38
142 ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรม

ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

142

ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรม

Page 2: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

143

รูปที่ ก.1 แผนภูมิไหลของโปรแกรมส่วนที่ 1

Page 3: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

144

รูปที่ ก.2 แผนภูมิไหลของโปรแกรมส่วนที่ 2

Page 4: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

145

รูปที่ ก.3 แผนภูมิไหลของโปรแกรมส่วนที่ 3

Page 5: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

146

รูปที่ ก.4 แผนภูมิไหลของโปรแกรมส่วนที่ 4

Page 6: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

147

ภาคผนวก ข การตรวจสอบความแม่นย าของโปรแกรม

Page 7: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

148

ตัวอย่างอาคารสูงที่ 1

รูปที่ ข.1 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 1 หน้าที่ 1

Page 8: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

149

รูปที่ ข.2 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 1 หน้าที่ 2

Page 9: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

150

รูปที่ ข.3 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 1 หน้าที่ 3

Page 10: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

151

ตัวอย่างอาคารสูงที่ 2

รูปที่ ข.4 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 2 หน้าที่ 1

Page 11: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

152

รูปที่ ข.5 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 2 หน้าที่ 2

Page 12: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

153

รูปที่ ข.6 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 2 หน้าที่ 3

Page 13: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

154

ตัวอย่างอาคารสูงที่ 3

รูปที่ ข.7 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 3 หน้าที่ 1

Page 14: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

155

รูปที่ ข.8 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 3 หน้าที่ 2

Page 15: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

156

รูปที่ ข.9 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 3 หน้าที่ 3

Page 16: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

157

ตัวอย่างอาคารสูงที่ 4

รูปที่ ข.10 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 4 หน้าที่ 1

Page 17: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

158

รูปที่ ข.11 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 4 หน้าที่ 2

Page 18: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

159

รูปที่ ข.12 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 4 หน้าที่ 3

Page 19: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

160

ตัวอย่างอาคารสูงที่ 5

รูปที่ ข.13 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 5 หน้าที่ 1

Page 20: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

161

รูปที่ ข.14 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 5 หน้าที่ 2

Page 21: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

162

รูปที่ ข.15 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 5 หน้าที่ 3

Page 22: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

163

ตัวอย่างอาคารสูงที่ 6

รูปที่ ข.16 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 6 หน้าที่ 1

Page 23: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

164

รูปที่ ข.17 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 6 หน้าที่ 2

Page 24: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

165

รูปที่ ข.18 การตรวจสอบผลการค านวณอาคารตัวอย่างที่ 6 หน้าที่ 3

Page 25: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

166

ภาคผนวก ค ตัวอย่างค าอธิบายชุดค าสัง่ในโปรแกรม

Page 26: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

167

1) การประจายแรงลมปะทะอาคารเข้าสู่แต่ละชั้น เช่น =IF(E9<10,IF(F9<10,D9*B$7*G$2,((F9-10)*C$7+(D9-F9+10)*B$7)*G$2),IF(E9<20,IF(F9<20,IF(F9-D9<10,((F9-E9)*C$7+(D9-F9+10)*B$7)*G$2,D9*C$7*G$2),((F9-20)*D$7+(D9-F9+20)*C$7)*G$2),IF(E9<40,IF(F9<40,IF(F9-D9<20,((F9-20)*D$7+(D9-F9+20)*C$7)*G$2,D9*D$7*G$2),((F9-40)*E$7+(D9-F9+40)*D$7)*G$2),D9*E$7*G$2))) หมายถึง การเทียบใช้ค่าความสูงสะสม ความสูงชั้น กับระดับความสูงมาตรฐาน โดยจะสามารถอธิบายได้คือ ถ้าความสูงของชั้นมีค่าน้อยกว่าสิบเมตร แล้วคร่ึงหนึ่งของชั้นถัดไปยังไม่เกินกว่าสิบเมตร ให้สามารถน าความยาวอาคารคูณกับความสูงคร่ึงหนึ่งของชั้นดังกล่าว และ อีกคร่ึงหนึ่งของชั้นถัดไป เป็นเนื้อที่รับแรงลม คูณด้วย 40 จะเท่ากับแรงลม ถ้าไม่ใช่ให้พิจารณาต่อไปว่า ถ้าระดับความสูงสะสมน้อยกว่าสิบเมตร แต่ ความสูงคร่ึงหนึ่งของชั้นถัดไปสูงเกินกว่าสิบเมตร ให้คิดแยกระหว่างความสู่งคร่ึงหนึ่งของชั้นข้างล่าง ส่วนที่ไม่เกินสิบเมตรของความสูงคร่ึงหนึ่งของชั้นถัดไป คูณด้วยความกว้างอาคาร จะได้พื้นที่ปะทะแรงลมความสูงไม่เกิน 10 เมื่อคูณด้วย 40 จะเท่ากับแรงลมในส่วนที่ปะทะด้วยลมความสูงไม่เกิน 10 ต้องน าไปรวมกับความสูงที่เกินสิบเมตรของความสูงคร่ึงหนื่งของชั้นถัดไป คูณด้วยระยะความกว้างอาคาร จะได้เนื้อที่ความสูงเกิน 10 เมตรเมื่อคูณด้วย 80 จะได้แรงลมในความสูงเกินสิบเมตรของชั้น จากนั้นให้น าค่าแรงลมที่อยู่ไม่เกินสิบเมตร และ สูงเกินสิบเมตรมารวมกัน จึงจะได้แรงลมที่ปะทะในชั้นนั้นๆ โดยจะต้องวางเงื่อนไขของการเหลื่อมเกณฑ์ความสูงทั้งส่วนของความสูงสะสม และ ส่วนของ คร่ึงหนื่งของชั้นที่แล้ว และ ส่วนของ คร่ึงหนึ่งของชั้นถัดไป ส าหรับเกณฑ์ความสูงทั้ง 4 ระดับชั้น 2) การกระจายแรงแผ่นดินไหวเข้าสู่แต่ละชั้น เช่น =IF(S33>C$1,"0",IF(W$8=0,V$8,IF(S33>W$8,IF(W$9=0,V$9,IF(S33>W$9,IF(S33=C$1,"0",V$10),V$9)),V$8))) หมายถึง การค านวณพื้นที่เฉลี่ยของเสา ในกรณีที่เสามีการลดทอนขนาดลง โปรแกรมจ าเป็นต้องเลือกค่ามาใช้ได้อย่างถูกต้องตามเงื่อนไข และ ได้ค่าน้ าหนักของเสาที่ถูกต้อง =IF(S35>C$1,"0",IF(S35=C$1,((V$6+V$7)*J$31*K$31),((V$6+V$7)*J$31*K$31)+(U35*T35)))

Page 27: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

168

หมายถึง การพิจารณาถึงชั้นนั้นๆ ในกรณีที่เป็นชั้นบนสุดจะไม่คิดน้ าหนักของเสาในชั้นนั้นๆ =IF(S33=C$1,IF(0.1*(C$1-1)>0.7,((X33/X$63)*T$63)+(0.007*(C$1-1)*J$38),(X33/X$63)*T$63),(X33/X$63)*T$63) หมายถึง การพิจารณาว่า ชั้นดังกล่าวเป็นชั้นบนสุดหรือไม่ ในกรณีที่ใช้ให้พิจารณาต่อไปว่า ค่าจ านวนชั้นเมื่อน ามาพิจารณาตามเกณฑ์แล้วผ่านเกณฑ์หรือไม่ ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ หรือ ในการพิจารณาคร้ังแรกได้ผลว่าไม่ใช่ ให้ท าการค านวณอัตราส่วนน้ าหนักคูณความสูงของชั้นต่อทั้งหมดคูณกับแรงเฉือนที่ฐานได้เลย แต่ถ้าไม่ใช่ให้ท าการคิดค่าเผื่อเข้าไปอีก โดยพิจารณาค่าส่วนเพิ่มจากค่าแรงเฉือนที่ฐานเช่นกัน 3) การคิดค่าแข็งเกร็ง เช่น =15120*(SQRT($U$5))*X$5*(J3)*((K3)^3) หมายถึงการค านวณหาค่าความแข็งเกร็งของเสาจากค่าก าลังคอนกรีตและ ค่าเปอร์เซ็นต์การแตกหักของคอนกรีต โดยยังไม่ได้น าส่วนสูงมาคิด =IF(AND(J14>0,K14>0),IF(C$2=0,1/(((C$4*100)^3/(12*15120*(SQRT($U$5))*(X$5*((K14*100)^3)*J14)))+(12*(C$4*100)/(J14*K14*100*15120*(SQRT($U$5))/2.6))),1/(((C$2*100)^3/(12*15120*(SQRT($U$5))*(X$5*((K14*100)^3)*J14)))+(12*(C$2*100)/(J14*K14*100*15120*(SQRT($U$5))/2.6)))),"") หมายถึงการค านวณหาค่าความแข็งเกร็งของก าแพงรับแรงเฉือน โดยคิดจากความกว้างและความยาวที่ต้องระบุ แต่ความสูง โปรแกรมจะพิจารณาจากทั้ง 3 ช่วงความสูงที่กรอกมาแล้ว โดยจะท าการค านวณให้กับทั้ง 3 ค่าความสูง เพื่อให้โปรแกรมสามารถน าค่าที่ถูกต้องที่สุดไปค านวณต่อภายหลัง 4) การกระจายแรง เช่น

Page 28: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

169

=(info!L$21*force!C3)+(info!L$22*force!C4)+(info!L$23*force!C5)+(info!L$24*force!C6)+(info!L$25*force!C7)+(info!L$26*force!C8)+(info!L$27*force!C9)+(info!L$28*force!C10)+(info!L$29*force!C11)+(info!L$30*force!C12) เป็นการหาค่าระยะอ้างอิงคูณด้วยความแข็งเกร็งของแต่ละเฟรมเพื่อให้เป็นส่วนในการพิจารณาหาค่าความแข็งเกร็งและระยะเยื้องศูนย์ของแต่ละชั้น =IF(I$13=0,0,(I$13*C2/C$13)+(E2*I$13*G$14/F$13)) หมายถึงการน าค่าแรงของชั้นหนึ่ง ๆ มาพิจารณาหาค่าแรงของเฟรมหนึ่งๆ จากค่าของอัตราส่วน ของระยะเยื้องศูนย์ 5) การแสดงผลลัพธ์ เช่น =IF(OR(N80="Ok!",N80="-"),"-",IF(N80>3,3,N80)) การพิจารณาหาค่าปรับแก้ โดยตั้งเงื่อนไขไว้ว่า ถ้าชั้นดังกล่าวมีการเคลื่อนที่ผ่านเกณฑ์ หรือ ชั้นดังกล่าวไม่มีการพิจารณา ให้ข้ามขั้นตอนนี้ไป แต่ถ้าไม่ใช่ ให้พิจารณาว่า ค่าปรับแก้ที่คิดมาได้มีค่ามากกว่า 3 หรือไม่ ถ้ามากกว่าให้ใช้แค่ 3 พอ แต่ถ้าไม่มากกว่าให้ใช้ค่าที่โปรแกรมค านวณออกมาได้ =MAX(B80:L80) ค้นหาค่ามากที่สุด โดยนับแต่เซลที่มีตัวอักษร

Page 29: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

170

ภาคผนวก ง อาคารไม่สมมาตร

Page 30: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

171

มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร เพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย

1. ขอบข่าย 1.1 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวนี้เป็นข้อก าหนดเพิ่มเติมจากกฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เพื่อให้การออกแบบโครงสร้างอาคารควบคุมตามกฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ฯ มีความมั่งคงแข็งแรงและปลอดภัย 1.2 ข้อก าหนดในมาตรฐานน้ีไม่ครอบคลุมถึงงานก่อสร้างถนน สะพาน เขื่อน อุโมงค์และงานก่อสร้างอาคารชั่วคราว 1.3 ข้อก าหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปทรงของโครงสร้างเป็นข้อก าหนดส าหรับการจ าแนกอาคารตามลักษณะและรูปทรงของอาคาร เพื่อให้สอดคล้องกับการก าหนดรูปทรงของอาคารในกฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ฯ ซึ่งข้อก าหนดนี้ได้น ามาจากข้อก าหนดว่าด้วยลักษณะและรูปทรงของโครงสร้าง (Configuration Requirements) ของ Uniform Building Code พ.ศ. 2534 และ พ.ศ. 2540 1.4 ข้อก าหนดการเสริมเหล็กของโครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียวจ ากัดในส่วนที่ 4 เป็นข้อก าหนดขั้นต่ าส าหรับการออกแบบโครงสร้างอาคารควบคุมตามกฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ฯ ที่ใช้โครงต้านแรงดัดเป็นโครงสร้างต้านแรงด้านข้าง และเป็นข้อก าหนดที่นอกเหนือจากข้อก าหนดคอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป ซึ่งข้อก าหนดส่วนใหญ่เป็นไปตามข้อก าหนดการเสริมเหล็กส าหรับรับแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวในเขตพื้นที่รุนแรงปานกลางของ Building Code Requirements for Reinforced Concrete (ACI 318) 1.5 ข้อก าหนดการเสริมเหล็กของโครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียวจ ากัดในส่วนที่ 4 ไม่ครอบคลุมถึงองค์อาคารที่ไม่ระบุให้เป็นส่วนของระบบรับแรงด้านข้าง (Members not Designated as Part of the Lateral-Force-Resisting System) ยกเว้นแผ่นพื้นสองทางแบบไร้คานที่ไม่เป็นส่วนของระบบรับแรงด้านข้างจะต้องปฏิบัติตามข้อ 4.7.2 และ 4.8 ตามมาตรฐานน้ีด้วย 1.6 หากไม่ได้มีการระบุเป็นอย่างอ่ืนแล้ว การรวมน้ าหนักบรรทุก (Load Combinations) ในมาตรฐานนี้ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 โดยให้แทนผลของแรงลมด้วยแรงแผ่นดินไหวตามกฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ฯ

Page 31: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

172

1.7 มาตรฐานนี้ใช้หน่วย SI (International System units) เป็นหลักและมีหน่วยเมตริกก ากับในวงเล็บต่อท้าย โดยการแปลงหน่วยของแรงใช้ 1 กิโลกรัมแรงเท่ากับ 9.806 นิวตัน

2. ลักษณะและรูปทรงของโครงสร้าง โครงสร้างที่มีลักษณะไม่สม่ าเสมอ (Irregular Structure) : โครงสร้างที่ไม่มีความต่อเนื่องทางกายภาพของรูปทรง ลักษณะโครงสร้าง และมวลในแนวราบหรือแนวดิ่ง

รูปท่ี ง.1 โครงสร้างที่มีลักษณะไม่สม่ าเสมอของมวลในแนวราบหรือแนวดิ่ง ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว รศ.ดร.อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงสร้างที่มีลักษณะสม่ าเสมอ (Regular Structure) : โครงสร้างที่มีความต่อเนื่องทางกายภาพของรูปทรง ลักษณะโครงสร้าง และมวลในแนวราบหรือแนวดิ่ง

Page 32: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

173

รูปท่ี ง.2 โครงสร้างที่มีลักษณะสม่ าเสมอของมวลในแนวราบหรือแนวด่ิง ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว รศ.ดร.อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ลักษณะและรูปร่างของโครงสร้าง

2.1 ความไม่สม่ าเสมอของโครงสร้างในแนวดิ่ง (Vertical Structural Irregularities) 2.1.1 ความไม่สม่ าเสมอของสติฟเนส (Stiffness irregularity) หรือชั้นที่อ่อน(Soft story) : เช่น ชั้นที่มีสติฟเนสทางข้างน้อยกว่าร้อยละ 70 ของชั้นที่เหนือขึ้นไปหรือน้อยกว่าร้อยละ 80 ของสติฟเนสเฉลี่ยของสามชั้นที่เหนือขึ้นไป

รูปท่ี ง.3 ความไม่สม่ าเสมอของสติฟเนส ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว

Page 33: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

174

มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 5 2.1.2 ความไม่สม่ าเสมอของมวล (Mass irregularity) : มวลประสิทธิผล (Effective mass) ของชั้นใดๆมีค่ามากกว่าร้อยละ 150 ของชั้นที่ติดกัน

รูปท่ี ง.4 ความไม่สม่ าเสมอของมวล ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 5 2.1.3 ความไม่สม่ าเสมอทางเรขาคณิตของรูปทรงในแนวดิ่ง (Vertical Geometrical Irregularity) : มิติในแนวราบของระบบต้านทานแรงด้านข้างของชั้นใดๆ มีค่ามากกว่าร้อยละ 130 ของชั้นที่ติดกัน (ยกเว้น Penthouse)

รูปท่ี ง.5 ความไม่สม่ าเสมอทางเรขาคณิตของรูปทรงในแนวดิ่ง ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว

Page 34: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

175

มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 5 2.1.4 ความไม่ต่อเนื่องในระนาบขององค์อาคารต้านทานแรงด้านข้างในแนวดิ่ง (In-Plane Discontinuity in Vertical Lateral-Force-Resisting Element) : จะพิจารณาเมื่อระยะเยื้องในแนวระนาบขององค์อาคารต้านแรงทางข้างมีค่ามากกว่าความยาวขององค์อาคารนั้นๆ

รูปท่ี ง.6 ความไม่ต่อเนื่องในระนาบ ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 5 2.1.5 ความไม่ต่อเนื่องของก าลัง (Discontinuity in Capacity) หรือชั้นที่อ่อนแอ (Weak Story): ชั้นที่มีผลรวมของก าลังของชิ้นส่วนที่ท าหน้าที่ร่วมกันรับแรงแผ่นดินไหวในทิศทางที่พิจารณาทั้งหมด มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 80 ของชั้นที่เหนือถัดขึ้นไป

Page 35: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

176

รูปท่ี ง.7 ความไม่ต่อเนื่องของก าลัง ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 5 2.2 ความไม่สม่ าเสมอของผังโครงสร้าง (Plan Structural Irregularities) 2.2.1 ความไม่สม่ าเสมอในเชิงการบิด (Torsional Irregularity) – กรณีที่ไดอะแฟรมเป็นประเภทไม่อ่อนตัว (Not Flexible) : เมื่อค่าสูงสุดของการเคลื่อนตัวด้านข้างระหว่างชั้นในแนวตั้งฉากกับแนวแกน ที่ปลายด้านหน่ึงมีค่ามากกว่า 1.2 เท่าของค่าเฉลี่ยที่ปลายทั้งสองด้าน

รูปท่ี ง.8 ความไม่สม่ าเสมอเชิงการบิด

ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 6 2.2.2 ความไม่สม่ าเสมอจากการมีมุมหักเข้าข้างใน (Re-Entrant Corners) :เมื่อผังโครงสร้างและระบบต้านทานแรงด้านข้างมีลักษณะหักเข้าข้างใน ท าให้เกิดส่วนยื่น โดยที่ส่วนยื่นนั้นมีระยะฉายในแต่ละทิศทางมากกว่าร้อยละ 15 ของมิติของผังในทิศทางนั้น

Page 36: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

177

รูปท่ี ง.9 ความไม่สม่ าเสมอจากการมีมุมหักเข้าข้างใน

ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 7 2.2.3 ความไม่ต่อเนื่องของไดอะแฟรม (Diaphragm Discontinuity) : เมื่อไดอะแฟรมมีความไม่ต่อเนื่องหรือมีการเปลี่ยนแปลงสติฟเนสอย่างกะทันหัน รวมถึงการเจาะช่องเปิดมากกว่าร้อยละ 50 ของพื้นที่ไดอะแฟรมหรือสติฟเนสประสิทธิผลของไดอะแฟรมของชั้นใดชั้นหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับชั้นถัดไป

รูปท่ี ง.10 ความไม่ต่อเน่ืองของไดอะแฟรม ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 7

Page 37: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

178

2.2.4 การเยื้องออกจากระนาบ (Out-of-Plane Offsets) : เมื่อเส้นทางการถ่ายแรงของแรงด้านข้างมีความไม่ต่อเนื่อง เช่น การเยื้องของก าแพงรับแรงเฉือน

รูปท่ี ง.11 การเยื้องออกนอกระนาบ ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 7

2.2.5 ระบบที่ไม่ขนานกัน (Nonparallel System) : ระบบที่มีชิ้นส่วนแนวดิ่งที่ต้านแรงทางข้างวางตัวในแนวที่ไม่ขนานกันหรือไม่สมมาตรกัน

รูปท่ี ง.12 ระบบที่ไม่ขนานกัน ท่ีมาของภาพ มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย หน้า 7

Page 38: ภาคผนวก ก แผนภูมิไหลของโปรแกรมresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56_001/05.pdf · มยผ. 1301-50 มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร

179

ภาคผนวก จ คู่มือการใชง้านโปรแกรม