80
แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑

แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาพ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑

Page 2: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557 - 2561

จัดทําโดย

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ธันวาคม 2556

Page 3: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

สารบัญ

บทท่ี 1 นโยบายและยุทธศาสตรท่ีเก่ียวของ 1 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 1 สาระสําคัญของระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา 2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) 4 นโยบายรัฐบาล 10 ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) 13 แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552–2559 (ฉบับปรับปรุง) 14 ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน 16 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที ่11 พ.ศ. 2555–2559 17 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 (ICT 2020) 20 แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2556-2559) ของกระทรวงศึกษาธิการ 22 พ.ร.บ.เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแหงชาติ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร 23 โดยสรุป 25

บทท่ี 2 ยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 27 วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค ภาพรวมยุทธศาสตร 27 ยุทธศาสตรที่ 1 การบริหารจัดการและการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 30 ยุทธศาสตรที่ 2 การบูรณาการขอมูลดานการศึกษา 30 ยุทธศาสตรที่ 3 การรักษาความปลอดภัยและสรางความเช่ือมั่นตอคลังขอมูลดานการศึกษา 31 ยุทธศาสตรที่ 4 การใหบริการและการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา 32 แนวทางการใหบริการขอมูลดานการศึกษา 32

บทท่ี 3 การบริหารจัดการคลังขอมูลดานการศึกษา 37 โครงสรางการบริหาร 37 บทบาทหนาที่ของหนวยงานที่จัดการศึกษา 41 ภาพรวมกลไกการบริหาร 42 แนวทางการบริหาร 42 ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ 44

บทท่ี 4 แผนการดําเนินงานและโครงการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 49 กรอบแนวคิดการจัดทําแผนการดําเนินงาน 49 เปาหมายการดําเนินงาน 50 แผนงานสวนกลาง (ระดับประเทศ) 53 แผนงานระดับกลุมจังหวัด 54 แผนงานระดับจังหวัด 54 โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูล 56

ภาคผนวก ก. โครงการเพ่ือการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ก-1

Page 4: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

บทท่ี 1 นโยบายและยุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของ

กระทรวงศึกษาธิการเปนองคกรหลักในการยกระดับพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนไดเรียนรูตลอดชีวิต ใหมีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปนไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนักและรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาประเทศได สมควรจะใชคลังขอมูลดานการศึกษาเปนองคประกอบสําคัญในการบริหารจัดการ กํากับติดตาม และประเมินคุณภาพการศึกษา ดวยการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561 ซึ่งจะเอื้อตอการเขาถึงขอมูลสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สะดวก ปลอดภัย มคีวามนาเช่ือถือ สามารถลดเวลา และความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลของผูเกี่ยวของตางๆ โดยมีความสอดคลองตอนโยบายและยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา พอสรุปไดดังน้ี

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

สาระสําคัญของระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)

นโยบายรัฐบาล

ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561)

แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552–2559 (ฉบับปรับปรุง)

ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน

แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555–2559

กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (ICT2020)

แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2556-2559) ของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ร.บ.เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแหงชาติ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 กําหนดความมุงหมายและหลักการวา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่

สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข

มาตรา 10 กําหนดความมุงหมายและหลักการวา ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ

การศึกษาข้ันพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจายใดๆ นอกจากน้ียังความมุงหมายและหลักการที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความบกพรองทาง

รางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการ หรือทุพพลภาพ หรือบุคคลที่ไมสามารถพึ่งตนเองได หรือไมมีผูใดดูแล หรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาสไดรับการศึกษาข้ันพื้นฐานเปนพิเศษ

Page 5: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 2 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

สาระสําคัญของระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 โดยที่เห็นเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศของ

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2549 เพื่อใหการบริหารและการใชขอมูลดานการศึกษาครอบคลุมสวนราชการ หนวยงานของรัฐที่จัดการศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนตอทางราชการ ซึ่งในระเบียบขอ 4 ไดกําหนดนิยามดังน้ี

“ขอมูลพื้นฐาน” หมายความวา ขอมูลที่ดําเนินการจัดเก็บทุกปการศึกษา โดยรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับ

สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา ครู คณาจารย บุคลากร และขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ “สารสนเทศ” หมายความวา ขอมูล สถิติ และขาวสารที่ผานการตรวจสอบและประมวลผลดวยวิธีการ

ตางๆ ไมวาจะจัดทําในรูปแบบใด “รหัสมาตรฐานกลาง” หมายความวา ตัวเลข หรือตัวอักษรที่คณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดาน

การศึกษากําหนดแทนขอมูล “ผูจัดเก็บขอมูล” หมายความวา บุคคลที่ไดรับการแตงต้ังหรือมอบหมายใหรับผิดชอบในการจัดเก็บ

รวบรวม ตรวจสอบ ประมวลผล และรายงานขอมูลพื้นฐานหรือขอมูลเฉพาะกิจ “เจาหนาที่” หมายความวา บุคคลที่ไดรับการแตงต้ังหรือมอบหมายหนาที ่“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา “สถานศึกษา” หมายความวา โรงเรียน วิทยาลยั สถาบันมหาวิทยาลัย หรือหนวยงานที่เรียกช่ืออยางอื่นที่

มีหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา “หนวยงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักบริหารงานวิทยาลัยชุมชน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของรัฐที่มีอํานาจหนาที่ วัตถุประสงค หรือสงเสริมสนับสนุนในการจัดการศึกษาดวย ซึ่งในที่น้ีคณะที่ปรึกษาจะขอเพิ่มเติมหนวยงานภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ี

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) ในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

สํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร

ศูนยฝกพาณิชยนาวี กระทรวงคมนาคม

สถาบันการบินพลเรือน กระทรวงคมนาคม

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

Page 6: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 3 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

กองบัญชาการกองทัพไทยกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม

กองทัพบก กระทรวงกลาโหม

กองทัพเรือ กระทรวงกลาโหม

กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม

สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม

สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ

โรงเรียนนายรอยตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ

กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน สํานักงานตํารวจแหงชาติ “สวนราชการ” หมายความวา สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และหมายความรวมถึงสวนราชการอื่นของรัฐที่มีฐานะเปนกรมตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินที่มีอํานาจหนาที่ วัตถุประสงค หรือสงเสริมสนับสนุนในการจัดการศึกษาดวย

“สํานักบริหารยุทธศาสตรและบูรณาการการศึกษา” หมายความวา สํานักบริหารยุทธศาสตรและ บูรณาการการศึกษาที่ 1-12 และกรุงเทพมหานคร ซึ่งในปจจุบันไดมีการเปลี่ยนช่ือเปน “สํานักงานศึกษาธิการภาค”

“จังหวัด” หมายความวา จังหวัดวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินรวมถึงกรุงเทพมหานครดวย “กลุมจังหวัด” หมายความวา กลุมจังหวัดที่จัดต้ังตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและ

กลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ขอ 5 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการใหเปนไปตามระเบียบน้ีและใหมีอํานาจตีความวินิจฉัยช้ีขาด

ปญหาการปฏิบัติตามระเบียบน้ี ใหหัวหนาสถานศึกษา หนวยงาน สวนราชการ กําหนดวิธีเรงรัดการปฏิบัติงานเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ และ

ประสิทธิผลความกาวหนาหรือความสําเร็จของผลงาน รวมทั้งจะตองดําเนินการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ หมวด 1. บทท่ัวไป ขอ 6. ใหเปนหนาที่ของหัวหนาสถานศึกษา หนวยงาน สวนราชการ ที่จะตองทําการสํารวจตรวจสอบใหผู

จัดเก็บขอมูล หรือผูที่ไดรับมอบหมายปฏิบัติงานใหแลวเสร็จตามเวลาที่กําหนดดานการศึกษาใหถูกตอง รวดเร็ว ทันสมัย และพัฒนาเจาหนาที่ ผูจัดเก็บขอมูล ใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ขอ 7. ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป แผนพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา และแผนปฏิบัติการดานขอมูลสารสนเทศประจําปของสวนราชการ ใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการประจําป แผนพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา และแผนปฏิบัติการดานขอมูลสารสนเทศประจําปตามที่คณะกรรมการกําหนด

Page 7: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 4 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ขอ 8. เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชนเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานและขอมูลเฉพาะกิจ ใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถจัดใหมีระบบเครือขายสารสนเทศของหนวยงาน ใหสวนราชการ หนวยงานและประชาชนสามารถไดรับรู ตรวจ หรือขอรับบริการดูขอมูลขาวสารได ภายใตบังคับกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ

ขอ 9. ในกรณีผูมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบการดําเนินการตามระเบียบน้ี จงใจไมปฏิบัติตามระเบียบ หรือ

ปฏิบัติโดยประมาทเลินเลอ จนเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกทางราชการ ผูน้ันจะตองรับผิดทางปกครอง ทางแพง ทางอาญา และทางวินัย แลวแตกรณีตามกฎหมายและระเบียบวาดวยการน้ัน

หมวด 5. การจัดเก็บและการจัดสงขอมูลพ้ืนฐานและขอมูลเฉพาะกิจ ขอ 24. ใหสถานศึกษา หนวยงาน หรือสวนราชการแลวแตกรณี จัดเก็บ รวบรวม ตรวจสอบ ประมวลผล

และจัดสงขอมูลพื้นฐานประจําปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ในกรณีที่มีความจําเปนเรงดวน และเพื่อประโยชนตอทางราชการ สถานศึกษา หนวยงาน หรือสวนราชการ

อาจจัดเก็บ รวบรวม ตรวจสอบ ประมวลผล และจัดสงขอมูลพื้นฐาน นอกเหนือจากหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนดก็ได

ขอ 25. ใหศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดเก็บ รวบรวม และประมวลผลขอมูลพื้นฐานที่ไดรับจากสถานศึกษา หนวยงาน หรือสวนราชการเสนอตอคณะกรรมการเพื่อดําเนินการตอไป

ขอ 26. ใหหนวยงาน และสวนราชการ มีอํานาจประกาศกําหนดการจัดเก็บขอมูลและจัดสงขอมูลเฉพาะกิจไดตามความเหมาะสม พรอมจัดสงประกาศแจงใหศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ อเผยแพรประชาสัมพันธตอไป

ใหสถานศึกษา หนวยงาน และสวนราชการ สนับสนุนการจัดเก็บขอมูลเฉพาะกิจตามแบบรายการภายในระยะเวลาที่หนวยงานหรือสวนราชการประกาศกําหนด

ในกรณีที่หนวยงานหรือสวนราชการใดจัดเก็บขอมูลเฉพาะกิจเสร็จสิ้นแลว ใหจัดสงขอมูลเฉพาะกิจไปยังศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อใชเปนขอมูลในการดําเนินงานตอไป

ขอ 27. ขอมูลเฉพาะกิจของสถานศึกษา หนวยงานและสวนราชการ ที่ไดจัดเก็บ รวบรวม หรือประมวลผล หากมีหนวยงานหรือสวนราชการใดตองการขอมูลเฉพาะกิจดังกลาว ใหมีการจัดสงโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑที่หัวหนาหนวยงาน หรือหัวหนาสวนราชการที่จัดเก็บเปนผูกําหนด แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559)

การพัฒนาประเทศในระยะ 5 ป ไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาที่มีลําดับ

ความสําคัญสูง ดังน้ี วิสัยทัศน

“สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”

Page 8: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 5 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

พันธกิจ

1. สรางสังคมเปนธรรมและเปนสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ไดรับการคุมครองทางสังคมที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียม มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอยางเสมอภาค ทุกภาคสวนไดรับการเสริมพลังใหสามารถมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนา ภายใตระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปรงใส เปนธรรม

2. พัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีคุณธรรม เรียนรูตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอยางเหมาะสมในแตละชวงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนทองถ่ินมีความเขมแข็ง สามารถปรับตัวรูเทาทันกับการเปลี่ยนแปลง

3. พัฒนาฐานการผลิตและบริการใหเขมแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา สรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ปรับโครงสรางการผลิตและการบริโภคใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมสรางความเช่ือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคม

4. สรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน รวมทั้งสรางภูมิคุมกัน เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ

ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน

วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกกลุมวัยใหมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา มีระเบียบวินัย มี

จิตสํานึกวัฒนธรรมที่ดีงามและรูคุณคาความเปนไทย มีโอกาสและสามารถเรียนรูตลอดชีวิต มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และเปนพลังทางสังคมในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

2. เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยใหไดมาตรฐานสากล และเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูในรูปแบบที่หลากหลาย

3. เพื่อเสริมสรางสภาพแวดลอมทางสังคม ชุมชน และสังคมใหมั่นคงและเอื้อตอการพัฒนาคนอยางสอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต

เปาหมายการพัฒนา

1. คนไทยทุกคนไดรับการพัฒนาทั้งทางรางกายและจิตใจ มีอนามัยการเจริญพันธุที่เหมาะสมในทุกชวงวัย มีความรู ความสามารถในการคิด วิเคราะห สังเคราะห มีนิสัยใฝเรียนรูตลอดชีวิต มีความคิดสรางสรรค มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีคานิยมความเปนไทย รูจักสิทธิหนาที่ของตนเองและของผูอื่น จิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคม

2. คุณภาพการศึกษาไดรับการยกระดับสูมาตรฐานสากล ตอยอดองคความรูสูนวัตกรรมและโอกาสการเขาถึงการศึกษาและการเรียนรูในรูปแบบที่หลากหลายเพิ่มมากข้ึน

Page 9: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 6 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

3. สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา มีบทบาทหลักในการหลอหลอมบมเพาะคนไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ใหเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมในวิถีชีวิต และคํานึงถึงประโยชนตอสวนรวม

ตัวชี้วัด

1. คุณภาพของประชากร (เฉพาะตัวช้ีวัดที่ 2) ระดับคาเฉลี่ยเชาวนปญญาของเด็กไมตํ่ากวาคากลางมาตรฐานสากลที่ระดับ 100

2. คุณภาพคนโดยรวม ประกอบดวย

ปการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มข้ึนเปน 12 ป

ผูเรียนทุกระดับการศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเปนพลเมือง

เพิ่มสัดสวนประชากรที่สามารถเขาถึงโครงขายคมนาคมและอินเทอรเน็ตความเร็วสูงใหได รอยละ 80.0 ของประชากรทั่วประเทศ

จํานวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาเพิ่มข้ึนเปน 15 คนตอประชากร 10,000 คน

อัตราเพิ่มของผลิตภาพแรงงานเฉลี่ยไมตํ่ากวารอยละ 3.0 ตอป

3. สถาบันทางสังคมมีความเขมแข็ง (เฉพาะตัวช้ีวัดที่ 2) โดยการเรียนรูของคนในชุมชนเพิ่มข้ึน แนวทางการพัฒนา

จากสถานการณการเปลี่ยนแปลงและแนวโนมในอนาคต สะทอนใหเห็นความเสี่ยงที่อาจเกิดทั้งการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง สถาบันทางสังคม และปจเจกบุคคล การเตรียมคนใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 จึงมุงเนนการพัฒนาคนทุกชวงวัยใหเขาสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางย่ังยืน ใหความสําคัญกับการนําหลักคิดหลักปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเสริมสรางศักยภาพของคนในทุกมิติ ทั้งดานรางกายที่สมบูรณแข็งแรง มีสติปญญาที่รอบรู และมีจิตใจที่สํานึกในคุณธรรม มีจริยธรรม และความเพียร มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการเสริมสรางสภาพแวดลอมในสังคม และหนุนเสริมสถาบันทางสังคมใหแข็งแกรงและเอื้อตอการพัฒนาคน มีการเรียนรูสูการปฏิบัติอยางตอเน่ือง มีการสั่งสมทุนทางปญญา เช่ือมโยงการคนควาวิจัยและพัฒนาสูการเสริมสรางขีดความสามารถในการประกอบสัมมาชีพ และการดํารงชีวิตที่เหมาะสมในแตละชวงวัย ดังน้ี 1. พัฒนาเด็กปฐมวัยอยางเปนองครวมทั้งดานสติปญญา อารมณ คุณธรรมและจริยธรรม โดย

เตรียมความพรอมของพอแมและผูดูแลในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสมกับพัฒนาการทางสมอง สติปญญา รางกาย และจิตใจ ผลักดันใหเกิดการเรียนรูอยางมีความสุขดวยการกระตุนใหไดคิดและลงมือทําดวยตนเอง เช่ือมโยงสิ่งที่ไดเรียนรูเขากับชีวิตจริง และปฏิบัติตนเปนตนแบบที่ดีดานคุณธรรมและจริยธรรม

Page 10: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 7 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

สงเสริมและพัฒนาคุณภาพศูนยเด็กเล็กทั้งในชุมชน สถานประกอบการ และหนวยงานภาครัฐใหมีมาตรฐานสอดคลองกับภูมิสังคม โดยใหความสําคัญกับคุณภาพของผูดูแลเด็ก และการสนับสนุนใหผูสูงอายุที่มีศักยภาพมีสวนรวมในการเสริมสรางพัฒนาการของเด็ก เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางคนสามวัย

2. พัฒนาเด็กวัยเรียนใหมีความรูทางวิชาการ และสติปญญาทางอารมณที่เขมแข็งสามารถศึกษาหาความรูและตอยอดองคความรูไดดวยตนเอง โดย

การพัฒนาหลักสูตรและปรับกระบวนการเรียนการสอนที่เอื้อตอการพัฒนาผูเรียนอยางรอบดานที่เช่ือมโยงกับภูมิสังคม โดย บูรณาการการเรียนรูใหหลากหลายวิชาทั้งดานวิชาการ ทักษะชีวิตและนันทนาการที่ครอบคลุมทั้งศิลปะ ดนตรี กีฬา วัฒนธรรม ประชาธิปไตย ศาสนา ความเปนไทย และเรื่องอาเซียนศึกษา ใหความสําคัญกับการเรียนรูในหองเรียนและการเรียนรูนอกหองเรียน และสรางนิสัยใฝรู มีทักษะในการคิด วิเคราะห แกปญหาเฉพาะหนาและรับฟงความเห็นของผูอื่น และตอยอดสูความคิดสรางสรรค ตลอดทั้งการจัดกิจกรรมอาสาสมัครเพื่อสาธารณะประโยชน โดยเฉพาะกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีและอาสาดูแลผูสูงอายุในชุมชน เปนตน

คนหาเด็กที่มีอัจฉริยภาพและผูมีความสามารถพิเศษดานตางๆ อาทิ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ศิลปกรรม หัตถกรรม การกีฬา ดนตรี เปนตน ใหไดรับการสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาศักยภาพใหมีความเปนเลิศ สามารถแสดงศักยภาพในเชิงสรางสรรคไดอยางเต็มที่และตอเน่ือง

สงเสริมการใชและการอนุรักษภาษาทองถ่ิน การใชภาษาไทยอยางถูกตองควบคูกับการเรียนรูภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศหลัก รวมทั้งการเรียนรูภาษาสากลอื่นที่เหมาะสม และภาษาประเทศเพื่อนบาน ตลอดจนการเรียนรูวัฒนธรรม และสรางความเขาใจในวิถีชีวิตของคนในกลุมประเทศอาเซียน เพื่อรองรับการเปนประชาคมอาเซียน

เนนครูผูสอนใหมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน มีระบบ กระบวนการผลิตและพัฒนาครูที่มีคุณภาพ สามารถดึงดูดคนเกงและดี มีจิตวิญญาณความเปนครู โดยใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการสนับสนุนและยกยองครูเพื่อศิษยและหรือครูสอนดี เพื่อเปนตนแบบใหแกครูอื่นๆ จัดใหมีระบบจูงใจใหครูพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง ควบคูกับการปรับวิธีประเมินสมรรถนะที่สะทอนประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนสําคัญ รวมทั้งปรับระบบการสงเสริมบทบาทภาคเอกชนในการจัดการศึกษาที่เนนคุณภาพมาตรฐานอยางจริงจัง

เสริมสรางทักษะชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและถูกตองใหแกเด็ก โดยเฉพาะการสรางสัมพันธภาพที่ดีกับผูอื่น สามารถจัดการ ควบคุม ดูแลอารมณไดอยางเหมาะสม มีความรู ความเขาใจในหลักโภชนาการ การออกกําลังกาย และการใชเวลาอยางสรางสรรคและมีคุณภาพ ตลอดจน มีการพัฒนาสุขาภิบาลในโรงเรียน โดยจัดโรงเรียนใหถูกสุขลักษณะเอื้อตอการมีสุขภาวะ มีการควบคุมดูแลและปรับปรุงสิ่งแวดลอมตางๆ ในโรงเรียนใหอยูในสภาพที่ดีปลอดภัยจากโรค การเจ็บปวย หรืออุบัติเหตุตางๆ

Page 11: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 8 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

3. พัฒนากําลังแรงงานใหมีความรูและสมรรถนะที่สอดคลองกับโครงสรางการผลิตและบริการบนฐานความรูและเศรษฐกิจสรางสรรค โดย

พัฒนากําลังแรงงานในภาคเกษตร โดยจัดระบบการศึกษาเพื่อสรางเกษตรกรรุนใหมที่มีความรูความสามารถดานการเกษตรที่ใชความรูและเทคโนโลยีสมัยใหมอยางครบวงจร ทั้งการจัดหาพื้นที่ทําการเกษตรตามความถนัด มีแหลงทุนสนับสนุน และมีทักษะความรูดานธุรกิจและการตลาดควบคูกับการสรางจิตสํานึกและแรงจูงใจใหเยาวชนเขาสูอาชีพเกษตรกรรมอยางมีศักด์ิศรี เพื่อใหภาคการเกษตรเปนฐานการผลิตที่มั่นคงของประเทศ

สนับสนุนการผลิตและพัฒนานักวิจัย ผูสรางและพัฒนานวัตกรรมในสาขาตางๆ สรางเครือขายนักวิจัยทั้งในและตางประเทศ ตลอดจนตอยอดสูการสรางสรรคนวัตกรรมระดับสูงที่เช่ือมโยงองคความรูใหมกับภูมิปญญาวัฒนธรรมไทย สูเศรษฐกิจสรางสรรคเพื่อเพิ่มมูลคาและคุณคาของสินคาและบริการที่สามารถใชประโยชนในเชิงพาณิชยหรือเชิงสังคม โดยใหความสําคัญในการพัฒนาการเรียนรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ต้ังแตระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การอาชีวศึกษาฐานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและระดับอุดมศึกษา อยางตอเน่ืองและเช่ือมโยงกันเปนระบบ รวมทั้งการสงเสริมทักษะการเรียนรูดานศิลปวัฒนธรรมเพื่อตอยอดไปสูเศรษฐกิจสรางสรรค

พัฒนากําลังแรงงานระดับกลาง โดยเนนการจัดการเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีการเรียนรูเพื่อสรางสรรคดวยปญญา การสรางแรงจูงใจ ปลูกฝงคานิยมในการเรียนสายอาชีพและการประกอบอาชีพอิสระ การยกระดับคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษาใหผูเรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพที่เช่ือมโยงกับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย และสอดคลองกับความเช่ียวชาญของสถานศึกษา รวมทั้งสรางเครือขายการผลิตและพัฒนากําลังแรงงานกับภาคสวนตางๆ โดยเฉพาะสถานประกอบการ สถาบันเฉพาะทาง ควบคูกับการสรางเครือขายการเรียนรูนานาชาติ

จัดทํากรอบคุณวุฒิแหงชาติ โดยสรางระบบความเช่ือมโยงระหวางคุณวุฒิทางการศึกษาตามระดับการเรียนรูกับคุณวุฒิวิชาชีพตามระดับความสามารถที่สอดคลองกับความตองการกําลังคนที่เทียบเคียงกับมาตรฐานสากล เพื่อใหแรงงานมีสมรรถนะและมีเสนทางความกาวหนาในวิชาชีพที่ชัดเจนตลอดจนสนับสนุนการเตรียมความพรอมรองรับการเปดเสรีดานแรงงานภายใตกรอบความรวมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางเปนรูปธรรม

เตรียมความพรอมคนไทยในการรับประโยชนและลดผลกระทบที่จะเขามาพรอมกับการเขาออกของแรงงานอยางเสรี สรางโอกาสและเพิ่มขีดความสามารถของคนไทยในการออกไปทํางานตางประเทศ ยกระดับทักษะดานอาชีพและทักษะดานภาษา

4. พัฒนาผูสูงอายุใหมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม มีคุณภาพ มีคุณคา สามารถปรับตัวเทาทันการเปลี่ยนแปลง เปนพลังในการพัฒนาสังคม โดย

สงเสริมการสรางรายไดและการมีงานทําในผูสูงอายุ โดยกําหนดลักษณะประเภทงานและอัตราคาจางที่เหมาะสม ควบคูกับการเพิ่มพูนความรู ทักษะทั้งดานวิชาการและการใชสื่อการเรียนรูสมัยใหมใหแกผูสูงอายุ เพื่อการประกอบอาชีพและการพัฒนาตัวเองอยางตอเน่ือง

Page 12: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 9 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

สงเสริมและสนับสนุนใหมีการนําความรูและประสบการณของผูสูงอายุที่เปนคลังสมองของชาติทั้งภาครัฐและเอกชน ปราชญชาวบาน ผูมีความรูภูมิปญญาทองถ่ินมาใชประโยชนในการพัฒนาชุมขน ทองถ่ิน และประเทศ

5. สอดแทรกการพัฒนาคนทุกชวงวัยดวยกระบวนการเรียนรูสูวัฒนธรรมการเกื้อกูล เสริมสรางทักษะใหคนมีการเรียนรูตอเน่ืองตลอดชีวิต การตอยอดสูนวัตกรรมความรู การฝกฝนจนเกิดความคิดสรางสรรค การเปดใจกวางพรอมรับทุกความคิดเห็น และการปลูกฝงจิตใจที่มีคุณธรรม ซื่อสัตย มีระเบียบวินัย ควบคูกับการพัฒนาคนดวยการเรียนรูในศาสตรวิทยากรใหสามารถประกอบอาชีพไดอยางหลากหลาย สอดคลองกับแนวโนมการจางงาน และตรียมพรอมสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รวมทั้งการพัฒนาตอยอดตามศักยภาพและความถนัด

6. สรางจิตสํานึกของประชาชนใหมีความรับผิดชอบตอสังคม สถาบันชาติ สถาบันศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย ใหตระหนักถึงการเคารพกฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน การสรางคานิยมใหมีพฤติกรรมการผลิตและบริโภคที่รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม การสรางความรูความเขาใจและจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน มีการเรียนรูในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ เพื่อนนําไปสูการสรางสังคมนาอยู

การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต

สรางโอกาสการเรียนรูอยางตอเน่ืองใหคนทุกกลุมทุกวัยสามารถเขาถึงแหลงเรียนรูและองคความรูที่หลากหลาย ทั้งที่เปนวัฒนธรรม ภูมิปญญา และองคความรูใหม 1. สรางกระแสสังคมใหการเรียนรูเปนหนาที่ของคนไทยทุกคน มีนิสัยใฝรู รักการอานต้ังแตวัยเด็ก

และสงเสริมการเรียนรูรวมกันของคนตางวัย ควบคูกับการสงเสริมใหองคกร กลุมบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภท เปนแหลงเรียนรูอยางสรางสรรค สื่อสารดวยภาษาที่เขาใจงาย

2. สงเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคลองกับความตองการของผูเรียน

จัดการศึกษาและการเรียนรูที่มีคุณภาพ ยืดหยุน หลากหลาย เขาถึงไดงาย สัมพันธสอดคลองกับวัฒนธรรม วิถีชีวิต และการประกอบอาชีพในแตละทองถ่ิน โดยเนนการพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง เรียนรูเปนกลุมจนติดเปนนิสัยใฝเรียนรู

มีระบบเทียบโอนความรูและประสบการณ ปรับระบบการวัดประเมินผลผูเรียนและระบบการเขารับการศึกษาตอใหเอื้อตอการจัดการศึกษาทางเลือกในประชากรทุกกลุมตามศักยภาพของผูเรียน

สงเสริมใหมีการพัฒนาบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต และการใชมาตรากรทางภาษีในการสนับสนุนการผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู และเปนชองทางสําหรับคนทุกกลุมวัยแสดงออกอยางสรางสรรค

3. สนับสนุนการสรางสังคมแหงการเรียนรูและปจจัยสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต

เสริมสรางและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางปญญาในระดับทองถ่ิน ชุมชน และประเทศ โดยพัฒนาโครงขายโทรคมนาคมและบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงใหครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ พัฒนาแหลงเรียนรูของชุมชนในรูปแบบที่หลากหลายสอดคลองกับภูมิ

Page 13: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 10 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

สังคม และพัฒนายกระดับศูนยความเปนเลิศดานตางๆ สูภูมิภาคและชุมชน รวมทั้งการปรับปรุงและผลักดันกฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนมาตรการภาษีที่เกี่ยวของ ใหเอื้อดํานวยและสงเสริมใหเกิดการจัดการเรียนรูอยางตอเน่ือง

พัฒนาและเปดโอกาสใหประชาชนและชุมชนไดใชประโยชนจากแหลงเรียนรูทั่วไป อาทิ สถานศึกษา หองสมุด พิพิธภัณฑ ศูนยการเรียนรู ศูนยกีฬาและนันทนาการ รวมทั้งเปดพื้นที่/เวทีสาธารณะใหเปนศูนยรวมการแลกเปลี่ยนใหกับนักคิด และนําเสนอผลงานเชิงสรางสรรค โดยกระตุนใหเกิดการเรียนรูรวมกันเริ่มต้ังแตวัยเด็ก เยาวชน และประชาชนใหเขาถึงอยางสะดวกและใชบริการไดเต็มศักยภาพ มีการผสมผสานภูมิปญญาทองถ่ินและความรูสมัยใหมที่สามารถนําไปใชประโยชนเชิงพาณิชยได

พัฒนาองคความรูของทองถ่ินทั้งจากผูรู ปราชญชาวบาน และจัดใหมีการวิจัยเชิงประจักษของชุมชน การจัดการองคความรูในชุมชนอยางเปนระบบ ควบคูกับการพัฒนาทักษะดานภาษาและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหเอื้อตอการเขาถึงแหลงเรียนรูที่หลากหลาย ตลอดจนเน้ือหาสาระที่เหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง

สรางโอกาสในการเรียนรูและการพัฒนาคนทุกคนอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะเด็ก เยาวชนและประชาชนที่อยูนอกระบบ ทั้งที่เปนเด็กในวัยเรียนที่ออกกลางคัน เด็กพิการ เด็กดอยโอกาส เพื่อสงตอเขาสูระบบการศึกษาหรือใหไดเรียนรูตามศักยภาพและตามสภาพแวดลอม รวมทั้งประชาชนที่ตองการทักษะเพิ่มเติมในการประกอบสัมมาอาชีพ โดยความรวมมืออยางใกลชิดในระดับจังหวัดและในระดับทองถ่ินในการเขาถึงกลุมเปาหมายที่อยูนอกระบบและการบริหารจัดการใหเกิ ดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

นโยบายรัฐบาล

เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินสามารถบรรลุถึงภารกิจและดําเนินไปดวยแนวทางที่กลาวมา รัฐบาลจึงได

กําหนดนโยบายการบริหารราชการแผนดินไวโดยแบงการดําเนินการเปน 2 ระยะ คือ ระยะเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก และระยะการบริหารราชการ 4 ปของรัฐบาล เพื่อใหมีการพัฒนาอยางมีคุณภาพ สมดุล ย่ังยืน และมีภูมิคุมกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอสรุปดังน้ี

1. นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก ในสวนเกี่ยวของกับการศึกษาขอ 1.15 คือ การจัดหาเครื่อง

คอมพิวเตอรแท็บเล็ตใหแกโรงเรียน โดยเริ่มทดลองดําเนินการในโรงเรียนนํารองสําหรับระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา พ.ศ. 2555 ควบคูกับการเรงพัฒนาเน้ือหาที่เหมาะสมตามหลักสูตรบรรจุลงในคอมพิวเตอรแท็บเล็ต รวมทั้งจัดทําระบบอินเทอรเน็ตไรสายตามมาตรฐานการใหบริการในสถานศึกษาที่กําหนด โดยไมเสียคาใชจาย

2. นโยบายเศรษฐกิจ ในสวนที่เกี่ยวของกับนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวย

Page 14: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 11 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเรงรัดพัฒนาโครงขายสื่อสารความเร็วสูงใหครอบคลุม ทั่วถึง เพียงพอ มีคุณภาพดวยราคาที่เหมาะสมและการแขงขันที่เปนธรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไปสูสังคมแหงความรู ภูมิปญญา นวัตกรรม และความคิดสรางสรรค ชวยลดความเหลื่อมล้ําระหวางสังคมเมืองและชนบท สนับสนุนการเขาถึงขอมูลและขาวสาร ยกระดับคุณภาพการศึกษา เสริมสรางศักยภาพในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สงเสริมการลดการใชพลังงาน เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันของประเทศในระยะยาว

สงเสริมการเขาถึงการใชบริการเครือขายอินเทอรเน็ตสาธารณะ ที่มีการใชงานตามความเหมาะสมโดยไมคิดคาใชจาย ผลักดันใหคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ใชกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชนสาธารณะจัดใหมีบริการเครือขายอินเทอรเน็ตตามมาตรฐานการใหบริการในพื้นที่สาธารณะ สถานที่ราชการ และสถานศึกษาที่กําหนดโดยไมคิดคาใชจาย หรือกําหนดเปนเงื่อนไขใหผูประกอบการจัดใหบริการโทรคมนาคมอยางทั่วถึง

3. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ในสวนที่เกี่ยวของกับนโยบายการศึกษา ประกอบดวย

เรงพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการปฏิรูประบบความรูของสังคมไทยอันประกอบดวยการยกระดับองคความรูใหไดมาตรฐานสากล จัดใหมีโครงการตําราแหงชาติที่บรรจุความรูที่กาวหนาและไดมาตรฐานทั้งความรูที่เปนสากลและภูมิปญญาทองถ่ิน สงเสริมการอาน พรอมทั้งสงเสริมการเรียนการสอนภาษาตางประเทศและภาษาถ่ิน จัดใหมีระบบการจัดการความรู ปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาทุกระดับใหรองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกและทัดเทียมกับมาตรฐานสากลบนความเปนทองถ่ินและความเปนไทย เพิ่มผลสัมฤทธ์ิของการศึกษาทุกระดับช้ันโดยวัดผลจากการผานการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติและนานาชาติ ขจัดความไม รูหนังสือใหสิ้นไปจากสังคมไทย จัดใหมีครูดีเพียงพอในทุกหองเรียน ใหมีโรงเรียนและสถาบันอาชีวศึกษาคุณภาพสูงในทุกพื้นที่ พัฒนามหาวิทยาลัยเขาสู ระดับโลก พัฒนาระบบการศึกษาใหผูเรียนมีความรูคู คุณธรรมมุงการสรางจริยธรรมในระดับปจเจก รวมทั้งสรางความตระหนักในสิทธิและหนที่ความเสมอภาค และดําเนินการใหการศึกษาเปนพื้นฐานของสังคมประชาธิปไตยที่แทจริงปรับปรุงโครงสรางระบบบริหารการศึกษาโดยการกระจายอํานาจสูพื้นที่ใหเสร็จสมบูรณโดยเริ่มจากพื้นที่ที่มีความพรอม

สรางโอกาสทางการศึกษา กระจายโอกาสทางการศึกษาในสังคมไทยโดยคํานึงถึงการสรางความเสมอภาคและความเปนธรรมใหเกิดข้ึนแกประชากรทุกกลุม ซึ่งรวมถึงผูยากไร ผูดอยโอกาส ผูพิการ ผูบกพรองทางกายและการเรียนรู รวมทั้ง ชนกลุมนอย โดยสงเสริมการใหความรูต้ังแตอยูในครรภมารดาถึงแรกเกิดใหไดรับการดูแลอยางมีประสิทธิภาพทั้งแมและเด็ก สนับสนุนการจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอยางมีคุณภาพต้ังแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยจัดใหมีการเทียบโอนวุฒิการศึกษาสําหรับกลุมที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะทาง เชน กลุมแมบาน จดัใหมีระบบสะสมผลการศึกษาและการเทียบโอนเพื่อขยายโอกาสใหกวางขวางและลดปญหาคนออกจากระบบการศึกษา นอกจากน้ี จะดําเนินการลดขอจํากัดของการเขาถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาช้ันสูง โดยจัดใหมี “โครงการเงินกูเพื่อการศึกษา ที่

Page 15: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 12 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ผูกพันกับรายไดในอนาคต” โดยใหผูกูเริ่มใชคืนตอเมื่อมีรายไดเพียงพอที่จะเลี้ยงตัวได พักชําระหน้ีแกผูเปนหน้ีกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา โดยปรับเปลี่ยนการชําระหน้ีเปนระบบที่ผูกพันกับรายไดในอนาคต ปรับปรุงระบบการคัดเลือกเขศึกษาตอทุกระดับใหเอื้อตอการกระจายโอกาสโดยเฉพาะอยางย่ิงจะจัดให มีระบบคัดเลือกกลางเพื่อเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัยที่มีประสิทธิภาพและเปนธรรม ดําเนิน “โครงการ 1 อําเภอ 1 ทุน” เพื่อเปดโอกาสใหเด็กไทยไดไปเรียนตอตางประเทศ จัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุงใหเกิดสังคมแหงการเรียนรูและการศึกษาตลอดชีวิต

ปฏิรูปครู ยกฐานะครูใหเปนวิชาชีพช้ันสูงอยางแทจริง โดยปฏิรูประบบการผลิตครูใหมีคุณภาพทัดเทียมกับนานาชาติ สรางแรงจูงใจใหคนเรียนดีและมีคุณธรรมเขาสูวิชาชีพครู ปรับปรุงระบบเงินเดือนและคาตอบแทนครู พัฒนาระบบความกาวหนาของครูโดยใชการประเมินเชิงประจักษที่อิงขีดความสามารถและวัดสัมฤทธิผลของการจัดการศึกษาเปนหลัก จัดระบบการศึกษาและฝกอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพครูอยางตอเน่ือง แกปญหาหน้ีสินครูโดยการพักชําระหน้ีและการปรับโครงสรางหน้ีตามนโยบายแกปญหาหน้ีครัวเรือนของรัฐบาล พัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อใช ในการกระจายครูขจัดปญหาการขาดแคลนครูในสาระวิชาหลัก เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และภาษา

จัดการศึกษาข้ันอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา ใหสอดคลองกับตลาดแรงงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยกระบวนการสรางประสบการณระหวางเรียนอยางเหมาะสม และสนับสนุนการสรางรายไดระหวางเรียน และสนับสนุนใหผูสําเร็จการศึกษามีงานทําไดทันทีโดยความรวมมือระหวางแหลงงานกับสถานศึกษา สงเสริมใหมีศูนยอบรมอาชีวศึกษาเพื่อใหนักเรียนนักศึกษาและประชาชนสามารถเรียนรูหาประสบการณกอนไปประกอบอาชีพโดยใหสถาบันอาชีวศึกษาดําเนินการรวมกับผูเช่ียวชาญในแตละอาชีพ รวมทั้งจัดใหมีศูนยซอมสรางประจําชุมชนเพื่อฝกฝนชางฝมือและการสรางทักษะในการใหบริการแกประชาชน ทั้งน้ีจะดําเนินการรวมกับภาคเอกชนอยางจริงจัง เพื่อสงเสริมการศึกษาในสายอาชีวศึกษาใหเปนที่ยอมรับและสามารถมีรายไดสูงตามความสามารถ

เรงพัฒนาการใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาให ทัดเทียมกับนานาชาติโดยใชเปนเครื่องมือในการเรงยกระดับคุณภาพและการกระจายโอกาสทางการศึกษาจัดใหมีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสแหงชาติเพื่อเปนกลไกในการเปลี่ยนกระบวนทัศนการเรียนรูใหเปนแบบผูเรียนเปนศูนยกลางและเอื้อใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต พัฒนาเครือขายสารสนเทศเพื่อการศึกษา พัฒนาระบบ “ไซเบอรโฮม” ที่สามารถสงความรูมายังผูเรียนโดยระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง สงเสริมใหนักเรียนทุกระดับช้ันไดใชอุปกรณคอมพิวเตอรแท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ขยายระบบโทรทัศนเพื่อการศึกษาใหกวางขวาง ปรับปรุงหองเรียนนํารองใหไดมาตรฐานหองเรียนอิเล็กทรอนิกส รวมทั้งเรงดําเนินการให “กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” สามารถดําเนินการตามภารกิจได

สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางทุนปญญาของชาติ พัฒนามหาวิทยาลัยใหมุงสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัยระดับโลก ระดมสรรพกําลังเพื่อพัฒนาระบบเครือขายการวิจัยแหงชาติเพื่อสรางทุนทางปญญาและนวัตกรรม ผลักดันใหประเทศสามารถพึ่งตนเองไดทางเทคโนโลยีเพื่อนําไปสูการสราง รากฐานใหมของเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม จัดต้ังศูนยความเปนเลิศเพื่อการวิจัย

Page 16: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 13 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

สําหรับสาขาวิชาทีจ่ําเปน พัฒนาโครงสราง การบริหารงานวิจัยของชาติโดยเนนความสัมพันธอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพระหวางองคกรบริหาร งานวิจัยกับสถาบันอุดมศึกษา

เพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย เพื่อรองรับการเปดเสรีประชาคมอาเซียน โดยรวมมือกับภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา ในการวางแผนการผลิตและพัฒนากําลังคนใหมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอ สอดคลอง ตามความตองการของภาคการผลิตและบริการ เรงรัดการจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ รับรองสมรรถนะการปฏิบัติงานตามมาตรฐานอาชีพ และการจัดทํามาตรฐานฝมือแรงงาน ใหครบทุกอุตสาหกรรม

4. นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม คือ เรงสรางนักวิทยาศาสตร นักวิจัย และครู

วิทยาศาสตรใหเพียงพอตอความตองการของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศอยางมั่นคงและนําพาประเทศไทยเขาสูระบบเศรษฐกิจฐานความรูแบบสรางสรรคและนวัตกรรมใหม พัฒนาสายงานการวิจัยเพื่อใหนักวิจัยมีระบบความกาวหนาในวิชาชีพ รวมทั้งพัฒนาแหลงงานดานการวิจัยเพื่อรองรับบุคลากรการวิจัยทั้งในภาครัฐและเอกชน

ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552-2561)

วิสัยทัศน

“คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ”

เปาหมาย

ภายในป 2561 มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอยางเปนระบบ โดยเนนประเด็นหลัก 3 ประการคือ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรูของคนไทย 2. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู 3. สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา

กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา : ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูอยางเปนระบบ 4 ใหม ไดแก

1. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม ใหมีนิสัยใฝรูต้ังแตปฐมวัยสามารถเรียนรูดวยตนเองและแสวงหาความรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถคิดวิเคราะห แกปญหา คิดริเริ่มสรางสรรค มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คํานึงถึงประโยชนสวนรวม สามารถทํางานเปนกลุมไดอยางเปนกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม มีจิตสํานึกและความภูมิใจในไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รังเกียจการทุจริตและตอตานการซื้อสิทธ์ิ ขายเสียง สามารถกาวทันโรค มีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่สมบูรณ แข็งแรง เปนกําลังคนที่มีคุณภาพ มีทักษะความรูพื้นฐานที่จําเปน มีสมรรถนะ ความรู ความสามารถ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีโอกาสเรียนรูอยางเทาเทียมเสมอภาค

Page 17: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 14 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

2. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม ที่เอื้ออํานวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เปนวิชาชีพที่มีคุณคา มีระบบ กระบวนการผลิต และพัฒนาครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพช้ันสูง สามารถดึงดูดคนเกง คนดี มีใจรักในวิชาชีพครูมาเปนครู คณาจารย มีปริมาณครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษาอยางเพียงพอตามเกณฑ และสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางมีคุณภาพ มาตรฐาน ขณะเดียวกันสามารถพัฒนาตนเองและแสวงหาความรูอยางตอเน่ือง มีสภาวิชาชีพที่เขมแข็ง บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคงในอาชีพ มีขวัญกําลังใจ อยูไดอยางย่ังยืน

3. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหลงเรียนรูยุคใหม เพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับ/ประเภทใหสามารถเปนแหลงเรียนรูที่มีคุณภาพ และพัฒนาแหลงเรียนรูอื่นๆสําหรับการศึกษาและเรียนรูทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เชน หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และศูนยการกีฬาและนันทนาการ เปนตน เพื่อสงเสริมการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตและมีคุณภาพ

4. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม ที่มุงเนนการกระจายอํานาจสูสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งการมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคสวนมีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีความโปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได ตลอดจนมีการนําระบบและวิธีการบริหารจัดการแนวใหมมาใช ควบคูกับการสรางผูนําการเปลี่ยนแปลง มีการบริหารจัดการการเงินและงบประมาณที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (demand side) โดยใหผูเรียนเลือกรับบริการ

แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 – 2559 (ฉบับปรับปรุง)

เน่ืองจากแผนการศึกษาแหงชาติฉบับเดิม (พ.ศ. 2545–2559) เปนแผนระยะยาวที่สอดคลองกับพระราช บัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ดังน้ัน คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552–2559) โดยปรับปรุงในสวนของนโยบายเปาหมาย และกรอบการดําเนินงานใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อใหการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ที่เนนการใชความรูเปนฐานของการพัฒนา ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประชากร สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งสรุปสาระสําคัญ แนวนโยบายในแตละวัตถุประสงค ไดดังน้ี (สํานักนายกรัฐมนตร,ี 2553)

วัตถุประสงค 1 พัฒนาคนอยางรอบดาน และสมดุล เพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา

แนวนโยบาย

1.1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูในทุกระดับและประเภทการศึกษา 1.2 ปลูกฝงและเสริมสรางใหผูเรียนมีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม มีจิตสํานึกและมีความ

ภูมิใจในความเปนไทย มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ คํานึงถึงประโยชนสวนรวม และยึดมั่นใน

Page 18: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 15 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และรังเกียจการทุจริต ตอตานการซื้อสิทธ์ิขายเสียง

1.3 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหประชาชนทุกคนต้ังแตแรกเกิดจนตลอดชีวิตไดมีโอกาสเขาถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู โดยเฉพาะผูดอยโอกาส ผูพิการ หรือทุพพลภาพ ยากจน อยูในทองถ่ินหางไกล ทุรกันดาร

1.4 ผลิตและพัฒนากําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของประเทศ และเสริมสรางศักยภาพการแขงขัน และรวมมือกับนานาประเทศ

1.5 พัฒนามาตรฐานและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก

1.6 ผลิตและพัฒนาคร ูคณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานมีคุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี

วัตถุประสงค 2 สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู

แนวนโยบาย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษา อบรม และเรียนรูของสถาบันศาสนา และสถาบันทางสังคมทั้ง

การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 สงเสริมสนับสนุนเครือขายภูมิปญญา และการเรียนรูประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรมพลศึกษา

กีฬาเปนวิถีชีวิตอยางมีคุณภาพและตลอดชีวิต 2.3 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรู นวัตกรรม และทรัพยสินทางปญญาพัฒนา

ระบบบริหารจัดการความรู และสรางกลไกการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน

วัตถุประสงค 3 พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม เพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู

แนวนโยบาย

3.1 พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิต

3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยเรงรัดกระจายอํานาจการบริหารและจัดการศึกษาไปสูสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

3.3 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาคสวนของสังคมในการบริหารจัดการศึกษา และสนับสนุนสงเสริมการศึกษา

3.4 ระดมทรัพยากรจากแหลงตาง ๆ และการลงทุนเพื่อการศึกษา ตลอดจนบริหารจัดการและ ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ

3.5 สงเสริมความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา พัฒนาความเปนสากลของการศึกษา เพื่อรองรับการเปนประชาคมอาเซียน และเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศภายใตกระแส โลกาภิวัฒน ขณะเดียวกันสามารถอยูรวมกันกับพลโลกอยางสันติสุข มีการพึ่งพาอาศัยและเกื้อกูลกัน

Page 19: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 16 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

เปาหมาย เปาหมายเชิงคุณภาพ : เมื่อสิ้นสุดแผนฯ ในป 2559 การพัฒนาการศึกษาของประเทศจะบรรลุผลดังน้ี

1. คนไทยเปนคนดี เกง มีความสุข มีความรูเชิงวิชาการและสมรรถนะทางวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ใฝเรียนรูและแสวงหาความรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต ดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุข มีสุขภาพทั้งกายและใจที่สมบูรณ สามารถประกอบอาชีพและอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เพื่อเปนเปาหมายและฐานหลักของการพัฒนาประเทศ

2. สังคมไทยเปนสังคมแหงคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู มีการสรางองคความรูนวัตกรรมและเทคโนโลยี ทรัพยสินทางปญญาเพื่อการเรียนรู นําไปสูสังคมแหงการเรียนรูอยางย่ังยืนมีสุขภาวะ ประชาชนอยูรวมกันอยางสันติสุขและเอื้ออาทรประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ

3. สังคมไทยมีสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาคนอยางมีคุณภาพและย่ังยืนมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อการศึกษาและเรียนรู มีการบริหารจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพมีการกระจายอํานาจสูสถานศึกษา เขตพื้นที่ และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีการระดมทรัพยากรและความรวมมือจากทุกภาคสวน รวมทั้งความรวมมือในภูมิภาคและนานาชาติมากข้ึน อันจะนําไปสูความสามารถในการรวมมือและแขงขันของประเทศ และการอยูรวมกันกับพลโลกอยางสันติสุขมีการพึ่งพาอาศัยและเกื้อกูลกัน

เปาหมายเชิงปริมาณ

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในกลุมสาระหลัก เกินกวารอยละ 50 2. สถานศึกษาทุกโรงไดรับการรับรองมาตรฐาน จาก สมศ. 3. จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มสูงข้ึน จาก 8.7 ป ในป 2551 เปน 10 ป ในป 2559 4. เอกชนเขามารวมจัดการศึกษามากข้ึน โดยมีสัดสวนผูเรียนระหวางรัฐ : เอกชน เปน 65:35 ในป

2559 5. สัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษามากข้ึน โดยมีสัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษา : สามัญศึกษาในระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย เปน 60: 40 ในป 2559 ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน

ยุทธศาสตรท่ี 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหมีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมทั้งทักษะ ฝมือและภาษา โดยพัฒนา/สนับสนุนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเปนเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู

แนวทางการดําเนินงานดานการศึกษา

1. การพัฒนาและยกระดับทักษะภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาตางประเทศอื่น และการจัดทํามาตรฐานการใชภาษาไทย และหลักเกณฑการทับศัพทภาษาของประเทศในกลุมอาเซียน

2. การสรางความตระหนักรูและการเสริมสรางอัตลักษณความเปนประชาคมอาเซียน 3. การรณรงคเพื่อการรูหนังสือเพื่อแกไขปญหาการอานออกเขียนไดของประชากรอาเซียน

Page 20: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 17 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

4. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ และสรางเครือขายความรวมมือ เพื่อสรางความเขมแข็งทางวิชาการ และรองรับการแลกเปลี่ยน/ถายโอนหนวยการเรียน และเปดเสรีและการลงทุนดานการศึกษาในอาเซียน

5. การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตและสราง/สงเสริมสนับสนุนศูนยการเรียนรูในอาเซียน 6. การผลิตและพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีทักษะความรูและสมรรถนะในการประกอบอาชีพ ที่

เช่ือมโยงกับโครงสรางการผลิตและบริการตามความตองการของตลาดแรงงาน เปาหมาย/ตัวชี้วัด

1. ทุกคนสามารถอานออกเขียนไดและไดรับการพัฒนาศักยภาพดานทักษะภาษาอังกฤษและภาษาตางประเทศอื่นไดเพิ่มข้ึน

2. คนไทยมีความรูความเขาใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเรียนรูที่จะอยูรวมกันภายใตกลุมประชาคมอาเซียนเพิ่มข้ึน

3. สถานศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งมาตรฐานการศึกษาของไทยไดรับการยอมรับในระดับอาเซียนและระดับสากล

4. ผูเรียนมีทักษะความรูและสมรรถนะที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานในกลุมประชาคมอาเซียน

แนวทางดําเนินงานดานแรงงาน ขอ 3. การพัฒนาระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพที่สอดคลองกับ

มาตรฐานสากล เปาหมาย/ตัวชี้วัด

1. ระบบมาตรฐานฝมือแรงงานและระบบคุณวุฒิวิชาชีพไดรับการพัฒนาเทียบเทามาตรฐานสากล แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 11 พ.ศ. 2555–2559

กระทรวงศึกษาธิการมุงเนนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรางโอกาสทางการศึกษาใหคนไทยไดเรียนรูตลอด

ชีวิต เพื่อใหคนไทยทุกกลุมทุกวัยมีคุณภาพ มีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ สติปญญา มีจิตสํานึกของความเปนไทย มีความเปนพลเมืองที่ดี ตระหนักและรูคุณคาของขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมที่ดีงาม มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง และตอบสนองตอทิศทางการพัฒนาประเทศ จึงไดจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555–2559 เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการดําเนินงาน ซึ่งมีสาระสําคัญดังน้ี

วิสัยทัศน

“คนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ เปนคนดี มีความสุข มีภูมิคุมกัน รูเทาทัน ในเวทีโลก” พันธกิจ

1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสูสากล 2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึงเทาเทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และสงเสริมการมีสวนรวมของทุก

ภาคสวน

Page 21: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 18 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพคนไทย ใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและการ

พัฒนาประเทศในอนาคต 2. เพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนรองรับการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพการแขงขันของประเทศ 3. เพื่อสรางองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืน 4. เพื่อใหคนไทยไดเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต 5. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาใหมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยการมีสวน

รวมของทุกภาคสวน

ยุทธศาสตรท่ี 1 ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน คร ูคณาจารย บุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน

1. เรงรัดพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานผูเรียน 1.4 สงเสริมการผลิตสื่อการเรียนการสอน ตําราเรียนที่มีคุณภาพ รวมทั้งสื่อและตําราเรียน

อิเล็กทรอนิกส ที่มีเน้ือหาสาระที่ทันสมัยในทุกระดับ/ประเภทการศึกษา เพื่อใหผูเรียนศึกษาไดดวยตนเอง

1.5 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนตนแบบทุกสาขาวิชาหลัก และทุกระดับการศึกษา เพื่อใชเปนตนแบบในการจัดการเรียนการสอนในทุกสถานศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานใกลเคียงกัน

ยุทธศาสตรท่ี 3 สงเสริมการวิจัยและพัฒนา ถายทอดองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรม กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน

1. สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา สรางองคความรูเทคโนโลยี นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศ 1.1 สรางกลไกการวิจัยและถายทอดองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวางภาคธุรกิจ

สถานประกอบการกับสถาบันการศึกษา 1.2 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาในระดับอุดมศึกษา เพื่อสรางสรรค องคความรู เทคโนโลยี

และนวัตกรรมตอบสนองความตองการของชุมชน สังคมและประเทศ 1.3 พัฒนามหาวิทยาลัยใหมีศักยภาพดานการวิจัยและพัฒนาข้ันสูง 1.4 สงเสริม สนับสนุนการจัดต้ังศูนยบมเพาะวิสาหกิจในสถาบันการศึกษา และพัฒนาศูนย

ความเปนเลิศ เพื่อเปนหนวยวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศ

1.5 สงเสริมการวิจัย ถายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมเพิ่มข้ึน 2. สรางเครือขายความรวมมือดานการศึกษาวิจัยกับองคกร/หนวยงานทั้งในและตางประเทศ

2.1 สงเสริม สนับสนุนใหนักเรียนนักศึกษา ครู คณาจารย ในสถาบันการศึกษาดําเนินการวิจัยและพัฒนาสรางองคความรูเทคโนโลยีและนวัตกรรม

2.2 สงเสริม สนับสนุนการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชนในการสรางงานวิจัยเชิงพาณิชย การถายทอดเทคโนโลยีที่ทันสมัยหรือตอยอดเทคโนโลยี

2.3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู นําเสนอผลงานวิจัยระหวางสถาบันการศึกษาทั้งในและตางประเทศ

Page 22: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 19 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

3. สงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อใหบริการรักษาพยาบาลและสงเสริมสุขภาพ 3.1 สงเสริม สนับสนุนการศึกษา วิจัย และสรางองคความรูเกี่ยวกับ การรักษาพยาบาลและ

การสงเสริมสุขภาพ 3.2 สงเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาดานสาธารณสุขใน

มหาวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู

4.1 สงเสริม สนับสนุนใหทุกหนวยงานดําเนินการจัดการความรู อยางเปนระบบ นําไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู

4.2 พัฒนาระบบจัดเก็บ รวบรวม ขอมูลองคความรู และการใหบริการทางวิชาการ หรือเผยแพรองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมสูสาธารณชนอยางทั่วถึง

4.3 สงเสริม สนับสนุนการถายทอด ถอดองคความรูที่มีอยูในบุคคล ใหเปนองคความรูขององคกรหรือหนวยงานอยางตอเน่ือง

5. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย 5.1 พัฒนาศักยภาพนักวิจัย 5.2 สรางเครือขายนักวิจัย 5.3 สงเสริมการวิจัยที่สรางองคความรูใหมทางวิชาการ 5.4 กําหนดทิศทางการวิจัยที่กอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาความรูใหม 5.5 สนับสนุนการนําองคความรู จากการวิจัยไปใชประโยชนในการพัฒนาสังคม ประเทศ

หรือตอยอดในเชิงพาณิชย

ยุทธศาสตรท่ี 4 ขยายโอกาสการเขาถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน 3. พัฒนาคุณภาพเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

3.1 สงเสริมใหผูเรียน สถานศึกษา และหนวยงานทางการศึกษา ทุกระดับ/ประเภทการศึกษาเขาถึงระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัย อยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

3.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลกลางทางการศึกษาใหเปนเอกภาพ มีมาตรฐานเดียวกัน โดยเช่ือมโยงขอมูลการศึกษาทุกระดับ/ประเภทการศึกษา

3.3 นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใชพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเรียนรูอยางเปนระบบ

3.4 จัดใหมีศูนยกลางในการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพรขอมูลสื่อ การเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ทันสมัย ไดมาตรฐาน และใชเปนแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรู ของผูเรียน ครูและคณาจารย

3.5 รณรงค สงเสริมใหเด็ก เยาวชนและประชาชนเขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรูไดอยางทั่วถึง สรางสรรค และ มีประสิทธิภาพ

3.6 ปรับปรุงหองปฏิบัติการและจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรใหกับผูเรียนอยางเพียงพอ ทั่วถึงและเหมาะสมกับการแสวงหาความรูดวยตนเองอยางตอเน่ือง

Page 23: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 20 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ยุทธศาสตรท่ี 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ และสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา กลยุทธและแนวทางการดําเนินงาน

3. พัฒนาระบบการวางแผน งบประมาณ ตรวจติดตามและประเมินผลการศึกษาใหไดมาตรฐาน 3.4 พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร สําหรับการติดตามและประเมินผลแผนงาน /โครงการ 3.5 สรางเครือขายเช่ือมโยงฐานขอมูลโดยใชเทคโนโลยีในการจัดทําฐานขอมูล

กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ประเทศไทย (ICT2020)

ประเทศไทยในป พ.ศ. 2563 จะมีการพัฒนาอยางฉลาด การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงัคมจะอยูบน

พื้นฐานของความรูและปญญา โดยใหโอกาสแกประชาชนทุกคนในการมสีวนรวมในกระบวนการพัฒนาอยางเสมอภาค นําไปสูการเติบโตอยางสมดุล และย่ังยืน ตามวิสัยทัศน (Smart Thailand 2020) ที่ระบุวา

“ICT เปนพลังขับเคลื่อนสําคัญในการนําพาคนไทย สูความรูและปญญา เศรษฐกจิไทยสูการเติบโตอยางย่ังยืน สังคมไทยสูความเสมอภาค”

โดยมเีปาหมายหลักของการพัฒนา ดังน้ี 1. มีโครงสรางพื้นฐาน ICT ความเร็วสูง (Broadband) ที่กระจายอยางทั่วถึง ประชาชนสามารถเขาถึงได

อยางเทาเทียมกัน เสมือนการเขาถึงบริการสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานทั่วไป โดยใหรอยละ 80 ของประชากรทั่วประเทศ สามารถเขาถึงโครงขายโทรคมนาคมและอินเทอรเน็ตความเร็วสูงภายในป พ.ศ. 2558 และ รอยละ 95 ภายในป พ.ศ. 2563

2. มีทุนมนุษยที่มีคุณภาพ ในปริมาณที่เพียงพอตอการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูเศรษฐกิจฐานบริการและฐานเศรษฐกิจสรางสรรคไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนไมนอยกวารอยละ 75 มีความรอบรู เขาถึง สามารถพฒันาและใชประโยชนจากสารสนเทศไดอยางรูเทาทัน และเพิ่มการจางงานบุคลากร ICT (ICT Professional) เปนไมตํ่ากวารอยละ 3 ของการจางงานทั้งหมด

3. เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรม ICT (โดยเฉพาะในกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค) ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยใหมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT (รวมอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต) ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 18

4. ยกระดับความพรอมดาน ICT โดยรวมของประเทศไทย โดยใหประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่มีการพัฒนาสงูที่สุดรอยละ 25 (Top quartile) ของ Networked Readiness Index

5. เพิ่มโอกาสในการสรางรายไดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน (โดยเฉพาะในกลุมผูดอยโอกาสทางสังคม) โดยเกิดการจางงานแบบใหมๆ ที่เปนการทํางานผานสือ่อิเล็กทรอนิกส

6. ทุกภาคสวนในสังคมมีความตระหนักถึงความสําคัญและบทบาทของ ICT ตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เปนมิตรกบัสิ่งแวดลอม และมสีวนรวมในกระบวนการพัฒนาโดยประชาชนไมนอยกวารอยละ 50 ตระหนักถึงความสําคัญและบทบาทของ ICT ตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมที่เปนมิตรกบัสิ่งแวดลอม

ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนาทุนมนุษยที่มีความสามารถในการสรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน รวมถึงพัฒนาบุคลากร ICT ที่มีความรูความสามารถและความเช่ียวชาญระดับมาตรฐานสากล

Page 24: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 21 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

2.5 สรางโอกาสในการเขาถึงและใชประโยชนจาก ICT เพื่อการเรียนรูของเด็กและเยาวชน เพื่อสรางแรงงานในอนาคต ที่มีความรูและทักษะในการใชประโยชนจาก ICT โดยสนับสนุนการแพรกระจายโครงสรางพื้นฐาน ICT ที่จําเปนและเหมาะสมไปยังหองเรียนในทุกระดับ และอบรมทักษะในการใช ICT รวมถึงการพัฒนาและประยุกตใชสื่อ ICT เพื่อการเรียนรูใหกับบุคลากรทางการศึกษาอยางตอเน่ืองพรอมทั้งกําหนดใหสถาบันการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตองนํา ICT มาใชเปนเครื่องมือในการเรียนการสอนเพิ่มมากข้ึน ปรับปรุงเน้ือหาหรือหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับประถมและมัธยมศึกษา เพิ่มเน้ือหาที่เปนการเสริมสรางทักษะในการใชประโยชนจาก ICT ที่เหมาะสมกับการเรียนรู การดํารงชีวิตและการจางงานในศตวรรษที ่21 โดยใหความสําคัญกับทักษะ 3 ประการคือ

ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT literacy)

การรอบรู เขาถึง สามารถพัฒนาและใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ (Information literacy)

การรูเทาทันสื่อ (Media literacy) และใหมีหลักสูตรหรือเน้ือหาเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมในการใช ICT ความรู ความเขาใจ และความตระหนักถึงผลกระทบของ ICT ตอสิ่งแวดลอมในช้ันเรียนทุกระดับ ทั้งน้ี กําหนดใหทุกสถาบนัการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ตองจัดใหมีการทดสอบความรูดาน ICT พื้นฐาน (Basic ICT literacy) และความรูภาษาอังกฤษ สําหรับนักเรียน/นักศึกษากอนจบการศึกษาตามหลักสูตร เพื่อใหนักเรียน/นักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาทุกคนมีความรูและทักษะดาน ICT และภาษาอังกฤษในระดับที่เปนที่ยอมรบัและสามารถเทียบเคียงไดกับมาตรฐานสากล

2.7 สรางโอกาสในการเขาถึงและใชประโยชนจาก ICT สําหรับประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะกลุมผูดอยโอกาส ผูสูงอายุ และผูพิการ โดยใชประโยชนจากศูนยสารสนเทศชุมชน หรือศูนย ICT ชุมชน ในการจัดอบรมความรูดาน ICT ใหแกประชาชนทั่วไปในชุมชน และจัดทําหลักสูตรและจดัอบรมความรูดาน ICT รวมถึงการใช ICT เพื่อการทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันใหแกผูสูงอายุ

ยุทธศาสตรท่ี 6 พัฒนาและประยุกต ICT เพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจและสังคมโดยสรางความเสมอ

ภาคของโอกาสในการเขาถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะสําหรับประชาชนทุกกลุม โดยเฉพาะบริการพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตอยางมีสุขภาวะที่ดี ไดแก บริการดานการศึกษาและบริการสาธารณสุข

6.3 สงเสริมใหมีสื่อดิจิทัลที่สามารถใชประโยชนในการดํารงชีวิต และกระบวนการเรียนรูของประชาชน โดยจัดสรรทรัพยากรการสื่อสารสําหรับโทรทัศนเพื่อการศึกษา การพัฒนาสื่อดิจิทัลในภาษาทองถ่ิน การแปลสื่อหรือหนังสือ การจัดทําสื่อภาษามอืสําหรับผูพิการทางการไดยินพรอมทั้งเรงกําหนดมาตรฐานของประเทศเรื่องรูปแบบของแฟมเอกสารอิเล็กทรอนิกส และสนับสนุนการทํางานในรูปแบบอาสาสมัคร เพื่อสรางสื่อที่เหมาะสมกับชุมชน โดยใชกลไกการทํางานของเครือขายสงัคมออนไลนเปนเครื่องมือในการทํางานรวมกนัของอาสาสมคัร

Page 25: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 22 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

6.5 สงเสริมใหเกิดชุมชนหรือสังคมเรียนรูออนไลนที่สรางสรรคการจัดทําเว็บทา สื่ออิเล็กทรอนิกสที่หลากหลาย และการรวมกลุมทางสังคมที่เขมแข็ง การสรางเครือขายการเรียนรูระหวางสถาบนัการศึกษา วัด หองสมุด ศูนยการเรียนรูชุมชน เพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึงแหลงความรูหรือขอมูลที่เปนประโยชน กระตุนใหเกิดการเผยแพร แลกเปลี่ยนเรียนรู และตอยอดวิชาการสมยัใหมจากแนวความคิดหรือความรูที่เปนภูมิปญญาทองถ่ิน อันจะนําไปสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต การสราง ตอยอด ถายทอด และบูรณาการความรู ที่เหมาะสมกับการพัฒนาชุมชน และสงเสริมใหประชาชนเขาถึง ตระหนัก เขาใจและเคารพในความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีอยูในประเทศ

แผนปฏิบัติราชการ 4 ป (พ.ศ. 2556-2559) ของกระทรวงศึกษาธิการ

วิสัยทัศน

กระทรวงศึกษาธิการเปนองคกรหลักที่ทรงประสิทธิภาพในการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษยของชาติ สรางความเปนอยูที่ดี สรางความมั่งค่ังทางดานเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมใหกับประเทศ ดวยฐานความรู ความคิดสรางสรรค และศักยภาพของประเทศ

พันธกิจ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถใหประชาชน มี

อาชีพที่สามารถสรางรายไดที่มั่งค่ังและมั่นคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรม จริยธรรม มีสํานึกความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่นและสังคม

2. เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึง เทาเทียม 3. พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล เนนการบูรณาการและสงเสริมการมี

สวนรวมของทุกภาคสวน

ประเด็นยุทธศาสตร

1. การปรับตัวเขาสูประชาคมอาเซียน/ ประชาคมโลก 2. การพัฒนาสถานศึกษาและองคความรู 3. การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ 4. การพัฒนาครูทั้งระบบ 5. การพัฒนาศักยภาพผูเรียน 6. การวิจัยและถายทอดองคความรู 7. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา 8. การสงเสริมการมีงานทํา 9. การบริหารจัดการกลยุทธของกระทรวงศึกษาธิการ

Page 26: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 23 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

พ.ร.บ.เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาแหงชาติ และกฎหมายท่ีเก่ียวของกับคอมพิวเตอร

พระราชบัญญัติเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. … จัดทําข้ึนตามขอกําหนดของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 “เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” ซึ่งไดผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อ 31 สิงหาคม 2553 ปจจุบันกําลังอยูในระหวางการพิจารณาอนุมัติของสภาผูแทนราษฎร ( ธันวาคม 2553) มีผลใหกระทรวงศึกษาธิการตองจัดต้ังสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใหเปนหนวยงานกลางที่มีสถานภาพเปนองคการมหาชน โดยจัดทําราง พ.ร.บ. สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พ.ศ. … เพื่อทําหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน สงเสริม และประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงคดังน้ีคือ

1. เสนอนโยบายและแผนเกี่ยวกับการวิจัย การพัฒนาและการใชเทคโนโลยีเพื่ อการศึกษาตอคณะรัฐมนตร ี

2. สงเสริมและประสานงานการผลิต การวิจัย การพัฒนา และการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 3. ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 4. พัฒนาและบริหารจัดการระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศของสถาบันเพื่อสนับสนุนการศึกษาใน

ระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งในระดับชาติและระดับทองถ่ิน

5. พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใหมีความรูความสามารถและทักษะในการผลิตและการใชเทคโนโลยี

นอกจากน้ียังกําหนดใหมีคณะกรรมการสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการจัดต้ัง “กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา” เพื่อประโยชนในการระดมทุนสําหรับสงเสริม พัฒนาเทคโนโลยี สนับสนุนการผลิต การวิจัย และการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยกองทุนประกอบดวย เงินที่รัฐบาลจายใหเปนทุนประเดิม เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรใหเปนรายป เงินที่ไดรับการจัดสรรตามกฎหมายวาดวยองคกรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม เงินคาสัมปทานและผลกําไรที่ไดจากการดําเนินการดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมตามที่ไดรับการจัดสรรตามกฎหมาย ระเบียบ หรือมติคณะรัฐมนตรี เงินหรือทรัพยสินที่มีผูบริจาคหรือมอบให ดอกผลของเงินหรือทรัพยสินของกองทุน รวมถึงรายไดอื่น

พระราชบัญญัติดังกลาวถือเปนกฎหมายสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนดานการศึกษา ซึ่งมีผลตอทุกฝายที่เกี่ยวของจะตองนําไปปฏิบัติ รวมกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร เน่ืองจากในปจจุบันระบบคอมพิวเตอรไดเปนสวนสําคัญของการประกอบกิจการและการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวยประการใดๆใหระบบคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําสั่งที่กําหนดไว หรือทําใหการทํางานผิดพลาดไปจากคําสั่งที่กําหนดไว หรือใชวิธีการใดๆเขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลายขอมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือใชระบบคอมพิวเตอรเพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ หรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพื่อปองกันและปราบปรามการกระทําดังกลาว ตามหมายเหตุที่ไดกลาวไวในตอนทายของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ซึ่งมีสาระสําคัญวาดวยเรื่องลักษณะของการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ประกอบดวยกฎระเบียบตามมาตรา 5 ถึงมาตรา 17 และวาดวยเรื่องการใชอํานาจหนาที่และข้ันตอนการดําเนินงานของพนักงานเจาหนาที่ เมื่อพบผูกระทําความผิด ประกอบดวยกฎระเบียบตามมาตรา 18 ถึงมาตรา 30

Page 27: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 24 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

จะสังเกตไดวาพระราชบัญญัติฉบับน้ีไดกลาวอางถึง พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 ซึ่งมีสาระสําคัญที่สงผลตอการพัฒนาและการประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในมาตรา 1 และ 2 เกี่ยวกับช่ือพระราชบัญญัติและการใหมีผลบังคับใช (ตามลําดับ) สวนมาตรา 3 เปนการนิยามความหมายที่เกี่ยวกับการทําธุรกรรมทางคอมพิวเตอร ดังน้ีคือ

“ธุรกรรม” หมายความวา การกระทําใดๆที่เกี่ยวกับกิจกรรมในทางแพงและพาณิชย หรือในการดําเนินงานของรัฐตามที่กําหนดในหมวด 4

“อิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การประยุกตใชวิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอื่นใดในลักษณะคลายกัน และใหหมายความรวมถึงการประยุกตใชวิธีการทางแสง วิธีการทางแมเหล็ก หรืออุปกรณที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชวิธีตางๆเชนวาน้ัน

“ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา ธุรกรรมที่กระทําข้ึนโดยใชวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสทั้งหมดหรือบางสวน

“ขอความ” หมายความวา เรื่องราวหรือขอเท็จจริง ไมวาจะปรากฏในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข เสียง ภาพ หรือรูปแบบอื่นใดที่สื่อความหมายไดโดยสภาพของสิ่งน้ันเอง หรือโดยผานวิธีการใดๆ

“ขอมูลอเิล็กทรอนิกส” หมายความวา ขอความที่ไดสราง สง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เชน วิธีการแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิ เล็กทรอนิกส จดหมายอิเล็กทรอนิกส โทรเลข โทรพิมพ หรือโทรสาร

“ลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส” หมายความวา อักษร อักขระ ตัวเลข เสียง หรือสัญลักษณอื่นใดที่สรางข้ึนใหอยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสซึ่งนํามาใชประกอบกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางบุคคลกับขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยมีวัตถุประสงคเพื่อระบุตัวบุคคลผูเปนเจาของลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้น และเพื่อแสดงวาบุคคลดังกลาวยอมรับในขอมูลอิเล็กทรอนิกสน้ัน

“ระบบขอมูล” หมายความวา กระบวนการประมวลผลดวยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสสําหรับสราง สง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลขอมูลอิเล็กทรอนิกส

“การแลกเปลี่ยนขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การสงหรือรับขอความดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสระหวางเครื่องคอมพิวเตอรโดยใชมาตรฐานที่กําหนดไวลวงหนา

“ผูสงขอมูล” หมายความวา บุคคลซึ่งเปนผูสงหรือสรางขอมูลอิเล็กทรอนิกสกอนจะมีการเก็บรักษาขอมูลเพื่อสงไปตามวิธีการที่ผูน้ันกําหนด โดยบุคคลน้ันอาจจะสงหรือสรางขอมูลอิเล็กทรอนิกสดวยตนเอง หรือมีการสงหรือสรางขอมูลอิเล็กทรอนิกสในนามหรือแทนบุคคลน้ันก็ได ทั้งน้ี ไมรวมถึงบุคคลที่เปนสื่อกลางสําหรับขอมูลที่เปนอิเล็กทรอนิกสน้ัน

“ผูรับขอมูล” หมายความวา บุคคลซึ่งผูสงขอมูลประสงคจะสงขอมูลอิเล็กทรอนิกสให และไดรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสน้ัน ทั้ งน้ี ไมรวมถึงบุคคลที่ เปนสื่อกลางสําหรับขอมูลอิเล็กทรอนิกสน้ัน

“บุคคลที่เปนสื่อกลาง” หมายความวา บุคคลซึ่งกระทําการในนามผูอื่นในการสง รับ หรือเก็บรักษาขอมูลอิเล็กทรอนิกสอันใดอันหน่ึงโดยเฉพาะ รวมถึงใหบริการอื่นที่ เกี่ยวกับขอมูลอิเล็กทรอนิกสน้ัน

Page 28: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 25 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

“ใบรับรอง” หมายความวา ขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือการบันทึกอื่นใด ซึ่งยืนยันความเช่ือมโยงระหวางเจาของลายมือช่ือกับขอมูลสําหรับใชสรางลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส

“เจาของลายมือช่ือ” หมายความวา ผูซึ่งถือขอมูลสําหรับใชสรางลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกสและสรางลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกสน้ันในนามตนเองหรือแทนบุคคลอื่น

“คูกรณีที่เกี่ยวของ” หมายความวา ผูซึ่งอาจกระทําการใดๆโดยข้ึนอยูกับใบรับรองหรือลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส

“หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สวนราชการที่เรียกช่ืออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ร าชการสวนภูมิภาค ร าชการสวนทอ ง ถ่ิน รั ฐ วิสาหกิจที่ ต้ั ง ข้ึนโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงนิติบุคคล คณะบุคคล หรือบุคคลซึ่งมีอํานาจหนาที่ดําเนินงานของรัฐไมวาในการใดๆ

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติฉบับน้ี ภาพรวมของการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร เปนการสงเสริมการประยุกตใชระบบ ICT

และปองปรามการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร โดยไมเจตนาของผูใชทุกฝาย โดยสรุป

การจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา จําเปนตองใหความสําคัญตอพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ เพราะเปดโอกาสใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันที่ไดรับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซึ่งในทางปฏิบัติจะรวมถึงเด็กไทยและเด็กที่เกิดในไทย ประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ที่มีเปาหมายการยกระดับคุณภาพการศึกษาสูมาตรฐานสากล ตอยอดองคความรูสูนวัตกรรม เพิ่มโอกาสการเขาถึงการศึกษา และการเรียนรูในรูปแบบที่หลากหลายมากข้ึน นอกจากน้ียังมีการประกาศแผนการศึกษาแหงชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงคในการพัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุล เพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรมและภูมิปญญา รวมทั้งขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ตามวิสัยทัศนที่ใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดวยกรอบการปฏิรูปและการเรียนรูอยางเปนระบบ คือ พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหมใหมีนิสัยใฝรู พัฒนาคุณภาพครูยุคใหมที่เอื้ออํานวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหลงเรียนรูยุคใหม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม ที่มุงเนนการกระจายอํานาจสูสถานศึกษาและการมีสวนรวมของทุกภาคสวน

ปจจัยสําคัญที่มีผลกระทบตอการจัดการศึกษาของชาติ อาทิ ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมอาเซียน ใน

ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหมีมาตรฐานการศึกษา ทักษะ ฝมือและภาษา โดยพัฒนา/สนับสนุนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเปนเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู น้ัน สอดคลองกับนโยบายรัฐบาลดานสังคมและคุณภาพชีวิต ที่เรงพัฒนาคุณภาพการศึกษา สรางโอกาสทางการศึกษา ปฏิรูปครู จัดการอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา เรงพัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการวิจัยพัฒนา และเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษยเพื่อรองรับการเปดเสรีประชาคมอาเซียน โดยในสวนของกระทรวงศึกษาธิการซึ่งเปนองคกรหลักที่จัดการศึกษาของชาติ มีแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 ตามวิสัยทัศนที่ใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ เปนคนดี มีความสุข มีภูมิคุมกัน รูเทาทัน ในเวทีโลก ดวยการใชแผนปฏิบัติราชการ 4 ป

Page 29: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 26 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

เปนกรอบการดําเนินงาน ซึ่งสามารถกําหนดทิศทางการจัดการศึกษา และยกระดับคุณภาพการศึกษาของหนวยงานที่จัดการศึกษาในสังกัดและนอกสังกัดไดอยางเปนเอกภาพ

การจัดการศึกษาระดับชาติจึงเปนองคาพยพรวมของหนวยงานที่จัดการศึกษา ทั้งภายในและภายนอกสังกัด

กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝายจําเปนตองมีขอมูลเพื่อที่จะตอบสนองการบริหารจัดการ การปฏิบัติงาน ตลอดจนการดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการศึกษา โดยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 มีสาระสําคัญที่กําหนดใหทุกหนวยงานที่จัดการศึกษา จะตองจัดสงขอมูลดานการศึกษาใหแกกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งปจจุบันมีการประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามสมัยนิยม เพื่อการจัดสงและแลกเปลี่ยนขอมูลแบบอิเล็กทรอนิกสระหวางกัน เปนประโยชนตอการประมวลผลขอมูลสารสนเทศไดอยางสะดวกรวดเร็ว ภายใตภาพรวมการพัฒนาตามกรอบนโยบาย ICT 2020 เพื่อสอดรับความกาวหนาในทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศไดอยางเปนเอกภาพ และตระหนักถึงกฎหมายที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร เพื่อหลีกเลี่ยงหรือปองกันการกระทําความผิด สงผลใหการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา จะชวยสรางความมั่นใจในการใชขอมูลดานการศึกษาใหมีความปลอดภัยเช่ือถือได เปนประโยชนตอการบริหารจัดการ และการใหบริการขอมูลดานการศึกษาแกประชาชน

Page 30: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

บทท่ี 2 ยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา การกําหนดทิศทาง นโยบาย และยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา (ดังกลาวแลว

ในบทที่ 1) มีเปาหมายโดยรวมที่จะยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งผูเกี่ยวของสามารถจะนําขอมูลมาใชประโยชน ดวยการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561 โดยมีหลักการสําคัญพอสรุปดังน้ีคือ

1. กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และเปาหมายการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ใหสามารถรองรับการใชประโยชนในการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศ

2. กําหนดใหมีความครอบคลุมมิติการบริหารจัดการและการบริการผูมีสวนเกี่ยวของ (Stakeholder) ต้ังแตผูบริหาร ครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนถึงประชาชน

วิสัยทัศน

คลังขอมูลที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษาอยางมีคุณภาพ ความหมาย : การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาดวยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภายใตการจัดสรรทรัพยากรบุคคลและงบประมาณที่มีอยางจํากัด เพื่อใหขอมูลมีความถูกตองสมบูรณทันสมัยตามวาระที่กําหนดรวมกันระหวางหนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปนประโยชนตอการนําขอมูลมาใชในการบริหารจัดการของผูบริหาร ผูปฏิบัติงาน และผูมีสวนเกี่ยวของ รวมทั้งการใหบริการขอมูลดานการศึกษาแกหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนไดอยางสะดวกรวดเร็ว

พันธกิจ

1. ประสานความรวมมือในการบริหารจัดการและกํากับติดตามการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 2. พัฒนาระบบสารสนเทศที่จําเปนตอการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 3. สงเสริมสนับสนุนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของคลังขอมูลดานการศึกษา 4. สงเสริมสนับสนุนการใหบริการและการใชประโยชนจากคลงัขอมูลดานการศึกษา

เปาประสงค

พัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาเพื่อใหบริการขอมูลดานการศึกษาโดยผานการดําเนินงานของศูนยสารสนเทศ

เพื่อการศึกษาแหงชาติ (National Education Information System : NEIS)

ภาพรวมยุทธศาสตร การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ใหบรรลุพันธกิจและเปาประสงคการใหบริการขอมูลดานการศึกษา โดย

ผานการดําเนินงานของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (National Education Information System : NEIS) จะประกอบดวยยุทธศาสตรและมาตรการตางๆ ดังตารางที่ 2.1

Page 31: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 28 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ตารางที่ 2.1 ภาพรวมยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา วิสัยทัศน : คลังขอมูลที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและการบริการดานการศึกษาอยางมีคุณภาพ พันธกิจ : 1. ประสานความรวมมือในการบริหารจัดการและกํากับติดตามการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

2. พัฒนาระบบสารสนเทศที่จําเปนตอการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 3. สงเสริมสนับสนุนการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของคลังขอมูลดานการศึกษา 4. สงเสริมสนับสนุนการใหบริการและการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา

เปาประสงค : พัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาเพื่อใหบริการขอมูลดานการศึกษาโดยผานการดําเนินงานของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (National Education Information System : NEIS)

เปาป

ระสง

คเชิง

ยุทธศ

าสตร

ยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา 1. การบริหารจัดการและการพัฒนาคลังขอมูล

ดานการศึกษา 2. การบูรณาการขอมูลดานการศึกษา 3. การรักษาความม่ันคงปลอดภัยในคลังขอมูล

ดานการศึกษา 4. การใหบริการและการใชประโยชนจาก

คลังขอมูลดานการศึกษา ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาในทุกระดับ

มีการบูรณาการขอมูลดานการศึกษาระหวางหนวยงานเพื่อใชประโยชนขอมูลรวมกัน

มีการรักษาความปลอดภัย และสรางความเชื่อม่ันในการใชคลังขอมูลดานการศึกษาใหแกผูบริหารและผูใชบริการทุกระดับ

การ เข า ถึ งแ ละ ใชบ ริ กา รค ลั งข อ มูลด านการศึกษาที่สะดวกและปลอดภัย

มาตร

การ

1. จัดทํา MOU ที่มีผลในทางปฏิบัติ 2. กําหนดใหผูบริหารสูงสุดมีนโยบายการพัฒนา

และการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนขอมูล เพื่อสรางความเขมแข็งของคลังขอมูลดานการศึกษาฯ

3. จัดให มีหนวยงานตนแบบที่ มีการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาระดับกลุมจังหวัด และระดับจังหวัด

4. กําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลดานการศึกษา

5. กํ าหนดขั้ นตอนวิ ธีก าร ในกร ะบวนการตรวจทานขอมูลและจัดสงขอมูล

6. ประสานความรวมมือทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการในการแกปญหารวมกัน

7. สรางกลไกความรวมมือกับหนวยงานที่มีผลตอการประเมินคุณภาพการศึกษา

1. จัดทํามาตรฐานขอมูลกลาง (Core Data Set) ดานการศึกษา ใหครอบคลุมทุกภาคสวน

2. วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบบริหารจัดการคลังขอมูล

3. วิ เ คราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบสนับสนุนการบริห าร จัดการ และการใหบริการแกผูใชในระดับตางๆ

4. วิ เ คราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบแลกเปล่ียนขอมูลแบบเว็บเซอรวิส

5. วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบริหารจัดการมาตรฐานขอมูลกลางดานการศึกษา และรหัสขอมูลกลาง

6.สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาของทุกภาคสวน

1. จัดทํานโยบายและแผนการรักษาความม่ันคงปลอดภัยตามที่กฎหมายกําหนด

2. จัดทําแผนรองรับภาวะฉุกเฉินเพื่อลดความเส่ียงในการบริหารระบบคลังขอมูล

3. จัดใหมีการดําเนินการตามแผนรักษาความม่ันคงปลอดภัยอยางตอเน่ือง และบังคับใชกฎหมายเก่ียวกับการกระทําความผิดทางอิเล็กทรอนิกส

4. จัดอบรมเผยแพรและประชาสัมพันธใหมีความตระหนักในการรักษาความ ม่ันคงปลอดภัยอยางเครงครัด

5. จัดใหมีการสํารวจระดับความเชื่อม่ันที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา

1. สงเสริมสนับสนุนการใหบริการขอมูลตามสิทธ์ิที่ควรไดรับของแตละฝาย

2. ผลักดัน/ขับเค ล่ือนการนําคลังข อมูลไปประยุกตใชตอยอดในระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business Intelligence : BI) และการทําเหมืองขอมูล (Data Mining)

3. สรางกลไก/แรงจูงใจใหใชคลังขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจหรือการปฏิบัติงาน

Page 32: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 29 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

1. การบริหารจัดการและการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

2. การบูรณาการขอมูลดานการศึกษา 3. การรักษาความม่ันคงปลอดภัยในคลังขอมูลดานการศึกษา

4. การใหบริการและการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา

ตัวชีว

ัด

1. จํานวนหนวยงานที่จัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) รวมกับกระทรวงศึกษาธิการ

2. จํานวนหน วยงานกลาง ในแต ละดับที่ มีผู เ ก่ียวของเขามามีสวนรวมในการพัฒนาระบบคลังขอมูล

1. จํานวนระบบฐานขอมูลที่ มีการบูรณาการแลกเปล่ียนขอมูลรวมกัน

2. จํานวนหนวยงานที่ มีการบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงาน

3.จํานวนระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

ระดับความเชื่อม่ันในการใชคลังขอมูลดานการศึกษา

1. จํานวนผูใชคลังขอมูลดานการศึกษา 2. ระดับความพึงพอใจในการใชคลังขอมูลดาน

การศึกษา 3. จํานวนงานบริการที่มีระบบสารสนเทศรองรับ

เพื่อการใหบริการ

Page 33: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 30 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ยุทธศาสตรท่ี 1. การบริหารจัดการและการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ความหมาย : การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาจําเปนตองไดรับความรวมมือจากทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติการตลอดกระบวนการจัดการศึกษา ซึ่งจะตองรวมกันบริหารจัดการขอมูลอยางเขมแข็ง เพื่อใหไดคลังขอมูลดานการศึกษาที่มีความสมบูรณและทันสมัย รองรับการใชประโยชนตามบริบทของแตละฝายรวมกัน เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร

ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาในทุกระดับ ตัวชี้วัด

1. จํานวนหนวยงานทีจ่ัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) รวมกับกระทรวงศึกษาธิการ 2. จํานวนหนวยงานกลางในแตละดับที่มีผูเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในการพัฒนาระบบคลังขอมูล

มาตรการ

1. จัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) ที่มีผลในทางปฏิบัติ 2. กําหนดใหผูบริหารสูงสุดมีนโยบายในการพัฒนาคลังขอมูล และการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล

ดานการศึกษา เพื่อสรางความเขมแข็งของคลังขอมูลดานการศึกษาในทุกระดับ 3. จัดใหมีหนวยงานตนแบบที่มีการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาระดับกลุมจังหวัด และระดับ

จังหวัด 4. กําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลดานการศึกษา 5. กําหนดข้ันตอนวิธีการในกระบวนการตรวจทานขอมูลและจัดสงขอมูล 6. ประสานความรวมมือทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการในการแกปญหาอุปสรรครวมกัน 7. สรางกลไกความรวมมือกับหนวยงานที่มีผลตอการประเมินคุณภาพการศึกษา

ยุทธศาสตรท่ี 2. การบูรณาการขอมูลดานการศึกษา

ความหมาย : การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา จําเปนตองมีการบูรณาการฐานขอมูลระหวางหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ เพื่อแบงเบาภาระหนาที่ความรับผิดชอบในการจัดเก็บและตรวจสอบขอมูล ซึ่งอาจมีความซ้ําซอนระหวางหนวยงาน เน่ืองจากขอมูลดานการศึกษาจะมีความเคลื่อนไหวตลอดเวลา นอกจากน้ีขอมูลของบางหนวยงานยังสามารถที่จะนําไปใชเปนขอมูลพื้นฐานของหนวยงานอื่นไดอีกดวย เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร

มีการบูรณาการขอมูลดานการศึกษาระหวางหนวยงานเพื่อใชประโยชนขอมูลรวมกัน

Page 34: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 31 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ตัวชี้วัด

1. จํานวนระบบฐานขอมูลที่มีการบูรณาการแลกเปลี่ยนขอมูลรวมกัน 2. จํานวนหนวยงานที่มีการบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงาน 3. จํานวนระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

มาตรการ

1. จัดทํามาตรฐานขอมูลกลาง (Core Data Set) ดานการศึกษา ใหครอบคลุมทุกภาคสวน 2. วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบบริหารจัดการคลังขอมูล 3. วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารจัดการ และการใหบริการแกผูใชใน

ระดับตางๆ 4. วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนขอมูลแบบเว็บเซอรวิส 5. วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบริหารจัดการมาตรฐานขอมูลกลางดานการศึกษา และรหัส

ขอมูลกลาง 6. สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาของทุกภาคสวน

ยุทธศาสตรท่ี 3. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยในคลังขอมูลดานการศึกษา

ความหมาย : การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา จําเปนตองมีการรักษาความปลอดภัยของขอมูลตามหลักวิชาการและกฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหสามารถนําขอมูลมาใชประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเปนการสรางความเช่ือมั่นตอผูใชงานทุกระดับ ทั้งในประเด็นของการรักษาความลับขอมูล การใชขอมูลไดอยางถูกตองสมบูรณ และการใชขอมูลไดอยางตอเน่ือง

เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร

มีการรักษาความปลอดภัย และสรางความเช่ือมั่นในการใชคลังขอมูลดานการศึกษาใหแกผูบริหารและผูใชบริการทุกระดับ

ตัวชี้วัด

ระดับความเช่ือมั่นในการใชคลังขอมูลดานการศึกษา

มาตรการ

1. จัดทํานโยบายและแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยตามที่กฎหมายกําหนด 2. จัดทําแผนรองรับภาวะฉุกเฉินเพื่อลดความเสี่ยงในการบริหารระบบคลังขอมูล

Page 35: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 32 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

3. จัดใหมีการดําเนินการตามแผนรักษาความมั่นคงปลอดภัยอยางตอเน่ือง และบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการกระทําความผิดทางอิเล็กทรอนิกส

4. จัดอบรมเผยแพรและประชาสัมพันธใหมีความตระหนักในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยอยางเครงครัด

5. จัดใหมีการสํารวจระดับความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา ยุทธศาสตรท่ี 4. การใหบริการและการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา

ความหมาย : การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาตามยุทธศาสตรขางตน จะนําไปสูการใหบริการผูเกี่ยวของทุกฝาย ซึ่งควรมีการกําหนดมาตรการที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดการใชประโยชนอยางคุมคา กระตุนใหทุกฝายเห็นความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาคลังขอมูล ซึ่งจะเปนพลังขับเคลื่อนที่สงผลดีในการพัฒนาคลังขอมูลตอไป เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร

การเขาถึงและใชบริการคลังขอมูลดานการศึกษาที่สะดวกและปลอดภัย

ตัวชี้วัด

1. จํานวนผูใชคลังขอมูลดานการศึกษา 2. ระดับความพึงพอใจในการใชคลังขอมูลดานการศึกษา 3. จํานวนงานบริการที่มีระบบสารสนเทศรองรับเพื่อการใหบริการ

มาตรการ

1. สงเสริมสนับสนุนการใหบริการขอมูลตามสิทธ์ิที่ควรไดรับของแตละฝาย 2. ผลักดัน/ขับเคลื่อนการนําคลังขอมูลไปประยุกตใชตอยอดในระบบธุรกิจอัจฉริยะ (Business

Intelligence : BI) และการทําเหมืองขอมูล (Data Mining) 3. สรางกลไก/แรงจูงใจใหใชคลังขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจหรือการปฏิบัติงาน

แนวทางการใหบริการขอมูลดานการศึกษา

เน่ืองจากพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 ไดเปดโอกาสใหบุคคลและนิติบุคคล ไมวาจะมีสวนไดเสียเกี่ยวของหรือไมก็ตาม ยอมมีสิทธิเขาตรวจดู ขอสําเนา หรือขอสําเนาที่มีคํารับรองถูกตองของขอมูลขาวสารของราชการตามมาตรา 9 ได จึงสงผลตอการเปดเผยขอมูลของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) และหนวยงานตางๆที่รวมบูรณาการขอมูลดานการศึกษาดวย ซึ่งในที่น้ีจะขอนําเสนอแนวทางการใหบริการขอมูลดานการศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส ดังน้ี

Page 36: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 33 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

1. ขอมูลสถิติของนักเรียน ครู บุคลากร และสถานศึกษา สามารถใหบริการขอมูลไดตามที่มีผูรองขอ ภายใตความสามารถของระบบสารสนเทศ ซึ่งไดจัดสรรตามทีก่ําหนดไวของหนวยงานที่ใหบริการ

2. ขอมูลรายละเอียดของสถานศึกษา สามารถใหบริการแกผูรองขอไดในวงจํากัดตามที่สถานศึกษาอนุญาต

ซึ่งอาจมีรายละเอียดที่แตกตางกันไปในแตละสถานศึกษา โดยอยางนอยกําหนดใหเปดเผยขอมูลดังน้ี ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ

1 รหัสสถานศึกษา ตัวเลข 10 รหัสของสถานศึกษา

2 ช่ือสถานศึกษาภาษาไทย ตัวอักษร 120 ช่ือภาษาไทย

3 ช่ือสถานศึกษาภาษาอังกฤษ ตัวอักษร 120 ช่ือภาษาอังกฤษ

4 เลขที่บาน ตัวอักษร 10 เลขที่บาน (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 5 หมูที ่ ตัวเลข 2 หมูที่ (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 6 ตรอก ตัวอักษร 80 ช่ือตรอก (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 7 ซอย ตัวอักษร 80 ช่ือซอย (ตามสําเนาทะเบียนบาน)

8 ถนน ตัวอักษร 80 ช่ือถนน (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 9 ตําบล ตัวอักษร 80 ช่ือตําบล (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 10 อําเภอ ตัวอักษร 80 ช่ืออําเภอ (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 11 จังหวัด ตัวอักษร 80 ช่ือจังหวัด (ตามสําเนาทะเบียนบาน) 12 รหัสไปรษณีย ตัวเลข 5 รหัสไปรษณีย

13 หมายเลขโทรศัพท ตัวอักษร 30 หมายเลขโทรศัพทที่ติดตอได 14 หมายเลขโทรสาร ตัวอักษร 30 หมายเลขโทรสารที่ติดตอได 15 รหัสไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ตัวอักษร 80 e-mail ที่ติดตอได 16 ที่อยูเว็บไซต ตัวอักษร 80 ช่ือเว็บไซตของสถานศึกษา 17 วันเดือนปที่กอต้ัง วว/ดด/ปปปป 10 วันเดือนปพ.ศ.ที่ไดรับอนุมัติใหกอต้ังสถานศึกษา 18 ช่ือกรม ตัวอักษร 80 ช่ือกรม/องคกรหลัก/หนวยงานตนสังกัด 19 ประเภทสถานศึกษา ตัวอักษร 80 ช่ือประเภทสถานศึกษา 20 การเปนวิทยาเขต ตัวอักษร 80 ขอความแสดงการเปนวิทยาเขต 21 ช่ือ-สกุลผูบริหาร ตัวอักษร 100 คํานําหนาพรอมช่ือ-นามสกุลผูบริหารระดับสูง 22 ระดับการจัดการศึกษา ตัวอักษร 30 การจัดการศึกษาระดับตํ่าสุดถึงระดับสูงสุด

23 จํานวนนักเรียน ตัวเลข 4 จํานวนนักเรียนทั้งหมดที่เขาเรียนได

3. ขอมูลรายบุคคลของนักเรียน สามารถใหบริการแกผูรองขอไดในวงจํากัด ดังน้ี 3.1 นักเรียนผูเปนเจาของขอมูล หรือผูปกครองของนักเรียนผูเปนเจาของขอมูล มีสิทธ์ิที่จะรองขอ

รายละเอียดขอมูลทุกอยางไดตามตองการ

Page 37: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 34 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

3.2 หนวยงานภาครัฐหรือเอกชน สามารถที่จะขอรายละเอียดขอมูลไดดังน้ี ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ

1 คํานําหนาช่ือ ตัวอักษร 10 คํานําหนาช่ือ

2 ช่ือ ตัวอักษร 40 ช่ือ 3 ช่ือกลาง ตัวอักษร 50 ช่ือกลาง หรือฉายาของพระสงฆ 4 นามสกุล ตัวอักษร 50 นามสกุล 5 เพศ ตัวอักษร 5 เพศ 6 สัญชาติ ตัวอักษร 20 สัญชาติ

7 จังหวัด ตัวอักษร 80 ช่ือจังหวัด (ตามสําเนาทะเบียนบาน)

8 คํานําหนาช่ือผูปกครอง ตัวอักษร 10 คํานําหนาช่ือ 9 ช่ือผูปกครอง ตัวอักษร 40 ช่ือ 10 นามสกุลผูปกครอง ตัวอักษร 50 นามสกุล 11 ช่ือสถานศึกษาภาษาไทย ตัวอักษร 120 ช่ือสถานศึกษาปจจุบันของนักเรียน

12 ช่ือสถานศึกษาภาษาอังกฤษ ตัวอักษร 120 ช่ือสถานศึกษาปจจุบันของนักเรียน

13 ช่ือกรม ตัวอักษร 80 ช่ือกรม/องคกรหลัก/หนวยงานตนสังกัด

14 ระดับการศึกษา ตัวอักษร 20 ระดับการศึกษาปจจุบัน

4. ขอมูลรายบุคคลของครหูรือบุคลากร สามารถใหบริการแกผูรองขอไดในวงจํากัด ดังน้ี

4.1 ครูหรือบุคลากรผูเปนเจาของขอมูล มีสิทธ์ิที่จะรองขอรายละเอียดขอมูลทุกอยางไดตามตองการ 4.2 หนวยงานภาครัฐหรือเอกชน สามารถที่จะขอรายละเอียดขอมูลไดดังน้ี

ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ

1 คํานําหนาช่ือ ตัวอักษร 10 คํานําหนาช่ือ

2 ช่ือ ตัวอักษร 40 ช่ือ 3 ช่ือกลาง ตัวอักษร 50 ช่ือกลาง หรือฉายาของพระสงฆ 4 นามสกุล ตัวอักษร 50 นามสกุล 5 เพศ ตัวอักษร 5 เพศ 6 สัญชาติ ตัวอักษร 20 สัญชาติ

7 จังหวัด ตัวอักษร 80 ช่ือจังหวัด (ตามสําเนาทะเบียนบาน)

8 ช่ือสถานศึกษาภาษาไทย ตัวอักษร 120 ช่ือสถานศึกษาปจจุบันของครูหรือบุคลากร

9 ช่ือสถานศึกษาภาษาอังกฤษ ตัวอักษร 120 ช่ือสถานศึกษาปจจุบันของครูหรือบุคลากร

10 ช่ือกรม ตัวอักษร 80 ช่ือกรม/องคกรหลัก/หนวยงานตนสังกัด

11 ตําแหนง ตัวอักษร 80 ตําแหนงปจจุบันในสถานศึกษา

Page 38: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 35 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

5. ขอมูลผูสําเร็จการศึกษา สามารถใหบริการแกผูรองขอไดในวงจํากัด ดังน้ี 5.1 การรองขอขอมูลจากบัตรประชาชนแบบสมารทการด (เฉพาะที่จัดเก็บขอมูลผูสําเร็จการศึกษาแลว)

ผานเครื่องอานบัตรสมารทการด โดยใหเปนดุลยพินิจในการอนุญาตของประชาชนเจาของบัตร 5.2 การรองขอขอมูลจากศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษา (NEIS) หรือสถานศึกษาที่มีความพรอมใหบริการ

ขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส สามารถที่จะขอรายละเอียดขอมูลไดดังน้ี ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ

1 คํานําหนาช่ือ ตัวอักษร 10 คํานําหนาช่ือ

2 ช่ือ ตัวอักษร 40 ช่ือ 3 ช่ือกลาง ตัวอักษร 50 ช่ือกลาง หรือฉายาของพระสงฆ 4 นามสกุล ตัวอักษร 50 นามสกุล 5 เพศ ตัวอักษร 5 เพศ 6 ระดับการศึกษา ตัวอักษร 20 ระดับการศึกษาสูงสุดที่สําเร็จการศึกษา 7 ช่ือสถานศึกษา ตัวอักษร 80 ช่ือสถานศึกษาที่สําเร็จการศึกษา

8 ช่ือหลักสูตร ตัวอักษร 80 หลักสูตรที่สําเร็จการศึกษา 9 ประเภทวิชา ตัวอักษร 80 ประเภทวิชาเอก 10 สาขาวิชา ตัวอักษร 80 สาขาวิชาเอก 11 วันที่สําเร็จการศึกษา วว/ดด/ปปปป 10 วันเดือนปพ.ศ. ที่สําเร็จการศึกษา

6. การจัดเก็บขอมูลผูขอรับบริการหรือรองขอขอมูล เพื่อเปนการปกปองสิทธ์ิของเจาของขอมูลในการรับรู

ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับผูขอรับบริการหรือผูรองขอขอมูล การรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร ตลอดจนถึงการปรับปรุงการใหบริการขอมูล สมควรใหดําเนินการลงทะเบียนผานระบบอิเล็กทรอนิกสและจัดสงเอกสารอยางเปนทางการ (เพื่อยืนยันขอมูลการลงทะเบียน) กอนที่จะมีการขอรับบริการหรือรองขอขอมูลตอไป โดยมีการจัดเก็บขอมูลผูลงทะเบียนและการขอรับบริการ นอกเหนือจากการจัดเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร (Log file) ดังน้ี 6.1 ขอมูลการลงทะเบียนทางอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย

ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ

1 ช่ือหนวยงานภาษาไทย ตัวอักษร 80 ช่ือหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน (กรณีบุคคลทั่วไปใหเวนวาง)

2 ช่ือหนวยงานภาษาอังกฤษ ตัวอักษร 80 ช่ือหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน (กรณีบุคคลทั่วไปใหเวนวาง)

3 รหัสประจําตัวประชาชน ตัวอักษร 13 รหัสประจําตัวประชาชน หรือเลขที่หนังสือเดินทาง (Passport No.)

4 คํานําหนาช่ือ ตัวอักษร 10 คํานําหนาช่ือ

Page 39: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 36 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ 5 ช่ือ ตัวอักษร 40 ช่ือ 6 นามสกุล ตัวอักษร 50 นามสกุล 7 เพศ ตัวอักษร 5 เพศ 8 วัตถุประสงค ตัวอักษร 1024 วัตถุประสงคในการขอใชบริการขอมูลดานการศึกษา

6.2 เอกสารที่ตองจัดสงอยางเปนทางการ เพื่อยืนยันการลงทะเบียนตามขอ 6.1 ประกอบดวย

เอกสารหรือแบบฟอรมคํารองขอลงทะเบียนเพื่อรับบริการขอมูลดานการศึกษา

สําเนาหนังสือรับรองการจัดต้ังหนวยงาน (กรณีเปนหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน)

สําเนาหนังสือมอบอํานาจบุคคลใหเปนผูดําเนินการแทนหนวยงาน (กรณีเปนหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน)

สําเนาบัตรประชาชนหรือหนังสือเดินทางของผูลงทะเบียน หมายเหตุ : เมื่อหนวยงานผูใหบริการขอมูลพิจารณาผานความเห็นชอบการลงทะเบียนแลว จะตองสงมอบช่ือผูใชและรหัสผาน (User name & Password) ใหแกผูลงทะเบียน เพื่อการใชบริการผานระบบอิเล็กทรอนิกสไดอยางสะดวกตอไป ซึ่งตามหลักการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผูใชจะตองเปลี่ยนรหัสผาน (Password) ทันทีที่เริ่มใชงานในครั้งแรก 6.3 การจัดเก็บขอมูลการใชบริการในแตละครั้งผานระบบอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย

ลําดับ รายการขอมูล ประเภท ขนาด หมายเหตุ

1 ช่ือผูใช ตัวอักษร 40 User Name

2 วันที่ใชบริการ วว/ดด/ปปปป 10 วันที่ที่ใชบริการผานระบบอิเล็กทรอนิกส 3 เวลาเริ่มตนในการใชบริการ ชม./นาที 5 เวลาเริ่มตนในการใชบริการ 4 เวลาสิ้นสุดในการใชบริการ ชม./นาที 5 เวลาสิ้นสุดในการใชบริการ

ชุดขอมูลที่ขอใชบริการ (มากกวา 1 รายการ) 5 ประเภทขอมูลที่ขอใช ตัวอักษร 20 ขอมูลสถิติ หรือรายบุคคล หรือผูสําเร็จการศึกษา 6 ช่ือเจาของขอมูล ตัวอักษร 80 ช่ือสถานศึกษาหรือช่ือบุคคลผูเปนเจาของขอมูล

Page 40: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

บทท่ี 3 การบริหารจัดการคลังขอมูลดานการศึกษา

การนําไปสูการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2559 ใหสามารถดําเนินการสําเร็จภายใตความจํากัดดานทรัพยากรเวลา บุคลากร และงบประมาณ ซึ่งสงผลกระทบตอการใชประโยชนจากคลังขอมูลของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภานอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สมควรจะดําเนินการโดยมีองคประกอบสําคัญ ดังรายละเอียดที่จะกลาวในหัวขอตอไป คือ

1. โครงสรางการบริหารจัดการใน 3 ระดับ ประกอบดวย

ระดับประเทศ

ระดับกลุมจังหวัด

ระดับจังหวัด 2. บทบาทหนาที่ของหนวยงานที่จัดการศึกษา 3. แนวทางการบริหาร 4. ปจจัยเกื้อหนุนตอความสําเร็จ

โครงสรางการบริหาร

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561 จะเปนกรอบการดําเนินแผนงานโครงการตางๆ โดยมีโครงสรางการบริหาร กํากับติดตาม และการประเมินผล ซึ่งประกอบดวยคณะกรรมการที่จัดต้ังข้ึนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 ดังน้ี

1. โครงสรางการบริหารระดับประเทศ ประกอบดวย

1.1 คณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา (หมวด 2) ประกอบดวย

1. รัฐมนตรีหรือผูที่รัฐมนตรีมอบหมาย ประธานกรรมการ 2. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ 3. เลขาธิการสภาการศึกษา กรรมการ 4. เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กรรมการ 5. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กรรมการ 6. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการ 7. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ 8. ปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กรรมการ 9. ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ 10. ปลัดกระทรวงกลาโหม กรรมการ 11. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กรรมการ 12. อธิบดีกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กรรมการ 13. อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการ 14. ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ กรรมการ

Page 41: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 38 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

15. ผูอํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ กรรมการ 16. ปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการ 17. กรรมการผูทรงคุณวุฒิ 4 ทาน กรรมการ 18. ผูอํานวยการสํานักงานเลขานุการกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กรรมการ 19. รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่รับผิดชอบดานเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการและเลขานุการ 20. ผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรรมการและผูชวยเลขานุการ

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ

1. กําหนดนโยบายการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา 2. เสนอแนะและใหคําปรึกษาแกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา 3. มอบหมายใหสวนราชการ หนวยงาน คณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับ

กลุมจังหวัด และระดับจังหวัด ปฏิบัติหนาที่แทนคณะกรรมการในดานการพัฒนาและการดําเนินการระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา

4. แตงต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือมอบหมายใหกรรมการคนใดคนหน่ึงดําเนินการใดๆ อันอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการไดตามความเหมาะสม

5. พิจารณาและใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติการดานขอมูลสารสนเทศประจําป แผนพัฒนาระบบ ขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา ประกาศแบบรายการขอมูล ฐานขอมูลกลาง และรหัสมาตรฐานกลาง

6. ออกประกาศ คําสั่ง หลักเกณฑ และแนวปฏิบัติเพื่อดําเนินการใดๆ ใหเปนไปตามระเบียบฯ 7. รายงานผลการดําเนินงานพัฒนาขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาประจําปใหกระทรวงศึกษาธิการ

ทราบอยางนอยปละ 1 ครั้ง 8. พิจารณาและใหความเห็นชอบในการจัดต้ังศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) และ

สํานักทะเบียนกลาง 9. นําเสนอรายงานสารสนเทศดานการศึกษาของศูนยปฏิบัติการระดับกระทรวง (MOC) ตอรัฐบาล

และกระทรวงศึกษาธิการ อยางนอยเปนรายไตรมาส

1.2 คณะกรรมการติดตามประเมินผลการพัฒนาขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการแตงต้ัง ตามขอเสนอของคณะกรรมการ (หมวด 7) ซึ่งในที่น้ีจะประกอบดวย

1. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการ 2. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง กรรมการ

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 3. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง กรรมการ

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 4. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง กรรมการ

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

Page 42: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 39 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

5. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

6. ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

7. ผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรรมการและเลขานุการ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ

1. ใหคําแนะนําการดําเนินงานของสถานศึกษา หนวยงาน สวนราชการ ใหปฏิบัติไปตามระเบียบน้ี 2. กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาของสถานศึกษา

หนวยงาน สวนราชการที่เกี่ยวของ 3. เสนอแนะใหคําปรึกษาแกคณะกรรมการเกี่ยวกับสารสนเทศดานการศึกษา 4. รายงานผลการประเมินและผลการดําเนินงานใหแกคณะกรรมการ เพื่อทราบและดําเนินการ

ตอไป 5. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 6. เสนอแนะใหคําปรึกษาแกคณะกรรมการ ในการจัดต้ังศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ

(NEIS) และสํานักทะเบียนกลาง 7. นําเสนอรายงานสารสนเทศดานการศึกษาของศูนยปฏิบัติการระดับกรม (DOC) และของศูนย

ปฏิบัติการระดับกระทรวง (MOC) ตอคณะกรรมการอยางนอยเปนรายไตรมาส

2. โครงสรางการบริหารระดับกลุมจังหวัด ประกอบดวย คณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับกลุมจังหวัด (หมวด 3) ประกอบดวย

1. ผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัดในกลุมจังหวัด ที่ปรึกษา 2. ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการ 3. กรรมการผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 4 ทาน กรรมการ 4. ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต 1 กรรมการ

ทุกจังหวัด 5. ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรรมการ

ในพื้นที่กลุมจังหวัด 6. ผูอํานวยการสํานักงานศึกษาธิการภาค กรรมการและเลขานุการ

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ

1. อํานวยการและประสานราชการ เพื่อกําหนดแนวทางการบริหารขอมูลสารสนเทศระดับจังหวัด และระดับกลุมจังหวัด ใหเปนไปในแนวทางเดียวกัน

2. ใหขอเสนอแนะหรือใหคําแนะนําในการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาแกคณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับจังหวัด

Page 43: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 40 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

3. กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับจังหวัด 4. บริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับจังหวัดและระดับกลุมจังหวัด เพื่อการวางแผน

สนับสนุนการตรวจราชการและการจัดการศึกษา 5. ออกประกาศ คําสั่ง หลักเกณฑ และแนวปฏิบัติเพื่อดําเนินการใดๆ ใหเปนไปตามระเบียบน้ี 6. สงเสริม ประสานความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองคกรปกครอง

สวนทองถ่ิน ในการบูรณาการขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพื่อการพัฒนาการศึกษาระดับกลุมจังหวัด

7. แตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพื่อดําเนินการใดๆ อันอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับกลุมจังหวัด

8. จัดประชุมและรายงานผลการดําเนินงานดานการพัฒนาขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาประจําป ใหคณะกรรมการทราบอยางนอยปละ 1 ครั้ง

9. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 10. นําเสนอรายงานสารสนเทศดานการศึกษาของศูนยปฏิบัติการระดับกรม (DOC) ตอคณะ

กรรมการอยางนอยเปนรายไตรมาส

3. โครงสรางการบริหารระดับจังหวัด ประกอบดวย คณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับจังหวัด (หมวด 4) ประกอบดวย

1. ผูวาราชการจังหวัด หรือผูที่ผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย ประธานกรรมการ 2. ผูอํานวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขต กรรมการ 3. ผูอํานวยการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ กรรมการ 4. ผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

กรรมการ 5. ประธานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัด กรรมการ 6. นายกสมาคม หรือประธานชมรมโรงเรียนเอกชนประจําจังหวัด หรือผูอํานวยการสํานักงาน

การศึกษาเอกชนจังหวัด กรรมการ 7. ผูอํานวยการสํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด กรรมการ 8. กรรมการจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรือเอกชน กรรมการ 9. กรรมการผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน กรรมการ 10. ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต 1 กรรมการและเลขานุการ

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ

1. เสนอแนะและใหคําปรึกษาแกผูวาราชการจังหวัดเกี่ยวกับการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา

2. ออกประกาศ คําสั่ง หลักเกณฑ และแนวปฏิบัติเพื่อดําเนินการใดๆ ใหเปนไปตามระเบียบน้ี 3. แตงต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือมอบหมายกรรมการคนใดคนหน่ึง เพื่อดําเนินการใดๆ

อันอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระดับจังหวัด

Page 44: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 41 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

4. กํากับ เรงรัด ติดตาม และประเมินผลตามนโยบายดานการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการ ศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการระดับจังหวัด

5. จัดประชุมและรายงานผลการดําเนินงานดานการพัฒนาขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาประจําป ใหคณะกรรมการทราบอยางนอยปละ 1 ครั้ง

6. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย 7. นําเสนอรายงานสารสนเทศดานการศึกษาของศูนยปฏิบัติการระดับกรม (DOC) ตอคณะ

กรรมการอยางนอยเปนรายไตรมาส บทบาทหนาท่ีของหนวยงานท่ีจัดการศึกษา ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 ไดกําหนดใหหนวยงานที่จัดการศึกษามีบทบาทหนาที่เกี่ยวกับการพัฒนาขอมูลดานการศึกษา เพื่อสอดรับการบริหาร กํากับติดตาม และประเมินผลของคณะกรรมการชุดตางๆ ตามโครงสรางการบริหารที่กลาวขางตน ดังน้ี

หมวด 1 บททั่วไป

ขอ 6. ใหเปนหนาที่ของหัวหนาสถานศึกษา หนวยงาน สวนราชการ ที่จะตองทําการสํารวจตรวจสอบ ใหผูจัดเก็บขอมูลหรือผูที่ไดรับมอบหมายปฏิบัติงานใหแลวเสร็จตามเวลาที่กําหนดดานการศึกษาใหถูกตอง รวดเร็วทันสมัย และพัฒนาเจาหนาที่ ผูจัดเก็บขอมูล ใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ขอ 7. ใหสวนราชการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป แผนพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา และแผนปฏิบัติการดานขอมูลสารสนเทศประจําปของสวนราชการ ใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการประจําปแผนพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา และแผนปฏิบัติการดานขอมูลสารสนเทศประจําป ตามที่คณะกรรมการกําหนด

ขอ 8 เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชนเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานและขอมูลเฉพาะกิจ ใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถจัดใหมีระบบเครือขายสารสนเทศของหนวยงานใหสวนราชการ หนวยงาน และประชาชน สามารถไดรับรู ตรวจ หรือยอมรับบริการดูขอมูลขาวสารไดภายใตบังคับกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ

หมวด 5 การจัดเก็บและการจัดสงขอมูลพื้นฐานและขอมูลเฉพาะกิจ ขอ 24 ใหสถานศึกษา หนวยงาน หรือสวนราชการแลวแตกรณี จัดเก็บ รวบรวม ตรวจสอบ ประเมินผล และ

จัดสงขอมูลพื้นฐานประจําปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ในกรณีที่มีความจําเปนเรงดวน และเพื่อประโยชนตอทางราชการ สถานศึกษา หนวยงาน หรือสวนราชการ

อาจจัดเก็บ รวบรวม ตรวจสอบ ประมวลผล และจัดสงขอมูลพื้นฐาน นอกเหนือจากหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนดได

ขอ 25 ใหศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ซึ่งตอไปในแผนยุทธศาสตรฉบับน้ีจะกําหนดใหเปนศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ : NEIS) จัดเก็บ รวบรวม และประมวลผลขอมูลพื้นฐานที่ไดรับจากสถานศึกษา หนวยงาน หรือสวนราชการเสนอตอคณะกรรมการเพื่อดําเนินการตอไป

ขอ 26 ใหหนวยงานและสวนราชการ มีอํานาจประกาศกําหนด การจัดเก็บขอมูลและจัดสงขอมูลเฉพาะกิจไดตามความเหมาะสม พรอมจัดสงประกาศแจงใหศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเผยแพรประชาสัมพันธตอไป

Page 45: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 42 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ใหสถานศึกษา หนวยงาน สวนราชการ สนับสนุนการจัดเก็บขอมูลเฉพาะกิจตามแบบรายการภายในระยะเวลาที่หนวยงานหรือสวนราชการประกาศกําหนด

ในกรณีที่หนวยงานหรือสวนราชการใดจัดเก็บขอมูลเฉพาะกิจเสร็จสิ้นแลว ใหจัดสงขอมูลเฉพาะกิจไปยังศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อใชเปนขอมูลในการดําเนินงานตอไป

ขอ 27 ขอมูลเฉพาะกิจของสถานศึกษา หนวยงาน และสวนราชการที่ไดจัดเก็บ รวบรวม หรือประมวลผล หากมีหนวยงานหรือสวนราชการใดตองการขอมูลเฉพาะกิจดังกลาว ใหมีการจดัสงโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑที่หัวหนาหนวยงานหรือหัวหนาสวนราชการที่จัดเก็บเปนผูกําหนด

ภาพรวมกลไกการบริหาร

การบริหารแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ตามโครงสรางการบริหารทุกระดับ หนวยงานที่จัดการศึกษา ตลอดจนสถานศึกษา อาจนําเสนอภาพรวมการกําหนดนโยบาย ออกประกาศคําสั่ง และการจัดเก็บขอมูลดานการศึกษา เพื่อนํามาใชประโยชนรวมกันไดดังรูปที่ 3.1

รูปที่ 3.1 ภาพรวมกลไกการบริหารแผนยุทธศาสตรฯ

แนวทางการบริหาร

การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว อาจพิจารณาดําเนินการตามแนวทางการบริหารจัดการในภาพรวม ดังน้ี

1. การกําหนดนโยบาย หมายถึง กําหนดนโยบายที่มีผลตอการขับเคลื่อนและผลักดันการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาฉบับน้ี ซึ่งประกอบดวย

Page 46: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 43 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

กําหนดใหมีการบูรณาการขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ ตามกรอบแนวทาง TH e-GIF (Thailand Electronic Government Interoperability Framework)

กําหนดใหมีการใชประโยชนขอมูลจากหนวยงานตนสังกัด (หรือหนวยงานที่ตกลงกัน) เพื่อความเปนเอกภาพในการนําเสนอรายงาน และลดความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลจากแหลงกําเนิดขอมูล

พัฒนาเครือขายความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน

จัดใหมีการนํามาตรฐานมาใชในการพัฒนาซอฟตแวรเพื่อการบริหารจัดการดานการศึกษา รองรับความพรอมในการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน (AC)

กําหนดใหการพัฒนาและประยุกตใชโปรแกรมประเภทเปดเผยรหัส (Open Source) เปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาของประเทศ

2. การติดตามประเมินผลการดําเนินงาน

หมายถึง การติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาฉบับน้ี โดยผานคณะกรรมการที่จัดต้ังข้ึนตามโครงสรางการบริหาร เพื่อทําหนาที่ประเมินผลอยางนอยปงบประมาณละ 2 ครั้ง ดังน้ี

วัดผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดที่กําหนดไวในแตละยุทธศาสตร

นําเสนอแนวทางการปรับปรุงวิธีดําเนินงานตามความจําเปน เพื่อบรรลุตามเปาหมายที่กําหนด

3. การแตงต้ังคณะอนุกรรมการและคณะทํางาน หมายถึง คณะกรรมการตามโครงสรางการบริหารใชอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ ในการแตงต้ังคณะอนุกรรมการและคณะทํางาน เพื่อตอบสนองการดําเนินงานในแตละประเด็น ดังน้ี

4.1 คณะทํางานพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา เพื่อทําหนาที่ดังน้ี

ขับเคลื่อน/ผลักดันกระบวนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

แกไขปญหาอุปสรรคที่อาจเกิดข้ึนระหวางการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

นําเสนอความเห็นและรับฟงขอแนะนําจากคณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศ 4.2 คณะอนุกรรมการจัดต้ังศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) เพื่อทําหนาที่ดังน้ี

ขับเคลื่อน/ผลักดันการจัดต้ังศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS)

นําเสนอความเห็นและรับฟงขอแนะนําจากคณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศ 4.3 คณะอนุกรรมการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง เพื่อทําหนาที่ดังน้ี

ขับเคลื่อน/ผลักดันการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง

นําเสนอความเห็นและรับฟงขอแนะนําจากคณะกรรมการบริหารขอมูลสารสนเทศ 4.4 คณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ

ชุดตางๆ

4. การสรางความรับรูเก่ียวกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา หมายถึง จัดใหมีการเผยแพรและสรางความรับรูเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาฉบับน้ี เพื่อใหทุกฝายไดเขาใจถึงความสําคัญของวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร มาตรการและแผนงานโครงการตางๆที่กําหนดไว ในการที่จะมองเห็นทิศทางการพัฒนาดวยเปาหมายและความเขาใจที่

Page 47: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 44 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ถูกตองตรงกัน ตระหนักถึงประโยชนที่จะไดรับรวมกัน ซึ่งจะมีผลตอการพัฒนา การบริหารจัดการ การปฏิบัติงาน และการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของคลังขอมูล

5. การสงเสริมสนับสนุนศักยภาพการดําเนินงาน หมายถึง การสงเสริมสนับสนุนทุกฝายที่เกี่ยวของในกระบวนการพัฒนาคลังขอมูล ใหมีศักยภาพการดําเนินงานอยางนอยดังน้ี

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

การบูรณาการขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา โดยไมลวงละเมิดขอมูลหรือการบริหารจัดการภายในของแตละฝาย

สมรรถนะการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

ปจจัยเก้ือหนุนตอความสําเร็จ การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาจําเปนตองอาศัยกระบวนการการมีสวนรวมของทุกฝาย ตลอดจนชวยกัน

เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแกไขปญหาอุปสรรคนานัปการที่อาจเกิดข้ึนได หากทุกฝายรวมกันตระหนักถึงปจจัยแหงความสําเร็จ ดังน้ี

1. การจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง เพื่อเปนศูนยกลางการจัดทําทะเบียนขอมูลผูเรียนทุกระดับและทุกประเภทการศึกษา ซึ่งจะเอื้อตอการติดตามความเคลื่อนไหวของขอมูลผูเรียนในแตละสังกัดไดอยางมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการทะเบียนขอมูลอยางนอย 2 กลุม ดังน้ี

กลุมที่ 1. ทะเบียนขอมูลนักเรียนรายบุคคล โดยเสริมการใชเลขประจําตัวประชาชน คือ

ผูที่มีเลขประจําตัวประชาชนของสํานักการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ใหใชเลขประจําตัวประชาชนน้ัน เปนรหัสนักเรียนในการจัดเก็บและสืบคนขอมูลจากคลังขอมูล

ผูที่ไมมีเลขประจําตัวประชาชน เชน นักเรียนตางดาว นักเรียนแลกเปลี่ยน เปนตน ใหสํานักทะเบียนกลางดําเนินการจัดทํารหัสประจําตัวนักเรียน ซึ่งหนวยงานที่จัดการศึกษาทุกสังกัดสามารถนําไปใชเปนรหัสหลักในการจัดเก็บและสืบคนขอมูลจากคลังขอมูลได

กลุมที่ 2. ทะเบียนขอมูลสถานศึกษา โดยจัดทําข้ึนเพื่อใหหนวยงานที่จัดการศึกษาทุกสังกัด สามารถนําไปใชเปนรหัสหลักในการจัดเก็บและสืบคนขอมูลจากคลังขอมูลรวมกันได

ความจําเปนในการจัดทําทะเบียน เพื่อบริหารจัดการและการติดตามขอมูลขางตน ประกอบดวย กลุมที่ 1. การจัดทําทะเบียนขอมูลนักเรียนรายบุคคล มีวัตถุประสงคในการใชงานเบื้องตน ดังน้ี

เพื่อติดตามขอมูลเด็กต้ังแตแรกเกิดไปตลอดชีวิต เพราะปจจุบันกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานอื่น ไดเปดโอกาสหรือเอื้อใหประชาชนสามารถที่จะเรียนรูไดอยางตอเน่ืองตลอด

Page 48: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 45 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ชีวิต รวมทั้งการไปเรียนในตางประเทศ และอาจกลับมาเรียนตอในประเทศไทย ซึ่งในทางปฏิบัติมักไมไดเรียนในสถานศึกษาที่มีตนสังกัดเดิม จึงอาจทําใหขอมูลสูญหายหรือกลายเปนเด็กตกหลน ไมไดรับการศึกษาตามที่กฎหมายกําหนด

เพื่อติดตามขอมูลเด็กไรสัญชาติที่เขามาเรียนในประเทศไทย เพราะไมมีหนวยงานใดสามารถที่จะใหเลขประจําตัว (ID-No) ได ในทางเทคนิคของการบริหารขอมูลสารสนเทศ จึงกลายเปนขอมูลที่แฝงอยูในเอกสาร แตไมสามารถนําเขาสูคลังขอมูลดานการศึกษาได

เพื่อติดตามขอมูลเด็กตางดาวที่เขามาศึกษาในประเทศ และรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน (AC) เพราะถึงแมจะมีการใชเลขที่หนังสือเดินทาง (Passport) แตในทางปฏิบัติเลขที่หนังสือเดินทางดังกลาว ก็อาจจะเปลี่ยนแปลงไดในกรณีที่มีการเดินทางเขา-ออกประเทศไทยหลายครั้ง

กลุมที่ 2. การจัดทําทะเบียนสถานศึกษา มีวัตถุประสงคในการใชงานเบื้องตน ดังน้ี

เพื่อติดตามขอมูลของสถานศึกษาต้ังแตเริ่มกอต้ังจนเลิกกิจการ โดยเฉพาะกรณีที่มีการยุบรวมหรือโอนยายสถานศึกษาไปสังกัดหนวยงานอื่น เชน องคการปกครองสวนทองถ่ิน

เพื่อติดตามความกาวหนาในภาพรวมการดําเนินงานของสถานศึกษา เชน การจัดการศึกษาเพิ่มจากระดับประถมศึกษาเปนมัธยมศึกษา การยกระดับวิทยฐานะจากวิทยาลัยเปนมหาวิทยาลัย

การบํารุงรักษาขอมูลทะเบียนกลางถือเปนหนาที่ของเจาของขอมูล ที่จะตองตรวจสอบความถูกตอง ความมีอยูจริง และความเคลื่อนไหวของขอมูลในคลังขอมูลดานการศึกษา โดยผานระบบสารสนเทศของสถานศึกษา หนวยงานตนสังกัดที่จัดการศึกษา หรือศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) ตามความสะดวกในเวลาที่เหมาะสม เชน กอนการปดภาคการศึกษา เปนตน ทั้งน้ีเพื่อรองรับการใชสิทธิประโยชนจากคลังขอมูลไดดวยความเช่ือมั่น โดยมีกรอบแนวคิดการใหสิทธิประโยชนเบื้องตนสําหรับเจาของขอมูลในทะเบียนกลาง ประกอบดวย กลุมที่ 1. นักเรียนจะไดรับสิทธิประโยชนในการใชขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส อาทิ

การยายสถานศึกษาของนักเรียนอยางสะดวก ลดการใชเอกสารในวันสมัครเรียน

การสมัครงานดวยขอมูลผลสําเร็จการศึกษาที่มีความนาเช่ือถือ ลดความเสี่ยงประเด็นการปลอมแปลงเอกสารผลการศึกษา

การสืบคนและอางอิงขอมูลจากทะเบียนอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเช่ือมโยงไปยังสถานศึกษาได

กลุมที่ 2. สถานศึกษาจะไดรับสิทธิประโยชนในการใชขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส อาทิ

ไดรับความสะดวกในการยืนยันขอมูลผูสําเร็จการศึกษา ซึ่งในปจจุบันหนวยงานภาครัฐและเอกชนมักมีการติดตอขอรับการยืนยันเปนจํานวนมาก

ลดการกรอกขอมูลนักเรียน เพราะสามารถที่จะใชเลขประจําตัวประชาชน เพื่อเรียกใชขอมูลพื้นฐาน หรือขอมูลผูสําเร็จการศึกษาจากสํานักทะเบียนกลางได

ลดการกรอกขอมูลสถานศึกษาซ้ําซอน ตามที่หนวยงานตางๆ มักมีการรองขอเปนประจํา

Page 49: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 46 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

นอกจากน้ีการดําเนินงานเกี่ยวกับขอมูลทะเบียนกลางใหประสบความสําเร็จ จะอาศัยอํานาจตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 ซึ่งมีขอกําหนดในหมวด 6 การทะเบียน ดังน้ี

ขอ 28 ใหหัวหนาสถานศึกษา หัวหนาหนวยงาน หัวหนาสวนราชการ แตงต้ังเจาหนาที่ควบคุม และรับผิดชอบการดําเนินงานเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐาน ขอมูลเฉพาะกิจข้ึนภายในหนวยงานที่ตนรับผิดชอบ เรียกวา “นายทะเบียนขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา” และจะแตงต้ังผูชวยนายทะเบียนขอมูลตามความเหมาะสมดวยก็ได

ใหผูชวยนายทะเบียนขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา มีหนาที่ปฏิบัติการแทนนายทะเบียนขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาตามที่ไดรับมอบหมาย

ขอ 29 ใหนายทะเบียนขอมูลสารสนเทศดานการศึกษามีอํานาจหนาที่ดังตอไปน้ี (1) ดําเนินการทางทะเบียนขอมูลพื้นฐาน ขอมูลเฉพาะกิจใหเปนไปตามระเบียบน้ี (2) พิจารณาการใหขอมูลและเปดเผยขอมูล (3) จัดใหมีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูลพื้นฐานและขอมูลเฉพาะกิจ (4) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวของกับขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา ที่กําหนดไวในระเบียบน้ี

หรือตามที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสถานศึกษา หัวหนาหนวยงาน และหัวหนาสวนราชการแลวแตกรณี

2. การจัดต้ังศูนยสารสนเทศเพ่ือการศึกษาแหงชาติ (NEIS)

เพื่อเปนศูนยกลางการเช่ือมประสานบูรณาการขอมูลดานการศึกษา ตามผลการวิจัย “โครงการวิจัยเพื่อจัดทําศูนยสารสนเทศดานการศึกษาแหงชาติ (National Education Information System – NEIS)” ซึ่งสอดคลองกับแนวทางการบูรณาการขอมูลตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557-2559

3. การกําหนดผูรับผิดชอบขอมูลของแตละสวนราชการ หมายถึง การกําหนดหนวยงานและตําแหนงบุคคลผูรับผิดชอบใหชัดเจน โดยเทียบเคียงจากระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 เพื่อใหมีผลบังคับใชอยางเปนรูปธรรมในการบูรณาการขอมูลดานการศึกษา ดังน้ี

ปรับปรุงกฎระเบียบของแตละหนวยงานที่จัดการศึกษา ใหเอื้อตอการจัดสงขอมูลไปยังตนสังกัด และสนับสนุนใหแตละสังกัดดําเนินงานบูรณาการขอมูล เพื่อการพัฒนาคลังขอมูลรวมกันอยางเปนเอกภาพ

ใหแตละหนวยงานที่จัดการศึกษา กําหนดแตงต้ังหนวยงาน/เจาหนาที่ ในการทําหนาที่รวบรวมขอมูลและจัดสงไปยังตนสังกัดตามกําหนดเวลาที่เหมาะสมในแตละปการศึกษา

4. การกําหนดตัวชี้วัดท่ีมีผลชัดเจนตอการปฏิบัติ

หมายถึง การกําหนดตัวช้ีวัดเพิ่มเติมจากแผนยุทธศาสตรฉบับน้ี เฉพาะที่มีผลตอการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา เพื่อเปนการสรางแรงจูงใจใหแกผูบริหารและผูปฏิบัติงานในหนวยงานที่จัดการศึกษา ในการผลักดันการดําเนินแผนงานและโครงการตางๆ เชน การกําหนดตัวช้ีวัดที่มีผลตอการพิจารณาเพิ่มงบประมาณของหนวยงาน เปนตน

Page 50: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 47 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

5. การจัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) และความรับผิดชอบรวมกัน หมายถึง การจัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) ระหวางหนวยงานที่จัดการศึกษา เพื่อใชเปนเครื่องมือสําคัญในการประสานงาน การตกลงทําความเขาใจในรายละเอียดและวิธีการบูรณาการขอมูล ซึ่งจะเอื้อตอการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาและใชประโยชนรวมกัน รวมทั้งการนํามาอางอิง/รองรับการจัดสงขอมูล การดําเนินแผนงาน/โครงการตามกระบวนการการมีสวนรวมและความรับผิดชอบรวมกันระหวางคณะทํางาน ซึ่งมักเปนเพียงเจาหนาที่ระดับปฏิบัติการของหนวยงานที่เกี่ยวของในกระบวนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

6. ผูบริหาร/ผูมีอํานาจตัดสินใจตองใหความสําคัญละสรางแรงจูงใจ เน่ืองจากการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา แมจะเปนเพียงงานเบื้องหลังภารกิจของหนวยงานใดๆ แตเมื่อสําเร็จตามวัตถุประสงคแลว มักสงผลใหการทํางานของทุกฝายเกิดความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีข้ึนไมมากก็นอย เชน ทํางานไดอยางสะดวกรวดเร็วข้ึน เปนตน ฉะน้ันสมควรที่ทุกฝายจะเห็นความสําคัญและตระหนักถึงประโยชนที่ไดรับจากการใชระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงของการพัฒนา ผูปฏิบัติงานตองทํางานอยางหนักทั้งงานประจําและงานดานขอมูล ดังน้ัน ผูบริหารควรจะใหขวัญกําลังใจแกผูปฏิบัติงาน เห็นความสําคัญและคุณคาของงาน ซึ่งสมควรดําเนินการดังน้ี

เห็นความสําคัญและประโยชนของคลังขอมูลดานการศึกษาวา สามารถชวยในการบริหารงานได

เปนแบบอยางใหแกเจาหนาที่ในการใชขอมูล กระตุนและสรางความตระหนักในความสําคัญของคลังขอมูลดานการศึกษา

ใหความรวมมือกับทีมงานผูพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาอยางเต็มที่

ผลักดันใหเกิดการใชคลังขอมูลดานการศึกษาอยางจริงจัง

สรางแรงจูงในการปฏิบัติ โดยสั่งการใหเจาหนาที่ใหความรวมมือในการพัฒนาและใชคลังขอมูลดานการศึกษา รวมทั้งนํามากําหนดเปนตัวช้ีวัดในการประเมินผลงาน

7. ความเขาใจในขั้นตอนการพัฒนาฐานขอมูลและคลังขอมูลรวมกัน

ผูบริหารและผูปฏิบัติงานสวนหน่ึงมักมองการพัฒนาคลังขอมูลเปนเรื่องงาย และเปนเรื่องของนักเทคนิคเพียงฝายเดียว ทั้งที่จริงทุกฝายที่เกี่ยวของควรมีความรูความเขาใจในกระบวนการ หรือข้ันตอนการพัฒนาคลังขอมูลตามลําดับในภาพรวม ดังน้ี

ทราบความตองการหรือเปาหมายการใชประโยชนจากขอมูลที่จะรวมกันพัฒนาใหชัดเจน โดยรวมกันหาขอสรุปจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพราะจะมีผลตอการจัดเก็บและพัฒนาคลังขอมูล ตลอดจนถึงการประยุกตใชงาน

การจัดเก็บและตรวจสอบความถูกตองของขอมูล (Data entry & Verify) เพราะคลังขอมูลที่เกิดข้ึนสามารถนํามาใชประโยชนไดอยางกวางขวาง จึงสมควรจะมีการตรวจสอบความถูกตองจากตนทางของแหลงขอมูลเสมอ เน่ืองจากขอมูลที่มีความผิดพลาดบางสวนอาจจะลดความนาเช่ือถือของขอมูลที่เหลือทั้งหมดได

การบํารุงรักษา (Maintenance) ถือเปนสวนหน่ึงของกระบวนการพัฒนาคลังขอมูลดวย เพราะในทางปฏิบัติจะเกิดความเปลี่ยนแปลงของขอมูลตามรอบระยะเวลาตางๆ ตลอดเวลา

Page 51: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 48 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

8. การบูรณาการระบบสารสนเทศและฐานขอมูล เน่ืองจากการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยทั่วไป มักจะพัฒนาทีละระบบตามความตองการของแตละสวนงานในแตละชวงเวลา จึงคอนขางเปนอิสระตอกัน ขาดมุมมองหรือแผนการที่จะบูรณาการระบบเหลาน้ันเขาดวยกัน ทําใหเกิดปญหาในการทํางาน เชน กรอกขอมูลซ้ําซอนกันในแตละระบบ เปนตน จึงสมควรที่ทุกฝายจะบูรณาการดวยความตระหนักในประเด็นตางๆ ดังน้ี

ความต้ังใจของทุกฝายในการบูรณาการสารสนเทศรวมกัน เพราะเทคโนโลยีปจจุบันเอื้อใหเกิดการบูรณาการไดอยางแนนอน

ความยอมรับขอบกพรองของขอมูลที่จัดเก็บไวต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพราะเปนธรรมดาที่การบูรณาการขอมูลมักจะแสดงใหเห็นความคลาดเคลื่อนของขอมูลระหวางระบบเสมอ

ความยอมรับของผูบริหารในการไมถือโทษ หรือถือเปนความผิดกรณีที่พบความบกพรองคลาดเคลื่อนของขอมูล โดยเฉพาะอยางย่ิงในระยะเริ่มตนของการบูรณาการสารสนเทศ

9. ผลประโยชนท่ีเกิดขึ้นรวมกัน

หมายความวา ผลประโยชนที่จะไดรับหรือที่จะเกิดข้ึนกับการทํางานของแตละฝาย สามารถปรากฏไดอยางชัดเจน คือ ผูใหขอมูล ผูใชขอมูล และผูดูแลคลังขอมูล สมควรที่จะไดรับประโยชนดวย เชน ถือเปนคะแนนตัวช้ีวัดการทํางานที่สําคัญเทียบเทาการปฏิบัติงานตามตําแหนงหนาที่ เปนตน

10. ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปจจุบันความรูความเขาใจในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการขยายตัวครอบคลุมพื้นที่ตางๆไดอยางกวางขวาง การเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถทําไดคอนขางสะดวกกวาในอดีต สงผลใหการสื่อสารเช่ือมโยงระหวางกระทรวงศึกษาธิการ หนวยงานที่จัดการศึกษา หนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชน ครู บุคลากร นักเรียน และประชาชนทั่วไป สามารถที่จะรับรูขอมูลผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดตลอดเวลา

Page 52: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

บทท่ี 4 แผนการดําเนินงานและโครงการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา กรอบแนวคิดการจัดทําแผนการดําเนินงาน

การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาตามแผนยุทธศาสตรฯ มีเปาหมายเพื่อตอบสนองการดําเนินงานของศูนย

สารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) ซึ่งในภาพรวมจะใชวิธีบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงานตางๆ ตามกรอบแนวทาง TH e-GIF ดวยรูปแบบการเช่ือมโยงขอมูลทางเทคนิคแบบ Clearing House ดังรูปที่ 4.1

รูปที่ 4.1 การเช่ือมโยงขอมูลมายังศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS)

การเช่ือมโยงขอมูลสามารถที่จะดําเนินการรวมกับหนวยงานภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการเผยแพร

และประยุกตใชขอมูลใหเกิดประโยชนสูงสุดได เชน การนําขอมูลพื้นฐานดานการศึกษาไปประเมินคุณภาพการศึกษา การนําขอมูลสถิติดานการศึกษาไปพิจารณาวางแผนบริหารงานดานเศรษฐกิจและสังคม เปนตน ดังน้ัน หนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งภายในและภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ ควรดําเนินการจัดสงขอมูลผานตนสังกัดมายังศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) อยางนอย 2 รูปแบบ ตามแผนภาพการสงผานขอมูลดังรูปที่ 4.2 คือ

ขอมูลพื้นฐานดานการศึกษา เชน ทะเบียนนักเรียนรายบุคคล ทะเบียนครูและบุคลากรทางการศึกษารายบุคคล เปนตน

ขอมูลสถิติดานการศึกษา เชน จํานวนสถานศึกษา จํานวนนักเรียนในแตละพื้นที่การศึกษา เปนตน

Page 53: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 50 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

รูปที่ 4.2 แนวปฏิบัติในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา

เน่ืองจากการเช่ือมโยงและจัดสงขอมูลดานการศึกษาดังกลาวขางตน เปนภารกิจรวมกันของหนวยงานที่จัดการศึกษา แมภาคปฏิบัติจะมีความเปนอิสระในการจัดเก็บขอมูล เพื่อความคลองตัวในการทํางานของแตละฝาย แตผลลัพธสุดทายจะนําไปสูการบูรณาการอยางเปนเอกภาพ จึงสมควรที่จะกําหนดภาพรวมแผนงานแตละระดับ ดังน้ี

1. แผนงานสวนกลาง (ระดับประเทศ) 2. แผนงานระดับกลุมจังหวัด 3. แผนงานระดับจังหวัด

เปาหมายการดําเนินงาน

การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา อาจกําหนดเปาหมายเพื่อเปนจุดเนนในการดําเนินแผนยุทธศาสตรฯ ในแตละปงบประมาณตามชวงเวลาการใชแผนปฏิบัติการฯ ดังน้ี

ยุทธศาสตรที่ 1. การบริหารจัดการและการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ปงบประมาณ เปาหมายการดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ

2557 จัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) เพิ่มเติมสําหรับหนวยงานที่จําเปนตองจัดทําใหครบทั้งหมด หากยังไมครบใหขยายเวลาตอไปจนถึงปงบประมาณ 2558

หนวยงานที่จัดการศึกษา

2558 จัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง และศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) 5 องคกรหลัก 2559 ผลักดันใหมีกฎระเบียบหรือขอตกลง เพื่อใหมีหนวยงานหรือบุคคลผูรับผิดชอบใน

การจัดสงขอมูล หนวยงานที่จัด

การศึกษา 2560 ผลักดันใหมีการใชขอมูลจากศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) เปน

หลัก เพื่อการอางอิงขอมูลที่ถูกตองตรงกันทุกฝาย หนวยงานที่จัด

การศึกษา 2561 ผลักดันใหการมีการใชขอมูลจากคลังขอมูลดานการศึกษา เปนคะแนนสําคัญใน

การประเมินคุณภาพทางการศึกษา สมศ. สทศ.

Page 54: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 51 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

ยุทธศาสตรที่ 2. การบูรณาการขอมูลดานการศึกษา ปงบประมาณ เปาหมายการดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ

2557 ติดตามผลการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา และตรวจสอบความถูกตองของขอมูล (Clearing Data) ระหวางองคกรหลักหรือหนวยงานตนสังกัด

หนวยงานที่จัดการศึกษา

2558 จัดทํารหัสประจําตัวนักเรียนและรหัสสถานศึกษา ใหสามารถใชรวมกันไดอยางมีเอกภาพ

2559 พัฒนาและใชงานระบบแลกเปลี่ยนขอมูลแบบเว็บเซอรวิส แทนการรับ-สงขอมูลดวยมือ

2560 ปรับปรุงระบบสารสนเทศใหเอื้อตอผูใชในการใชสมารทโฟน เพื่อกรอกขอมูลและตรวจสอบ

5 องคกรหลัก 2561 ผลักดันใหสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการใชระบบสารสนเทศกลางของ

หนวยงานตนสังกัด

ยุทธศาสตรที่ 3. การรักษาความปลอดภัยและการสรางความเช่ือมั่นตอคลังขอมูลดานการศึกษา ปงบประมาณ เปาหมายการดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ

2557 ปรับปรุงและประกาศใชแผนรักษาความมั่นคงปลอดภัยดาน ICT อยางเครงครัด

หนวยงานที่จัดการศึกษา

2558 จัดทําแผนฉุกเฉินดาน ICT และมีการซักซอมอยางเปนรูปธรรม 2559 ปรับปรุงแผนรักษาความมั่นคงปลอดภัย และแผนฉุกเฉินดาน ICT ใหมีความ

ทันสมัย 2560 ปรับปรุงแผนรักษาความมั่นคงปลอดภัย และแผนฉุกเฉินดาน ICT ใหมีความ

ทันสมัย 2561 ปรับปรุงแผนรักษาความมั่นคงปลอดภัย และแผนฉุกเฉินดาน ICT ใหมีความ

ทันสมัย

ยุทธศาสตรที่ 4. การใหบริการและการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา ปงบประมาณ เปาหมายการดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ

2557 เริ่มตนประชาสัมพันธเกี่ยวกับการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา ศูนย NEIS 2558 ต้ังจุดบริการเพื่อทดสอบการใชบัตรประชาชนแบบสมารทการด ในการตรวจสอบ

ความถูกตองขอมูล ศูนย NEIS สถานศึกษา

2559 ทดสอบการใชบัตรประชาชนแบบสมารทการด เพื่อการสมัครเรียนและรายงานตัวของนักเรียน

สถานศึกษา

2560 พัฒนาและใชงานระบบ BI (Business Intelligence) เพื่อสนับสนุนผูบริหาร ศูนย NEIS

2561 พัฒนาและใชงานระบบการทําเหมืองขอมูล (Data Mining) เพื่อสนับสนุนผูบริหาร

Page 55: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 52 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

เน่ืองจากการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรทั้งหมด มีเปาหมายโดยรวมเพื่อพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา และในการน้ีจะเนนเฉพาะกลุมขอมูลหลัก (ที่กําหนดเปนมาตรฐานขอมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ) ซึ่งสมควรขับเคลื่อนหรือผลักดันการพัฒนาใหบรรลุผลในแตละปงบประมาณ ดังน้ี

ฐานขอมูล ปงบประมาณ เปาหมายการพัฒนา

ฐานขอมูลทะเบียนนักเรียนรายบุคคล

2557 จัดเก็บขอมูลบนบัตรประชาชนแบบสมารทการด (Smart card)

2558 จัดทํารหัสประจําตัวนักเรียนเพื่อใชงานรวมกันไดทุกสังกัด 2559 ใชขอมูลบนบัตรประชาชนเพื่อสมัครเรียน หรือโอนยายสถานศึกษา

2560 ประมวลผลสถิติจากขอมูลรายบุคคล เพื่อตอบสนองการบริหารจัดการดานการศึกษา และลดความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลสถิติ

2561 นักเรียนสามารถกรอกขอมูลพื้นฐานรายบุคคลไดดวยตัวเอง

ฐานขอมูลทะเบียนครูและบุคลากรทางการศึกษารายบุคคล

2557 พัฒนาขอมูลครูทะเบียนวิชาชีพเพื่อรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน 2558 จัดเก็บขอมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาบนบัตรสมารทการด

2559 ใชขอมูลบนบัตรสมารทการดเพื่อโอนยายสถานศึกษา และรับสิทธิประโยชนทางธุรกิจ

2560 ประมวลผลทางสถิติจากขอมูลรายบุคคล เพื่อตอบสนองการบริหารจัดการดานการศึกษา และลดความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลทางสถิติ

2561 ครูบุคลากรทางการศึกษา สามารถกรอกขอมูลพื้นฐานรายบุคคลไดดวยตัวเอง

ฐานขอมูลทะเบียนสถานศึกษารายแหง

2557 สถานศึกษาสามารถทําการตรวจสอบ/โอนยายขอมูลของนักเรียนและครู ระหวางสถานศึกษาในสังกัดเดียวกันได

2558 จัดทํารหัสสถานศึกษากลาง เพื่อใชงานรวมกันไดทุกสังกัด

2559 สถานศึกษาสามารถทําการตรวจสอบ/โอนยายขอมูลของนักเรียนและครู ระหวางสถานศึกษาตางสังกัดได

2560 ประมวลผลทางสถิติจากขอมูลรายสถานศึกษา เพื่อตอบสนองการบริหารจัด การดานการศึกษา และลดความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลทางสถิติ

2561 ใชประโยชนจากคลังขอมูลเพื่อเปนคะแนนในการประเมินคุณภาพ

ฐานขอมูลผูสําเร็จการศึกษาทุกระดับ

2557 เริ่มตนใหบริการขอมูลผูสําเร็จการศึกษาแกหนวยงานภายนอกได 2558 ใหบริการขอมูลผูสําเร็จการศึกษาแกหนวยงานภายนอกได 2559 ใชขอมูลบนบัตรประชาชนเพื่ออางอิงผลสําเร็จการศึกษาในการสมัครงาน

2560 ประมวลผลทางสถิติจากขอมูลรายบุคคล เพื่อตอบสนองการบริหารจัดการดานการศึกษา และลดความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลทางสถิติ

2561 สืบคนขอมูลผลสําเร็จการศึกษายอนหลังไดทุกระดับ เทาที่มีประวัติการจัดเก็บขอมูลในคลังขอมูลดานการศึกษา

Page 56: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 53 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

แผนงานสวนกลาง (ระดับประเทศ)

แผนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาของสวนกลาง (ระดับประเทศ) ประกอบดวย 1. การพัฒนาระบบคลังขอมูลใหเปนการบริการแบบ One Stop Service ควรดําเนินการดังน้ี

รวบรวมขอมูลจากหนวยงานที่จัดการศึกษาโดยมีระบบเช่ือมโยงฐานขอมูลงานบริการดานตางๆ

ออกแบบสารสนเทศตามความตองการของผูใชบริการในมิติตาง ๆ

เผยแพรและใหบริการขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาผานเว็บไซต

2. สรางกลไกความรวมมือในการจัดทําคลังขอมูลในระดับตางๆ ตามหนาทีร่ับผิดชอบ

จัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) ที่มีผลในทางปฏิบัติ (ซึ่งกําหนดผูรับผิดชอบในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลดานการศึกษา)

วิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบบริหารจัดการคลังขอมูล

สรางความเขมแข็งของคลังขอมูลดานการศึกษาในทุกระดับ

3. ดําเนินโครงการหรือนําเสนอความตองการขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานกลาง ประกอบดวย 3.1 การจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและโปรแกรม ดังน้ี

เครื่องแมขาย (Server) และระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ

ระบบบริหารจัดการขอมูล เพื่อการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลที่หลากหลายรูปแบบ

ระบบโปรแกรมที่หนวยงานขาดแคลน ซึ่งทางศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความประสงคจะใหดําเนินการ

3.2 การจัดสรรงบประมาณดําเนินงานในประเด็นตางๆ ดังน้ี

การจัดอบรมผูเกี่ยวของทุกระดับ

การสนับสนุนการปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตรฯ โดยใหรวมอยูในแผนงบประมาณ 3.3 การจัดสรรอัตรากําลังเพื่อดําเนินการเกี่ยวกับขอมูลดานการศึกษา ดังน้ี

การบรรจุเจาหนาที่ใหครบตามกรอบอัตรากําลังของแตละหนวยงาน

การจัดจางเพิ่มเติมในกรณีไมมีเจาหนาที่หรือไมมีอัตรากําลัง

การกําหนดเจาหนาที่ผูรับผิดชอบขอมูลใหชัดเจนทุกสังกัด

4. ดําเนินกระบวนการบริหารจัดการและกํากับติดตามการดําเนินงานของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ดังน้ี

กําหนดระยะเวลาในการจัดทําขอมูลที่ชัดเจน

ทําการตรวจสอบความถูกตองขอมูลกอนและหลังการสงมอบ

ติดตามการจัดเก็บและการสงมอบขอมูล

การบริหารจัดการจะอางอิงตามระเบียบฯ (คณะกรรมการ หมวด 2-4, การจัดเก็บหมวด 5) ซึ่งอาจตองมีการกําหนดกฎระเบียบ (ที่จําเปน) เพื่อรองรับการดําเนินงาน

Page 57: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 54 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

แผนงานระดับกลุมจังหวัด

แผนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาในระดับกลุมจังหวัด ประกอบดวย 1. การพัฒนาระบบคลังขอมูลใหเปนการบริการแบบ One Stop Service ควรดําเนินการดังน้ี

ประยุกตใชระบบการประมวลผลแบบกลุมเมฆ (Cloud Computing)

ขอมูลพื้นฐานของแตละหนวยจะตองนํามาจัดเก็บในระบบ Cloud เฉพาะขอมูลที่มีการตกลงหรือกําหนดไว เพื่อสนับสนุนเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน

กําหนดใหมีระบบรักษาความปลอดภัย และกําหนดสิทธ์ิการเขาถึงขอมูลตามลําดับอํานาจหนาที่ของผูใชงาน เชน ผูบริหารระดับตางๆ ประชาชนทั่วไป เปนตน

2. สรางกลไกความรวมมือในการจัดทําคลังขอมูลในระดับตางๆ ตามหนาทีร่ับผิดชอบ

ใชระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 เปนกลไกสําคัญในการทํางาน

3. ดําเนินโครงการหรือนําเสนอความตองการขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานกลาง ประกอบดวย 3.1 การจัดสรรเครื่องมืออุปกรณและโปรแกรม ดังน้ี

การใช Hi speed Internet

เครื่องแมขาย (Server) ประสิทธิภาพสูง รวมทั้ง Switch 100/1000, WiFi Router

อุปกรณ Tablet PC และการใชเครือขายอินเทอรเน็ต (Sim Internet unlimited) 3.2 การจัดสรรงบประมาณดําเนินงานในประเด็นตางๆ ดังน้ี

การใช Sim Internet แบบ Unlimited

การจัดจางเจาหนาที่

การจัดอบรมเครือขายการพัฒนาขอมูลอยางนอยปละ 1 ครั้ง 3.3 การจัดสรรอัตรากําลังเพื่อดําเนินการเกี่ยวกับขอมูลดานการศึกษา ดังน้ี

เจาหนาที่บันทึกขอมูล

เจาหนาที่ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

4. ดําเนินกระบวนการบริหารจัดการและกํากับติดตามการดําเนินงานของแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ดังน้ี

จัดต้ังคณะกรรมการติดตามโดยมีสํานักงานศึกษาธิการภาค และหนวยงานสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการระดับภาค เปนคณะกรรมการ

แผนงานระดับจังหวัด

แผนการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาในระดับจังหวัด ประกอบดวย

1. การพัฒนาระบบคลังขอมูลใหเปนการบริการแบบ One Stop Service ควรดําเนินการดังรูปที่ 4.3

Page 58: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 55 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

รูปที่ 4.3 การใหบริการแบบ One Stop Service ระดับจังหวัด

ดําเนินการจัดต้ังศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ระดับจังหวัด เพื่อใหบริการขอมูล ซึ่งจะเอื้อตอการกําหนดกลไก/มาตรการตางๆ ที่จะชวยลดภาระของผูรับผิดชอบหนวยงานที่ตองการใชขอมลู หากมีการแลกเปลี่ยนขอมูลจะตองจัดทําบันทึกความรวมมือ (MOU) ดวย

2. สรางกลไกความรวมมือในการจัดทําคลังขอมูลในระดับตางๆ ตามหนาทีร่ับผิดชอบ

ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา 2554

ประสานใหทุกหนวยงานมีสวนรวมในการใหความรวมมือ

3. ดําเนินโครงการหรือนําเสนอความตองการขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานกลาง ในการจัดสรรงบประมาณเปนรายป เพื่อการจัดจางเจาหนาที่ดูแลขอมูล

4. ดําเนินกระบวนการบริหารจัดการและกํากับติดตามการดําเนินงานของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา

คลังขอมูลดานการศึกษา ดังน้ี

กําหนดปฏิทินติดตามการจัดเก็บขอมูล และติดตามความเคลื่อนไหวขอมูลในระบบ

สรางขวัญกําลังใจใหแกผูปฏิบัติหนาที่

เพิ่มกรรมการระดับจังหวัด

Page 59: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 56 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

โครงการเพ่ือการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาตามแผนยุทธศาสตรขางตน จําเปนตองมีการดําเนินโครงการ เพื่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศที่เหมาะสม ตามรายละเอียดที่กลาวไวในภาคผนวก ก. ดังน้ี

1. โครงการพัฒนาศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) เพื่อพัฒนาศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) แบบสนับสนุนการดําเนินงานครบวงจร ต้ังแตแหลงกําเนิดขอมูล การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ตลอดจนการนําคลังขอมูลมาใชประโยชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2. โครงการพัฒนามาตรฐานขอมูลดานการศึกษา เพื่อการจัดทําและบํารุงรักษามาตรฐานขอมูลดานการศึกษา เปนประโยชนตอการจัดเก็บ/ปรับปรุงขอมูลใหถูกตองทันสมัย ตรงตามความตองการใชงานของทุกฝาย ตลอดจนการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนบูรณาการขอมูลรวมกับหนวยงานภายนอก เชน การเตรียมขอมูลเบื้องตนของเด็กประถมวัย ซึ่งจําเปนตองใชขอมูลรวมกับกระทรวงมหาดไทย เปนตน

3. โครงการพัฒนาเว็บพอรทอล เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูใชงานในการจัดเก็บขอมูล การปรับปรุงขอมูล การเขาถึงขอมูล ตลอดจนการจัดทํารายงานสารสนเทศดานการศึกษาจากเว็บไซตกลางเพียงแหงเดียว ชวยลดการขอขอมูลซ้ําซอนจากแหลงกําเนิดขอมูล เชน สถานศึกษา เปนตน เน่ืองจากผูขอขอมูลมักไมทราบวากระทรวงศึกษาธิการมีการจัดเตรียมรายงานสถิติขอมูลดานการศึกษาเบื้องตนไวเรียบรอยแลว

4. โครงการพัฒนาระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียนผานระบบเครือขาย เพื่อประโยชนในการจัดเก็บขอมูลจากผูเรียนโดยตรง ชวยใหการตรวจสอบขอมูลมีความถูกตองต้ังแตเริ่มแรกของกระบวนการจัดเก็บขอมูล อีกทั้งเปนการลดภาระของครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่จะไมตองเสียเวลากรอกขอมูลภายหลัง

5. โครงการพัฒนาระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษา เพื่อประโยชนในการตรวจสอบขอมูลผูสําเร็จการศึกษาของทุกสังกัด ซึ่งจําเปนตอการสมัครเขาศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน หรือการสมัครงาน ชวยสรางความมั่นใจและใหบริการแกภาคเอกชนในการตรวจสอบเบื้องตนกอนที่จะมีการขอเอกสารสําคัญ และลดภาระการยืนยันผลการตรวจสอบของสถานศึกษา ในกรณีที่มีการรองขอจากหนวยงานตางๆของภาครัฐและภาคเอกชน

6. โครงการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง เพื่อการจัดเก็บทะเบียนขอมูลเบื้องตนนักเรียนทุกระดับการศึกษา โดยใชขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสรวมกับสถานศึกษาของทุกสังกัดทั้งภายในและภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะเปนประโยชนตอการจัดทําสถิติ และการพยากรณแนวโนมดานการศึกษาระดับประเทศไดอยางเหมาะสม

Page 60: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 57 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557-2561

7. โครงการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เพื่อการรักษาความถูกตอง ความลับ และความตอเน่ืองในการใชขอมูลดานการศึกษา สรางความเช่ือมั่นตอผูใชและเจาของขอมูลในมิติตางๆ ที่เกี่ยวของกับการปกปดขอมูล และการจัดทําสารสนเทศดานการศึกษา แตจะตองอํานวยความสะดวกในการใชงานและการเขาถึงขอมูลไดอยางปลอดภัยตามมาตรฐานสากล เชน การใชรหัสผานเพื่อขอใชขอมูลอยางจํากัดตามสิทธ์ิ การเขารหัสขอมูลเพื่อปองกันการเปดเผยขอมูล เปนตน

8. โครงการสํารวจวิเคราะหความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา เพื่อสงเสริมสนับสนุนการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา ในการที่จะหาจุดบกพรองหรือขอติดขัดตางๆ ในการใชงานที่นําไปสูความไมเช่ือนาเช่ือถือของขอมูล ซึ่งหลายกรณีเกิดจากความเขาใจที่คลาดเคลื่อนตอการนําเสนอรายงานสารสนเทศ เชน ผูใชตรวจสอบขอมูลจากเว็บไซตของตนสังกัดอาจไมตรงกับขอมูลที่ไดจากสถานศึกษา เพราะชวงเวลาการจัดเก็บขอมูลแตกตางกันและขอมูลดานการศึกษามีความเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปนตน

Page 61: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

ภาคผนวก ก.

โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

Page 62: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

ภาคผนวก ก. โครงการเพ่ือการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา โครงการพัฒนาศูนยสารสนเทศเพ่ือการศึกษาแหงชาติ (NEIS) หลักการและเหตุผล

กระทรวงศึกษาธิการไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา พ.ศ. 2557–2561 ซึ่งมี

สาระสําคัญในการพัฒนาศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS) เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานเกี่ยวกับขอมูลดานการศึกษาแบบครบวงจร ต้ังแตแหลงกําเนิดขอมูล การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ตลอดจนการนําคลังขอมูลมาใชประโยชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รองรับการบริหารจัดการ การเรียนการสอน และการประสานความรวมมือกับองคกรตางๆ ใหเกิดการเช่ือมโยงและการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน และการใหบริการขอมูลดานการศึกษาแกบุคลากรทางการศึกษา ผูสอน ผูเรียน รวมถึงประชาชนทั่วไป รวมทั้งกําหนดมาตรการพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาอยางบูรณาการ มีความถูกตองทันสมัยและนาเช่ือถือในการประยุกตใชงานจากทุกฝาย นอกจากน้ียังมุงเนนการพัฒนาการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาใหทัดเทียมนานาชาติ พัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา เพื่อใหการจัดเก็บรวบรวมขอมูลดานการศึกษามีเอกภาพ มีความเช่ือมโยงกับทุกระดับและประเภทการศึกษาและใชประโยชนรวมกัน

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีหนาที่พัฒนาระบบคลังขอมูล

และฐานขอมูลสารสนเทศ และเปนศูนยกลางขอมูลของกระทรวง ซึ่งไดดําเนินการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ ดานการศึกษา โดยการประสาน รวบรวมจัดเก็บขอมูลสารสนเทศจากทุกหนวยงานทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งสิ้น 9 กระทรวง ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงคมนาคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงกลาโหม กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และสวนราชการไมสังกัดสํานักนายกฯหรือกระทรวง มาต้ังแตปการศึกษา 2546-ปจจุบัน โดยมีการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานดานการศึกษา เชน

1. ขอมูลสถิติทางการศึกษารายสถานศึกษา 2. ขอมูลรายบุคคลของนักเรียน นักศึกษา และผูเรียน 3. ขอมูลรายบุคคลขาราชการ ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา 4. ขอมูลรายละเอียดของสถานศึกษา 5. ขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาอื่นที่เกี่ยวของ

โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ไดดําเนินการวิจัยเพื่อจัดทําศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS)

และพบวาปญหาของการบริหารจัดการสารสนเทศดานการศึกษา คือ ความนาเช่ือถือ ความเปนปจจุบัน และความตอเน่ืองกันของขอมูลดานการศึกษา ตลอดจนการขาดระบบสารสนเทศในการสงตอขอมูลที่มี เสถียรภาพ ที่สถาบันการศึกษาสามารถใชงานไดอยางสม่ําเสมอตลอดเวลา และขอมูลที่รวบรวมไดในแตละปยังขาดการบูรณาการ เน่ืองจากมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและวิธีการอยูเสมอ ตลอดจนการขาดระบบที่จะตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพ ของขอมูล และระบบที่จะนําขอมูลน้ีมาใชประโยชน ทั้งในดานการบริหารจัดการและการใหบริการอยางเปนรูปธรรม เปนประโยชนตอการยกระดับคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผูศึกษารวมกัน

Page 63: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-2 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

วัตถุประสงค

1. เพื่อพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศกลาง และระบบสารสนเทศที่จําเปนตอการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา ต้ังแตแหลงกําเนิดขอมูลใหสามารถจัดเก็บ รวบรวม ประมวลผลขอมูลดานการศึกษาใหมีเอกภาพ มีความเช่ือมโยงกับหนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทุกระดับและประเภทการศึกษา

2. เพื่อดําเนินการจัดสรรเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนตอการจัดเก็บขอมูล ประมวลผล และจัดทํารายงานในรูปแบบตางๆ

3. เพื่อดําเนินการจัดกิจกรรมสงเสริมการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาในลักษณะตางๆตามความจําเปน เปาหมาย

1. เชิงปริมาณ 1.1 มีระบบขอมูลสารสนเทศกลาง ที่สามารถบูรณาการเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลกับหนวยงานที่จัด

การศึกษาอยางนอย 4 กลุมขอมูล ประกอบดวย

ขอมูลนักเรียน นักศึกษา และผูเรียน

ขอมูลขาราชการ ครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา

ขอมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

ขอมูลผูสําเร็จการศึกษา 1.2 มีขอมูลรองรับประชาคมอาเซียนอยางนอยตามตัวช้ีวัด ASEAN Scorecard 1.3 มีความรวมมือในการพัฒนาระบบขอมูลดานการศึกษากับหนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งในและนอก

สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ 1.4 มีเครื่องมือและอุปกรณที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ในการรองรับการปฏิบัติงาน การประมวลผลขอมูล

และใหบริการขอมูลสารสนเทศของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ 1.5 มีเครื่องมือและอุปกรณที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ในการรองรับการปฏิบัติงาน การประมวลผลขอมูล

และใหบริการขอมูลสารสนเทศของหนวยงานที่จัดการศึกษาในระดับจังหวัด และกลุมจังหวัด

2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีระบบขอมูลสารสนเทศกลาง ที่รวบรวมขอมูลสารสนเทศจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และผาน

กระบวนการปรับปรุงคุณภาพขอมูล ตรวจสอบความซ้ําซอนและความสอดคลองระหวางกันได รวมทั้งเปนระบบสารสนเทศหลักดานการศึกษาที่จะทําใหสามารถนําไปสูการพัฒนาตอเน่ืองสําหรับการประมวลผลขอมูลทางการศึกษาเพื่อการกําหนดนโยบาย การบริหารจัดการการตัดสินใจ และการเปนศูนยกลางขอมูลทะเบียนประวัติการศึกษาของประชากรไทยทุกคนในอนาคต

2.2 มีเครื่องมือและอุปกรณที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ในการรองรับการประมวลผลขอมูลและใหบริการขอมูลสารสนเทศของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ

2.3 มีการเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศกับหนวยงานที่จัดการศึกษา เพื่อใหมีขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาที่เปนปจจุบัน ถูกตอง นาเช่ือถือ และมีความปลอดภัย รองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาคลังขอมูลการศึกษาของประเทศ

Page 64: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 3 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีระบบขอมูลสารสนเทศกลาง ที่รวบรวมขอมูลสารสนเทศจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพขอมูล ตรวจสอบความซ้ําซอนและความสอดคลองระหวางกันได

2. มีความรวมมือในการพัฒนาและบูรณาการเช่ือมโยงระบบขอมูลสารสนเทศดานการศึกษากับหนวยงานที่จัดการศึกษาระดับจังหวัด กลุมจังหวัด และหนวยงานภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

3. มีขอมูลสารสนเทศดานการศึกษารองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน 4. มีการใชขอมูลนักเรียนบนบัตรประชาชนแบบสมารการด

งบประมาณโครงการ งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 120 ลานบาท ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561 กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดจางศึกษา วิเคราะห ออกแบบ พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศกลางดานการศึกษาที่รวบรวมขอมูลสารสนเทศจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพขอมูล ตรวจสอบความซ้ําซอนและความสอดคลองระหวางกัน (Clearing House)

2. จัดจางศึกษา วิเคราะห ออกแบบ พัฒนาระบบสารสนเทศที่จําเปนตอการใชงานใหทันตอความกาวหนาทางเทคโนโลยีปจจุบัน เชน การใช Application บนเครื่องสมารทโฟน เปนตน

3. จัดจางศึกษา วิเคราะห ออกแบบ พัฒนาระบบการใหบริการขอมูลดานการศึกษาแกประชาชน และหนวยงานภาคเอกชน รวมทั้งการใหบริการผานบัตรประชาชนแบบสมารการด

4. จัดหาระบบเครื่องคอมพิวเตอรแมขายและอุปกรณที่จําเปน เพื่อใชในกิจการของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS)

5. จัดหาระบบเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณที่จําเปน เพื่อใชในกิจการของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัด (สพป.1) ทุกจังหวัด

6. จัดหาระบบเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณที่จําเปน เพื่อใชในกิจการของศึกษาธิการภาคทุกหนวย 7. จัดหาระบบเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณที่จําเปน เพื่อต้ังจุดบริการขอมูลดานการศึกษาใหประชาชน

ผานบัตรประชาชนแบบสมารทการด 8. จัดประชุมคณะกรรมการบริหารขอมูลระดับจังหวัด คณะกรรมการและอนุกรรมการพัฒนาระบบขอมูล

สารสนเทศดานการศึกษา 9. จัดอบรมสัมมนาบุคลากรที่เกี่ยวของในกระบวนการจัดเก็บและสงตอขอมูลดานการศึกษา ใหมีความ

เขาใจในการสรางทีมงาน ความหมายและประโยชนของขอมูลดานการศึกษา 10. ดําเนินกิจกรรมเพื่อประสานความรวมมือในการบรรจุขอมูลดานการศึกษาลงบนบัตรประชาชนแบบ

สมารทการด 11. ประชาสัมพันธเผยแพรการใชบริการและการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา

Page 65: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-4 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. กระทรวงศึกษาธิการมีระบบขอมูลสารสนเทศกลาง ที่รวบรวมขอมูลสารสนเทศจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพขอมูล ตรวจสอบความซ้ําซอนและความสอดคลองระหวางกันได รวมทั้งเปนระบบสารสนเทศหลักดานการศึกษาที่จะทําใหสามารถนําไปสูการพัฒนาตอเน่ืองสําหรับการประมวลผลขอมูลทางการศึกษาเพื่อการกําหนดนโยบาย การบริหารจัดการการตัดสินใจ สามารถใชประโยชนรวมกันไดในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและคุณภาพผูศึกษา และการเปนศูนยกลางขอมูลทะเบียนประวัติการศึกษาของประชากรไทยทุกคนในอนาคต

2. กระทรวงศึกษาธิการมีขอมูลเพื่อใชในการกําหนดกรอบงบประมาณดานการลงทุน การพัฒนาที่เหมาะสมคุมคา รวมทั้งมีเหตุผลในการใชจายงบประมาณอยางโปรงใสตรวจสอบได

3. ผูบริหารระดับสูง มีขอมูลสารสนเทศที่ครบถวน ถูกตองและเปนปจจุบัน เพื่อใชในการกําหนดทิศทาง การวางแผน การบริหารจัดการ และการตัดสินใจใหเหมาะสมกับสถานการณ

4. ครู คณาจารยและบุคลากรในระดับสถานศึกษา ลดภาระ/ลดความซ้ําซอนในการจัดเก็บขอมูลดานการศึกษา เน่ืองจากสถานศึกษาระดับกอนประถมศึกษาสามารถเรียกใชขอมูลประวัติพื้นฐานของประชากรวัยเรียนจากกรมการปกครอง และสถานศึกษาระดับที่สูงข้ึนสามารถเรียกใชขอมูลไดผานระบบโดยไมตองนําเขาขอมูลพื้นฐานใหม

5. ประชาชนและหนวยงานภาคเอกชน สามารถที่จะสืบคน ติดตาม หรือตรวจสอบขอมูลดานการศึกษาได ตามสิทธ์ิที่เหมาะสมตอการใชบริการคลังขอมูลดานการศึกษา

Page 66: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 5 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการพัฒนามาตรฐานขอมูลดานการศึกษา หลักการและเหตุผล

การพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาจําเปนตองอาศัยความรวมมือในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลทาง

อิเล็กทรอนิกส จากหนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษา ซึ่งมักมีบริบทในการใชงานขอมูลและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการขอมูลที่แตกตางกันไป ตามความพรอมและความเหมาะสมที่แตละหนวยงานจะนํามาประยุกตใชอยางคอนขางเปนอิสระ ดังน้ัน ในทางเทคนิคจึงจําเปนตองมีการกําหนดมาตรฐานขอมูลกลาง เพื่อสรางความเปนเอกภาพในการจัดเก็บและจัดสงขอมูล ตามกรอบแนวทาง TH e-GIF โดยไมจําเปนตองปรับปรุงแกไขหรือเปลี่ยนแปลงระบบสารสนเทศเดิมมากนัก วัตถุประสงค

1. ปรับปรุงบํารุงรักษามาตรฐานขอมูลดานการศึกษาใหมีความเหมาะสมทันสมัย 2. ปรับปรุงบํารุงรักษามาตรฐานรหัสขอมูลดานการศึกษาใหมีความเหมาะสมทันสมัย

เปาหมาย

1. เชิงปริมาณ 1.1 เพิ่มจํานวนมาตรฐานขอมูลดานการศึกษาที่ทันตอความตองการใชงานที่เพิ่มมากข้ึน 1.2 เพิ่มจํานวนมาตรฐานรหัสขอมูลดานการศึกษาที่ทันตอความตองการใชงานที่เพิ่มมากข้ึน

2. เชิงคุณภาพ 2.1 มีมาตรฐานขอมูลดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลไดอยางสะดวก 2.2 มีมาตรฐานรหัสขอมูลดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเช่ือมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลไดอยางสะดวก 2.3 ใชมาตรฐานขอมูลและรหัสขอมูลดานการศึกษา เปนตนแบบในการออกแบบโครงสรางฐานขอมูล

และระบบสารสนเทศดานการศึกษา ของหนวยงานที่จัดการศึกษาใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน 2.4 สนับสนุนการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) ตามกรอบแนวทาง TH e-GIF

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีมาตรฐานขอมูลดานการศึกษาที่เพิ่มข้ึนหรือที่ไดรับการปรับปรุงแกไขตามมติของคณะกรรมการฯ 2. มีรหัสมาตรฐานขอมูลดานการศึกษาที่เพิ่มข้ึนหรือที่ไดรับการปรับปรุงแกไขตามมติของคณะกรรมการฯ

งบประมาณโครงการ

งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 10 ลานบาท

ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561

Page 67: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-6 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

กิจกรรมดําเนินงาน

1. ติดตามผลการใชมาตรฐานขอมูลและรหัสขอมูลดานการศึกษา เพื่อกําหนดกรอบแนวทางการจัดประชุมคณะทํางานขอ 2. และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการขอ 4.

2. จัดประชุมคณะทํางานเพื่อพิจารณาปรับปรุงมาตรฐานขอมูลและรหัสขอมูลดานการศึกษา โดยเชิญผูแทนจากหนวยงานที่จัดการศึกษา ซึ่งประกอบดวยผูปฏิบัติงาน ผูใชงาน และเจาหนาที่ดานเทคนิค

3. ประชาสัมพันธเผยแพรมาตรฐานขอมูลและรหัสขอมูลดานการศึกษา เพื่อใหทุกหนวยงานที่จัดการศึกษารับทราบ และนําไปประยุกตใชในการพัฒนาระบบสารสนเทศดานการศึกษาตอไป

4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับภาคเอกชน โดยเฉพาะอยางย่ิงผูประกอบการผลิตซอฟตแวร เพื่อการนํามาตรฐานขอมูลและรหัสขอมูลดานการศึกษา ไปประยุกตใชในการพัฒนาซอฟตแวรดานการศึกษาตอไป

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. บํารุงรักษามาตรฐานขอมูลและมาตรฐานรหัสขอมูลดานการศึกษา ใหมีความทันสมัยตรงตามความตองการใชงานของทุกฝาย เปนประโยชนตอการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษาใหสําเร็จลุลวง

2. การพัฒนาระบบเช่ือมโยงบูรณาการขอมูลดานการศึกษาทางอิเล็กทรอนิกส มีความชัดเจนทางเทคนิคในการวิเคราะหออกแบบระบบ ลดภาระความยุงยากในการสื่อความเขาใจระหวางนักเทคนิคกับผูใชงาน

3. การใชมาตรฐานขอมูลและรหัสขอมูลดานการศึกษาในการตอรองเจรจา เพื่อพัฒนาการระบบแลกเปลี่ยนขอมลูทางอิเล็กทรอนิกสน้ัน แตละฝายจะมองเห็นขอเท็จจริงหรือความตองการจัดเก็บขอมูลจากนิยามความหมายของขอมูลที่ตองการ นําไปสูการเลือกรายการขอมูลไดอยางสะดวกงายดาย

Page 68: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 7 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการพัฒนาเว็บพอรทอล (Web Portal) หลักการและเหตุผล

การใชระบบสารสนเทศดานการศึกษาในปจจุบันมีปริมาณเพิ่มมากข้ึน ตามมิติการใชงานและการพัฒนาที่

อํานวยความสะดวกใหแกผูใชโดยผานเว็บไซต ซึ่งตามปกติผูใชจําเปนตองจดจําช่ือเว็บไซตหรือช่ือระบบสารสนเทศ รวมทั้งรหัสผาน (Password) ที่มีความแตกตางกันไปในแตละระบบ นอกจากน้ีผูใชที่มิไดทําหนาที่เปนผูกรอกขอมูลมักไมทราบวา รายงานสารสนเทศหรือขอมูลที่ตองการใชงานน้ันจัดเก็บอยูในระบบสารสนเทศใด จึงเปนภาระของผูจัดทําขอมูลที่จะตองตอบคําถามหรือจัดสงขอมูลเดิมซ้ําแลวซ้ําอีก การพัฒนาเว็บพอรทอลจะชวยใหทุกฝายมีแหลงเขาถึงขอมูลดานการศึกษาตามสิทธ์ิที่เหมาะสมไดจากจุดเดียว วัตถุประสงค

1. อํานวยความสะดวกใหแกผูบริหารและผูปฏิบัติงาน ในการประยุกตใชระบบสารสนเทศตางๆที่มักมีรูปลักษณแตกตางกัน โดยกําหนดใหการเริ่มตนใชระบบสารสนเทศทั้งหมด มีรูปลักษณเดียวกันเสมอ จนกวาผูใชจะใสรหัสผานที่ถูกตอง จึงจะมีสิทธ์ิใชระบบสารสนเทศตามภารกิจของแตละฝาย

2. ลดความยุงยากในการจดจํารหัสผาน (Password) ที่อาจแตกตางกันไปในแตละระบบงาน 3. อํานวยความสะดวกใหแกผูพัฒนาระบบสารสนเทศในการปรับปรุงระบบสารสนเทศ เพราะจะสงผล

กระทบเฉพาะผูใชบางสวนที่เกี่ยวของเทาน้ัน ทําใหไมตองเสียเวลาไปทําความเขาใจกับผูใชรายอื่น 4. สรางอุปนิสัยการใชระบบสารสนเทศ เพื่อการสืบคนขอมูลจากคอมพิวเตอร ทดแทนการสืบคนจากตูเก็บ

เอกสารหรือการโทรศัพทถามจากเจาหนาที่โดยตรง เปาหมาย เชิงปริมาณ

1. ขอมูลดานการศึกษามีความสมบูรณมากข้ึน เพราะการใชงานที่สะดวกจะเอื้อตอการปรับปรุงบํารุงรักษาขอมูลใหมีความถูกตองทันสมัยไดอยางรวดเร็ว

2. เพิ่มจํานวนผูใชขอมูลดานการศึกษาในการปฏิบัติหนาที่ การบริหารจัดการและการตัดสินใจของผูบริหาร เชิงคุณภาพ

1. อํานวยความสะดวกรวดเร็วในการจัดเก็บ สืบคน ตลอดจนการจัดทํารายงานใหแกผูใชงานที่หลากหลายระบบสารสนเทศ

2. ผูจัดทําขอมูลมีเวลาเหลือพอที่จะปฏิบัติหนาที่หลักตามสายงาน เพราะไมตองเสียเวลาตอบคําถามหรือจัดสงขอมูลใหแกผูรองขอที่มักมีความซ้ําซอนกัน

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีระบบเว็บพอรทอล 2. จํานวนผูใชระบบเว็บพอรทอล 3. ระดับความพึงพอใจของผูใชที่มีตอการใชระบบเว็บพอรทอล

Page 69: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-8 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

งบประมาณโครงการ งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 10 ลานบาท

ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561 กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดประชุมคณะทํางาน เพื่อรวมกันพิจารณาคัดเลือกระบบสารสนเทศที่เหมาะสมตอการนํามาประยุกตใชกับเว็บพอรทอล

2. จัดใหมีการจัดหา/จัดจางพัฒนาเว็บพอรทอล และระบบ Single Sign on ตามขอตกลงในที่ประชุมคณะทํางาน

3. จัดใหมีการประชาสัมพันธการใชเว็บพอรทอล ใหแกผูบริหารและผูปฏิบัติงานไดรับทราบทั่วกัน อยางนอย ควรแจงใหผูรองขอขอมูลไปใชขอมูลจากเว็บพอรทอลเอง

4. จัดใหมีการกําหนดสิทธ์ิและยกเลิกสิทธ์ิการใชเว็บพอรทอล ของผูบริหารและผูปฏิบัติงานตามแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยขอมูลสารสนเทศอยางเครงครัด

5. จัดใหมีผูดูแลรับผิดชอบเรื่องการกําหนดสิทธ์ิและยกเลิกสิทธ์ิ รวมทั้งการกําหนดและยกเลิกรหัสผานดวย 6. เพิ่มจํานวนระบบสารสนเทศที่สมควรอยูในการควบคุมของเว็บพอรทอล จนกวาจะครบทุกระบบ

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. อํานวยความสะดวกใหแกผูใชงานในการจัดเก็บขอมูล การปรับปรุงขอมูล การเขาถึงขอมูล ตลอดจนการจัดทํารายงานสารสนเทศดานการศึกษาจากเว็บไซตกลางเพียงแหงเดียว

2. สนับสนุนการเปลี่ยนรหัสผาน (Password) ตามหลักการรักษาความปลอดภัยที่ดีในระบบสารสนเทศ เพราะผูใชมีรหัสผานเพียงตัวเดียว แตสามารถที่จะใชงานไดหลายระบบ

3. ลดการขอขอมูลซ้ําซอนจากแหลงกําเนิดขอมูล เชน สถานศึกษา เปนตน เน่ืองจากผูขอขอมูลมักไมทราบวากระทรวงศึกษาธิการมีการจัดเตรียมรายงานขอมูลดานการศึกษาเบื้องตนไวเรียบรอยแลว

4. อํานวยความสะดวกในการใหบริการขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสแกประชาชน และภาคเอกชน

Page 70: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 9 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการพัฒนาระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียนผานระบบเครือขาย หลักการและเหตุผล

การประกาศรับสมัครเรียนของสถานศึกษาตางๆ ซึ่งสวนใหญมักมีการสอบแขงขันในเวลาที่แตกตางกัน สงผล

ใหนักเรียน นักศึกษา ผูปกครอง จะตองเดินทางและจัดเตรียมเอกสารคอนขางมาก หลังจากที่ผานพนชวงเวลาของการรับสมัครและการประกาศผลสอบ ผูเกี่ยวของทุกฝายจําเปนตองจัดทําขอมูลสรุป และเตรียมการจัดทําขอมูลสงใหแกตนสังกัดอีกหลายข้ันตอน ที่ลวนตองกรอกขอมูลจากแบบฟอรมเอกสารเขาสูระบบสารสนเทศ เพิ่มภาระในการปฏิบัติหนาที่จากปกติ ดังน้ัน การพัฒนาระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียนจะชวยอํานวยความสะดวกใหแกผูเรียนและผูเกี่ยวของในการจัดเก็บขอมูลต้ังแตแหลงกําเนิดขอมูล วัตถุประสงค

1. เพื่อใหผูเรียนสามารถสมัครเรียนสมัครสอบ และแสดงเจตจํานงในการรายงานตัวเขาสถานศึกษาตางๆ ผานทางระบบเครือขาย

2. จัดเก็บขอมูลทะเบียนผูเรียนรายบุคคล จากผูเปนเจาของขอมูลเอง 3. จัดเก็บขอมูลสถิติเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนผูประสงคจะเขาระบบการศึกษาในระดับตาง ๆตลอดจนการ

เขาเรียนในสถานศึกษาตางๆ 4. ลดภาระการกรอกขอมูลทะเบียนผูเรียนรายบุคคลของหนวยงานที่จัดการศึกษา

เปาหมาย เชิงปริมาณ

1. จํานวนนักเรียนที่สมัครเรียนและแสดงเจตจํานงในการรายงานตัว ไดรับความสะดวกในการดําเนินงาน ทั้งน้ีข้ึนอยูกับจํานวนสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ

2. จํานวนเจาหนาที่และสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ ไดรับความสะดวกในการตรวจสอบขอมูลพื้นฐานของผูสมัครเรียน โดยลดการใชเอกสาร

3. ปริมาณการจราจรที่ลดลงในชวงเวลาของการรับสมัครและรายงานตัวผูเรียน

เชิงคุณภาพ 1. ขอมูลที่ไดรับจากระบบสมัครเรียนและรายงานตัวฯ จะเปนขอมูลที่ถูกตอง เพราะไดรับการยืนยันจากผู

เปนเจาของขอมูลเอง 2. ความรวดเร็วในการไดมาของขอมูลพื้นฐานนักเรียนรายบุคคลที่สามารถนํามาประยุกตใชคลังขอมูลดาน

การศึกษา 3. การประมาณการจํานวนนักเรียนที่อาจตกหลนหรือไมสามารถหาที่เรียนได เพื่อเตรียมความพรอมในการ

จัดหาที่เรียนลวงหนาไดอยางรวดเร็วกอนเปดภาคการศึกษา

Page 71: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-10 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีระบบรับสมัครเรียนสมัครสอบและแสดงเจตจํานงในการรายงานตัวผูเรียนผานระบบเครือขาย 2. จํานวนสถานศึกษาที่มีการใชระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียนผานระบบเครือขาย 3. จํานวนผูใชระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียนผานระบบเครือขาย

งบประมาณโครงการ

งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 5 ลานบาท ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561 กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดใหมีการจัดหา/พัฒนาระบบรับสมัครและรายงานตัวเขาสถานศึกษาผานระบบเครือขาย โดยกําหนดใหมีการวิเคราะหออกแบบใหสามารถใชขอมูลจากคลังขอมูลดานการศึกษาดวย

2. จัดใหมีการประชุมคณะทํางาน เพื่อคัดเลือกสถานศึกษาเขารวมโครงการ และรวมกันหาแนวทางปองกันปญหาตางๆ ที่นําไปสูการเสียสิทธ์ิของผูประสงคจะสมัครเรียนหรือแสดงเจตจํานงในการรายงานตัว

3. จัดใหมีการประชาสัมพันธเผยแพรวิธีใชระบบรับสมัครและรายงานตัวผูเรียน ใหแกสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ

4. จัดใหมีการซักซอมวิธีการรับสมัครและรายงานตัวผูเรียน เพื่อปองกันปญหาความผิดพลาดตางๆ ที่อาจกอใหเกิดการเสียสิทธ์ิของผูประสงคจะสมัครเรียนและแสดงเจตจํานงในการรายงานตัว

5. จัดใหมีการรับเรื่องรองเรียนและแกไขปญหาฉุกเฉิน ในระหวางที่มีการสมัครเรียนและรายงานตัวผานระบบเครือขาย จนถึงข้ันตอนการสอบและประกาศผลสอบของสถานศึกษา

6. ติดตามประเมินผลการรับสมัครและรายงานตัว เพื่อหาขอสรุปแนวทางการขยายโครงการ หรือขยายศักยภาพของระบบใหสามารถประยุกตใชไดกับสถานศึกษาทุกแหง

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. การจัดเก็บขอมูลจากผูเรียนโดยตรง จะชวยใหการตรวจสอบขอมูลมีความถูกตองต้ังแตเริ่มแรกของกระบวนการจัดเก็บขอมูล

2. ลดภาระของครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่จะไมตองเสียเวลากรอกขอมูลภายหลัง 3. การเตรียมความพรอมลวงหนาในการจัดสถานศึกษาใหแกนักเรียนกอนการเปดภาคเรียน

Page 72: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 11 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการพัฒนาระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษา หลักการและเหตุผล

การสมัครเรียนและการสมัครงานต้ังแตอดีตจนปจจุบัน จําเปนตองใชผลสําเร็จการศึกษาเปนขอมูลประกอบ

สงผลใหเกิดการใชเอกสารจํานวนมาก ซึ่งในภาวการณแขงขันสูงทางสังคมและเศรษฐกิจ เอกสารแสดงผลสําเร็จการศึกษาย่ิงเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยยืนยันความสามารถเบื้องตนของบุคคลไดในระดับหน่ึง จึงเกิดการปลอมแปลงเอกสารผลสําเร็จการศึกษา นํามาสูความไมเช่ือมั่นในเอกสารที่กลาวอาง หลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนจึงใชวิธีขอคํายืนยันอยางเปนทางการจากสถานศึกษาโดยตรง สงผลใหเกิดภาระงานแกเจาหนาที่เพิ่มมากข้ึน

วัตถุประสงค

1. เพื่อพัฒนาระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษาทุกระดับ 2. สนับสนุนการใหบริการขอมูลดานการศึกษาแกประชาชน และหนวยงานภาคเอกชน

เปาหมาย เชิงปริมาณ

1. ระยะเวลาที่ลดลงในการดําเนินงานเพื่อยืนยันผลสําเร็จการศึกษาของผูเรียน ต้ังแตข้ันตอนการรองขอจนถึงการจัดทํารายงานยืนยัน

2. ลดเรื่องรองเรียนฟองรองในคดีความการใชเอกสารแสดงผลสําเร็จการศึกษาอันเปนเท็จ เชิงคุณภาพ

1. ลดภาระการคนหาและแจงยืนยันผลสําเร็จการศึกษาของผูเรียน ใหแกหนวยงานที่รองขอทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

2. หนวยงานภาครัฐและเอกชนมีความเช่ือมั่นในผลสําเร็จการศึกษาของผูเรียน ที่นํามาอางอิงในการสมัครเขาเรียนหรือสมัครเขาทํางาน

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษาทุกระดับ 2. จํานวนผูใชระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษา 3. ระดับความพึงพอใจในการสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษา

งบประมาณโครงการ

งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 5 ลานบาท ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561

Page 73: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-12 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดใหมีการจัดหา/พัฒนาระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษา ผานระบบเครือขาย หรือผานบัตรประชาชนแบบสมารทการด

2. จัดใหมีการประชาสัมพันธการใชระบบสืบคนขอมูลผูสําเร็จการศึกษา 3. จัดใหมีการรับเรื่องรองเรียนและแกไขปญหาฉุกเฉิน โดยเฉพาะในชวงเริ่มตนของการเริ่มใชระบบฯ เพื่อ

ปองกันการแสวงหาผลประโยชนในทางมิชอบของมิจฉาชีพ 4. ติดตามประเมินผล และหาขอสรุปแนวทางการปรับปรุงระบบฯ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูใชไดมาก

ที่สุด ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

เพื่อประโยชนในการตรวจสอบขอมูลผูสําเร็จการศึกษาของทุกสังกัด ซึ่งจําเปนตอการสมัครเขาศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน หรือการสมัครงาน ชวยสรางความมั่นใจและใหบริการแกภาคเอกชนในการตรวจสอบเบื้องตนกอนที่จะมีการขอเอกสารสําคัญ และลดภาระการยืนยันผลการตรวจสอบของสถานศึกษา ในกรณีที่มีการรองขอจากหนวยงานตางๆของภาครัฐและภาคเอกชน

Page 74: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 13 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง หลักการและเหตุผล

การจัดเก็บขอมูลนักเรียนและสถานศึกษาต้ังแตอดีตจนปจจุบัน ประสบปญหาบางประการเกี่ยวกับรหัส

ประจําตัวที่อาจไมมีอยู หรือมีการเปลี่ยนแปลงไดตามสถานการณ อาท ิสถานศึกษามีการโอนยายสังกัดตามกฎหมาย ทําใหมีการเปลี่ยนรหัสใหม เด็กนักเรียนที่เปนบุคคลไรสัญชาติจะไมมีเลขประจําตัวประชาชน แตกฎหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษาของไทยจะตองอํานวยการใหเขาศึกษาได เด็กนักเรียนตางชาติใชเลขที่หนังสือเดินทางเปนรหัสประจําตัว แตก็อาจเปลี่ยนแปลงไดทุกครั้งที่มีการเดินทางเขา-ออกประเทศไทย ดังน้ัน การติดตามขอมูลจึงขาดความตอเน่ืองสงผลใหขาดความถูกตองสมบูรณของคลังขอมูลดานการศึกษา อีกทั้งไมมีหนวยงานกลางของประเทศที่สามารถจะรับภาระหรือมีพันธกิจในการจัดทํารหัสประจําตัวนักเรียนและสถานศึกษาได วัตถุประสงค

1. จัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง เพื่อการจัดทําทะเบียนขอมูลนักเรียนและขอมูลสถานศึกษา ของทุกสังกัดและทุกประเภทการศึกษา

เปาหมาย เชิงปริมาณ

1. นักเรียนจํานวนประมาณปการศึกษาละ 14 ลานคน จะมีเลขรหัสประจําตัวที่สามารถรวมกันใชงานไดในทุกสถานศึกษา และทุกประเภทการศึกษา

2. จํานวนขอมูลนักเรียนรายบุคคลที่ไดรับการติดตามอยางตอเน่ือง ไมวาจะยายไปอยูสถานศึกษาใด 3. มีหนวยงานกลางที่ทําหนาที่ในการกําหนดรหัสประจําตัวนักเรียน และสถานศึกษาของประเทศ

เชิงคุณภาพ 1. การใชรหัสประจําตัวนักเรียนอยางเปนเอกภาพในทุกสถานศึกษา จึงสะดวกงายดายตอการจัดเก็บและ

ติดตามขอมูล 2. ลดภาระการกรอกขอมูลพื้นฐานรายบุคคลซึ่งสวนใหญมีความคงที่ ใหสามารถใชขอมูลจากคลังขอมูลได

ทันที 3. ติดตามขอมูลสถานศึกษาไดอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีที่มีการยายสังกัด

ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีสํานักทะเบียนกลาง งบประมาณโครงการ

งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 3 ลานบาท ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561

Page 75: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-14 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดประชุมคณะกรรมการบริหารขอมูลดานการศึกษา เพื่อขออนุมัติหลักการและความเห็นชอบในการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง

2. จัดประชุมคณะทํางานเพื่อดําเนินการจัดต้ังสํานักทะเบียนกลาง โดยเชิญผูแทนจากหนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเขารวมดําเนินการ

3. จัดทําระเบียบและแนวปฏิบัติในการกําหนดรหัสประจําตัวนักเรียน รหัสถานศึกษา ใหมีความเปนเอกภาพ เพื่อที่ทุกหนวยงาน

4. จัดประชุมช้ีแจงสรางความเขาใจและความรวมมือจากผูบริหารระดับสูงของหนวยงานที่จัดการศึกษา ทั้งภายในและภายนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในการประยุกตใชรหัสประจําตัวนักเรียน และรหัสสถานศึกษา

5. จัดการประชาสัมพันธเผยแพรในการใชรหัสประจําตัวนักเรียน และรหัสสถานศึกษาใหแกหนวยงานที่จัดการศึกษาทั้งภายในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

6. ติดตามและปรับปรุงระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการขอมูลดานการศึกษา ใหใชรหัสตามที่สํานักทะเบียนกลางกําหนด

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. การติดตามขอมูลนักเรียนรายบุคคลเปนไปอยางสะดวกรวดเร็ว ลดปญหาขอมูลตกหลน หรือความเขาใจที่คลาดเคลื่อนวาเปนเด็กออกกลางคัน

2. การอางอิงตรวจสอบขอมูลเบื้องตนของสถานศึกษาและนักเรียน สามารถนํามาใชคาดการณหรือเตรียมการทํางานลวงหนาไดอยางสะดวกรวดเร็ว เชน การจัดสอบหรือการประเมินคุณภาพการศึกษา

3. รับทราบประชากรนักเรียนที่แทจริงทั้งที่เปนชาวไทย ชาวตางชาติ และเด็กไรสัญชาติ 4. รองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน (AC) เน่ืองจากมีการเคลื่อนไหวขอมูลผูเรียนและสถานศึกษา

สําหรับผูประสงคจะเรียนตอในประเทศกลุมอาเซียน และการเปดสาขาของสถานศึกษาตางๆ

Page 76: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 15 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) หลักการและเหตุผล

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในปจจุบัน มีภัยคุกคามที่เกิดจากผูไมประสงคดีภายนอก

ความประมาทและความรูเทาไมถึงการณของผูใชภายในองคกร ซึ่งเปนการยากที่จะหลีกเลี่ยง ดังน้ัน การรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบ ICT จึงเปนประเด็นจําเปนที่ตองดําเนินการอยางเครงครัดรัดกุม เพราะความเสียหายที่เกิดข้ึนจะสงผลกระทบโดยตรงตอคลังขอมูลดานการศึกษา ซึ่งไมอาจจัดซื้อจัดหามาจากที่ใดได และประการสําคัญคือ การเปดโอกาสใหมีการบุกรุกโจมตีระบบสารสนเทศ หรือละเลยการปองกันรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบสารสนเทศ ถือเปนความรับผิดชอบของผูบริหารสูงสุดของแตละหนวยงาน ตามกฎหมายหรือพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรอีกดวย

วัตถุประสงค

1. เพื่อใหมีแนวทางในการปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ 2. เพื่อใหทุกฝายตระหนักถึงความสําคัญ และใหความรวมมือในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. เพื่อใหมีการทบทวนและปรับปรุงการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ ตามกรอบแนว

ทางการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดําเนินการอยางตอเน่ืองในปตอๆไป

4. จัดหาระบบและอุปกรณรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ เปาหมาย เชิงปริมาณ

1. การรักษาความปลอดภัยที่ครอบคลุมประเด็นการบุกรุกโจมตี ซึ่งเกิดภัยคุกคามรูปแบบใหมเพิ่มข้ึนทุกวัน 2. การรักษาความปลอดภัยของคลังขอมูลดานการศึกษาประมาณ 20 ลานเรคอรด

เชิงคุณภาพ 1. คลังขอมูลดานการศึกษามีความปลอดภัย สามารถใชงานไดอยางตอเน่ือง ดวยความถูกตองสมบูรณ และ

รักษาความลับของขอมูลไดตามมาตรฐานสากล ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศที่ประกาศใชอยางเปนทางการ 2. ระดับความเช่ือมั่นที่มีตอความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ 3. จํานวนภัยคุกคามที่สงผลกระทบตอความเสียหายของขอมูล

งบประมาณโครงการ

งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 3 ลานบาท

Page 77: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-16 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561 กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดใหมีการจัดหาที่ปรึกษาหรือผูเช่ียวชาญ เพื่อดําเนินการจัดทําแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2. จัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยฯ เพื่อปรับปรุงใหเหมาะสมในทางปฏิบัติ เกิดการยอมรับ และการใหความรวมมือของทุกฝาย จนนําไปสูการประกาศใชอยางเปนทางการ

3. จัดใหมีการแตงต้ังคณะทํางานหรือเจาหนาที่ เพื่อทําหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยฯในประเด็นตางๆ ตามขอกําหนดในแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยฯ

4. จัดหาระบบและอุปกรณรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ 5. จัดใหมีการสงเสริมความรูความเขาใจและความตระหนักในการมีสวนรวม ที่จะรักษาความปลอดภัยใน

คลังขอมูลดานการศึกษาอยางเครงครัด 6. จัดใหมีการตรวจสอบและทบทวนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยฯ อยางเครงครัดเปนระยะๆ หรือตาม

ขอกําหนดในแผนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยฯ ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. รักษาความถูกตองสมบูรณ ความลับ และความตอเน่ืองในการใชคลังขอมูลดานการศึกษา 2. สรางความเช่ือมั่นตอผูใชและเจาของขอมูลในมิติตางๆ ที่เกี่ยวของกับการปกปดขอมูล และการจัดทํา

สารสนเทศดานการศึกษา 3. อํานวยความสะดวกในการใชงานและการเขาถึงขอมูลไดอยางปลอดภัยตามมาตรฐานสากล เชน การใช

รหัสผานเพื่อขอใชขอมูลอยางจํากัดตามสิทธ์ิ การเขารหัสขอมูลเพื่อปองกันการเปดเผยขอมูล เปนตน 4. ผูบริหารและผูปฏิบัติงานในหนวยงาน มีความรับผิดชอบและไดปฏิบัติตามกฎหมายหรือพระราชบัญญัติ

ที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอรแลว

Page 78: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา 17 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

โครงการสํารวจวิเคราะหความเชื่อมั่นท่ีมีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา หลักการและเหตุผล

การใชคลังขอมูลดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ การบริหารจัดการและสนับสนุน

การตัดสินใจของผูบริหาร โดยเฉพาะอยางย่ิงการจัดทํารายงานผลสรุปและวิเคราะหขอมูลดานการศึกษา มักถูกมองลวงหนาวาขอมูลไมมีความนาเช่ือถือ ขาดความสมบูรณ นําไปสูการใชขอมูลเชิงประจักษแทนการใชขอมูลสารสนเทศ แตในขณะเดียวกัน ผูปฏิบัติงานขอมูลยังคงตองทําหนาที่ในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลเดิม ในแบบฟอรมใหมหรือหนวยงานใหมที่มีการรองขออยูเปนประจํา เน่ืองจากอาจไมเช่ือมั่นตอขอมูลที่มีอยูในระบบสารสนเทศหรอืคลังขอมูลก็ตาม ทั้งที่ความเปนจริง การรองขอขอมูลซ้ําจากหนวยจัดเก็บขอมูลหรือสถานศึกษาน้ัน ก็เปนขอมูลชุดเดียวกันกับที่จัดเก็บไวในคลังขอมูล ดังน้ันการวิเคราะหความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา จะชวยหาขอสรุปหรือแนวทางการสรางความเช่ือมั่นใหแกทุกฝายไดอยางถูกวิธี

วัตถุประสงค

1. เพื่อวิเคราะหระดับความเช่ือมั่น และสาเหตุของความไมเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา เปาหมาย เชิงปริมาณ

1. วิเคราะหความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษาของผูบริหารทุกระดับประมาณ 50,000 คน 2. วิเคราะหความเช่ือมั่นที่มีตอการใชขอมูล 4 กลุมคือ

ขอมูลรายบุคคลของนักเรียนนักศึกษา

ขอมูลรายบุคคลของครูและบุคลากรทางการศึกษา

ขอมูลสถานศึกษารายสถานศึกษา

ขอมูลผูสําเร็จการศึกษา เชิงคุณภาพ

1. ผูบริหารระดับสูงมีความเช่ือมั่นตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา 2. ผูปฏิบัติงานลดภาระในการจัดเก็บและจัดสงขอมูลซ้ําซอนใหแกหนวยงานตางๆ ทั้งที่เปนตนสังกัดและ

หนวยงานภายนอก ตัวชี้วัดความสําเร็จ

1. มีการสํารวจเพื่อวิเคราะหระดับความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา 2. มีผลวิเคราะหระดับความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา

งบประมาณโครงการ

งบประมาณดําเนินการรวมทั้งสิ้น 4 ลานบาท

Page 79: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

หนา ก-18 ภาคผนวก ก. โครงการเพื่อการพัฒนาคลังขอมูลดานการศึกษา

ระยะเวลาดําเนินโครงการ ปงบประมาณ 2558-2561 กิจกรรมดําเนินงาน

1. จัดใหมีการจัดจางดําเนินการสํารวจระดับความเช่ือมั่นที่มีตอการใชคลังขอมูลดานการศึกษา จากสถานศึกษาทั่วประเทศ และผูบริหารของกระทรวงศึกษาธิการ โดยการสุมตัวอยางในปริมาณที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ

2. จัดใหมีการประชุมช้ีแจงประชาสัมพันธเพื่อสรางความเขาใจในการสํารวจขอมูลความเช่ือมั่น 3. ดําเนินการสํารวจและวิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินระดับความเช่ือมั่น และสรุปสาเหตุของความไมเช่ือมั่น 4. จัดทํารายงานผลการวิเคราะห และขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการสรางความเช่ือมั่นที่มีตอการใช

คลังขอมูลดานการศึกษา ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. สงเสริมสนับสนุนการใชประโยชนจากคลังขอมูลดานการศึกษา ในการที่จะหาจุดบกพรองหรือขอติดขัดตางๆ ในการใชงานทีนํ่าไปสูความไมเช่ือนาเช่ือถือของขอมูล

2. ลดความเขาใจที่คลาดเคลื่อนตอการนําเสนอรายงานสารสนเทศ เชน ผูใชตรวจสอบขอมูลจากเว็บไซตของตนสังกัดอาจไมตรงกับขอมูลที่ไดจากสถานศึกษา เพราะชวงเวลาการจัดเก็บขอมูลแตกตางกันและขอมูลดานการศึกษามีความเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปนตน

3. การสํารวจวิเคราะหความเช่ือมั่น ถือเปนการประชาสัมพันธใหเห็นประเด็นที่นําไปสูความไมเช่ือมั่นของผูใชขอมูลบางสวนได ซึ่งอาจสงผลตอภาพลักษณที่ดีของความพยายามจัดเก็บและบํารุงรักษาขอมูลใหมีความถูกตองสมบูรณของศูนยสารสนเทศเพื่อการศึกษาแหงชาติ (NEIS)

หมายเหตุ : งบประมาณที่ระบุไวในแตละโครงการ เปนเพียงประมาณการเบื้องตน เพราะในทางปฏิบัติอาจตองมีการ

สํารวจตามกระบวนการจัดซื้อจัดจาง ขอบเขตอํานาจหนาที่ของหนวยงานที่จัดการศึกษา รวมทั้งจํานวนหนวยงานหรือบุคคลที่เขารวมโครงการดวย

Page 80: แผนยุทธศาสตร การพัฒนาคลังข อมูลด านการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ - …หน า 2 แผนยุทธศาสตร

จัดทำโดย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกระทรวงศึกษาธิการ อาคารรัชมังคลาภิเษก ชั้น ๔โทร 0-2628-5643 ตอ 41-42 โทรสาร 0-2282-9241