594

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในportal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/179cZ9Z433yd5D4hqd97.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    24

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • เอกสารประกอบการสอน

    รายวิชาการควบคมุภายในและการตรวจสอบภายใน

    (Internal Control And Internal Audit )

    ประนมพร ข่าขนัมาลี

    คณะวิทยาการจดัการ

    มหาวิทยาลยัราชภฏัอดุรธานี

    2559

  • เอกสารประกอบการสอน

    รายวิชาการควบคมุภายในและการตรวจสอบภายใน

    ประนมพร ข่าขนัมาลี

    บธ.ม. (การบญัชี)

    คณะวิทยาการจดัการ

    มหาวิทยาลยัราชภฏัอดุรธานี

    2559

  • (ก)

    ค ำน ำ

    เอกสารประกอบการสอนรายวชิาการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในเล่มนี้ จดัท าขึน้เพื่อเป็นคู่มอืในการเรยีนการสอนตามหลกัสูตรสาขาวชิาการบญัชใีนระดบัปรญิญาตรี โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ ส่วนแรกแนวคดิของเนื้อหาเกี่ยวกบัการก ากบัดูแลกจิการ สว่นทีส่องแนวคดิเนื้อหาเกีย่วกบักระบวนการควบคุมภายใน และส่วนทีส่ามแนวคดิเนื้อหาเกี่ยวกบักระบวนการตรวจสอบภายใน ซึ่งรายละเอยีดของบทเรยีนจะมอียู่ 12 หวัขอ้เรื่อง ประกอบด้วย การก ากบัดูแลกจิการ การควบคุมภายในและการประเมนิประสทิธภิาพการควบคุมภายใน การบรหิารความเสีย่ง การตรวจสอบภายในและแม่บทการปฏบิตังิานวชิาชพีตรวจสอบภายใน การจดัองคก์ารและบรหิารหน่วยงานตรวจสอบภายใน กระบวนการตรวจสอบภายใน หลกัฐานและเทคนิคการตรวจสอบภายใน การเลอืกตวัอย่างและการจดัท ากระดาษท าการตรวจสอบภายใน รายงานและการตดิตามผลการตรวจสอบภายใน การควบคุมและการตรวจสอบภายในดา้นต่างๆ ทีส่ าคญัขององค์กร การควบคุมและการตรวจสอบภายในด้านเทคโนโลยสีารสนเทศ และบทบาทของ ผูต้รวจสอบภายในกบัการทุจรติ

    ผู้เขยีนขอขอบพระคุณ ส านึกและระลกึถงึพระคุณบดิามารดาผู้ให้ก าเนิด ครูบาอาจารย์ ผูป้ระสทิธปิระสาทวชิาและอบรมสัง่สอน สถานศกึษาผูส้รา้งจติส านึกในการเสยีสละและอุทศิตนเพื่อสงัคมและวชิาชพี รวมทัง้บรรดาเพื่อนๆ ลูกศษิย์ผูใ้หป้ระสบการณ์ในการสอนซึง่มสี่วนช่วยเหลอืสนับสนุนให้เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ส าเร็จลุล่วงเป็นไปด้วยดีและเป็นก าลงัใจในการท าเอกสารครัง้นี้มาโดยตลอด

    ผู้เขยีนหวงัเป็นอย่างยิง่ว่า หนังสอืเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ส าหรบัผู้ประกอบวชิาชพีงานตรวจสอบภายในตลอดจนผูท้ีเ่กี่ยวขอ้งและสนใจทีต่้องการใชเ้ป็นแหล่งคน้ควา้ขอ้มลู ถ้าหากมขีอ้ ผดิพลาดหรอืบกพรอ่งประการใดผูเ้ขยีนขอน้อมรบัความผดิไว้แต่เพยีงผูเ้ดยีว และถ้าหากท่านใดมีขอ้เสนอแนะเพิม่เติมที่จะน ามาปรบัปรุงเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ให้ทรงคุณค่ายิง่ขึ้นต่อไป ผูเ้ขยีนยนิดน้ีอมรบัฟงัค าชีแ้นะดงักล่าว และขอขอบพระคุณในความอนุเคราะหม์า ณ โอกาสน้ีดว้ย

    ประนมพร ขา่ขนัมาล ีสงิหาคม 2559

  • (ค)

    สารบญั

    หน้า ค าน า.................................................................................................................................... (ก) สารบญั................................................................................................................................. (ค) สารบญัภาพ.......................................................................................................................... (ฎ) สารบญัตาราง....................................................................................................................... (ฐ) แผนบรหิารการสอนประจ าวชิา.............................................................................................. (ฒ)

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 1 1 บทท่ี 1 การก ากบัดแูลกิจการ......................................................................................... 3 แนวคดิของการก ากบัดแูลกจิการ.......................................................................... 3 วตัถุประสงคข์องการก ากบัดแูลกจิการ.................................................................. 8 พืน้ฐานของการก ากบัดแูลกจิการ.......................................................................... 9 ประโยชน์ของการก ากบัดแูลกจิการ....................................................................... 10 หลกัการก ากบัดแูลกจิการ..................................................................................... 11 องคป์ระกอบของการก ากบัดแูลกจิการ.................................................................. 15 แนวคดิของคณะกรรมการตรวจสอบ..................................................................... 17 บทบาทและความรบัผดิชอบในการก ากบัดแูลกจิการ............................................. 31 กรณศีกึษาการก ากบัดแูลกจิการ........................................................................... 32 สรปุ..................................................................................................................... 36 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................... 37 เอกสารอา้งองิ...................................................................................................... 41

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 2 43 บทท่ี 2 การควบคมุภายในและการประเมินประสิทธิภาพการควบคมุภายใน.............. 45 แนวคดิเกีย่วกบัการควบคุมภายใน........................................................................ 45 องคป์ระกอบการควบคุมภายใน............................................................................ 52 ประเภทและวธิกีารควบคุมภายใน......................................................................... 68 ลกัษณะของระบบการควบคุมภายในทีด่.ี............................................................... 70 การประเมนิตนเองในการควบคุม.......................................................................... 71

  • (ง)

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า บทบาทหน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบต่อการควบคุมภายใน..................................... 92 ประโยชน์ของการควบคุมภายใน........................................................................ 94 สรปุ................................................................................................................... 95 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 96 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 101

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 3 103 บทท่ี 3 การบริหารความเส่ียง...................................................................................... 105 ความหมายของการบรหิารความเสีย่ง................................................................. 105 วตัถุประสงคข์องการบรหิารความเสีย่ง............................................................... 107 พฒันาการของการบรหิารความเสีย่ง.................................................................. 109 ประเภทของความเสีย่ง....................................................................................... 111 องคป์ระกอบของการบรหิารความเสีย่ง............................................................... 113 ความสมัพนัธร์ะหว่างองคป์ระกอบการบรหิารความเสีย่ง ประเภทวตัถุประสงค ์

    และระดบัหน่วยงาน...........................................................................................

    126

    ประโยชน์ของการบรหิารความเสีย่ง.................................................................... 128 ขอ้จ ากดัของการบรหิารความเสีย่ง...................................................................... 131 ปจัจยัส าคญัต่อความส าเรจ็ในการบรหิารความเสีย่ง............................................ 132 บทบาทหน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบต่อการบรหิารความเสีย่ง............................... 134 สรปุ................................................................................................................... 136 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 137 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 142

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 4 143 บทท่ี 4 การตรวจสอบภายในและแม่บทการปฏิบติังานวิชาชีพตรวจสอบภายใน..... 145 ความหมายการตรวจสอบภายใน........................................................................ 145 ววิฒันาการของการตรวจสอบภายใน.................................................................. 150 วตัถุประสงคข์องการตรวจสอบภายใน................................................................ 152

  • (จ)

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า ขอบเขตและหน้าทีข่องผูต้รวจสอบภายใน........................................................... 153 ประเภทของการตรวจสอบภายใน....................................................................... 154 ความแตกต่างระหว่างการตรวจสอบภายในกบัการสอบบญัช.ี.............................. 158 สถาบนัทีเ่กีย่วขอ้งกบัการตรวจสอบภายใน......................................................... 161 ปจัจยัทีท่ าใหก้ารตรวจสอบภายในประสบความส าเรจ็......................................... 163 แมบ่ทการปฏบิตังิานวชิาชพีตรวจสอบภายใน..................................................... 166 ประโยชน์ของการตรวจสอบภายใน..................................................................... 185 สรปุ................................................................................................................... 186 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 188 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 192

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 5 193 บทท่ี 5 การจดัองคก์ารและบริหารหน่วยงานตรวจสอบภายใน................................. 195 สถานภาพและโครงสรา้งของหน่วยงานตรวจสอบภายใน.................................... 195 บทบาทหน้าทีข่องหน่วยงานตรวจสอบภายใน.................................................... 200 กฎบตัรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน.............................................................. 212 การบรหิารงานตรวจสอบภายใน......................................................................... 230 คู่มอืการตรวจสอบภายใน................................................................................... 237 สรปุ................................................................................................................... 243 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 244 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 248

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 6 249 บทท่ี 6 กระบวนการตรวจสอบภายใน........................................................................ 251 ความหมายกระบวนการตรวจสอบภายใน........................................................... 251 การวางแผนการตรวจสอบ.................................................................................. 252 การส ารวจขอ้มลูขัน้ตน้....................................................................................... 253

  • (ฉ)

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า แผนการตรวจสอบ............................................................................................. 264 ประเภทของแผนการตรวจสอบภายใน................................................................ 269 ประโยชน์ของแผนการตรวจสอบ........................................................................ 276 การปฏบิตังิานตรวจสอบภาคสนาม..................................................................... 281 การรายงานและตดิตามผลการตรวจสอบ............................................................ 284 สรปุ................................................................................................................... 284 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 286 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 291

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 7 293 บทท่ี 7 หลกัฐานและเทคนิคการตรวจสอบภายใน..................................................... 295 ความหมายของหลกัฐานการตรวจสอบ............................................................... 295 ประเภทของหลกัฐานการตรวจสอบ.................................................................... 296 คุณลกัษณะของหลกัฐานการตรวจสอบ............................................................... 299 เทคนิคการตรวจสอบภายใน............................................................................... 303 เทคนิคการรวบรวมหลกัฐานการตรวจสอบ................................................... 312 ขอ้ควรพจิารณาในการเลอืกเทคนิคการตรวจสอบ............................................... 315 สรปุ................................................................................................................... 315 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 317 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 322

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 8 323 บทท่ี 8 การเลือกตวัอย่างและการจดัท ากระดาษท าการตรวจสอบภายใน................ 325 ความหมายของการเลอืกตวัอยา่งและการทดสอบตวัอยา่ง................................... 325 ขัน้ตอนการทดสอบตวัอยา่ง............................................................................... 326 กระดาษท าการของผูต้รวจสอบภายใน................................................................ 343 วตัถุประสงคข์องการจดัท ากระดาษท าการ.......................................................... 344 การจดัท ากระดาษท าการของผูต้รวจสอบภายใน................................................. 346

  • (ช)

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า หลกัการจดัท ากระดาษท าการ............................................................................ 350 เครือ่งหมายการตรวจสอบ.................................................................................. 355 รหสัดชันีกระดาษท าการ..................................................................................... 356 การสอบทานกระดาษท าการ.............................................................................. 356 การควบคุมดแูลและการจดัเกบ็กระดาษท าการ................................................... 358 สรปุ.................................................................................................................. 361 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 362 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 368

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 9 369 บทท่ี 9 รายงานและการติดตามผลการตรวจสอบภายใน.......................................... 371 ความหมายของรายงานการตรวจสอบ................................................................ 371 ความส าคญัของรายงานการตรวจสอบ................................................................ 372 ขัน้ตอนการจดัท ารายงานการตรวจสอบ.............................................................. 374 เทคนิคการเขยีนรายงานการตรวจสอบ............................................................... 376 การประชุมสรปุผลการตรวจสอบ........................................................................ 377 วธิกีารน าเสนอรายงานการตรวจสอบ.................................................................. 383 องคป์ระกอบของรายงานการตรวจสอบ.............................................................. 386 รปูแบบของรายงานการตรวจสอบ...................................................................... 388 ลกัษณะของรายงานการตรวจสอบทีด่.ี................................................................ 400 การสอบทาน จดัส่งรายงานการตรวจสอบ และการจดัเกบ็................................ 403 ปจัจยัทีน่ าไปสู่ความส าเรจ็ของรายงานการตรวจสอบ.......................................... 404 การตดิตามผลการตรวจสอบ.............................................................................. 405 สรปุ................................................................................................................... 408 แบบฝึกหดัทา้ยบท............................................................................................. 409 เอกสารอา้งองิ.................................................................................................... 414

  • (ซ)

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 10 415 บทท่ี 10 การควบคมุและการตรวจสอบภายในด้านต่างๆ ท่ีส าคญัขององคก์ร....... 417 กจิกรรมการบรหิารเงนิสด............................................................................... 417 กจิกรรมการบรหิารสนิเชื่อ.............................................................................. 433 กจิกรรมการบรหิารงานจดัซือ้.......................................................................... 442 กจิกรรมการบรหิารการผลติ............................................................................. 451 กจิกรรมการบรหิารวสัดุและสนิคา้คงเหลอื........................................................ 460 กจิกรรมการบรหิารทรพัยากรบุคคล................................................................. 469 สรปุ................................................................................................................ 475 แบบฝึกหดัทา้ยบท.......................................................................................... 476 เอกสารอา้งองิ................................................................................................. 482

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 11 483 บทท่ี 11 การควบคมุและการตรวจสอบภายในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ............... 485 แนวคดิเกีย่วกบัการตรวจสอบเทคโนโลยสีารสนเทศ......................................... 485 ความแตกต่างระหว่างระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอรก์บัทีไ่มใ่ชค้อมพวิเตอร ์ 492 ความเสีย่งดา้นเทคโนโลยสีารสนเทศ............................................................... 495 การควบคุมภายในของเทคโนโลยสีารสนเทศ.................................................... 497 การทดสอบการควบคุมภายในของเทคโนโลยสีารสนเทศ................................ 504 แนวทางการตรวจสอบเทคโนโลยสีารสนเทศ.................................................... 509 ประเภทของการตรวจสอบระบบสารสนเทศ...................................................... 510 การตรวจสอบระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอร.์............................................. 512 ปจัจยัพจิารณาการใชค้อมพวิเตอรช์่วยในการตรวจสอบ.................................... 515 สรปุ................................................................................................................ 517 แบบฝึกหดัทา้ยบท.......................................................................................... 518 เอกสารอา้งองิ................................................................................................. 523

  • (ฌ)

    สารบญั (ต่อ)

    หน้า แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 12 525 บทท่ี 12 บทบาทของผูต้รวจสอบภายในกบัการทุจริต............................................... 527 ความหมายของการทุจรติ................................................................................ 527 องคป์ระกอบของการทุจรติ.............................................................................. 528 สญัญาณเตอืนภยัว่าอาจมกีารทุจรติ................................................................. 529 ประเภทของการทุจรติ..................................................................................... 534 ความรบัผดิชอบเกีย่วกบัการทุจรติ................................................................... 538 การปฏบิตังิานตรวจสอบการทุจรติ................................................................... 541 การจดัท ารายงานการตรวจสอบทุจรติ.............................................................. 543 การด าเนินการกบัผูทุ้จรติ................................................................................. 544 แนวคดิเกีย่วกบับญัชสีบืสวน........................................................................... 551 สรปุ................................................................................................................ 558 แบบฝึกหดัทา้ยบท.......................................................................................... 559 เอกสารอา้งองิ................................................................................................. 563

    บรรณานุกรม...................................................................................................................... 565

  • (ฎ)

    สารบญัภาพ

    หน้า ภาพที ่ 1.1 แนวคดิตวัแทนของกจิการ.......................................................................... 7 ภาพที ่ 2.1 องคป์ระกอบและหลกัการของสภาพแวดลอ้มของการควบคุม...................... 56 ภาพที ่ 2.2 องคป์ระกอบและหลกัการของการประเมนิความเสีย่ง.................................. 59 ภาพที ่ 2.3 องคป์ระกอบและหลกัการของกจิกรรมการควบคุม.................................... 61 ภาพที ่ 2.4 องคป์ระกอบและหลกัการของสารสนเทศและการสื่อสาร.............................. 63 ภาพที ่ 2.5 องคป์ระกอบและหลกัการของการตดิตามและประเมนิผล............................. 64 ภาพที ่ 2.6 องคป์ระกอบของการควบคุมภายในตามแนวคดิของ COSO........................ 65 ภาพที ่ 3.1 รากฐานพฒันาการของการบรหิารความเสีย่ง.............................................. 109 ภาพที ่ 3.2 องคป์ระกอบของการบรหิารความเสีย่งตามแนวคดิ COSO : ERM ใน

    ระดบัองคก์ร..............................................................................................

    126

    ภาพที ่ 3.3 ความสมัพนัธอ์งคป์ระกอบของการบรหิารความเสีย่งตามมาตรฐาน COSO : ERM...........................................................................................

    128

    ภาพที ่ 4.1 ความสมัพนัธท์ีเ่กีย่วขอ้งในการบรกิารใหค้วามเชื่อมัน่................................. 146 ภาพที ่ 4.2 ความสมัพนัธท์ีเ่กีย่วขอ้งในการบรกิารใหค้ าปรกึษา..................................... 148 ภาพที ่ 4.3 ส่วนประกอบมาตรฐานสากลการปฏบิตังิานวชิาชพีการตรวจสอบภายใน..... 170 ภาพที ่ 4.4 ส่วนประกอบของมาตรฐานสากลดา้นคุณสมบตั.ิ......................................... 171 ภาพที ่ 4.5 ส่วนประกอบของมาตรฐานสากลการปฏบิตังิาน.......................................... 172 ภาพที ่ 5.1 โครงสรา้งหน่วยงานตรวจสอบภายในรายงานโดยตรงต่อคณะกรรมการ

    ตรวจสอบ..................................................................................................

    198

    ภาพที ่ 5.2 โครงสรา้งหน่วยงานตรวจสอบภายในรายงานโดยตรงต่อคณะกรรมการ บรหิาร.......................................................................................................

    199

    ภาพที ่ 5.3 โครงสรา้งหน่วยงานตรวจสอบภายในรายงานโดยตรงต่อผูบ้รหิารระดบัสงู... 200 ภาพที ่ 5.4 การจดัแบ่งส่วนงานภายในหน่วยงานตรวจสอบตามเกณฑป์ระเภทของการ

    ตรวจสอบ..................................................................................................

    230

    ภาพที ่ 5.5 การจดัแบ่งส่วนงานภายในหน่วยงานตรวจสอบตามเกณฑพ์ืน้ทีข่องหน่วยรบัตรวจ.....................................................................................................

    231

    ภาพที ่ 5.6 การจดัแบ่งส่วนงานภายในหน่วยงานตรวจสอบตามเกณฑข์อบเขตของงานทีร่บัผดิชอบ...............................................................................................

    232

    ภาพที ่ 5.7 โครงสรา้งของหน่วยงานตรวจสอบภายในตามต าแหน่ง หน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบ.................................................................................................

    237

  • (ฏ)

    สารบญัภาพ (ต่อ)

    หน้า ภาพที ่ 5.8 บทบาทของคู่มอืการตรวจสอบภายใน......................................................... 239 ภาพที ่ 6.1 ตวัอยา่งแผนผงัทางเดนิของเอกสาร – ระบบบญัชเีกี่ยวกบัการขายสด......... 262 ภาพที ่ 6.2 ตวัอยา่งสญัลกัษณ์การเขยีนแผนภาพ......................................................... 264 ภาพที ่ 6.3 วงจรการด าเนินงานการขายเชื่อ................................................................. 266 ภาพที ่ 6.4 แบบฟอรม์แผนปฏบิตังิานตรวจสอบภายใน (ลกัษณะที ่ 1) ....................... 279 ภาพที ่ 6.5 แบบฟอรม์แผนปฏบิตังิานตรวจสอบภายใน (ลกัษณะที ่ 2) ....................... 280 ภาพที ่ 7.1 เทคนิคการตรวจสอบ................................................................................. 311 ภาพที ่ 8.1 ความหมายของการเลอืกตวัอยา่งและการทดสอบตวัอย่าง........................... 326 ภาพที ่ 8.2 การก าหนดเลอืกขนาดตวัอยา่งทางสถติ.ิ.................................................... 332 ภาพที ่ 8.3 วธิกีารเลอืกตวัอยา่งแบบ Stratified Sampling.......................................... 336 ภาพที ่ 8.4 วธิกีารเลอืกตวัอยา่งแบบ Cluster Sampling............................................ 338 ภาพที ่ 8.5 การประเมนิผลการทดสอบตวัอยา่ง............................................................ 341 ภาพที ่ 9.1 แผนผงัแสดงขัน้ตอนการจดัท ารายงานการตรวจสอบภายใน........................ 375 ภาพที ่ 11.1 ประโยชน์ของการใชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศ................................................ 490

  • (ฐ)

    สารบญัตาราง

    หน้า ตารางที ่ 1.1 การแบ่งแยกบทบาทหน้าทีก่ารมสี่วนไดส้่วนเสยี การตดิตาม และการ

    ควบคุม...................................................................................................

    8

    ตารางที ่ 1.2 สรปุกฎเกณฑแ์ละขอ้บญัญตัขิองการก ากบัดแูลกจิการของประเทศไทย..... 13 ตารางที ่ 2.1 องคป์ระกอบของการควบคุมภายในและหลกัการทีเ่ชื่อมโยงกนั................. 66 ตารางที ่ 3.1 ความสมัพนัธข์องการก าหนดวสิยัทศัน์ วตัถุประสงค ์ และกลยทุธ.์.......... 116 ตารางที ่ 3.2 ระดบัโอกาสในการเกดิเหตุการณ์ทีเ่ป็นปจัจยัเสีย่ง.................................... 119 ตารางที ่ 3.3 ระดบัความรุนแรงผลกระทบของความเสีย่ง.............................................. 119 ตารางที ่ 3.4 การวดัระดบัความเสีย่ง............................................................................ 120 ตารางที ่ 3.5 หลกัเกณฑก์ารประเมนิความเสีย่ง............................................................ 120 ตารางที ่ 4.1 ความสมัพนัธข์องประเภทและวตัถุประสงคก์ารตรวจสอบ......................... 158 ตารางที ่ 4.2 สรปุความแตกต่างระหว่างการตรวจสอบภายในกบัการสอบบญัช.ี............. 160 ตารางที ่ 5.1 บทบาทหน้าทีง่านของหน่วยงานตรวจสอบภายใน.................................... 204 ตารางที ่ 6.1 ตวัอยา่งแผนการตรวจสอบระยะยาว........................................................ 270 ตารางที ่ 6.2 ตวัอยา่งการพจิารณาความถีข่องการตรวจสอบ......................................... 273 ตารางที ่ 6.3 ตวัอยา่งแผนการตรวจสอบประจ าปี.......................................................... 276 ตารางที ่ 7.1 เปรยีบเทยีบคุณลกัษณะในเรือ่งความเชื่อถอืไดข้องหลกัฐานทีด่แีละ

    หลกัฐานทีอ่่อน........................................................................................

    302

    ตารางที ่ 7.2 ความสมัพนัธข์องขอ้มลูทีข่อค ายนืยนัและแหล่งขอ้มลู............................... 307 ตารางที ่ 8.1 ตวัอยา่งมาตรฐานทีใ่ชว้ดัผลภายในและภายนอกองคก์ร............................ 328 ตารางที ่ 8.2 ตวัอยา่งตารางเลขสุ่ม.............................................................................. 334 ตารางที ่ 8.3 เครือ่งหมายการตรวจสอบ....................................................................... 355 ตารางที ่ 10.1 ความสมัพนัธร์ะหว่างหลกัการควบคุมภายในและการตรวจสอบการบรหิาร

    เงนิสด.....................................................................................................

    426

    ตารางที ่ 10.2 ความสมัพนัธร์ะหว่างความเสีย่ง การควบคุม และวธิกีารตรวจสอบ กจิกรรมการบรหิารการผลติ.....................................................................

    457

    ตารางที ่ 11.1 การเปรยีบเทยีบความแตกต่างของการน าขอ้มลูสารสนเทศไปใชใ้นดา้นการปฏบิตังิาน และการวางแผนกลยทุธใ์นองคก์ร....................................

    488

    ตารางที ่ 11.2 ความแตกต่างระหว่างเทคโนโลยทีีใ่ชค้อมพวิเตอรแ์ละไมใ่ชค้อมพวิเตอร.์.. 494 ตารางที ่ 11.3 ตวัอยา่งกระดาษท าการวธิกีารท าขอ้มลูทดสอบ........................................ 508 ตารางที ่ 11.4 เทคนิคการใชโ้ปรแกรมส าเรจ็รปูในการตรวจสอบการใชง้าน..................... 513

  • (ฑ)

    สารบญัตาราง (ต่อ)

    หน้า ตารางที ่ 12.1 ขอ้บ่งชีใ้นการทุจรติและกจิกรรมการตรวจสอบภายใน............................... 531 ตารางที ่ 12.2 ประเภทของการทุจรติ............................................................................. 537 ตารางที ่ 12.3 บทบาทความรบัผดิชอบดา้นตวับุคคลเกีย่วกบัการทุจรติ........................... 540 ตารางที ่ 12.4 ความผดิเกีย่วกบัการปฏบิตังิานและระดบัโทษ.......................................... 546 ตารางที ่ 12.5 แนวคดิการปฏบิตังิานส าหรบันกับญัชสีบืสวน........................................... 557

  • (ฒ)

    แผนบริหารการสอนประจ าวิชา

    รหสัวิชา AC40301 รายวิชา การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน 3(2-2-5) (Internal Control And Internal Audit)

    ค าอธิบายรายวิชา ศกึษาการก ากบัดแูลกจิการ องคป์ระกอบของการควบคุมภายใน การบรหิารความเสีย่งของ

    องค์กร การประเมนิประสทิธภิาพการควบคุมภายใน แนวคดิการตรวจสอบภายใน การจดัตัง้หน่วย งานตรวจสอบภายใน จรยิธรรม มาตรฐานการปฏบิตังิานวชิาชพีตรวจสอบภายใน ประเภท ขัน้ตอนของงานตรวจสอบรวมทัง้การตรวจสอบกจิกรรมที่ส าคญัภายในขององค์กร และความรบัผดิชอบของ ผูต้รวจสอบภายในต่อการทุจรติในองคก์ร

    วตัถปุระสงคท์ัว่ไป 1. เพื่อใหผู้เ้รยีนมคีวามรู ้ ความเขา้ใจเกี่ยวกบัแนวคดิของการก ากบัดูแลกจิการทัง้หน่วย งานภาครฐัและหน่วยงานเอกชน 2. เพื่อใหผู้เ้รยีนมคีวามรู ้ ความเขา้ใจเกี่ยวกบัระบบการควบคุมภายใน องคป์ระกอบการควบคุมภายใน การจดัการความเสีย่งขององคก์รรวมทัง้วธิกีารประเมนิประสทิธภิาพการควบคุมภายใน 3. เพื่อใหผู้เ้รยีนมคีวามรู ้ ความเขา้ใจเกีย่วกบัการตรวจสอบภายใน จรยิธรรม มาตรฐาน การปฏบิตังิานวชิาชพีตรวจสอบภายใน และขัน้ตอนของงานตรวจสอบภายใน รวมทัง้หน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบของผูต้รวจสอบภายในต่อการทุจรติในองคก์ร 4. เพื่อใหผู้เ้รยีนมคีวามรู ้ความเขา้ใจในคุณค่าแห่งวชิาชพี มคีวามซื่อสตัย ์ มวีนิัย มจีติ ส านึก และมพีฤตกิรรมทีค่ านึงถงึประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมคีุณธรรม 5. เพื่อใหผู้เ้รยีนมทีกัษะทางปญัญา สามารถประยุกต์และบูรณาการความรูท้างการบญัชีและด้านอื่นที่สมัพนัธ์กนัน ามาแก้ไขปญัหารวมทัง้เสนอแนะทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้าง สรรค์โดยค านึงถงึผลกระทบทีอ่าจเกดิขึน้จากการตดัสนิใจ สามารถตดิตาม ประเมนิผล และรายงานผลไดอ้ยา่งถูกตอ้ง ครบถว้น 6. เพื่อให้ผูเ้รยีนมทีกัษะความสมัพนัธร์ะหว่างบุคคลและรบัผดิชอบงานทีไ่ด้รบัมอบหมายอยา่งมปีระสทิธภิาพ มคีวามคดิรเิริม่สรา้งสรรค ์ สามารถใหค้วามช่วยเหลอืและอ านวยความสะดวกในการแกไ้ขปญัหาในสถานการณ์ต่างๆ ได ้ 7. เพื่อใหผู้เ้รยีนมทีกัษะสามารถสื่อสารอย่างมปีระสทิธภิาพทัง้การพูดและการเขยีน รูจ้กัเลอืกใชร้ปูแบบการใชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศน าเสนอทีเ่หมาะสมกบักลุ่มผูฟ้งัทีแ่ตกต่างกนั

  • (ณ)

    เน้ือหา

    บทที ่1 การก ากบัดแูลกจิการ 4 ชัว่โมง แนวคดิของการก ากบัดแูลกจิการ วตัถุประสงคข์องการก ากบัดแูลกจิการ พืน้ฐานของการก ากบัดแูลกจิการ ประโยชน์ของการก ากบัดแูลกจิการ

    หลกัการก ากบัดแูลกจิการ องคป์ระกอบของการก ากบัดแูลกจิการ แนวคดิของคณะกรรมการตรวจสอบ บทบาทและความรบัผดิชอบในการก ากบัดแูลกจิการ

    กรณศีกึษาการก ากบัดแูลกจิการ สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่2 การควบคุมภายในและการประเมนิประสทิธภิาพการควบคุมภายใน 8 ชัว่โมง แนวคดิเกีย่วกบัการควบคุมภายใน องคป์ระกอบการควบคุมภายใน ประเภทและวธิกีารควบคุมภายใน ลกัษณะของระบบการควบคุมภายในทีด่ ี การประเมนิตนเองในการควบคุม

    บทบาทหน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบต่อการควบคุมภายใน ประโยชน์ของการควบคุมภายใน สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่3 การบรหิารความเสีย่ง 4 ชัว่โมง ความหมายของการบรหิารความเสีย่ง วตัถุประสงคข์องการบรหิารความเสีย่ง พฒันาการของการบรหิารความเสีย่ง ประเภทของความเสีย่ง องคป์ระกอบของการบรหิารความเสีย่ง

  • (ด)

    ความสมัพนัธร์ะหว่างองคป์ระกอบการบรหิารความเสีย่ง ประเภทวตัถุประสงค ์ และระดบัหน่วยงาน ประโยชน์ของการบรหิารความเสีย่ง

    ขอ้จ ากดัของการบรหิารความเสีย่ง ปจัจยัส าคญัต่อความส าเรจ็ในการบรหิารความเสีย่ง บทบาทหน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบต่อการบรหิารความเสีย่ง สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่4 การตรวจสอบภายในและแมบ่ทการปฏบิตังิานวชิาชพีตรวจสอบภายใน 4 ชัว่โมง ความหมายการตรวจสอบภายใน ววิฒันาการของการตรวจสอบภายใน วตัถุประสงคข์องการตรวจสอบภายใน ขอบเขตและหน้าทีข่องผูต้รวจสอบภายใน ประเภทของการตรวจสอบภายใน ความแตกต่างระหว่างการตรวจสอบภายในกบัการสอบบญัช ีสถาบนัทีเ่กีย่วขอ้งกบัการตรวจสอบภายใน ปจัจยัทีท่ าใหก้ารตรวจสอบภายในประสบความส าเรจ็ แมบ่ทการปฏบิตังิานของวชิาชพีตรวจสอบภายใน ประโยชน์ของการตรวจสอบภายใน

    สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่5 การจดัองคก์ารและบรหิารงานหน่วยงานตรวจสอบภายใน 4 ชัว่โมง สถานภาพและโครงสรา้งของหน่วยงานตรวจสอบภายใน บทบาทหน้าทีข่องผูต้รวจสอบภายใน กฎบตัรของหน่วยตรวจสอบภายใน การบรหิารงานตรวจสอบภายใน คู่มอืการตรวจสอบภายใน

    สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

  • (ต)

    บทที ่6 กระบวนการตรวจสอบภายใน 8 ชัว่โมง ความหมายกระบวนการตรวจสอบภายใน การวางแผนการตรวจสอบ การส ารวจขอ้มลูขัน้ตน้ แผนการตรวจสอบ ประเภทของแผนการตรวจสอบภายใน ประโยชน์ของแผนการตรวจสอบ

    การปฏบิตังิานตรวจสอบภาคสนาม การรายงานและตดิตามผลการตรวจสอบ สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่7 หลกัฐานและเทคนิคการตรวจสอบภายใน 4 ชัว่โมง ความหมายของหลกัฐานการตรวจสอบ ประเภทของหลกัฐานการตรวจสอบ คุณลกัษณะของหลกัฐานการตรวจสอบ เทคนิคการตรวจสอบภายใน เทคนิคการรวบรวมหลกัฐานการตรวจสอบ ขอ้ควรพจิารณาในการเลอืกเทคนิคการตรวจสอบ สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่8 การเลอืกตวัอยา่งและการจดัท ากระดาษท าการในการตรวจสอบภายใน 4 ชัว่โมง ความหมายของการเลอืกตวัอยา่งและการทดสอบตวัอยา่ง ขัน้ตอนการทดสอบตวัอยา่ง กระดาษท าการของผูต้รวจสอบภายใน วตัถุประสงคข์องการจดัท ากระดาษท าการ การจดัท ากระดาษท าการของผูต้รวจสอบภายใน หลกัการจดัท ากระดาษท าการ เครือ่งหมายการตรวจสอบ รหสัดชันีกระดาษท าการ การสอบทานกระดาษท าการ

  • (ถ)

    การควบคุมดแูลและการจดัเกบ็กระดาษท าการ สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่9 รายงานและการตดิตามผลการตรวจสอบภายใน 4 ชัว่โมง ความหมายของรายงานการตรวจสอบ ความส าคญัของรายงานการตรวจสอบ ขัน้ตอนการจดัท ารายงานการตรวจสอบ เทคนิคการเขยีนรายงานการตรวจสอบ การประชุมสรปุผลการตรวจสอบ วธิกีารน าเสนอรายงานการตรวจสอบ องคป์ระกอบของรายงานการตรวจสอบ รปูแบบของรายงานการตรวจสอบ ลกัษณะของรายงานการตรวจสอบทีด่ ี การสอบทาน จดัส่งรายงานการตรวจสอบ และการจดัเกบ็ ปจัจยัทีน่ าไปสู่ความส าเรจ็ของรายงานการตรวจสอบ การตดิตามผลการตรวจสอบ สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่10 การควบคุมและการตรวจสอบภายในดา้นต่างๆ ทีส่ าคญัขององคก์ร 8 ชัว่โมง กจิกรรมการบรหิารเงนิสด กจิกรรมการบรหิารสนิเชื่อ กจิกรรมการบรหิารงานจดัซือ้ กจิกรรมการบรหิารการผลติ กจิกรรมการบรหิารวสัดุและสนิคา้คงเหลอื กจิกรรมการบรหิารทรพัยากรบุคคล

    สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

  • (ท)

    บทที ่11 การควบคุมและการตรวจสอบภายในดา้นเทคโนโลยสีารสนเทศ 4 ชัว่โมง แนวคดิเกีย่วกบัการตรวจสอบเทคโนโลยสีารสนเทศ

    ความแตกต่างระหว่างระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอรก์บัทีไ่มใ่ชค้อมพวิเตอร์ ความเสีย่งดา้นเทคโนโลยสีารสนเทศ การควบคุมภายในของเทคโนโลยสีารสนเทศ การทดสอบการควบคุมภายในของเทคโนโลยสีารสนเทศ

    แนวการตรวจสอบเทคโนโลยสีารสนเทศ ประเภทของการตรวจสอบระบบสารสนเทศ

    การตรวจสอบระบบสารสนเทศทีใ่ชค้อมพวิเตอร ์ปจัจยัพจิารณาการใชค้อมพวิเตอรช่์วยในการตรวจสอบ

    สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ

    บทที ่12 บทบาทของผูต้รวจสอบภายในกบัการทุจรติ 4 ชัว่โมง ความหมายของการทุจรติ องคป์ระกอบของการทุจรติ สญัญาณเตอืนภยัว่าอาจมกีารทุจรติ ประเภทของการทุจรติ

    ความรบัผดิชอบเกีย่วกบัการทุจรติ การปฏบิตังิานตรวจสอบการทุจรติ

    การจดัท ารายงานตรวจสอบการทุจรติ การด าเนินการกบัผูทุ้จรติ แนวคดิเกีย่วกบัการบญัชสีบืสวน สรปุ แบบฝึกหดัทา้ยบท เอกสารอา้งองิ วิธีสอนและกิจกรรม

    1. บรรยาย/อภปิราย 2. ศกึษาคน้ควา้ดว้ยตนเองจากเอกสาร ต ารา หรอืทางเวบ็ไซตต่์าง ๆ 3. อภปิราย แบ่งกลุ่มยอ่ยน าเสนอเนื้อหาในชัน้เรยีน 4. บรรยายสรปุสาระส าคญั และตอบขอ้ซกัถาม 5. ท าแบบฝึกหดัทา้ยบทเป็นรายบุคคล

  • (ธ)

    ส่ือการเรียนการสอน 1. คอมพวิเตอรแ์ละโปรแกรมพาวเวอรพ์๊อยท ์ (Power Point) สรปุค าบรรยาย 2. เอกสารประกอบการสอนวชิาการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน 3. เอกสารตวัอยา่งจากสถานการณ์ปจัจุบนั 4. แหล่งเวบ็ไซตท์ีเ่กีย่วขอ้งจากอนิเตอรเ์น็ต

    การวดัผลและประเมินผล การวดัผล 1. คะแนนระหว่างภาคเรยีน 60 คะแนน

    1.1 ความสนใจในหอ้งเรยีน 10 คะแนน 1.2 การท าแบบฝึกหดัทา้ยบท 10 คะแนน 1.3 ทดสอบกลางภาคเรยีน 40 คะแนน

    2. คะแนนสอบปลายภาคเรยีน 40 คะแนน

    การประเมินผล คะแนนระหว่าง 80 - 100 ไดร้ะดบั A

    คะแนนระหว่าง 75 - 79 ไดร้ะดบั B+

    คะแนนระหว่าง 70 - 74 ไดร้ะดบั B

    คะแนนระหว่าง 65 - 69 ไดร้ะดบั C+

    คะแนนระหว่าง 60 - 64 ไดร้ะดบั C

    คะแนนระหว่าง 55 - 59 ไดร้ะดบั D+

    คะแนนระหว่าง 50 – 54 ไดร้ะดบั D คะแนนระหว่าง 0 – 49 ไดร้ะดบั F

  • การก ากบัดแูลกิจการ บทท่ี 1

    1

    แผนบริหารการสอนประจ าบทท่ี 1 การก ากบัดแูลกิจการ

    หวัข้อเน้ือหาประจ าบท 1. แนวคดิของการก ากบัดแูลกจิการ 2. วตัถุประสงคข์องการก ากบัดแูลกจิการ 3. พืน้ฐานของการก ากบัดแูลกจิการ 4. ประโยชน์ของการก ากบัดแูลกจิการ 5. หลกัการก ากบัดแูลกจิการ 6. องคป์ระกอบของการก ากบัดแูลกจิการ 7. แนวคดิของคณะกรรมการตรวจสอบ 8. บทบาทและความรบัผดิชอบในการก ากบัดแูลกจิการ 9. กรณศีกึษาการก ากบัดแูลกจิการ

    วตัถปุระสงคเ์ชิงพฤติกรรม 1. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายแนวคดิของการก ากบัดแูลกจิการได ้2. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายวตัถุประสงตข์องการก ากบัดูแลกจิการได ้3. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายพืน้ฐานของการก ากบัดแูลกจิการได ้4. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายประโยชน์ของการก ากบัดแูลกจิการได ้5. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายหลกัการก ากบัดแูลกจิการได ้6. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายองคป์ระกอบของการก ากบัดแูลกจิการได ้7. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายแนวคดิของคณะกรรมการตรวจสอบได ้8. ผูเ้รยีนสามารถอธบิายบทบาทและความรบัผดิชอบในการก ากบัดแูลกจิการได้

    วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจ าบท 1. ชีแ้จงรายละเอยีดรายวชิา วธิกีารจดัการเรยีนการสอน การวดัและการประเมนิผล 2. การบรรยายเนื้อหา 3. ถาม–ตอบในชัน้เรยีน 4. ท าแบบฝึกหดัทา้ยบท

  • บทท่ี 1 การก ากบัดแูลกิจการ

    2

    ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน เรือ่ง การก ากบัดแูลกจิการ 2. ชุดการสอน Power Point 3. แหล่งขอ้มลูอเิลค็ทรอนิกสท์ีเ่กีย่วขอ้ง 4. แหล่งความรูจ้ากวารสารและหนงัสอืพมิพต่์าง ๆ

    การวดัผลและการประเมินผล 1. สงัเกตความสนใจขณะฟงับรรยายและการตอบค าถาม 2. สงัเกตจากการท าแบบฝึกหดัในชัน้เรยีน 3. สงัเกตจากพฤตกิรรมความสนใจ และการรว่มกจิกรรมในชัน้เรยีน 4. ประเมนิผลจากการท าแบบฝึกหดัทา้ยบท

  • การก ากบัดแูลกิจการ บทท่ี 1

    3

    บทท่ี 1 การก ากบัดแูลกิจการ

    การก ากบัดูแลกจิการ (Corporate Governance : CG) เป็นเรื่องส าคญัซึง่ไดร้บัความสนใจจากสาธารณชนเพราะการก ากับดูแลกิจการจะท าให้มรีะบบการบรหิารจดัการองค์กรมคีุณภาพ มกีารเปิดเผยข้อมูลที่โปร่งใส มีผลการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพ สร้างความสามารถในการแข่งขนัและสรา้งมลูค่าเพิม่แก่เจา้ของกจิการหรอืสรา้งความพงึพอใจใหก้บัผู้มสี่วนไดส้่วนเสยี (Stakeholders) ทุกฝ่าย ดงัค ากล่าวพระปฐมบรมราชโองการของพระบาทสมเดจ็พระเจา้ อยูห่วัใหไ้วว้่า “เราจะครองแผ่นดนิโดยธรรมเพือ่ประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ครัน้เมื่อเสดจ็ขึน้เถลงิถวลัยส์ริริาชสมบตัใินวนัศุกรท์ี่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 นับตัง้แต่นัน้เป็นต้นมาพระบาทสมเดจ็พระเจา้อยูห่วัทรงปฏบิตัพิระราชกรณียกจิทัง้ปวงโดยชอบธรรมเพื่อบ าบดัทุกขบ์ ารุงสุขแก่พสกนิกรของพระองค์ใหไ้ดอ้ยู่เยน็เป็นสุขตามสมควรแก่ฐานะตลอดมา กล่าวได้ว่าพระองคท์รงเป็นต้นแบบแห่งการปฏบิตัติามหลกัธรรมาภบิาลหรอืการก ากบัดแูลกจิการจนถงึทุกวนัน้ี (พระปฐมบรมราชโองการ. คน้จาก, http:// ns2.ph.mahidol.ac.th/phklb/knowledgefiles/4_Chapter_2)

    แนวคิดของการก ากบัดแูลกิจการ

    ปจัจุบนัหลกัธรรมมาภบิาลเกี่ยวข้องกบัทุกระดบัตัง้แต่ตวับุคคล องค์กรต่างๆ ก็ได้มกีารน า หลกัการรวมถงึนโยบายของการก ากบัดแูลกจิการมาใชอ้ยา่งกวา้งขวาง โดยเฉพาะอย่างยิง่กบับรษิทัจดทะเบยีนในตลาดหลกัทรพัยแ์ห่งประเทศไทยเน่ืองจากเกดิวกิฤตกิารณ์เรื่องปญัหาการทุจรติและความไม่โปรง่ใสทางบญัชขีองบรษิทัใหญ่ในสหรฐัอเมรกิาขึน้ท าใหบ้รษิทัไดร้บัความเสยีหายอย่างรุนแรงและต้องปิดการด าเนินกจิการลง เช่น บรษิทั Enron, บรษิทั World Com เป็นต้น ซึง่เหตุการณ์ดงักล่าวกส็่ง ผลกระทบต่อหลายประเทศรวมถึงประเทศไทยด้วย กล่าวคือ ธนาคารพาณิชย์และบรษิัทเงนิทุนหลกัทรพัย์กว่า 50 กิจการได้ท าการปิดตวัลงเช่นด้วยกนั ส าหรบัเหตุการณ์ของบรษิัทยกัษ์ใหญ่ในสหรฐัอเมรกิานัน้เพื่อใหเ้กดิความเขา้ใจเกี่ยวกบัความเป็นมาของวกิฤตกิารณ์และการล้มละลายของทัง้สองแห่งอธบิายรายละเอยีดดงันี้

    วกิฤตกิารณ์ของบรษิทั Enron ในช่วงปี พ.ศ. 2544 ทัว่โลกต้องตกตะลงึกบัความลม้เหลวถงึ ขัน้ล้มละลายของบรษิัท Enron โดยบรษิัท ได้ท าการประกอบธุรกิจเกี่ยวข้องกับพลงังานทัง้เป็นผู้จ าหน่ายและให้บรกิารเกี่ยวกบัก๊าซธรรมชาต ิ ไฟฟ้าและการสื่อสารอย่างกว้างขวางซึ่งเป็นกจิการที่มีขนาดใหญ่ตดิอนัดบั 1 ใน 10 จากการจดัอนัดบัของนิตยสาร Fortune 500 มสีาขาตัง้อยู่ในประเทศต่างๆ มากกว่า 40 ประเทศทัว่โลก และมจี านวนพนักงานรวมกว่า 20,000 คน จากการสอบสวนของ

  • บทท่ี 1 การก ากบัดแูลกิจการ

    4

    เจา้หน้าทีต่่างๆ พบว่าสาเหตุส าคญัทีท่ าใหบ้รษิทัขนาดใหญ่อย่างเอนรอนต้องลม้ละลายในทีสุ่ด คอื การทุจรติทีก่ระท าโดยผูบ้รหิารระดบัสงู เนื่องจากผลประโยชน์มหาศาลทีเ่กี่ยวขอ้งกบัมลูค่าองคก์รจนถงึขัน้ต้องท าเอกสารเท็จและรายงานทางการเงินที่บิดเบือนข้อเท็จจริง ท าให้ไม่สามารถสะท้อนผลประกอบการทีแ่ทจ้รงิของบรษิทัได ้ ซึง่บรษิทัเอนรอนไดน้ าเอาวธิกีารหลากหลายรปูแบบมาใชต้ัง้แต่การตกแต่งตวัเลขทางบญัช ี การสรา้งเอกสาร หลกัฐานและขอ้มลูเพื่อสรา้งภาพต่อสาธารณะไม่ว่าจะเป็นพนักงาน ลูกจ้าง นักวิเคราะห์ ผู้ลงทุน รวมถึงองค์กรก ากบัดูแลว่าตวัเลขทางการเงนิของบรษิัทเป็นไปในทางทีด่ตีามความคาดหมายของนกัวเิคราะห ์

    บรษิทั Enron ตกแต่งตวัเลขทางการเงนิด้วยการสรา้งรายได้ให้สูงเกนิจรงิโดยใชเ้ครื่องมอืทางการเงนิ วธิกีารบญัช ี และการจดัโครงสรา้งองคก์รทีส่ลบัซบัซอ้น ยากแก่การเขา้ใจ โดยอาศยัช่องโหล่ของกฎหมายและมาตรฐานการบญัชทีีม่อียู ่ Enron เสนอรายงานทางการเงนิโดยไมร่วมผลประกอบการของบรษิทัทีต่ ัง้ขึน้เพื่อประกอบธุรกจิเฉพาะ (Special Purpose Entity – SPE) บรษิทัธุรกจิเฉพาะตัง้ขึน้เพื่อเป็นตวักลางในการออกตราสารที่เกดิจากการแปลงสนิทรพัยเ์ป็นหลกัทรพัย ์ ซึง่ต่อมา Enron ได้มีการขายสินทรพัย์ให้แก่ SPEs โดยมีก าไรระหว่างกันและน าก าไรรวมไว้เป็นรายได้ของบริษัทโอนทรพัยส์นิและหนี้สนิออกไป รบัรูร้ายไดจ้ากการตมีลูค่าสญัญาเพิม่ขึน้ Enron ไดจ้ดัตัง้บรษิทัเฉพาะกจิและธุรกจิร่วมทุนขึน้มากมายโดยไม่มเีหตุผลทางเศรษฐกจิหรือทางการคา้ทีเ่พยีงพอมาสนับสนุนเพื่อใช้เป็นตวักลางในการถ่ายโอนและสรา้งรายไดเ้พิม่ซึง่มผีลประโยชน์ทีท่บัซอ้น

    การลม้ละลายของบรษิทั World Com หลงัจากเกดิเหตุการณ์กบับรษิทั Enron ไดไ้ม่นานตลาด หุ้นอเมรกิาก็ต้องสัน่สะเทอืนอีกครัง้ด้วยข่าวสารการล้มละลายของบรษิัทโทรคมนาคมยกัษ์ใหญ่ของบรษิทั World Com โดยมสีาเหตุท านองเดยีวกบั Enron นัน่คอื การทุจรติและตกแต่งบญัชีสรา้งภาพหลอกลวงเพื่อสรา้งมลูค่าองคก์รใหส้งูขึน้มลูค่าความเสยีหายของ World Com ไดล้บสถติขิอง Enron ลงโดยเป็นผูเ้ขา้ยืน่ขอเป็นผูล้ม้ละลายทีม่ลูค่าสนิทรพัยส์ูงสุดในอเมรกิาและในโลกจนท าใหค้วามมัน่คงและมัง่คัง่ของตลาดหุน้อเมรกิาลดลงอยา่งรวดเรว็ กรณขีอง World Com กเ็ช่นกนัสาเหตุหลกัเกดิจากการสรา้งภาพ ตกแต่งบญัช ี สรา้งหลกัฐานเพื่อให้สาธารณะชนหลงผดิในสาระส าคญัในงบการเงนิโดย World Com ใช้วธิบีนัทกึค่าใช้จ่ายใหต้ ่ากว่าความเป็นจรงิดว้ยการบนัทกึค่าใชจ้า่ยเป็นสนิทรพัยร์อการตดัจา่ย

    จากวกิฤตกิารณ์ต่างๆ ดงักล่าวขา้งต้นท าใหทุ้กคนเกดิความสนใจไม่ว่าจะเป็นเจา้ของเงนิทุน ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ควรทราบผลการด าเนินงานขององค์กรเป็นระยะๆ เพื่อจะได้ป้องกนัหรอืควบคุมจุดอ่อนไดท้นัถ่วงท ี โดยเฉพาะองคก์รที่ก าลงัขยายและมอีตัราการเจรญิเตบิโตอย่างเตม็ทีม่กัจะละเลยไม่ให้ความส าคญักบัระบบการควบคุมภายในเนื่องจากต้องการความรวดเรว็ ฉับไวในการด าเนินงานตามวตัถุประสงคท์ีก่ าหนดไวแ้ละการก ากบัดูแลทีห่ย่อนยาน ไม่มปีระสทิธภิาพจากผูท้ีเ่กี่ยวขอ้งทัง้จากภายในและภายนอก ผูส้อบบญัช ี และองคก์รก ากบัดูแลของภาครฐั ท าใหไ้ม่มผีลการตรวจสอบอย่างเพยีงพอจนเกดิความเสยีหายแก่ทุกฝา่ยทีเ่กีย่วขอ้ง

  • การก ากบัดแูลกิจการ บทท่ี 1

    5

    ดงันัน้ ผูบ้รหิารขององคก์รทุกหน่วยงานเกดิความตื่นตวัและตระหนักอย่างยิง่เกี่ยวกบัการน าหลกัการก ากบัดูแลกจิการมาใช้ ถ้าหากว่าองค์กรใดมกีารก ากบัดูแลกจิการอยู่แล้วย่อมก่อให้เกดิการบรหิารจดัการทีม่ปีระสทิธภิาพไดร้บัการยอมรบัและความน่าเชื่อถอืจากสงัคมเป็นอยา่งด ี

    1. ความหมายของการก ากบัดแูลกิจการ (The Meaning of Corporate Governance)

    การก ากบัดแูลกจิการแปลเป็นภาษาไทยไดห้ลายค า เช่น ระดบัภาครฐัอาจใชค้ าว่า “ธรรมรฐั” หรอื “ธรรมาภบิาล” หรอื “การบรหิารกจิการบา้นเมอืงทีด่”ี ตลาดหลกัทรพัยแ์ห่งประเทศไทยแปล Corporate Governance อยา่งเป็นทางการว่า “การก ากบัดแูลกจิการ” ในระดบ