.5.2 แผนการจัดการความ รู โร ง เรียน ก าร เรือ น ประจําปการศึกษา 2558 - กร. 5.1.5.3 รายงานผลการจัดการความรู เพื่ อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน รายวิชาขาว - กร. 5.1.5.4 รายงานผลการจัดการความรูเพื่อการพัฒนา/เขียนโครงรางงานวิจัย

Page 79: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

75

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

คิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อคนหาแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาขาวที่จะนําไปใชเปนมาตรฐานเดียวกันในทุกศูนยการศึกษา มีประเด็นของการพิจารณาไดแก การปรับเนื้อหารายวิชาใหมีความเหมาะสม การฝกปฏิบัติในรายวิชา การศึกษาดูงาน และการวัดและประเมินผล สรุปผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูทํ าให เกิดการปรับปรุงคําอธิบายรายวิชา รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3) และเอกสารประกอบการเรียน/การสอน นําไปใชในการจัดการเรียนการสอนในทุกศูนยการศึกษา (กร. 5.1.5.3) การจัดการความรูดานการวิจัย จัดข้ึนในรูปแบบของ Researcher Club ประกอบดวยกิจกรรมการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรูเร่ืองการทําวิจัยดานอาหารเพื่อนําไปสูการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ และการพัฒนาโครงรางงานวิจัยดานอาหารเพื่อเสนอขอรับทุนสนับสนุน โดยเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางผูทรงคุณวุฒิที่เปนผูเชี่ยวชาญดานงานวิจัยและการพิจารณาผลงานทางวิชาการ และอาจารยกลุมเปาหมายที่ตั้งใจทํางานวิจัยเพื่อการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการตอไป องคความรูที่ไดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู ในประเด็นของการกําหนดหัวของานวิจัย ชนิดของงานวิจัย แหลงที่มาของหัวขอปญหาเพื่อนําไปสูงานวิจัย ถูกรวบรวมและจัดเก็บในรูปแบบรายงานโครงการและเผยแพรผานเว็บไซตโรงเรียนการเรือน เพื่อใหบุคลากรที่สนใจเขามาศึกษา ทั้งนี้ผลจากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการวิจัย ทําใหอาจารยผู เขารวมโครงการสามารถสงขอเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนสนันสนุน จํานวน 10 เร่ือง (กร. 5.1.5.4)

6 การกํากับติดตามผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุ ค ล าก รส าย วิ ช าก าร แล ะส ายสนับสนุน

โรงเรียนการเรือน โดยคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน มีการดําเนินการกํากับติดตามผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารและแผนการพัฒนาบุคลากร ดังนี้ 6.1 ไดจัดทําแผนการบริหาร โรงเรียนการเรือน

- กร.5.1.6.1 แผนการบริหาร

Page 80: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

76

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2557- พ.ศ. 2560 (กร.5.1.6.1)

6.2 ไดจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรโรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2557- พ.ศ.2560 ที่สอดคลองกับแผน กลยุทธสมรรถนะหลักและวัฒนธรรมองคกรของโรงเรียนการเรือน (กร.5.1.6.2)

6.3 มีการดําเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนการเรือน ใหเปนไปตามแผนที่กําหนดในปการศึกษา พ.ศ. 2558 (กร.5.1.6.3- กร.5.1.6.4)

6.4 มีการยกยอง ชื่นชม หรือสวัสดิการ เพื่ อเสริมสรางขวัญและกําลังใจใหกับบุคลากรสามารถทํ างานได อย างมีประสิทธิภาพ (กร.5.1.6.5)

6.5 มีการประเมินผลสําเร็จของแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากร ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 และรายงานผลฯ ในที่ ประชุมคณะกรรมการประจาํโรงเรียนการเรือน เพื่อนําผลการประเมิ นและข อเสนอแนะจากคณะกรรมการไปปรับปรุงแผนในปตอไป (กร.5.1.6.6)

โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2557- พ.ศ. 2560 -ก ร .5 .1 .6 .2 แ ผ น พั ฒ น าบุคลากรโรงเรียนการเรือน พ.ศ.2557-2560 - กร.5.1 .6 .3 รายงานผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารโรงเรียนการเรือน - กร.5.1.6.4 รายการผลการดํ าเนิ น งานตามแผนพั ฒ นาบุคลากรโรงเรียนการเรือน - ก ร .5 .1 .6 .5 ราย งาน ก ารประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน - ก ร .5 .1 .6 .6 ราย งาน ก ารประชุมคณะกรรมการประจําโร ง เ รี ย น ก า ร เรื อ น (เดื อ นสิงหาคม 2559)

7 ดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกที่เหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะที่ไดปรับใหก ารดํ า เนิ น งาน ด าน ก ารป ระ กันคุ ณ ภ าพ เป น ส ว น ห นึ่ ง ข อ งก า รบ ริ ห า ร ง า น ค ณ ะ ต า ม ป ก ติ ที่ประกอบดวย การควบคุมคุณภาพ

โรงเรียนการเรือนมีระบบกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจ และพัฒนาการของโรงเรียนฯ ตั้งแตระดับหลักสูตรข้ึนไป และดําเนินการตามระบบที่กําหนด ดังนี้ 7.1 โรงเรียนการเรือนมีนโยบายที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา มีหนาที่รับผิดชอบระบบการประกันคุณภาพของโรงเรียนการเรือนตลอดจน

กร.5.1.7.1 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ปการศึกษา 2558

Page 81: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

77

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

การตรวจสอบ คุณ ภาพ และการประเมินคุณภาพ

วางระบบการดําเนินการดานการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนการเรือน โดยกําหนดขอบขายการดําเนินงาน คือกําหนดการดําเนินงานที่เก่ียวของ ทั้งในสวนของสายวิชาการและสายสนับสนุน และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 7.2 มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน ประกอบดวย การควบคุมติดตามการดําเนินงานและประเมินคุณภาพ โดยจัดทําเปนรูปแบบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) และนําเสนอรายงานผลการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินโรงเรียนการเรือนตอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน 7.3 มีการดําเนินการใหทุกหลักสูตร และระดับโรงเรียนการเรือน สรุปผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพเพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน และสรุปผลการดําเนนิงานเสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยตอไป

การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 7 ขอ 7 ขอ 5 คะแนน บรรลุ

จุดเดน โรงเรียนการเรือนมีการบริหารจัดการองคกรอยางมีประสิทธิภาพ มีธรรมมาภิบาลและดาํเนินงานโดยใชแนวทางคุณภาพ PDCA อยางเปนระบบ จุดท่ีควรพัฒนา - ผูกํากับ

Page 82: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

78

1. ดร.กนกกานต วีระกุล 2. นางสาวธิติมา แกวมณี 3. นายวีระ พุมเกิด

ผูจัดเก็บขอมูล

1. นางสาวบุษราคัม สีดาเหลือง 2. นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

ผูเขียนผลดําเนินการ 1. นางสาวธิติมา แกวมณี 2. ดร.วราภรณ วิทยาภรณ 3. นางสาวบุษราคัม สีดาเหลือง

4. ดร.นราธิป ปุณเกษม 5. นางสาวนิลุบล ประแคนแสง 6. นางสาวกันตกนิษฐ จงรัตนวิทย

7. นางสาวรณิดา ศรีธนาวรุณ

ตัวบงช้ีท่ี 5.2 ระบบกํากับการประกันคุณภาพหลักสูตร

ชนิดของตัวบงช้ี กระบวนการ

เกณฑการประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 - 4 ขอ

มีการดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 ขอ

ผลการดําเนินงาน

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

1 มีระบบและกลไกในการกํากับการดําเนินการป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พหลักสูตรใหเปนไปตามอ ง ค ป ร ะ ก อ บ ก า รป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พหลักสูตร

โรงเรียนการเรือนมีการจัดทําระบบ และกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบเดียวกับของมหาวิทยาลัย ดังระบุในคูมือแนบ การประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนการเรือน (กร 5.2.1.1) เพื่อเปนแนวทางใหหลักสูตรดําเนินการประกันคุณภาพตามองคประกอบ โรงเรียนการเรือนมีกลไก ในการกํากับการดําเนินการดานการประกันคุณภาพ โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการฝายตาง เๆพื่อใหการปฏิบัติงานตามพันธกิจดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน งานดานการวิจัย การจัดการเรียนการสอน งานดานการพัฒนานักศึกษา งานดานการทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม งานดานการบริการวิชาการหรือวิชาชีพแกสังคม และงานดานการประกันคุ ณภาพ เป นต น (ก ร .5 .2 .1 .2) และมี การแต งตั้ ง

- ก ร 5 .2 .1.1 คู มื อ แ น บ ประกันคุณภาพการศึกษา โ ร ง เ รี ย น ก า ร เ รื อ น ปการศึกษา 2558 - กร.5.2.1.2 คําสั่ งแตงตั้ งคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน - กร.5 .2 .1 .3 คํ าสั่ งแต งตั้ งคณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ระดับโรงเรียนการเรือน ประจํ าปการศึกษา 2558

Page 83: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

79

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

คณะกรรมการดําเนินการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ระดับโรงเรียนการเรือน ประจําปการศึกษา 2558 โดยไดมีการกําหนดผูกํากับตัวบงชี้เปนรายบุคคล (กร.5.2.1.3) พรอมกันนี้โรงเรียนการเรือนยังไดมีการชี้แจงเกณฑการประกันคุณภาพการศึกษา ใหคณาจารย และเจาหนาที่ประจําโรงเรียนการเรือน ทราบโดยทั่วกัน (กร.5.2.1.4) และหลักสูตรฯ มีการรายงานผลการตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรใหโรงเรียนการเรือนรับทราบ (กร.5.2.1.5) โรงเรียนการเรือนไดมีการดําเนินงานตามงานที่กําหนดไวและมีการกํากับติดตาม ประเมินผล และการปรับปรุงงานประกันคุณภาพหลักสูตรอยางเปนระบบ

- กร.5.2.1.4 รายงานการป ระ ชุ ม ค ณ ะ ก ร รม ก า รประจําโรงเรียนการเรือน ค ร้ั งที่ 2/2558 วัน ที่ 10 กันยายน 2558 - กร.5.2.1.7 รายงานการป ระชุ ม ค ณ ะ วั น ที่ 2 9

กรกฏาคม 2559

2 มีคณะกรรมการกํากับ ติดตามการดําเนินงานใหเปนไปตามระบบที่กํ าหนดในขอ 1 และรายงานผลการติดตามให ก รรม การป ระจํ าคณะเพื่อพิจารณาทุกภาคการศึกษา

โรงเรียนการเรือนแตงตั้ งคณะกรรมการประจําโรงเรียนเพื่อกํากับดูแลการดําเนินงานดานตางๆ ตามพั น ธ กิ จขอ งโรง เรียน การ เรือน เพื่ อ ให บ รรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว (กร.5.2.2.1) มีการรายงานผลการดําเนินงานใหคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนทราบ โดยประธานหลักสูตรฯ เปนผูรายงานผานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน (กร.5.2.2.2)

- กร. 5.2.2.1 คํ าสั่ งแต งตั้ งคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน - กร.5.2 .2.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน (สิ้นภาคการศึกษาที่ 1/2558 และ 2/2558)

3 มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่ อ ส นั บ ส นุ น ก า รดําเนินงานของหลักสูตรใ ห เ กิ ด ผ ล ต า มอ ง ค ป ร ะ ก อ บ ก า รป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พหลักสูตร

โรงเรียนการเรือนมีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของหลักสูตรตามองคประกอบการประกันคุณภาพ โดยการจั ดสรรงบประมาณที่ ได รับจากมหาวิทยาลัยใหแตละหลักสูตร เพื่อใชในการดําเนินการ ดังจะเห็นไดจากรายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือนประจําปการศึกษา 2558 คร้ังที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2558 วาระที่ 5.1 เร่ือง งบประมาณที่ไดรับการจัดสรรประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 และวาระที่ 5.2 เร่ือง กําหนดการใชงบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 (กร.5.2.3.1) โดยคณบดีโรงเรียนการเรือน ประธานแจงที่ประชุม เร่ืองการจัดสรรงบประมาณแผนดินประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559 วาโรงเรียนการเรือนไดรับงบจัดสรรประจําป 2559 เปนงบดําเนินงาน (คาวัสดุการศึกษา) เปนจํานวนเงิน 1,870,300 บาท และพิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อจดัทําโครงการที่บูรณาการรวมกันระหวางหลักสูตร และงบประมาณที่

-กร.5.2.3.1 รายงานการป ระ ชุ ม ค ณ ะ ก ร รม ก า รประจําโรงเรียนการเรือนประจําปการศึกษา 2558 คร้ังที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2558 - กร.5.2.3.2 แผนปฏิบัติราชการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําปงบประมาณ 2558 - กร.5.2 .3.3 แผนปฏิบั ติราชการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําปงบประมาณ 2559 - กร.5.2.3.4 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจํา

Page 84: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

80

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

หลักสูตรใช ในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนานักศึกษาตามพันธกิจและกลยุทธที่ทาทาย (ตารางแนบทาย) เพื่อสนับสนุนภารกิจตามกรอบการประกันคุณภาพดานการกํากับมาตรฐาน บัณฑิต นักศึกษา อาจารย หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผูเรียน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรูของแตละหลักสูตร ดังนี้

หมายเหตุ: 1. คหกรรมศาสตร 2. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 3. เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 4. โภชนาการและการประกอบอาหาร

ในการนี้คณบดีโรงเรียนการเรือนไดแจง กําหนดการใชงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 วามหาวิทยาลัยไดกําหนดการใหใชเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 จึงขอใหทุกหลักสูตร/หนวยงานดําเนินการใชงบประมาณ พ.ศ.2559 ใหเปนไปตามแผนการใชงบประมาณ ดังนี้

กําหนดเวลา การใชเงิน

เงินงปม. แผนดิน

เงินบํารุงการศึกษา และเงินรายไดอ่ืน

ระยะเวลาการใชเงิน 1 ต.ค.58 – 30 ก.ย.59

1 ต.ค.58 – 30 ก.ย.59

วันสุดทายของการขออนุมัติใชเงิน (ถึงกองนโยบายและแผน)

15 ก.ค.59

30 ก.ย.59

วันสุดทายของการขอ อนุติเบิก-จาย (ถึงกองคลัง)

31 ส.ค.59 15 ก.ย.59

การขออนุมัติกันเงิน ไวเบิกเหลือ่มป 2559

31 ส.ค.59 15 ก.ย.59

โดยบรรจุลงในแผนปฏิบัติราชการของโรงเรียนการเรือน (กร. 5.2.3.2-3) โรงเรียนการเรือนมีการกํากับ

หลัก สูตร

งปม. งานครบเครือ่ง # 6 + KM กินด ี

สารเคมี 25 %

งปม.ท่ีหลักสูตรไดรับ

จริง

1. 178,300 62,300 0 116,000 2. 543,600 190,600 136,000 217,000 3. 772,200 270,200 193,000 309,000 4. 376,200 131,200 94,000 151,000

รวม 1,870,300 654,300 423,000 793,000

โรงเรียนการเรื อน ค ร้ั งที่ 5 / 2 5 5 9 เมื่ อ วั น ที่ 19 พฤษภาคม 2559 - กร.5.2 .3.5 แผนปฏิบั ติราชการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําปงบประมาณ 2558

- ..3.2.5กร 6 แผนปฏิบั ติราชการประจําโรงเรียนการเรือน ประจําปงบประมาณ

9255

Page 85: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

81

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

ติดตาม และตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณและการใชจายงบประมาณใหเปนไปตามขอกําหนดตามก ร อ บ ร ะ ย ะ เว ล า ข อ งแ ผ น ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร (กร. 5.2.3.4-7) ปรากฎในรายงานการประชุมคณะกรรมการประจําโรงเรียนการเรือน ค ร้ังที่ 5/2559 เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2559 วาระที่ 1.6 เร่ือง เรง รัดการเบิกจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2559 โดยไดแจงที่ประชุมใหทราบวาการเบิกจายงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2559 ของมหาวิทยาลัยไตรมาสที่ 2 ผลการเบิกจายต่ํากวาเปาหมายที่กําหนด รอยละ 34 จากเปาหมายที่กระทรวงการคลังกําหนด รอยละ 52 จึงขอใหทุกหลักสูตร หนวยงาน เรงรัดการเบิกจายใหแลวเสร็จโดยเร็ว หากดําเนินการไมเปนไปตามเปาหมายจะมีผลกระทบตอการขอตั้งงบประมาณในปงบประมาณถัดไป โดยแตละหลักสูตรรับทราบและดําเนินการตามแจง

4 มีการประเมินคุณภาพห ลั ก สู ต ร ต า มกํ า ห น ด เ ว ล า ทุ กหลักสูตร และรายงานผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ใหกรรมการประจําคณะเพื่อพิจารณา

โรงเรียนการเรือนมีการควบคุมติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพดานการประกันคุณภาพการศึกษาของหลักสูตร ตามกําหนดเวลา (กร.5.2.4.1) และรายงานผลการประเมินใหกรรมการประจําโรงเรียนฯ เพื่อพิจารณา (กร.5.2.4.2)

- กร 5.2.4.1 กําหนดการต ร ว จ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พการ ศึ กษ าภ าย ใน ระดั บหลักสูตร ประจําปการศึกษา 2558 - กร 5.2.4.2 รายงานการประชุมโรงเรียนการเรือนป ระจํ า เดื อน กรกฎ าค ม 2559

5 นําผลการประเมินและข อ เส น อ แ น ะ จ า กกรรมการประจําคณะมาปรับปรุงหลักสูตรใหมี คุณ ภาพดี ข้ึนอย า งตอเนื่อง

โรงเรียนการเรือนมีการควบคุมติดตามการดําเนินงานของหลักสูตรใหหลักสูตรฯ นําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากกรรมการตรวจประเมิ นคุณภาพหลั กสู ตร และคณะกรรมการประจําคณะ (กร. 5.2.5.1) มาปรับปรุงการดําเนินงาน โดยบรรจุลงในแผนปรับปรุงคุณภาพ (กร.5.2.5.2) เพื่อใชเปนขอมูลในการดําเนินการภายในคณะ โดยมีเปาหมายใหผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนกลยุทธของหลักสูตรฯ และโรงเรียนฯ มีการพัฒนาข้ึนอยางตอเนื่อง

- กร 5.2.5.1 รายงานผลก า ร ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พการศึกษา - กร.5.2.5.2 แผนปรับปรุงคุณภาพ ของโรงเรียนการเรือน ประจําปการศึกษา 2558 - กร 5.2.5.3 แผนปฏิบัติราชการของโรงเรียนการ

Page 86: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

82

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

(กร. 5.2.5.3) ซึ่งในปการศึกษาที่ผานมาคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในไดใหขอเสนอแนะวา คณะควรดึงศักยภาพของบุคลากรที่มีผลงานวิจัยใหนํามาตอยอดในการพัฒนาเปนผลงานทางวิชาการเพื่อใหอาจารยกาวเขาสูการขอรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงทางวิชาการในคณะใหเพิ่มข้ึน ดังนั้นทางโรงเรียนการเรือนจึงไดมีการจัดทําโครงการพัฒนาสมรรถนะเฉพาะทางวิชาชพีดานอาหารเพื่อความเปนเลิศ และสนับสนุนสงเสริมนักวิจัยและบุคลากรเขารวมโครงการการพัฒนาเคาโครงงานวิจัยและคลินิกวิจัยในดานอาหาร กิจกรรมที่ ๑: เสวนาการทําวิจัยดานอาหารเพื่อขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ ซึ่งในรอบปการประเมินฯนี้ โรงเรียนการเรือนไดมีผลการดําเนินงานดานการพัฒนาอาจารย โดยมีอาจารยประจําหลักสูตรไดดํารงตําแหนงทางวิชาการ เปนผูชวยศาสตราจารยจํานวน 1 ทานคือ ผศ.ดร.ฐิตา ฟูเผา (กร. 5.2.5.4) นอกจากนี้ยังมีคณาจารยที่อยูในระหวางการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ 5 ทาน คือ ดร.วราภรณ วิทยาภรณดร.ธีรนุช ฉายศิริโชติ ดร.สายบังอร ปานพรม อาจารยราตรี เมฆวิลัย และอาจารยบุญญาพร เชื่อมสมพงษ

เรือนประจําปงบประมาณ 2559 - กร 5.2.5.4 คําสั่งแตงตั้ง

ให ดํ า ร งตํ า แห น งผู ช ว ยศาสตราจารย

6 มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ นคุณ ภาพทุกหลักสูตรผานองคประกอบที่ 1 การกํากับมาตรฐาน

ทุกหลักสูตรของโรงเรียนการเรือนไดรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ประจําปการศึกษา 2557 (กร.5.2.6.1) โดยในแตละหลักสูตรมีองคประกอบคณะกรรมการทั้งหมด 5 ทาน ประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒจิากภายนอกมหาวิทยาลัย จํานวน 2 ทาน (กร.5.2.6.2) กรรมการและเลขานุการซึ่งเปนบุคลากรจากภายในมหาวิทยาลัยซึ่งเปนผูที่ผานการอบรมการตรวจประเมินฯระดับหลักสูตร จํานวน 2 ทาน(กร.5.2.6.3) และมีผลการประเมินคุณภาพฯ องคประกอบที่ 1 การกํากับมาตรฐานผานทุกหลักสูตร (กร.5.2.6. 4)

- กร. 5.2.6.1 กําหนดการตรวจประเมินการประกันคุณ ภาพการศึกษาภายในระดั บหลั กสู ตร ประจํ าปการศึกษา 2558 - กร. 5.2.6.2 หนังสือเชิญเปนประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิ จากภายนอกมหาวิทยาลัย - กร. 5.2.6.3 หนังสือเชิญเปนกรรมการและเลขานุการจากภายในมหาวิทยาลัย - กร. 5.2.6.4 รายงานผลก า ร ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ

Page 87: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

83

มี ขอ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน หลักฐานอางอิง

การศึกษาระดับหลักสูตร ประจําปการศึกษา 2558

การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย 6 ขอ 6 ขอ 5 คะแนน บรรลุ

จุดเดน - จุดท่ีควรพัฒนา - ผูกํากับ 1. นางสาวธิติมา แกวมณี

ผูจัดเก็บขอมูล

1. นางสาวศวรรญา ปนดลสุข 2. นางสาวบุษราคัม สีดาเหลือง 3. นางสาวปวิตรา ภาสุรกุล 4. นางสาวดวงสุดา ลีลา ผูเขียนผลดําเนินการ 1. นางสาวธิติมา แกวมณี 2. นางสาวศวรรญา ปนดลสุข 3. นางสาวบุษราคัม สีดาเหลือง 4. นางสาวปวิตรา ภาสุรกุล

Page 88: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

82

สวนที่ 3 สรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Page 89: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

83

สวนที่ 3 สรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ผลการประเมินตนเอง โรงเรียนการเรือน ปการศึกษา 2558 ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จําแนกรายตัวบงชี้

ตัวบงชี ้ เปาหมาย ผลการดําเนินงาน

ผลคะแนนประเมิน

ตัวตั้ง ผลลัพธ

/ บรรล ุตัวหาร X ไมบรรล ุ

ตัวบงชีท้ี่ 1.1 2.5 คะแนน 12.13x100 3.03 / 3.03 คะแนน 4

ตัวบงชีท้ี่ 1.2 รอยละ 31 20x100 25.31 X 3.16 คะแนน 79

ตัวบงชีท้ี่ 1.3 รอยละ 15 12x100 15.18 / 1.26 คะแนน 79

ตัวบงชีท้ี่ 1.4 5 คะแนน ว.(11.33x100)/20= =56.65 =2.92

X 2.14 คะแนน ส.(0.73x100)/25=

ตัวบงชีท้ี่ 1.5 6 ขอ - 6 ขอ / 5 คะแนน ตัวบงชีท้ี่ 1.6 6 ขอ - 6 ขอ / 5 คะแนน ตัวบงชีท้ี่ 2.1 6 ขอ - 6 ขอ / 5 คะแนน ตัวบงชีท้ี่ 2.2 ว.60,000

ม.25,000 ว.5,138,397/51 100,752.88 บ./คน

44,110.18 บ./คน / 5 คะแนน

ม.838,093.50/19

ตัวบงชีท้ี่ 2.3 รอยละ 5 ว.28.6x100/60 =47.67 =60.00

/ 5 คะแนน ม.11.4x100/19

ตัวบงชีท้ี่ 3.1 6 ขอ - 6 ขอ / 5 คะแนน ตัวบงชีท้ี่ 4.1 6 ขอ - 6 ขอ / 5 คะแนน ตัวบงชีท้ี่ 5.1 7 ขอ - 7 ขอ / 5 คะแนน ตัวบงชีท้ี่ 5.2 6 ขอ - 6 ขอ / 5 คะแนน

เฉลี่ยรวม 13 ตัวบงชี ้ คะแนนเฉลี่ย (54.59/13)

=4.20

Page 90: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

84

ตารางที่ 2 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จําแนกรายองคประกอบ

องคประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย ผลการประเมิน

I P O คะแนนเฉลี่ย

0.00-1.50 การดําเนินงานตองปรับปรุงเรงดวน 1.51-2.50 การดําเนินงานตองปรับปรุง 2.51-3.50 การดําเนินงานระดับพอใช 3.51-4.50 การดําเนินงานระดับดี 4.51-5.00 การดําเนินงานระดับดีมาก

1 1.2, 1.3, 1.4 1.5, 1.6 1.1 ผล (3.16+1.26+2.14) (5+5) (3.03) 3.26 พอใช 2 2.2 2.1 2.3

ผล (5) (5) (5) 5 ดีมาก 3 - 3.1 -

ผล (5) 5 ดีมาก 4 - 4.1 -

ผล (5) 5 ดีมาก 5 - 5.1,5.2 -

ผล (5+5) 5 ดีมาก เฉลี่ยรวม 2.89 5 4.01 4.20 ผลการประเมิน

พอใช ดีมาก ดี ดี

Page 91: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

85

การวิเคราะหจุดเดนและจดุที่ควรพัฒนา

องคประกอบ จุดเดน จุดที่ควรพัฒนา 1 1. การจัด กิจกรรมของนักศึกษาได

สะทอน อัตลักษณของนัก ศึกษาโรงเรียนการเรือน ทั้งในดานงานประกอบอาหาร และงานประดิษฐ

1. ควรมีระบบกลไกสงเสริมใหอาจารยเขาสูตําแหนงทางวิชาการที่มีประสิทธิภาพ

2. ควรมี ระบบและกลไกการติดตามความก าวหน า ในการลา ศึกษาตอปริญญาเอกของบุคลากรที่เปนรูปธรรม

2 1. โ ร ง เ รี ย น ก า ร เ รื อ น มี น โ ย บ า ยสนับสนุนใหอาจารยและบุคลากรผลิตผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค รวมทั้งนําผลงานที่ไดไปสูการตีพิมพเผยแพรในระดับชาติและนานาชาติ ห รื อ ก า ร นํ า ผ ล ง า น วิ จั ย / ง า นสรางสรรคไปใชประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งการสงเสริมและสนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยงานสรางสรรคที่มีคุณภาพและมีคุณคาตรงตามอัตลักษณของมหาวิทยาลัย

2. อาจารยทั้งสายวิทยาศาสตรและสายสังคมศาสตรมีการขอทุนวิจัยทั้ งภายในและภายนอกมากข้ึน และผานบรรจุทั้ง 2 สาขา

3. โรงเรียนการเรือนเปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัยทางดานอาหาร ซึ่งมหาวิทยาลัยมีความโดดเดนในดานทําใหไดรับงบประมาณสนับสนุนในการจัดทําผลงานและสื่อสรางสรรคต า ง ๆ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ใ นระดับประเทศ และไดรับโอกาสในการสรางเครือขายดานอาหารกับหนวยงานตางๆ จํานวนมาก

1. การเรือนมีกิจกรรมดานอาหารจํานวนมาก ควรมีการถอดบทเรียน และเขียนผลงานสรางสรรค ในลักษณะพ็อคเก็ตบุค

3 1. โรงเรียนการเรือน ดําเนินการบริการวิชาการที่สอดคลองกับกลยุทธของมหาวิทยาลัย และเปนไปตามความตองการของชุมชนและสังคม โดยมีการบูรณาการรวมกันกับหนวยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

Page 92: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

86

องคประกอบ จุดเดน จุดที่ควรพัฒนา มุงเนนการบริการวิชาการที่กอใหเกิดประโยชนในการพัฒนาทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ

4 1. โรงเรียนการเรือนมีการดําเนินงานเ พื่ อ ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ทํ า นุ บํ า รุ งศิลปวัฒนธรรม มีกระบวนการในการกํากับติดตามและประเมินผลการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนการดําเนินงานที่มีความสอดคลองตามพันธกิจของโรงเรียนและกลยุทธของมหาวิทยาลัย ตลอดจนการบูรณาการความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ

1. การสรางมาตรฐานดานศิลปะและวัฒนธรรม โรงเรียนการเรือนใหเปนที่ยอมรับในระดับชาติ

5 1. โรงเ รียนการเ รือนมีการบ ริหารจัดการองคกรอยางมีประสิทธิภาพ มีธรรมมาภิบาลและดําเนินงานโดยใชแนวทางคุณภาพ PDCA อยางเปนระบบ

Page 93: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

87

สวนที่ 4 ภาคผนวก

Page 94: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

กําหนดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ประจําปการศึกษา 2558

โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสติ

ณ หองสํานักงานโรงเรียนการเรือน

วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

08.30-09.00 น. คณะกรรมการตรวจประเมินฯ ประชุม

09.00-09.15 น. คณบดีกลาวตอนรับ และนําเสนอผลการดําเนินงานประจําปการศึกษา 2558

09.15-12.00 น. คณะกรรมการตรวจประเมิน/เอกสาร

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00-15.00 น. คณะกรรมการตรวจประเมิน/เอกสาร (ตอ)

คณะกรรมการสัมภาษณตัวแทนคณาจารย และตัวแทนนักศึกษา

คณะกรรมการตรวจประเมินฯ เยี่ยมชมการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรและหองปฏิบัติการ

คณะกรรมการประชมุสรุปผลการตรวจประเมิน

15.00-16.00 น. คณะกรรมการแจงผลการตรวจประเมิน

หมายเหตุ 1.กําหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม

2. อาหารวาง จัดบริการเวลา 10.30 น. และ 14.30 น.

3. อาหารกลางวัน จัดบริการเวลา 12.00-13.00 น.

Page 95: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

(

fh ~,nJvI11V1tn~tJ6'11'Ll\l1~(i)

~ ~~~ / Ivctct;

bb l?i'l ~'l fl ru :; flJ ':l:lJ fl1 ':l (i) ':l1 '<\J'lh :;b iJ 'Ll fl,ru .fl1 'Wfl1 ':l ~ fl ~l .f11 tJ1u

':l ~ vl'U fl ru :; bb6'l :; ~ 1'Ll 'l1 'Ll:lJ VnlV1 CJ 1~tJ 6'1 1 'Ll \l1, ~ (i) 'lh:;,htJ fl1':iPi fl~l Ivctct~

~1 tJ :lJ '\r'l11 V1 CJl~tJ6'11'Ll\l1~ (i) fhvl'Ll\l11Vi~ fll'J (i) 'J1'<\J 'lJ ':l ~ biJ 'Ll fi ru Jl l 'W fll'JPi fl~lJll tJ1u tl 'J:;~ 1, , tJfl1':l~ fl~l Ivctct ~ 'J:;vl'Uflru~ bb 6'l~~TU'l1'Ll:lJVll1V1tn~tJ6'11'Ll \l1, ~ (i) vl'l0'Ll b~eJ 1Vifl1'J(i)'J1'<\J'lJ'J~ biJ'Llf,Hhl .fl1'W

fll':lPi fl~l.f11 tJ1u dJ'Lll 'lJ~1 tJfI1l:lJ b~ tJ'U ~eJ tJbb6'l:;~ tl 'J~ ~Vl 5 .f11 'W :lJVll1VI tJ1 ~tJ'1 ~ 'l bbl?i '1 ~'l fI ru ~ flJ 'J:lJ fll 'J

(i)'J1'<\J'lJ'J~ biJ'Ll fl ru .fl1'W fll':l~ fl~l.f11 tJ1u 'J~vl'U fI ru~ b b 6'l ~ ~ 1Wn 'Ll :lJ Vl l1 V1 tn~tJ 6'1 1 'Ll \l1~ (i) 'lJ'J~,htJfl1':lPifl~l, , Ivctct~ 'J~Vlll'lb~m.J fl':lfl£jlf1:lJ - n'LltntJ'Ll Ivctct~ vl'l~'J1CJ'Ll1:lJl?ieJl'lJd

~ . fl':l':l:lJfll':lBl'Ll1~fll':l

® . ':leJ 'l ~ l6'1(i)':l l'<\J l':l~~l':l'<\Ju

Iv. ':l eJ'l ~ l6'1(i)':ll'<\Jl'J~6'1~:lJ, , v <

bQ6'ltJ VI'J'WtJ fl':l'J:lJfll'J V I 6'= Q./ 6'

m. ~~1tJ~16'1(i)':l1'<\Jl':lCJ 'WVlfl ~ ~'Ll Vl ~ b '<\J ~ bI! fl':l'J:lJfll'J v

dJ1'l'lJ'J ~b 6'1 ~ \i fl':l'J:lJfll'J ""

ct. 'Lll'l1 'Jl'U

b . 'J eJ ~ ~ l 6'1 (i) 'J l '<\J l 'J ~~~~

b'l1 . 'Lll'l6'1l1'W':l~ru(i)1 v

bbfldb'Ll(i)':l fl':l'J:lJfl1'J

~bI! 'lJ~fl fl':l'J:lJfl1 ':l <

utnuun fl':l':l:lJfl1':l

b'U CJ :lJ6'1eJ 'Ll fl':l ':l:lJ fll ':l b b 6'l ~b 6'l '1J l 'Ll,fll':l

Vl11l~ ell'Ll1 tJfll':l1Vi fll':lm1 '<\J'lJ':l~ biJ'Ll fI ru.fl1'W fll':l~ fl~l .f11 tJ1'Ll6'1 f11'LlPi fl ~ l 'J~vl'UeJ \71:lJ Pi fl ~l

v1l b1J'Lll 'lJ ~1 tJfI1l:lJ b~tJ1J~mJ

lei. fl':l':l:lJ m ':lii1 b'W'Ll.:J 1 'Ll

h~ fl':l':l:lJfl1':lfl6ll.:J v

® . ':leJ~~l6'1(i)Jl'<\Jl':l~bVleJ'Ll 'lJ'J~5l'Llfl':l'J:lJfl1'J .,: <

lv. 'Ll1'l6'1l1fl'lfl1b1!'<\J'Ll 'J eJ'l 'lJ 'J~ 5 l 'Ll fl 'J':l :lJ fl l':l

en . 'Lll 'l 6'1l 1 ~1 ':l -r(i) U (i)':l~ fl6'l6'1~(i)~~'Ll fl':l':l :lJ fll':l '\)

~ ~ ~. 'Ll l'l?l11 'W d?ldl 'l b'W 'l'lfld'l fl':ld:lJ fl1d

ct. 'Lll'l6'1l1'Ll~\I~'Ll Vl~ 6'1~ :lJlfl fl':l'J:lJfll'J, , b. 'Ll1tJ'W'Ll:lJ 6'11'Jru'lJ'J ~b Vl ~ fl':l'J:lJfll'J,

v

b'l1. 'Lll'l6'1l1 'W1'l'W'J'Jru U'Llfl'l fl':l'J :lJfll 'J

Page 96: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

~ . 'U ltJe:J':j ':i'U'\J~

~ . 'U l \l 61 1 1b'U m 'I.J ':i ~1'V'l n~~61~~ n':i':i~nl':i

(9)o .'Ul\l6111~~'V'l':i 161~~1n ~ ~ m':i~nl':ibbj;1~b~'lIl 'U nl ':i,

Vl.wl~ (9). nlnUnl':i~':il'J'I.J ':i ~b iJ 'U1 1Xb ~'U1'I.Jm~m~':i~1'U'lI eJ\l 61neJ. ""

h ~':il'J61eJU':il tJ \l 1 'U n l ':i 'I.J "j ~ b iJ 'U11Xb~'U1'I.J~1 ~mm~1 'U 'lI eJ \l 61neJ .1m 'I.J bbuu 15nl"j"" ~

bbj;1~ bmWsv1 nl"j 'I.J"j~ biJ'U

en . b~ 'Um ':i~nl ':i nm \l1'U nl ':iml 'J 'I.J ':i ~biJ'Ui bb j;1 ~bbnU q,JVl1m rum ':i~ nl ':ih]fl ':iU Vl1eJ

1JJm 'J 'l.J liu~vl1Jl~1~ ':il ~~\lUq,JVll~'U 1 b~ tJ l nUnl ':iml 'J 'I.J ':i ~biJ'U ~ . 'I.J "j~611'U \l1'U11X n l"j~ "jl 'J 'I.J "j~ biJ'U fl ruJll'V'l nl "ji'im~lJll tJ1'U 19\'1 b'W 'U1 'I.J 1711 tJfl l 1 ~ ,

hkJ lll':il'iJ'I.J':i~biJ'WflruJl1~n1'aAmn'a~~\Jflru~, flru~m'a~n1'aIll'al'iJ'I.J'a~ biJ'W fl ru~fl'am r;llll~,

Q..I Qd l'WVl <Ol r;l\lVl1fl~ kJ<t'<t'~

(9) . ~<dl tJf'1l61~':il'Jl':i ~~q,J1Vl b 'J~ q,J ~ j;1 'I.J ':i~ 51 'Um ':i~ nl ':i c:o. ~ v ~ v .::!

i£J . 'Ul tJbVll'U Vl ':i 'J 'UVl':il"1n(91 m':i~nl':i

d

en . 'Ul\lbUq,J 'Jl m"j~nl"j

b~'lIl'Wnl"j,

la.sn lll'al'iJ'I.J'a~biJ'WflruJl1~n1'aAm~n 'a~~\Jflru~, flru~m'a~Jn1'aIll'al'iJ'I.J'a~ bil'W fl ru~~'W~tJ 1"11 r;l ~ ~bb6'1 ~61\lfl ~ 1"11 r;l III ~ ,

OJ qd l'WVl ~ r;l\lVl1fl~ kJ<t'<t'~

(9) . ~<dl tJI"1161~':il'Jl'a ~ b61~ tJ~ U~U1Ul 'W 'I.J ':i ~ 5 1 'U m "j ~ nl ':i ~ ,

i£J. ~<dl tJI"1 161Ill':il'Jl':i~~'W Vl{bb "j~ b~eJ'Wbb{J'U m"j~nl"j 'u

en. 'Ul\l61T ,l1J "j~I"j(911 1mJ 'U~'UVl { m"j~nl"j

~. 'Ul\l6111tJfl'U5"j 'I.J ~I "j "j ru b~ 'lI l'U nl "j, ,

he:( lll'al'iJ'I.J'a~biJ'WflruJl1~n1':iAn~l'a~~\Jflru~, flru~m'a~n1'a~'al'iJ'I.J'a ~biJ'W flru~1VlmI"11r;l~~bb6'1~bVlfll 'W16'1~

Q..I d .e:::t.

1'WVl <OlO 61\lVl lfl~ kJ<t'<t'~

<91 . ~<dltJI"1161Ill':il'Jl':itJUrut\hJl61 fln~nn~ 'I.J "j ~ 5 1 'U m "j ~ nl "j 'u

i£J . ~~ltJI"1161~"jl'Jl':itJ81'Ul'J m"j~nl"j ~

m"j~nl':i

Page 97: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

kJ.<t' (91'a"l"iltJ'a"~b~'Wflrum'Wm'a"~mn 'a"~~'Uflru~, f1ru~m'a"~m'a"(91'a"l"iltJ'a"~b~'W fI ru~l'Vl en m'a"~~ m'a"

... (9) . 'j8'lm?\I'l'j1:U1'j~ bVl 8 'W Vle)~ bbnl LJ~~6 1tJ fl ':i~~ fl lJ

tv. ~'1hCJfl1?\1'l'j1:U1'j~'U?\'j1 dl (91'\..h~·\lUJ m 'j~m'j 'U , ,

v <

(I]'l (i]1 6~'U?\l?\~ m'j~ m 'j

Vi''U~ru 661'lJ1'U,m 'j

kJ.D l'l'a"l"iltJ'a"~bij'Wflrum'Wm'a"~m~n 'a"~~'Uflru~, f1ru::m'a"~m'a"I'l'a"l"iltJ 'a":: b~'W Uru<n(911'Vltl1~tI

(9) . 'j8'lm?\ ('I'j1:U1'j~ e:Jihr'Uvl lb~iS1'U m 'j ~ nl 'j

tv. 'U1'l?\ldru1~?l1~ m'j~nl'j ... d.3

m'j~ nl 'j

661'lJ1'U nl 'a",

kJ.(,'"l.I l'l'a"l"iltJ'a"::b~'Wfi ru.f11'W m'a"~mn 'a"~~'Ufi ru~• f1ru~m'a"~m'a"(91'a"d"iltJ'a"~6~'W f1ru~'WtJ1'U16:W11~(911

1'WVl ~ n'Wtl1t1'W lD<t'<t'~

~ru66 6'1 'l LJ~~iS1'U m ~~ nl 'j

tv. 'j8'lfl1?\(91'j1:U1'~'~ n f\j f\j (911 tJ'j~ :UP161tJ, m ~ ~nl~

en. 'U1'l6'111ru1~6'11~ m~ ~nl~ ... d.3

... <

(I]'l ~h6 ~ 'U6'11;;'i ~ 661 'lJ1'U,nl~

kJ.C:;; (91'a"d"iltJ'a" ~bij'Wflrum'Wm'a"~mn 'a"~~'Uflru~, f1ru~m'a"~m'a"(91'a"d"iltJ 'a"~6~'W 1'a" \lb~tI'W m'a"b~8'W

cv d .<:::::It.

1'W'Vl <Ol<t' ~\l'Vl1f1~ lD<t'<t'~

(9) . ~'lilCJfll6'1('1~1:U1 ~ ~ U ru ohJl?\ tln61Jln~ LJ ~~ iS1'Um~~nl'j 'U

m ~ ~nl~

m~ ~m~

661'lJ1 'Unl~,

kJ.~ (91'a"l"iltJ'a" ~b~'Wflrum'Wm'a"~m~n 'a"~~'Uflru::, f1ru~m'a"~m'a"(91'a"l"iltJ 'a"~b~'W 1'a" \lb~tI'W m'a"vl8\l 6~ til b661::m 'a"'U~m'a"

1'W Vi lDbl1 ~ \l'Vl1 fI ~ lD<t'<t'~ v ..... ..... <

1'l 'U'I'l 'UiS LJ~ :: l)1 'Um~ ~ nl'a"

tv. 'U1\l 6'11 1 LJ ~ ~1 ~m 1.f1'1j'U~'U'Vl~ m~~ nl~

en , 'U 1'l?\ld5~~1 m~~ nl ~

Page 98: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

\§:J. (0)0 V1':i1~'I.h::biJ'Ufi,ru.n1wnT'afi m~n 6l1'U~1'U:l.Jvnl'Vlm&rfJ611'U~ ,~V1

f1ru::m':i:l.Jm':iV1':i1~'I.h::biJ'U 6l1'l1n~1'U:l.JVl11'Vlm&rfJ <V d CIt,

1'U'Vl a: 6l~V11f1:l.J \§:J<t'<t'~

(9). ~'1i l tJ \"1 1 6'l (?l ':i l "'J l'HJ -<D\.J 'Vl 1 b b ':i ~ b~eJ'Ubb'\lu LJ':i~51'Ufl':i':i~fl1':i 'J

Iv. 'Ul-:J6'l11LJ ':i ~ 1 ':i m 1Jl'lf'U-<D'U'Vl1 fl':i':i:lJ fl1 ':i .,: ,

en, 'Ul-:J6'l11fWl l~ "'J 'U fl':i':i:lJfl1 ':i

~. 'U l-:J6'l 1 1 b~ :lJ1 "'J b~'Ul'U,fl l ':i

f1ru::m':i:l.Jm':im1~'I.h::biJ'U 6lmU'U1~mb6'l::.w~'U1

1'U~ \§:Jt> n':in!)1f1:l.J \§:J<t'<t'~

(9) . 'Ul-:J6'l11LJ':i~1':i~1 1Jl'lf'U-<D'U'Vl1 LJ ':i ~ 5 1 'U fl':i ':i~ fl1':i

1?11t1fll m':i ~fl1':i

sn . 'Ul-:J6'l1 1~-:J'Um b~ \"1~'lf':iV'l-:Jfi m':i~fl1':i, '" ~. 'Ul-:J6'l11bV'l~mV'l':i fl':i~b1'U b~'U l'Ufl1':i,

<V d 1'U'Vl \§:JG'1/ n':in!)1f1:l.J \§:J<t'<t'~

(9) . 'UltJl'lf'lfl Q '"

Q:lJ V'I ~ LJ':i~51'Um':i:lJfl1':i ,

Iv. 'Ul-:J6'l116'lmmru, 6'l:lJ1V'1'U~~ 'J

fl':i':i:lJfl1':i Q ,

sn. 'Ul-:J6'l11'VlV'ltJ fl':i':i:lJfl1':i

~. 'Ul-:J6'l11':ill':i':iru b~'lfl'Ufl1':i,

<V d '" 1'U'Vl 6Tl 6l~V11f1:l.J \§:J<t'<t'~

(9). 'Ul-:J6'l11LJ':i~1':i~ 1 1Jl'lf'U-<D'UVl1 LJ':i~51'Um':i:lJfl1':i .,: ,

Iv. 'U l -:J 6'l 1 1 fl -:J fl1 ~ "'J 'U VleJ-:J-:JeJfl m':i:lJfl1':i v

sn. 'Ul-:J6'l11t1m ru 'lf~'lfeJtJ fl':i':i~fl1 ':i

~. 'U l tJ A ':i ':i ~ V1 eJ'Ufl~ ''J

b~'Ul'Ufl1':i,

f1ru::m':i:l.Jm':iV1':i1~'I.h ::b iJ'U mnU'U.n1~1 A6'l'\J::bb6'l ::1~'U5':i':i:l.J <V d 1'U'Vl (O)<t' ~~V11f1:l.J \§:J<t'<t'~

(9) . ~'1il tJ\"116'lV11"ill':icJ-<D'UVl1bb':i:l.J b~ eJ 'U uU'U LJ':i~51'U fl':i':i:l.J fl1':i 'J

v ,

~. 'Ul-:Ji,'l116'lmmru, \9l-:JMlb'U'U6'll6'l~ m':i:lJfl1':i Q ,

en. 'U 1-:J6'l11fl-:Jfl1~"'J'U fl':i':i~fl1':i

~. 'Ul-:J6'l11fl~~fl1 b~'U l'Ufl1':i,

Page 99: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

Vlth~ Aru~nJdJJflld'1 iJVllll~(91dT~tJd~6:W'UAruJll~fIld~fI~lJllCJlud~v1\JAru~ 66f1~6'il'U'Jl'U(9). , JJVll1VlCJ1~CJ tJ fI1d~ fI~l \8crcr~

\8. f1ddJJfI1d 66f1~ 6f1'Vl'U fI1diJVllll~(91dT~lJd~6:W'UArum~fI1d~fI~lmCJ 1'U d~vlUAru~ 66f1~6'il'U'l1'U, , JJVll1 VI CJ1~ CJ ~ ~ eJ JJ~'J~ \Ylvlldl CJ'Jl'UB-Jf1 fI1dlJd~ 6:W 'U Aru m~ fI1d~ fI~lmCJ1'U d~vlUAru ~ 66f1 ~6'i l'U'Jl'U,

" JJVll1VlCJ1~CJ dlCJf1nBCJ\Ylvl'Jl1

\8. (9) 6'i'J dl CJ'Jl'U B-J f11 Vi'VllJl CJ'Jl'U~ -ru fIld (91 dT~ -rUVI dlUVl~ el'l-1'flVll '1 rn CJ1 'U b11 l'UVl~ '1 fI1d

(91dT~tJd~ 6:W'U66'l~~~'U \8.\8 6'i'JdlCJ'Jl'UB-Jf11Vi'6'l1L!flU~Vlldflf1CJVl5 mCJ1'U G'l! l'U Vl~'JfI1d(91dl~tJd~6:W'U66'l~~~'U,

b11. 1Vi'Aru ~ nddJJfll d~ tJDU~ Vllll ~ (911 JJfll i'J i1 iJ ~ VI B6,]fIA11<if~ 1 CJ1 'U rn d 6~ 'U Vll '11tJ d1 'V m d

Al(91 eJU 66 VI'U 66f1~Al H~l CJ ~'U 1 (911JJ d~ 6DCJUVll'Jdl'VfI1 d

(deJ'J1"116'l(91dl~ld~ \Yld.~1J~L1 B-Jf1~'U5'U)

eJ5f11dU~JJVll1VlCJ1~CJ6'l1'U\Yl~(91,

Page 100: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

ปริญญาตรี ป.บัณฑิต ปริญญาโท ปริญญาเอก

ครุศาสตร์ ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 1,953.67 279.13 พยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ 330.92 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์/มนุษยศาสตร์ 2,041.17

นิติศาสตร์ 256.72 ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 52.50

โรงเรียนการท่องเที่ยวฯ สังคมศาสตร์/มนุษยศาสตร์ 2,447.89 โรงเรียนการเรือน สังคมศาสตร์/มนุษยศาสตร์ 487.78

วิทยาศาสตร์กายภาพ 1,597.64 วิทยาการจัดการ สังคมศาสตร์/มนุษยศาสตร์ 650.36

บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ บัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ 2,401.28 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์กายภาพ 1,426.81

ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 302.11 บัณฑิตวิทยาลัย ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 57.33

สังคมศาสตร/์มนุษยศาสตร์ 2.25 ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ 33.13

ข้อมูลจากสํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ณ 1 สิงหาคม 2559

FTESกลุ่มสาขาคณะ

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) ประจําปีการศึกษา 2558

Page 101: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

โรงเรียนการเรือน 1 ข้อมูล ณ วันที� 31 พฤษภาคม 2559

โรงเรียนการเรือน

ลําดับเลขที่บัตรประจําตัว

ประชาชนคํานําหนา ชื่อ สกุล หลักสูตร ปฏิบัติงาน

ตําแหนง

ทาง

วิชาการ

เริ่มปฏิบัติงาน ประเภท การนับระดับ

การศึกษาหลักสูตร สาขาวิชา

1 3120200357127 น.ส. สุวรรณา พิชัยยงควงศดี เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. ผศ. 9 ก.ย. 45 พนม. 1.0 เอก วท.ด. วิทยาศาสตรการอาหาร (หลักสูตรนานาชาต)ิ

2 3140600503112 น.ส. อุบล ชื่นสําราญ เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. ผศ. 15 ม.ิย. 44 พนม. 1.0 เอก ปร.ด. อายุรศาสตรเขตรอน

3 3909800366683 นาง นฤมล นันทรักษ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี ผศ. 28 ธ.ค. 23 ขาราชการ 1.0 เอก Ed.D. Industrial Management

4 3520300366965 นาง เบญจวรรณ ตื้อตัน เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง ผศ. 3 พ.ค. 53 พนม. 1.0 เอก วท.ด. ปรสิตวิทยา

5 3100201631192 นาง แสงอรุณ เชื้อวงษบุญ คหกรรมศาสตร ใน ม. ผศ. 5 ต.ค. 22 ขาราชการ 1.0 เอก Ed.D. Educational Management

6 3101801052291 น.ส. พรยุพรรณ พรสุขสวัสดิ์ คหกรรมศาสตร ใน ม. ผศ. 18 พ.ค. 41 ขาราชการ 1.0 เอก ปร.ด. วัฒนธรรมศาสตร

7 3180400307824 น.ส. กนกกานต วีระกุล เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ต.ค. 51 พนม. 1.0 เอก Ph.D. Food Science and Biotechnology

8 3120100328842 น.ส. ฐิตา ฟูเผา เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. ผศ. 26 ม.ิย. 46 พนม. 1.0 เอก Ph.D. Advanced Science and Biotechnology

9 3100504375737 นาง วราภรณ วิทยาภรณ เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ิย. 47 พนม. 1.0 เอก ปร.ด. พัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร

10 1102000062765 นาย นราธิป ปุณเกษม เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 2 ม.ิย. 49 พนม. 1.0 เอก วท.ด. เทคโนโลยีทางอาหาร

11 3100201078345 น.ส. ชุติปภา สุวรรณกนิษฐ เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ิย. 47 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 เอก Ph.D. Food and Nutritional Sciences

12 4101600009672 นาย สมยศ ตันติวงศวาณิช เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 10 ม.ิย. 42 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 เอก ปร.ด. เทคโนโลยีอาหาร

13 3102000679386 น.ส. ณัชนก มีประถม เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ิย. 49 พนม. 1.0 เอก ปร.ด. วิทยาศาสตรการอาหาร

14 3101801548378 น.ส. ธีรนุช ฉายศิริโชติ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 19 ม.ิย. 43 พนม. 1.0 เอก ปร.ด. เกษตรเขตรอน(อาหารและโภชนาการ)

15 3739900290753 น.ส. อรอนงค ทองมี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ีค. 47 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 เอก ปร.ด. วัฒนธรรมศาสตร

16 3300100528033 นาย อณุชิด พันธุรักษ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 18 ม.ิย. 44 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 เอก ปร.ด. เทคโนโลยีอาหาร

17 3720100692557 น.ส. ยศพร พลายโถ โภชนาการและการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 3 ธ.ค. 55 พนม. 1.0 เอก ปร.ด. โภชนาศาสตร

18 3101600139144 น.ส. พรดารา เขตตทองคํา โภชนาการและการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 18 ม.ิย. 44 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 เอก ปร.ด. เกษตรเขตรอน

19 3730500513391 น.ส. พิรมาลย บุญธรรม คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 19 ม.ิย. 43 พนม. 1.0 เอก ศศ.ด. อาชีวศึกษา

20 3411300899451 น.ส. สายบังอร ปานพรม คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 15 พ.ย. 43 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 เอก ปร.ด. วัฒนธรรมศาสตร

Page 102: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

โรงเรียนการเรือน 2 ข้อมูล ณ วันที� 31 พฤษภาคม 2559

ลําดับเลขที่บัตรประจําตัว

ประชาชนคํานําหนา ชื่อ สกุล หลักสูตร ปฏิบัติงาน

ตําแหนง

ทาง

วิชาการ

เริ่มปฏิบัติงาน ประเภท การนับระดับ

การศึกษาหลักสูตร สาขาวิชา

21 5729999002255 นาย ณรงคพันธุ รัตนปนัดดา เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. ผศ. 20 พ.ค. 47 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วศ.ม. วิศวกรรมเคมี

22 3730300839993 น.ส. พัทธนันท ศรีมวง โภชนาการและการประกอบอาหาร ใน ม. ผศ. 10 ม.ิย. 42 พนม. 1.0 โท วท.ม. โภชนวิทยา

23 3349900017651 น.ส. นุจิรา รัศมีไพบูลย คหกรรมศาสตร ใน ม. ผศ. 1 ม.ีค. 37 ขาราชการ 1.0 โท ศศ.ม. ผาและเครื่องแตงกาย

24 3100201784771 นาย เอกพล ออนนอมพันธุ คหกรรมศาสตร ใน ม. ผศ. 13 ม.ิย. 37 ขาราชการ 1.0 โท ศศ.ม. การจัดการคุณภาพการศึกษา

25 3600100675645 นาย วีระ พุมเกิด เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 20 ธ.ค. 38 ขาราชการ 1.0 โท ศ.ม. เศรษฐศาสตร

26 3102001450889 นาย กิตติศักดิ์ วสันติวงศ เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 12 ก.ค. 40 ขาราชการ 1.0 โท วศ.ม. วิศวกรรมเกษตร

27 3101400902324 น.ส. ศวรรญา ปนดลสุข เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 2 ม.ิย. 51 พนม. 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรการอาหาร

28 3101900374092 น.ส. ปยวรรณ อยูดี เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ส.ค. 49 พนม. 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

29 2670600001017 น.ส. สุธาสินี ชิ้นทอง เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ีค. 54 พนม. 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรการอาหาร

30 3710600608687 นาย วีระพงศ วิรุฬหธนกฤษณ เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ีค. 54 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรการอาหาร

31 3120100506554 น.ส. หทัยรัตน ปนแกว เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 25 ต.ค. 48 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรการอาหาร

32 3720100107204 น.ส. ภัทราทิพย รอดสําราญ เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 26 ต.ค. 48 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วศ.ม. วิศวกรรมการอาหาร

33 1102000816166 น.ส. กันตกนิษฐ จงรัตนวิทย เทคโนโนโลยีการแปรรูปอาหาร ใน ม. อ. 1 ก.ย. 2557 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรการอาหาร

34 3110102243666 นาง จันทรจนา ศิริพันธุวัฒนา เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ธ.ค. 40 ขาราชการ 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

35 3230300283388 น.ส. โสรัจจ วิสุทธิแพทย เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ิย. 47 พนม. 1.0 โท ศศ.ม. คหกรรมศาสตรศึกษา

36 3149900062535 น.ส. ธิติมา แกวมณี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 16 ก.พ. 52 พนม. 1.0 โท MSc. Food Management

37 3101402011010 น.ส. นันทพร รุจิขจร เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 พ.ย. 48 พนม. 1.0 โท วท.ม. พัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร

38 3520100856551 น.ส. ราตรี เมฆวิลัย เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ก.ค. 43 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ค.ม. การบริหารการศึกษา

39 1100800061826 นาย ทรงพล วิธานวัฒนา เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 2 ม.ีค. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท บธ.ม. การเปนผูประกอบการ

40 3800101120815 น.ส. ธัญลักษณ ศรีสําราญ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 11 ม.ิย. 55 พนม. 1.0 โท วท.ม. พัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเกษตร

41 3102400277226 น.ส. ทัตดารา กาญจนกุญชร เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 2 ม.ิย. 51 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ศศ.ม. คหกรรมศาสตรเพื่อพัฒนาชุมชน

42 3320500383059 น.ส. ธนิกานต นับวันดี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 16 ต.ค. 49 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท คศ.ม. อาหารและโภชนาการ

Page 103: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

โรงเรียนการเรือน 3 ข้อมูล ณ วันที� 31 พฤษภาคม 2559

ลําดับเลขที่บัตรประจําตัว

ประชาชนคํานําหนา ชื่อ สกุล หลักสูตร ปฏิบัติงาน

ตําแหนง

ทาง

วิชาการ

เริ่มปฏิบัติงาน ประเภท การนับระดับ

การศึกษาหลักสูตร สาขาวิชา

43 3140100310102 น.ส. ณัจยา เมฆราวี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ิย. 50 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. เทคโนโลยีการจัดและบริการอาหาร

44 2710900002158 น.ส. มนฤทัย ศรีทองเกิด เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี อ. 2 ม.ิย. 51 พนม. 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

45 3840100163715 น.ส. ผุสดี ขจรศักดิ์สิริกุล เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี อ. 11 ม.ค. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

46 1101400023677 น.ส. บุญญาพร เชื่อมสมพงษ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี ผศ. 3 ส.ค. 52 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ศศ.ม. คหกรรมศาสตรศึกษา

47 3659900613553 น.ส. พรทวี ธนสัมบัณณ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี อ. 15 ม.ิย. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

48 3720800282017 น.ส. ณัชฌา พันธุวงษ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี อ. 11 ม.ค. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

49 1640700046529 นาย อัศพงษ อุประวรรณา เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร สุพรรณบุรี อ. 1 พ.ย. 57 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

50 3529900076541 น.ส. สุรียพร ธัญญะกิจ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 1 ธ.ค. 51 พนม. 1.0 โท วท.ม. โภชนศาสตรศึกษา

51 3520600345548 น.ส. ฐิติวรฎา ใยสําลี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 3 พ.ค. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. เทคโนโลยีทางอาหาร

52 3529900262000 นาย อรรถ ขันสี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 1 พ.ค. 49 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. เทคโนโลยีการจัดและบริการอาหาร

53 3501600062059 น.ส. อานง ใจแนน เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 1 ก.ค. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. โภชนศาสตรศึกษา

54 1529900090326 น.ส. จรรยา โทะนาบุตร เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 1 ม.ีค. 54 พนม. 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

55 1509900126797 น.ส. สังวาลย ชมภูจา เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 15 ต.ค. 56 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. โภชนศาสตรศึกษา

56 1529900188300 นาง เสาวลักษณ กันจินะ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ลําปาง อ. 1 ก.ย. 57 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร

57 3940900449124 น.ส. สาวิตรี ณุวงศศรี เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 16 ก.พ. 54 พนม. 1.0 โท วท.ม. การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร

58 3920400142518 นาง สุภาวดี นาคบรรพ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 3 พ.ค. 53 พนม. 1.0 โท วท.ม. วิศวกรรมแปรรูปอาหาร

59 3939900035824 น.ส. เสาวพรรณ ปาละสุวรรณ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 3 พ.ค. 53 พนม. 1.0 โท วท.ม. สุขาภิบาลอาหาร

60 5800490014864 น.ส. ทิพยพิกา ธรฤทธิ์ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 1 พ.ย. 53 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ศศ.ม. คหกรรมศาสตรเพื่อพัฒนาชุมชน

61 1920100014933 น.ส. ดุษฎี ทรัพยบัว เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 17 เม.ย. 56 พนม. 1.0 โท วท.ม. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

62 1809700110037 น.ส. สิรินทรทิพย สุตตาพงค เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 1 ส.ค. 57 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

63 1840100209000 น.ส. ปทมา กาญจนรักษ เทคโนโนโลยีการประกอบอาหาร ตรัง อ. 1 ก.ย. 58 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

64 3709900246614 นาย ฉัตรชนก บุญไชย โภชนาการและการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 1 ม.ีค. 47 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. สาธารณสุขศาสตร

Page 104: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ

โรงเรียนการเรือน 4 ข้อมูล ณ วันที� 31 พฤษภาคม 2559

ลําดับเลขที่บัตรประจําตัว

ประชาชนคํานําหนา ชื่อ สกุล หลักสูตร ปฏิบัติงาน

ตําแหนง

ทาง

วิชาการ

เริ่มปฏิบัติงาน ประเภท การนับระดับ

การศึกษาหลักสูตร สาขาวิชา

65 3600600012904 น.ส. ยศสินี หัวดง โภชนาการและการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 2 เม.ย. 55 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. โภชนวิทยา

66 1250700031045 น.ส. หทัยชนก ศรีประไพ โภชนาการและการประกอบอาหาร ใน ม. อ. 2 เม.ย. 55 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. พิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ

67 3150200112485 นาง กมลวรรณ ตั้งเจริญบํารุงสุข คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 24 ก.ค. 40 ขาราชการ 1.0 โท ค.ม. นิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร

68 1101401119651 น.ส. เบญจรัตน ประพฤทธิ์ตระกูล คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 2 เม.ย. 55 พนม. 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

69 4250100003819 นาย นพณภัทร ทองแยม คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 5 ก.ค. 43 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท กศ.ม. ศิลปศึกษา

70 3100501838442 นาง นิลุบล ประเคนแสง คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 1 ม.ีค. 50 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ศศ.ม. คหกรรมศาสตรเพื่อพัฒนาชุมชน

71 3102001180393 น.ส. ปวิตรา ภาสุรกุล คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 10 ม.ค. 54 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

72 3210300471788 น.ส. หทัยชนก ลี้ปฐมากุล คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 2 พ.ค. 54 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

73 3500600246906 น.ส. จารุณี วิเทศ คหกรรมศาสตร ใน ม. อ. 3 ธ.ค. 50 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

74 3141200246466 น.ส. กาญจนา เฟองศรี คหกรรมศาสตร สุพรรณบุรี อ. 1 ม.ีค. 54 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ค.ม. หลักสูตรและการสอน

75 1200100136750 น.ส. จันทรกานต ทรงเดช คหกรรมศาสตร สุพรรณบุรี อ. 10 ม.ิย. 56 พนม. 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

76 3100905660467 น.ส. ปภัสมน เวชกิจ คหกรรมศาสตร สุพรรณบุรี อ. 1 ก.พ. 55 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ค.ม. คหกรรมศาสตร

77 3240100504607 น.ส. นุชนาฎ กุลวิทย คหกรรมศาสตร สุพรรณบุรี อ. 10 ม.ิย. 56 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท ค.ม. อาหารและโภชนาการ

78 1160100160619 น.ส. ณัฐธิดา กิจเนตร คหกรรมศาสตร สุพรรณบุรี อ. 10 ม.ิย. 56 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท วท.ม. คหกรรมศาสตร

79 1100800282466 นาย อัครพล ไวเชียงคา คหกรรมศาสตร สุพรรณบุรี อ. 1 ส.ค. 57 ลูกจางมหาวิทยาลัย 1.0 โท คศ.ม. การบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร

Page 105: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ
Page 106: ประจําป การศึกษา 2558food.dusit.ac.th/wp-content/uploads/2016/08/full-sar-2558.pdf · การศึกษา 2558 จํานวน 13 ตัวบ