13
บทที4 การวิเคราะห์ข้อมูล การดาเนินการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับดังนี1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล X ̅ แทน คะแนนเฉลี่ย S.D. แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน 2. ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี2.1 วิเคราะห์ผลการพัฒนาบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ 2.2 วิเคราะห์คุณภาพของบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2.3 วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 ผลการพัฒนา E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเนื้อหา เกี่ยวกับ ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องผลการ พัฒนาบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีส่วนประกอบ สาคัญ คือ

การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

38

บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล

การด าเนินการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับดังนี้

1. สัญลักษณ์ท่ีใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

X̅ แทน คะแนนเฉลี่ย

S.D. แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน

2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้ศึกษาได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี้

2.1 วิเคราะห์ผลการพัฒนาบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย

คอมพิวเตอร์

2.2 วิเคราะห์คุณภาพของบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.3 วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 ผลการพัฒนา E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเนื้อหา

เกี่ยวกับ ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องผลการ

พัฒนาบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีส่วนประกอบ

ส าคัญ คือ

Page 2: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

39

3.1.1 หน้าแรกของบทเรียน E-learning เป็นหน้าที่ให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนใน

รายวิชาต่างๆ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการใช้บทเรียน

ภาพที่ 7 หน้าแรกของบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1.2 หน้าเข้าสู่ระบบบทเรียน E-learning เป็นหน้าที่ให้ผู้เรียนเข้าสู่ระบบก่อนเข้า

เรียนและหน้าสมัครเป็นสมาชิกเพ่ือที่จะเข้าไปเรียนในบทเรียน E-learning

ภาพที่ 8 หน้าเข้าสู่ระบบบทเรียนของบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 3: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

40

3.1.3 หน้าต้อนรับ เป็นหน้าที่ต้อนรับผู้เรียนเมื่อผู้เรียนได้เข้าสู่เรียนบทเรียน

E-learning

ภาพที่ 9 หน้าต้อนรับของบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1.4 หน้าเมนูเนื้อหาในบทเรียน ซึ่งเป็นแหล่งรวมเนื้อหาในบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ผู้เรียนจะเข้าไปศึกษาเนื้อหาของบทเรียน

ด้วยตนเอง

ภาพที่ 10 หน้าเมนูเนื้อหาในบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 4: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

41

3.1.5 หน้าค าอธิบายรายวิชา ซึ่งเปน็หน้าแจ้งวัตถุประสงค์ของเนื้อหาในรายวิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่องระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 11 หน้าค าอธิบายรายวิชาบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1.6 หน้าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนและให้ผู้เรียน

เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่เนื้อหาของบทเรียน

ภาพที่ 12 หน้าแบบทดสอบก่อนของเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 5: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

42

3.1.7 หน้าเนื้อหาของบทเรียน เป็นหน้าแสดงรายละเอียดของเนื้อหาของแต่ละ

หน่วยการเรียนรู้

ภาพที่ 13 หน้าเนื้อหาของบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย คอมพิวเตอร์

3.1.8 หน้าค าถามท้ายบทเรียน เพ่ือวัดความรู้ของผู้เรียนในบทเรียนเรียนย่อย

ภาพที่ 14 หน้าค าถามท้ายบทเรียนของบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 6: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

43

3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

เนื้อหาทั้งหมด

ภาพที่ 15 หน้าแบบทดสอบหลังเรียนของบทเรียนบทเรียน

E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.1.10 หน้ารายงานผลการท าแบบทดสอบ เป็นการแจ้งผลคะแนนให้แก่ผู้เรียน

หลังจากได้ท าแบบทดสอบจากบทเรียนแล้ว และเพ่ือบอกให้ผู้เรียนได้รู้ว่าตัวผู้เรียนเองเกิดการเรียนรู้

มากน้อยเพียงใด

ภาพที่ 16 หน้ารายงานผลการท าแบบทดสอบของบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 7: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

44

3.1.11 หน้าผู้จัดท า เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบผู้จัดท าบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย คอมพิวเตอร์

ภาพที่ 17 หน้าผู้จัดท าของบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

3.2 ผลการวิเคราะห์คุณภาพบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล

ส าหรับเครือข่าย คอมพิวเตอร์

ผู้ศึกษาพัฒนานาบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์พร้อมแบบสอบถามเพ่ือประเมินคุณภาพบทเรียน E-learningให้อาจารย์ที่ปรึกษาประเมินแล้วน าข้อมูลกลับมาวิเคราะห์ซึ่งมี 5 ด้านคือด้านเนื้อหาและเทคนิคการผลิตสื่อ, ด้านภาพ ภาษา เสียง, ด้านตัวอักษร - ส,ี ด้านแบบทดสอบก่อนเรียน/แบบทดสอบหลังเรียน และด้านการจัดการบทเรียน และการจัดการบทเรียน ผลปรากฏดังตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 ผลการวิเคราะห์คุณภาพด้านเนื้อหาของบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่องระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

รายการประเมิน X̅ S.D. ระดับความคิดเห็น 1.เนื้อหาและเทคนิคการผลิตสื่อ 1.1 ความสมบูรณ์ของวัตถุประสงค์ 4.00 0.00 มาก 1.2 ความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับวัตถุประสงค์ 4.00 0.00 มาก 1.3 ปริมาณของเนื้อหาในแต่ละบทเรียน 4.00 0.00 มาก

Page 8: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

45

รายการประเมิน X̅ S.D. ระดับความคิดเห็น 1.4 ความถูกต้องของเนื้อหา 5.00 0.00 มากที่สุด 1.5 ล าดับขั้นในการน าเสนอเนื้อหา 5.00 0.00 มากที่สุด 1.6 ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อ 5.00 0.00 มากที่สุด 1.7 ความเหมาะสมของเนื้อหากับระดับของผู้เรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 1.8 ความน่าสนใจในการด าเนินเรื่อง 4.00 0.00 มาก โดยรวมเฉลี่ย 4.50 0.00 มาก 2. ภาพ ภาษา และเสียง 2.1 ความตรงตามเนื้อหาของภาพที่น าเสนอ

5.00

0.00

มากที่สุด

2.2 ความสอดคล้องระหว่างปริมาณของภาพกับปริมาณของเนื้อ 4.00 0.00 มากที่สุด 2.3 ขนาดของภาพที่ใช้ประกอบบทเรียน 3.00 0.00 มากที่สุด 2.4 ภาพกราฟิกท่ีใช้ประกอบบทเรียน 3.00 0.00 มากที่สุด 2.5 ภาพเคลื่อนไหวที่ใช้ประกอบบทเรียน 4.00 0.00 มากที่สุด 2.6 ภาพที่ใช้ประกอบบทเรียน 5.00 0.00 มากที่สุด 2.7 ความถูกต้องของเนื้อหาที่ใช้ 4.00 0.00 มากที่สุด 2.8 เสียงบรรยายที่ใช้ประกอบบทเรียน 3.00 0.00 มากที่สุด โดยรวมเฉลี่ย 3.87 0.00 มาก 3. ตัวอักษร และสี 3.1 รูปแบบของตัวอักษรที่ใช้การน าเสนอ

4.00

0.00

มาก

3.2 ขนาดของตัวอักษรที่ใช้น าเสนอ 4.00 0.00 มาก 3.3 สีของตัวอักษรโดยรวม 4.00 0.00 มาก 3.4 สีของพ้ืนบทเรียน โดยรวม 4.00 0.00 มาก 3.5 สีของภาพและกราฟิก โดยภาพรวม 4.00 0.00 มาก โดยรวมเฉลี่ย 4.00 0.00 มาก

4.แบบทดสอบก่อนเรียน/แบบทดสอบหลังเรียน 4.1 ความชัดเจนของค าสั่งของแบบทดสอบ/แบบทดสอบหลังเรียน

3.00

0.00

ปลานกลาง

4.2 ความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับเนื้อหา 5.00 0.00 มากที่สุด 4.3 จ านวนข้อของแบบทดสอบ 5.00 0.00 มากที่สุด 4.4 ชนิดของแบบทดสอบที่เรียกใช้ 5.00 0.00 มากที่สุด

Page 9: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

46

รายการประเมิน X̅ S.D. ระดับความคิดเห็น 4.5 ความเหมาะสมของค าถาม 5.00 0.00 มากที่สุด 4.6 ความเหมาะสมของตัวลวง 4.00 0.00 มาก 4.7 วิธีการโต้ตอบแบบทดสอบหลังเรียน เช่น ใช้เมาส์คลิก การเลื่อนเมาส์ การใช้แป้นพิมพ์

4.00

0.00

มาก

4.8 การรายงานผลคะแนนแต่ละข้อของแบบทดสอบ 5.00 0.00 มากที่สุด 4.9 การสรุปผลคะแนนรวมหลังแบบทดสอบ 5.00 0.00 มากที่สุด โดยรวมเฉลี่ย 4.55 0.00 มากที่สุด 5. การจัดการบทเรียน 5.1 การน าเสนอชื่อเรื่องหลักของบทเรียน

4.00

0.00

มาก

5.2 การน าเสนอชื่อเรื่องย่อยของบทเรียน 4.00 0.00 มาก 5.3 การควบคุมบทเรียน เช่น การใช้แป้นพิมพ์ การใช้เมาส์ การหน่วงเวลา

5.00

0.00

มากที่สุด

5.4 สิ่งอ านวยความสะดวกของบทเรียน เช่น การแจ้งเวลาการ การเสนอชื่อบทเรียน

5.00

0.00

มากที่สุด

5.5 การออกแบบหน้าจอ โดยภาพรวม 4.00 0.00 มาก 5.6 วิธีการออกแบบบทเรียน โดยภาพรวม 4.00 0.00 มาก 5.7 ความเหมาะสมของการสรุปเนื้อหาบทเรียน 4.00 0.00 มาก 5.8 ความน่าสนใจชวนให้ติดตามบทเรียน 4.00 0.00 มาก 5.9 การใช้ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ในการจัดการบทเรียน 4.00 0.00 มาก 5.10 การจัดการบทเรียนโดยภาพรวม 4.00 0.00 มาก โดยรวมเฉลี่ย 4.20 0.00 มาก โดยรวมเฉลี่ยทั้งหมด 4.22 0.00 มาก

จากตารางที่ 3 พบว่า คุณภาพด้านเนื้อหาของบทเรียน E-learning เรื่อง เรื่องระบบสื่อสาร

ข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.22, S.D.=0.00) โดยมีรายละเอียด

ดังนี้

1.เนื้อหาและเทคนิคการผลิตสื่อ อาจารย์ที่ปรึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความสมบูรณ์ของ

วัตถุประสงค์ (X̅=4.00,S.D.=0.00) ความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับวัตถุประสงค์

(X̅=4.00,S.D.=0.00) ปริมาณของเนื้อหาในแต่ละบทเรียน (X̅=4.00,S.D.=0.00)

Page 10: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

47

ความถูกต้องของเนื้อหา (X̅=5.00,S.D.=0.00) ล าดับขั้นในการน าเสนอเนื้อหา (X̅=5.00,S.D.=0.00)

ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อ (X̅=5.00,S.D.=0.00) ความเหมาะสมของเนื้อหากับระดับของผู้เรียน

(X̅=5.00,S.D.=0.00) ความน่าสนใจในการด าเนินเรื่อง (X̅=4.00,S.D.=0.00)

2. ภาพ ภาษา และเสียง อาจารย์ที่ปรึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความตรงตามเนื้อหาของ

ภาพที่น าเสนอ (X̅=5.00,S.D.=0.00) ความสอดคล้องระหว่างปริมาณของภาพกับปริมาณของเนื้อ

(X̅=4.00,S.D.=0.00) ขนาดของภาพที่ใช้ประกอบบทเรียน (X̅=3.00,S.D.=0.00) ภาพกราฟิกท่ีใช้

ประกอบบทเรียน (X̅=3.00,S.D.=0.00) ภาพเคลื่อนไหวที่ใช้ประกอบบทเรียน (X̅=4.00,S.D.=0.00)

ภาพที่ใช้ประกอบบทเรียน (X̅=5.00,S.D.=0.00) ความถูกต้องของเนื้อหาที่ใช้ (X̅=4.00,S.D.=0.00)

เสียงบรรยายที่ใช้ประกอบบทเรียน (X̅=3.00,S.D.=0.00)

3. ตัวอักษร - สี อาจารย์ที่ปรึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับแบบทดสอบกับ รูปแบบของ

ตัวอักษรที่ใช้การน าเสนอ (X̅=4.00,S.D.=0.00) ขนาดของตัวอักษรที่ใช้น าเสนอ (X̅=4.00,S.D.=0.00)

สีของตัวอักษรโดยรวม (X̅=4.00,S.D.=0.00) สีของภาพและกราฟิก

4. แบบทดสอบก่อนเรียน/แบบทดสอบหลังเรียน อาจารย์ที่ปรึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับ

ความชัดเจนของค าสั่งของแบบทดสอบ/แบบทดสอบหลังเรียน (X̅=3.00,S.D.=0.00) ความสอดคล้อง

ระหว่างแบบทดสอบกับเนื้อหา (X̅=5.00,S.D.=0.00) จ านวนข้อของแบบทดสอบ

(X̅=5.00,S.D.=0.00) ชนิดของแบบทดสอบที่เรียกใช้ (X̅=5.00,S.D.=0.00) ความเหมาะสมของ

ค าถาม (X̅=5.00,S.D.=0.00) ความเหมาะสมของตัวลวง (X̅=4.00,S.D.=0.00) วิธีการโต้ตอบ

แบบทดสอบหลังเรียน เช่น ใช้เมาส์คลิก การเลื่อนเมาส์ การใช้แป้นพิมพ์ (X̅=4.00,S.D.=0.00) การ

รายงานผลคะแนนแต่ละข้อของแบบทดสอบ (X̅=4.00,S.D.=0.00) การสรุปผลคะแนนรวม

หลังแบบทดสอบ (X̅=5.00,S.D.=0.00)

5. ด้านการจัดบทเรียน อาจารย์ที่ปรึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการน าเสนอชื่อเรื่องหลัก

ของบทเรียน (X̅=4.00,S.D.=0.00) การน าเสนอชื่อเรื่องย่อยของบทเรียน (X̅=4.00,S.D.=0.00) การ

ควบคุมบทเรียน เช่น การใช้แป้นพิมพ์ การใช้เมาส์ การหน่วงเวลา (X̅=5.00,S.D.=0.00)

Page 11: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

48

สิ่งอ านวยความสะดวกของบทเรียน เช่น การแจ้งเวลาการปรับแต่งเสียง การเสนอชื่อบทเรียน

(X̅=5.00,S.D.=0.00) การออกแบบหน้าจอ โดยภาพรวม (X̅=4.00,S.D.=0.00) วิธีการออกแบบ

บทเรียน โดยภาพรวม (X̅=4.00,S.D.=0.00)ความเหมาะสมของการสรุปเนื้อหาบทเรียน

(X̅=4.00,S.D.=0.00) ความน่าสนใจชวนให้ติดตามบทเรียน(X̅=4.00,S.D.=0.00) การใช้ประโยชน์ของ

คอมพิวเตอร์ในการจัดการบทเรียน (X̅=4.00,S.D.=0.00) การจัดการบทเรียนโดยภาพรวม

(X̅=4.00,S.D.=0.00)

สรุป คุณภาพของบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ ด้านเทคนิคการผลิตสื่อโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅=4.22,S.D.=0.00)

3.3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบทเรียน E-learning เรือ่ง

ระบบส่ือสารข้อมูลส าหรับเครือข่าย คอมพิวเตอร์

ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่องหลักการ

ท างานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้ท าการทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนค าเจริญ

วิทยาคม อ าเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ จ านวน 30 คน ผลปรากฏดังตารางที่ 4

ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

รายการประเมิน X̅ S.D. ระดับความคิดเห็น 1.ด้านเนื้อหา 1.1 ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาสาระจากบทเรียน

4.30

0.48

มาก

1.2 ผู้เรียนสามารถอ่านท าความเข้าใจเนื้อหาได้ด้วยตนเอง 4.70 0.48 มากที่สุด 1.3 ความถูกต้องของภาษาที่ใช้ในบทเรียน 4.40 0.51 มาก 1.4 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร สีตัวอักษรและสีพื้นหลัง 4.40 0.51 มาก โดยรวมเฉลี่ย 4.45 0.50 มาก

2.ด้านเทคนิคการผลิตสื่อ 2.1 ความเหมาะสมของเวลาในการน าเสนอเนื้อหา

4.40

0.51

มาก

2.2 ภาพและวีดีโอในบทเรียนสอดคล้องกับเนื้อหา 4.40 0.51 มาก 2.3 เสียงบรรยายสอดคล้องกับบทเรียน 4.70 0.51 มากที่สุด

Page 12: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

49

รายการประเมิน X̅ S.D. ระดับความคิดเห็น โดยรวมเฉลี่ย 4.50 0.50 มาก 3.ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียน 3.1 บทเรียนมีความน่าสนใจ และแรงดึงดูด

4.60

0.51

มากที่สุด

3.2 การใช้งานของบทเรียน ง่าย และสะดวก ไม่มีข้อติดข้อง 4.70 0.48 มากที่สุด 3.3 หลังจากศึกษาจบบทเรียนแล้วผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.40

0.51

มาก

3.4 โดยภาพรวมคิดว่าบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.50

0.52

มากที่สุด

โดยรวมเฉลี่ย 4.52 0.50 มากที่สุด โดยรวมเฉลี่ยทั้งหมด 4.49 0.13 มาก

จากตารางที่ 4 พบว่า ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง

ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅=4.49,S.D.= 0.13) โดย

มีรายละเอียดดังนี้

1. ด้านเนื้อหา ผู้เรียนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาสาระจากบทเรียน อยู่ใน

ระดับมาก (X̅=4.30,S.D.= 0.48) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับผู้เรียนสามารถอ่านท าความเข้าใจเนื้อหาได้

ด้วยตนเองอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.70,S.D.= 0.48) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับความถูกต้องของ

ภาษาท่ีใช้อยู่ในระดับมาก (X̅=4.40,S.D.= 0.51) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับความเหมาะสมของขนาด

ตัวอักษร สีตัวอักษรและสีพื้นหลังอยู่ในระดับมาก (X̅=4.40,S.D.= 0.51)

2.ด้านเทคนิคการผลิตสื่อผู้เรียนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับความเหมาะสมของเวลาใน

การน าเสนออยู่ในระดับมาก (X̅=4.40,S.D.= 0.51) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับภาพและวีดีโอในบทเรียน

สอดคล้องกับเนื้อหาอยู่ในระดับมาก (X̅=4.40,S.D.= 0.51) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับเสียงบรรยาย

สอดคล้องกับบทเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.70,S.D.= 0.51)

3. ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียน ผู้เรียนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับบทเรียนมี

ความน่าสนใจ และแรงดึงดูดอยู่ในระดับอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅=4.60,S.D.= 0.51) มีความพึงพอใจ

เกี่ยวกับการใช้งานของบทเรียน ง่าย และสะดวก ไม่มีข้อติดข้องในระดับอยู่ในระดับมากที่สุด

(X̅=4.70,S.D.= 0.48) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับหลังจากศึกษาจบบทเรียนแล้วผู้เรียนมีความรู้

Page 13: การวิเคราะห์ข้อมูล43 3.1.9 หน้าแบบทดสอบหลังเรียน เป็นการวัดความรู้ของผู้เรียนที่ได้เข้าไปศึกษาใน

50

ความเข้าใจในเรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในระดับอยู่ในระดับมาก

(X̅=4.40,S.D.= 0.51) มีความพึงพอใจเกี่ยวกับโดยภาพรวมคิดว่าบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ในระดับอยู่ใน ระดับมาก

(X̅=4.50,S.D.= 0.52)

สรุป ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบทเรียน E-learning เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูล

ส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้านเนื้อหาโดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅=4.45,S.D.=0.50) ด้านเทคนิค

การน าเสนอ (X̅=4.50,S.D.=0.50) อยู่ในระดับมาก ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียน

(X̅=4.52,S.D.=0.50) อยู่ในระดับมากที่สุด ดังนั้นโดยภาพรวมคิดว่าบทเรียนบทเรียน E-learning

เรื่อง ระบบสื่อสารข้อมูลส าหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีคุณค่าอยู่ในระดับมาก (X̅=4.49,S.D.=0.13)