75
การประยุกต์แนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) ในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากและบริการทันตกรรม อ.บางกระทุ ่ม จ.พิษณุโลก ปีงบประมาณ 2560 ทพ.วัฒนา ทองปัสโณว์ กลุ ่มงานทันตกรรม รพ.บางกระทุ ่ม

Public Sector Management Quality Award : PMQA)...การประย กต แนวค ดการพ ฒนาค ณภาพการบร หารจ ดการภาคร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การประยกุตแ์นวคดิการพฒันาคุณภาพการบรหิารจดัการภาครฐั (Public Sector Management Quality Award : PMQA)

    ในการพฒันากจิกรรมสง่เสรมิสขุภาพช่องปากและบรกิารทนัตกรรมอ.บางกระทุ่ม จ.พษิณุโลก ปีงบประมาณ 2560

    ทพ.วฒันา ทองปสัโณว์กลุม่งานทนัตกรรม รพ.บางกระทุ่ม

  • ความส าคัญของสุขภาพช่องปากอาหารและโภชนาการ

    รู้สึกสบายความสวยงาม

    การพูด การออกเสียงการเข้าสังคม

    สุขภาพร่างกายและจิตใจโดยรวม

  • ทางเดินเชื้อโรคติดเชื้อในกระแสเลือด

    ติดเชื้อที่ข้อเทียมติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ ลิ้นหัวใจ หรือ ที่ลิ้นหัวใจเทียม

    ติดเชื้อในปอด

  • Terrible truth• โรคฟนัผุเป็นโรคเรื้อรงัที่มีความชกุสูงสดุในประชากรทัว่โลก• ประชากรโลกกว่า 3 พนัลา้นคนที่ยงัทกุขท์รมาณจากโรคฟนัผุที่ยงัไม่ไดร้บัการรกัษา (Marcenes et al. 2013)• ตน้ทนุทางตรงของการรกัษาโรคในช่องปากของทัง้โลกปีละ 10.5 ลา้นลา้นบาท (Listl et al. 2014) เท่ากบั 4 เท่าของงบประมาณต่อปีท ัง้หมดของรฐับาลไทย

  • PMQA

  • (1) การน าองค์การ

  • - การสนับสนุนที่ชดัเจนจาก คปสอ.บางกระทุ่ม- ภารกิจทีม--ดูแลสุขภาพช่องปากภาพรวมของอ าเภอ- วิสัยทัศน์ “ประชาชนบางกระทุ่มมีสุขภาพชอ่งปากที่ดีในทุกกลุ่มวัย”

  • (2) การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

  • แนวคดิ

    สมดุล รุก & รบั

    สง่เสรมิสุขภาพช่องปาก ใหบ้รกิารทนัตกรรม

  • (3) การให้ความส าคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  • ดูแลในทุกกลุ่มวัย ทั้งอ าเภอANCก่อนวัยเรียน (WBC/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)ประถมศึกษามัธยมศึกษาวัยท างานNCDผู้สูงอายุ/ผู้พิการ

  • (4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  • - เน้น evidence base เรียนรู้จากองค์ความรู้สากล- เน้นการเก็บขอ้มูลที่เชือ่ถือได้ ตามแนวทางที่เป็นมาตรฐานจาก WHO- เปรียบเทียบกับข้อมูลที่เป็นมาตรฐาน เช่น การส ารวจระดับประเทศ ข้อมูลระดับนานาชาติ

  • (5) การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล

  • มี 9 ต ำบล 87 หมู่บ้ำน ประชำกร 47,462 คนรพ.สต. 13 แห่ง

  • ทมีทนัตบคุลากรทนัตแพทย ์3 / ทนัตาภบิาล 5 /

    ผูช่้วยทนัตกรรม 3

  • ทนัตาภบิาล รพ.สต.นครป่าหมาก

  • (6) การจัดการกระบวนการ

  • เน้น Deming Cycleหรือ PDCA ในการพัฒนาระบบ

    อย่างต่อเนื่อง

  • การเข้าถึงบริการทันตกรรม

  • การพัฒนาพื้นที่บริการ และครุภัณฑ์ได้แก่ การปรับปรุงห้องฟันเพ่ิมยนูิตท าฟัน

    เพ่ิมผู้ช่วยทันตกรรมการพัฒนาระบบที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการ เช่น การไม่จ ากัดคิวในการเข้ารับบริการ

  • Before

  • After

  • กจิกรรมสง่เสรมิสขุภาพช่องปากในทกุกลุม่อายุ

  • ANCตรวจสุขภาพช่องปาก เมื่อ ANC มาฝากครรภ์ครั้งแรก ทุกวันพุธ

    เข้าร่วมกับฝ่ายเวชฯ ในการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ ฝึกปฏิบัติแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ ร่วมกับ plaque control

    การนัดบริการแบบ Complete case

  • ANC

  • WBCwell baby clinic

  • ตรวจสุขภาพช่องปากฝึกผู้ปกครองแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติกับบุตรหลาน

    ขยายความครอบคลมุใน รพ.สต.

    WBC

  • ศูนยพ์ฒันาเด็กเลก็

  • มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ครอบคลุมทั้ง 17 แห่ง

  • ประถมศึกษาเด็ก 12 ปี

  • เวทีแลกเปลี่ยนเรยีนรู.้..ครูอนามยั

    เวทปีระจ าปีเพือ่ สรา้งความสมัพนัธ ์คนืขอ้มูล แลกเปลีย่นเรยีนรู ้และเชิดชูเกยีรติ

  • เสรมิทกัษะการดูแลสขุภาพช่องปาก

  • เสรมิทกัษะการดูแลสขุภาพช่องปาก

  • รณรงคก์ารแปรงฟนัหลงัอาหารกลางวนัดว้ยยาสฟีันผสมฟลูออไรด์

  • พฒันาเกณฑโ์รงเรยีนตดิดาวตามค่าความครอบคลมุของกจิกรรมการแปรงฟัน

  • 2558รณรงคก์ารแปรงฟันกอ่นนอน

    ผ่านแบบบนัทึกการแปรงฟนักอ่นนอนในเด็กประถมศึกษา

    2560ขยายผลในเด็กศูนยพ์ฒันาเด็กเลก็

  • นักเรียนมัธยมศึกษาโครงการฟันสะอาด เหงือกแข็งแรงใน ม.1 มาต้ังแต่ปี 2550

    เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบในปี 2558และขยายครอบคลุม ม.2 ในปี 2560

    โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก ฝึกปฏิบัติแปรงฟันแบบแห้งโดยลงมือปฏิบัติ

    ร่วมกับ plaque controlตรวจสุขภาพช่องปาก

    และนัดไปรับบริการทันตกรรมที่โรงพยาบาล

  • นักเรียนมัธยมศึกษา

  • ผูสู้งอายุกลุม่ตดิสงัคม

  • ผูสู้งอายุมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่ม

    ผู้สูงอายุของชมรมผู้สูงอายุในรพ.สต.ต่างๆ โดยเพิ่มความครอบคลุมในการออกจัดกิจกรรมส่งเสริม

    สุขภาพผู้สูงอายุจาก 7 แห่ง ในปี 2559เป็นการออกครบทั้ง 14 แห่ง ในปี 2560

    มีการจัดกิจกรรมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก พร้อมทั้งเก็บข้อมูลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก

  • ผูสู้งอายุ

  • การเยี่ยมบา้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากผูสู้งอายุภาวะพึ่งพิง

  • (7) ผลลัพธ์การด าเนินการ

  • การเขา้ถงึบรกิารทนัตกรรม

    อตัราการไดร้บับรกิารทนัตกรรมรวมทกุสทิธิ

  • 52

    49

    56.3

    44

    46

    48

    50

    52

    54

    56

    58

    2557 2557 2559

    ร้อยละหญิงมีครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม

  • 74.5

    92.299.4

    0

    20

    40

    60

    80

    100

    120

    57 58 59

    รอ้ยละนกัเรียนฟันผไุดอุ้ดฟันแท้

  • 53.5

    57.5

    53.5

    50

    52

    54

    56

    58

    2557 2557 2559

    ร้อยละเด็ก 3 ปีปราศจากฟันผุ

  • "Oral health promotion for pre-school children through the empowerment of the caregivers, Bangkrathum, Thailand" poster presentation ในงาน The 8th Asian Conference of Oral Health Promotion For School Children (ACOHPSC) ครัง้ที ่8ระหวา่ง วนัที ่18-20 กนัยายน 2558 ณ เมอืงไทเป ประเทศไตห้วนั

  • 91.6 92.495

    81.9 80.7 79.4

    70

    75

    80

    85

    90

    95

    100

    2557 2558 2559

    มีอุปกรณแ์ปรงฟัน

    แปรงฟันทุกวนั

    รอ้ยละนักเรียนมีอุปกรณแ์ปรงฟันและแปรงฟันหลงัอาหารกลางวนัท่ีโรงเรียนทุกวนั

    เด็ก 12 ปี บางกระทุ่ม แปรงฟันทุกวันที่ รร. ร้อยละ 57-73.4 เทียบกับข้อมูลส ารวจระดับประเทศที่แปรงทุกวันเพียง ร้อยละ 17.8

  • 78.08

    81.5

    87.72

    72

    74

    76

    78

    80

    82

    84

    86

    88

    90

    2557 2558 2559

    รอ้ยละของเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ

    (Cavity Free)

    ฐานขอ้มูลกระทรวงสาธารณสุข 2559 = 53.89 / 2560 = 70.33

  • 49.7 49 50.9

    61.7

    0

    10

    20

    30

    40

    50

    60

    70

    2557 2557 2559 2560

    ร้อยละผู้ปราศจากฟันผุ

  • R2R ระดบัดีเยี่ยม โรงพยาบาล /สสจ./สสจ. งานประชมุวชิาการสาธารณสขุ เขตสขุภาพที่ 2

  • เผื่อ

  • 1.64

    1.74

    1.65

    1.581.61.621.641.661.681.71.721.741.76

    2557 2557 2559

    จ านวนซ่ีฟันผเุฉลี่ยตอ่คนของนร.ม . 1

  • 80.1

    75.2

    82.3

    70

    72

    74

    76

    78

    80

    82

    84

    2557 2557 2559

    รอ้ยละนร.ม 1 ฟันดีไม่มีผ ุ(cavity free)

  • 68.7

    70.2

    67.56868.56969.57070.5

    2557 2559

    รอ้ยละผูสู้งอายุมีฟันใชง้านมากกว่า 20 ซ่ี

  • ขอบคุณครบั

  • การศึกษาน ารอ่งเพื่อพฒันาเครือ่งมือประเมินสุขภาพช่องปากผูสู้งอายุภาวะพึ่งพิง ฉบบัภาษาไทยส าหรบัเจา้พนกังานทนัตสาธารณสุข

  • ผลการด าเนินงาน

  • ขอบคุณครบั