154
การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) พัชรพร สันติวิจิตรกุล ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี พ.ศ. 2553 Copyright : Suratthani Rajabhat University

การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

พัชรพร สันติวิจิตรกุล

ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีพ.ศ. 2553

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 2: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

DEVELOPMENT OF IN-CLASS RESEARCH HANDBOOK FOR TEACHERS IN SCHOOLS OF SURATTHANI PROVINCE ADMINISTRATION 1

(DON SAK PADUNGVIT)

PATCHARAPORN SUNTIWIJITKUL

A Term Paper Submitted in Partial Fulfillment ofthe Requirements for the Degree of Master of Education

In Educational AdministrationGraduate School

Suratthani Rajabhat University2010

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 3: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บทคัดยอ

ชื่อเร่ืองภาคนิพนธ การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ชื่อผูวิจัย นางพัชรพร สันติวิจิตรกุลชื่อปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชา การบริหารการศึกษาปการศึกษา 2553คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคนิพนธ

1. รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร ประธานกรรมการ2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชอเพชร เบาเงิน กรรมการ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) โดยมีขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 พัฒนาคูมือ ใชวิธีการสัมภาษณโดยตรงกับครูผูสอน จํานวน 20 คน วิเคราะหสภาพปญหาความตองการ และการศึกษาเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวของ กําหนดกรอบโครงราง ขั้นที่ 2 หาคุณภาพคูมือ โดยทดลองกับกลุมตัวอยาง 20 คน ระยะเวลาในการศึกษา 3 สัปดาห ใชแบบทดลองกลุมเดียววัดผล 2 ครั้ง คือ วัดผลกอนศึกษาคูมือ และวัดผลหลังการศึกษาคูมือ สถิติที่ใช ไดแก คาเฉลี่ยและคา IOC

ผลการวิจัย พบวา การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนที่มีอยูแลวในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ใหมีความเหมาะสมกับสภาพปญหาและความตองการของผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ซึ่งมีองคประกอบสําคัญ ไดแก คําชี้แจงการใช เนื้อหาสาระ ตัวอยาง และแบบฝกหัด โดยมีคาระดับความเหมาะสมตรวจโดยผูเชี่ยวชาญอยูในระดับมาก ผลการหาประสิทธิภาพของคูมือ โดยการทดลองใชกับ กลุมตัวอยาง 20 คน พบวา คาเฉลี่ยของความรู และคาเฉลี่ยเจตคติหลังการศึกษาคูมือเพิ่มสูงขึ้นมากกวากอนการศึกษาคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียน เพื่อนําไปใหครูผูสอนไดศึกษาพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพตอไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 4: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ABSTRACT

Term Paper title Development of in-class research handbook for teachers in schools of Suratthani Province administration 1 (Don Sak Padungvit)

Student’s name Ms.Patcharaporn Suntiwijitkul Degree sought Master of EducationMajor Educational AdministrationAcademic year 2010Term Paper advisors 1. Assoc.Prof. Dr.Choosak Eagpetch Chairperson

2. Asst.Prof.Dr.Chorpet Bao-ngaen Committee

The aim of this study was to develop in-class research handbook for teachers in schools of Suratthani Province administration 1 (Don Sak Padungvit) step-by-step as follows: Step1 Handbook development through direct interview with 20 teachers and then tried to identify the needs together with detailed study of academic documents and related research in setting up the framework. Step 2 was carried out in order to determine the quality of the handbook by testing it with a studied group of 20 subjects for 3 weeks in a form of single experimental group with 2-timestesting before and after the study of the handbook. The statistics used were average and IOC value.

The result showed that development of handbook in the existing classes of schools of Suratthani Province administration 1 (Don Sak Padungvit) in order to make it more suitable to the existing problems and needs of the teaching staffs consisted of the following main components which were instruction on how to use, content, examples and exercises having suitable level approved by experts was at high level. The testing result in determining the handbook’s efficiency through the test with a group of samples of 20 subjects showed that the average value of knowledgelevel and attitude after the study of the handbook increased significantly at the level of 0.05 comparingwith the level before studying the handbook. This would provide a handbook for teachers to be used in developing more effective teaching and learning in the future.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 5: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

กิตติกรรมประกาศ

ภาคนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาเปนอยางยิ่งจากรองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร ประธานกรรมการควบคุมภาคนิพนธ และผูชวยศาสตราจารย ดร.ชอเพชร เบาเงิน กรรมการควบคุมภาคนิพนธ ที่ไดกรุณาใหคําปรึกษาแนะนําและติดตามการทําภาคนิพนธครั้งนี้ ตลอดจนสละเวลาในการแกไขขอบกพรองตาง ๆ ในทุกขั้นตอนของการวิจัย จนทําใหภาคนิพนธฉบับนี้ มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณดวยความเคารพอยางสูง ณ โอกาสนี้

ขอขอบคุณนายวิเชียร สมผล นายพูลสวัสดิ์ ใจเต็ม นางณัฐนี แจมสุริยา นายคํารณ ชวงชุณหสอง และ นายพรชัย จันทรรงค ที่กรุณาใหความอนุเคราะหเปนผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบและปรับปรุงแกไขเครื่องมือใหมีคุณภาพ

ขอขอบคุณครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ทุกทานที่ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการทําภาคนิพนธฉบับนี้จนสําเร็จและใหความชวยเหลืออํานวยในทุก ๆ ดานเปนอยางยิ่ง

นอกจากนี้ผูวิจัยขอขอบคุณครอบครัว เพื่อนนักศึกษาปริญญาโทสาขาการบริหารการศึกษาและผูที่มีสวนเกี่ยวของในการทําภาคนิพนธครั้งนี้ทุกทานที่ไดกรุณาใหการสนับสนุนชวยเหลือ ในการใหกําลังใจดวยดีตลอดมา คุณคาและประโยชนใด ๆ ของภาคนิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบเปนกตัญูกตเวทีแด บิดา - มารดา ครูอาจารยและผูมีอุปการคุณทุก ๆ ทานที่เปนผูวางรากฐาน แกผูวิจัย

พัชรพร สันติวิจิตรกุลCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

Page 6: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย ................................................................................................................. ขบทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................ คกิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................. งสารบัญ ................................................................................................................................... จสารบัญตาราง ......................................................................................................................... ชสารบัญภาพ ............................................................................................................................ ซบทที่

1 บทนํา ....................................................................................................................... 1ความเปนมาและความสําคัญของปญหา............................................................ 1วัตถุประสงคของการวิจัย.................................................................................. 5ความสําคัญของการวิจัย .................................................................................... 5ขอบเขตของการวิจัย ......................................................................................... 5กรอบแนวคิดในการวิจัย ................................................................................... 6สมมติฐานของการวิจัย...................................................................................... 7นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................................... 8

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................................ 9แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน ....................................................................................10แนวคิดเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียน ................................................................ 27แนวคิดเกี่ยวกับคูมือ ................................................................................................ 32งานวิจัยที่เกี่ยวของ ............................................................................................ 37

3 วิธีดําเนินการวิจัย ..................................................................................................... 46ขั้นที่ 1 พัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร

สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)......................................................48ขั้นที่ 2 หาคุณภาพคูมือในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร

สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)......................................................54

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 7: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา 4 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................ 62

ขั้นที่ 1 ขั้นพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสกัผดุงวิทย) ..............................62

ขั้นที่ 2 ขั้นหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ............................64

5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ................................................................................ 68สรุปผล...............................................................................................................................68อภิปรายผล.........................................................................................................................71ขอเสนอแนะ ......................................................................................................................79

บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 81ภาคผนวก ............................................................................................................................... 88

ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะห ................................................................ 89ภาคผนวก ข คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร

สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ........................................... 91ภาคผนวก ค รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ........................................................................................123ภาคผนวก ง แบบประเมิน ...............................................................................................126ภาคผนวก จ แบบสอบวัดความรูความเขาใจ/แบบสอบถามวัดเจตคติ.............................135ภาคผนวก ฉ รายชื่อกลุมตัวอยาง .....................................................................................143

ประวัติผูทําภาคนิพนธ ........................................................................................................... 145

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 8: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา3.1 ระดับความเหมาะสมของโครงรางคูมือ โดยผูเชี่ยวชาญ ....................................................523.2 ความสอดคลองของเนื้อหาโครงรางคูมือโดยผูเชี่ยวชาญ...................................................543.3 ความตรงของแบบวัดผลสัมฤทธิ์โดยผูเชี่ยวชาญ ...............................................................553.4 การตรวจสอบความตรงของแบบสอบถามวัดเจตคติโดยผูเชี่ยวชาญ ................................573.5 การหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดผลสัมฤทธิ์โดยใชกับกลุมทดลอง ................................583.6 การหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติโดยใชกลุมทดลอง ............................................594.1 ผลตางคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนและหลังศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน ................................ 654.2 วิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ กอน - หลังศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน ............................664.3 ผลตางคะแนนเจตคติ กอน - หลัง ศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน ............................................464.4 วิเคราะหเปรียบเทียบเจตคติ กอน - หลังการใชคูมือวิจัยในชั้นเรียน ................................67

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 9: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ................................................................................................ 72.1 ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรู ...........................................................303.1 ขั้นตอนในการวิจัยขั้นที่ 1 ................................................................................................473.2 ขั้นตอนในการวิจัยขั้นที่ 2 ................................................................................................48

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 10: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การจัดการเรียนการสอนของครูในยุคปฏิรูปการศึกษา ไดมุงเนนผลที่เกิดกับตัวผูเรียนเปนสําคัญ ตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนไดฝกคิด ปฏิบัติจริง ประเมินและปรับปรุงตนเองไดครูจึงเปนตัวจักรที่สําคัญที่จะกอใหนักเรียนเกิดทักษะกระบวนการเรียนรู ครูจึงไมใชผูที่มีหนาที่ สอนเทานั้น แตครูตองเปนผูอํานวยการเรียนรู จัดประสบการณใหกับผูเรียน ซึ่งในการจัดการที่ดีนั้น ครูจะตองเปนนักวางแผนที่ดี มีวิสัยทัศนในการคิดที่กวางไกล และจะตองเปนผูที่ใฝรูใฝเรียนติดตามขาวสารใหม ๆ และทันสมัยดวยการแสวงหาความรู จากระบบขอมูลสารสนเทศสมัยใหมตลอดจนขาวสารความเคลื่อนไหวทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปนบุคคลแหงการเรียนรู และปรับตัวปรับใจใหทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปจจุบัน (สิทธิพร คลายเมืองปก. 2543 : 38 - 39)

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 เปนกฎหมายการศึกษาที่ระบุไวชัดเจนเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในหมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 24 ขอ 5 “ใหสงเสริมสนับสนุนผูสอนใหสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม สื่อการเรียน และอํานวยความสะดวกเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู” นอกจากนี้แลวมาตรา 30 ยังกําหนด “ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา” ครูจึงมีความจําเปนที่จะตองเพิ่มบทบาทเปนนักวิจัยเพื่อศึกษาหาขอมูลมาเปนกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) เปนการศึกษาวิจัยครูควรแสดงบทบาทนักวิจัยในเรื่องเกี่ยวกับการเรียนการสอน วิธีสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดทําสื่อและอุปกรณประกอบการสอนตลอดจนการวัดและประเมินผล โดยมีจุดมุงหมายเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การวิจัยในชั้นเรียนจึงเปนเครื่องมือในการคนหาคําตอบที่ครูสนใจดวยวิธีการเชิงประจักษ ครูผูสอนทุกคนสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนไดเพื่อแกปญหาที่เกิดจากการปฏิบัติการสอน หรือเพิ่มปรับปรุงและพัฒนางานการสอนของตนดวยวิธีการงาย ๆ ซึ่งครูสามารถทําวิจัยไปพรอม ๆ กับการปฏิบัติการสอนประจําวัน เรื่องที่ศึกษาวิจัยสวนมาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 11: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

2

จะเปนปญหาที่ครูผูสอนพบจากการปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน โดยมีจุดมุงหมายที่จะแกปญหานั้น ๆ หรืออาจจะมาจากความคิดริเริ่มของครูที่จะพัฒนาปรับปรุงวิธีการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (อัจฉรา สระวาสี. 2540 : 15 - 16) จากการที่วิชาชีพครูไดรับการยอมรับโดยทั่วไปวาเปนวิชาชีพชั้นสูง ที่จะตองใชทั้งศาสตรและศิลปในการปฏิบัติงาน จึงมีความจําเปนตองมีการพัฒนาวิชาชีพครูใหมีมาตรฐานสูงและเปนที่ยอมรับของสังคม ในขณะเดียวกันผูประกอบการอาชีพครูจะตองกาวใหทันกับกระแสของการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการ เทคโนโลยี คานิยม และวัฒนธรรมทางสังคม โดย การนําการวิจัยเขาไปชวยในการจัดการเรียนการสอน ในอันที่จะสงผลใหผูเรียนบรรลุความสําเร็จตามเปาหมายของหลักสูตรได ครูผูสอนที่สามารถทําวิจัยได และนําผลการวิจัยไปใชประโยชน ไดทันเวลา และถูกตองกับสภาพปญหาความเปนจริงอยางตอเนื่อง จะทําใหครูผูสอนเกิดความรูและความคิดริเริ่มสรางสรรค ซึ่งชี้ใหเห็นไดอยางชัดเจนวาครูผูสอนมีความจําเปนตองทําวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาความกาวหนาของผูเรียน และการสอนของครู หนวยงานทางการศึกษาจึงตองสรางบรรยากาศที่เอื้อตอการวิจัยทางการศึกษา เชน การจัดใหมีขอมูลพื้นฐานที่ดี มีเอกสาร แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวของเพียงพอสําหรับทําวิจัย บุคลากรของหนวยงานที่ไดรับการอบรมวิจัยมีอุปกรณและเครื่องอํานวยความสะดวกในการดําเนินการวิจัย ผูบริหารและครูผูสอนตองมอง ใหเห็นโครงสรางหลักสูตรในรูประบบ คือ มองใหเห็นความสัมพันธของภารกิจองคประกอบตาง ๆ ในโครงสรางระบบหลักสูตร ทั้งในดานปจจัย ดานกระบวนการและดานผลผลิตใหชัดเจน เพราะปญหาที่เกิดขึ้นในโครงสรางระบบหลักสูตรอาจเกิดปญหาที่ระดับปจจัยหรือระดับกระบวนการ หรือระดับผลผลิต การวิจัยจะเขามามีสวนรวมในการหาคําตอบเพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

จากสภาพที่ปรากฏใหเห็นในปจจุบัน โรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) โดยทั่วไปครูทําหนาที่สอนโดยเนนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพียง อยางเดียวไมไดมีการเก็บขอมูลที่เปนระบบสําหรับจะนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือพัฒนาวิชาชีพ ในขณะเดียวกันกลุมครูที่ตองการพัฒนาวิชาชีพดวยการทําผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ ก็วางแผนทําวิจัยโดยมีการเก็บขอมูลเปนการเฉพาะกิจ เวลาในการจัดการเรียนการสอนสวนหนึ่งหมดไปกับการทําวิจัย ทําใหเวลาที่จะอุทิศใหกับงานสอนลดนอยลง สงผลใหการเรียนการสอนในชีวิตประจําวันของครูและนักเรียนไดรับผลกระทบ ทําใหครูสอนไมเต็มที่ จึงมักมีการกลาวเสมอวา “ครูที่ทําวิจัย งานสอนจะหยอนลง” (สุวิมล วองวานิช. 2546 : 3) นอกจากนั้นยังพบอยูบอยครั้งวา การทําวิจัยของครูไมเกี่ยวกับสภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับผูเรียน ขอคนพบจากการวิจัยจึงไมสามารถนํามาใชในการแกปญหาในชั้นเรียนได การวิจัยดังกลาวจึงไมเกิดประโยชนตอการพัฒนาผูเรียนโดยตรง แตเกิดประโยชนตอครูผูสอนในการนําผลการวิจัยไปใชเปนสวนหนึ่งของ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 12: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

3

การขอกําหนดตําแหนงเลื่อนวิทยฐานะ และยังพบวา การจัดประชุมปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียนของหนวยงานทางการศึกษาสวนใหญมีเปาหมายเพื่อใหครูมีความรูเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนและนําไปขอเลื่อนตําแหนงทางวิชาการ ซึ่งไมกอใหเกิดประโยชนตอผูเรียนเลย ครูผูสอนไมไดมุงหวังนําผลการวิจัยไปใชในการพัฒนาและเตรียมการสอนเปนวัตถุประสงคหลัก และยังพบวา ครูผูสอนไมไดดําเนินการทําวิจัยในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง แตดําเนินการทําวิจัยในชั้นเรียนเปนครั้งคราว เมื่อไดรับการเลื่อนตําแหนงทางวิชาการก็มักยุติไมทําวิจัยในชั้นเรียนในประเด็นอื่น ๆ ตอไปอีก ประกอบกับครูผูสอนมีความเขาใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับรูปแบบการทําวิจัยในชั้นเรียน ในสภาพการณที่หนวยงานบังคับบัญชาจัดฝกอบรมครูดานการวิจัยในชั้นเรียนไมสอดคลองกับการปฏิบัติงานสอนจริงของครู หลักสูตรการฝกอบรมสําหรับครูเปนการใหความรูดานการวิจัยที่เปนการวิจัยเชิงวิชาการ ผูที่เปนวิทยากรฝกอบรมใหความรูแกครูสวนใหญเปนอาจารยในสถาบัน การศึกษาระดับอุดมศึกษา หรือนักวิชาการที่สําเร็จการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ใหความรูแกครูผูสอนในสาระความรูที่เปนการวิจัยแบบเปนทางการที่มีหลักการวิจัยเครงครัด เพื่อใหไดคําตอบที่ตอบคําถามการวิจัยไดอยางหนักแนน ทําใหครูตองประสบปญหาหลายประการ การวิจัยของครูจึงไมกาวหนาและครูจํานวนมากเลิกทําวิจัยในชั้นเรียนพอจะกลาวไดวาในสภาพการณที่เปนอยู มีปญหาหลายประการที่ทําใหการวิจัยของครูไมพัฒนา และกาวหนาเทาที่ควรดวยเหตุผล คือ 1) ครูมีความรูไมเพียงพอ สงผลใหครูทําวิจัยไมเสร็จและเกิดความทอถอย เกิดทัศนคติในทางลบตอ การทําวิจัย 2) ขอจํากัดเร่ืองเวลาที่ไมเปดโอกาสใหครูมีเวลาในการศึกษาเอกสาร ทําใหเกิดการจางวานหรือมอบหมายใหผูอื่นศึกษาคนควาแทน 3) ครูมักยุติการทําวิจัยโดยมีผลงานวิจัยเพียงเรื่องเดียว เนื่องจากความยากลําบากของกระบวนการวิจัย 4) ครูเลียนแบบปญหาการวิจัยที่ใชในการศึกษาจากนักวิชาการ ไมใชปญหาที่เกิดจากสภาพปญหาในชั้นเรียน คําตอบงานวิจัยจึงไมสามารถนําไปใชแกปญหาที่เกิดขึ้นได 5) ใชเวลาดําเนินการวิจัยนานไมสามารถนําไปใชไดทันเหตุการณ 6) หลักสูตรที่จัดอบรมใหครูสวนใหญเปนหลักสูตรเรงรัดรายงานการวิจัยของครูจึงมีขอบกพรอง (สุวิมล วองวาณิช. 2546 : 5) จากสภาพที่กลาวมานั้น เพื่อไมใหครูเกิดความทอแทจึงควรสงเสริมสนับสนุนใหครูทําวิจัยโดยเปนสวนหนึ่งของการทํางานปกติใหเกิดความยั่งยืนของการวิจัยในชั้นเรียนของครู แมวาวิธีการอาจจะไมถึงมาตรฐานของงานวิจัยเชิงวิชาการ ซึ่งแนวทางใหมที่จะพัฒนาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูควรเปนไปในลักษณะที่เปนการวิจัยที่มุงแสวงหาคําตอบเกี่ยวกับการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน โดยกระบวนการวิจัยเปนขั้นตอนของการทดลองใชวิธีการหรือนวัตกรรมใหม ๆ ที่ทําใหการเรียนการสอนมีผลสัมฤทธิ์มากที่สุด โดยใชขอมูลในชั้นเรียนและเนนการใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาชวยในการแสวงหาคําตอบ เพื่อใหขอคนพบที่ไดมีความหนักแนน นาเชื่อถือ และนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอนของครูไดจริง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 13: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

4

จากการที่ผูวิจัยไดศึกษาจึงคนพบวา การแกปญหาในการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่ดีที่สุดคือ การแกปญหาโดยการทําคูมือวิจัยชั้นเรียนเพื่อใหครูไดใชศึกษาแลวนําความรูที่ไดจากการศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียนไปแกปญหาในการจัดการเรียนการสอนโดยทําการวิจัยในชั้นเรียนตามขั้นตอนที่ไดศึกษาในคูมือและสามารถใชแกปญหาในชั้นเรียนไดอยางตรงเปาหมายที่แทจริง หลังจากมีการประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หนวยงานทางการศึกษาโดยเฉพาะอยางยิ่งสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด หรือสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอในขณะนั้นไดดําเนินงานตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยเฉพาะการปฏิรูปการจัดการเรียนรู โดยจัดอบรมครูผูปฏิบัติการสอนใหปรับเปลี่ยนวิธีการสอนใหเนนผูเรียนเปนสําคัญและใชกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การดําเนินงานดังกลาวยังไมประสบผลสําเร็จเทาใดนักครูผูสอนยังไมสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนได หรือทําไดแตยังขาดความรูความเขาใจอยางถองแท ตอมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางหนวยงานใหมมาเปนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โครงการอบรมครูผูสอนใหทําวิจัยในชั้นเรียนก็ยังคงดําเนินการมาอยางตอเนื่อง แตยังไมบรรลุตามเปาหมายเชนเดิม ขอคิด เกี่ยวกับการวิจัยของครู มีขอสนับสนุนที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญของการสอนการเรียนรู และหองเรียนเปนสนามสําหรับการทําวิจัย โดยครูซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในการสรางเปนทฤษฎีที่ มาจากงานของครูและความรูที่เปนรากฐานสําคัญของการสอนคือ การจัดทําใหการวิจัยเปนศูนยกลางสวนหนึ่งของการสอนที่กิจกรรมการสอนและการวิจัยมีจุดเนนรวมกัน สําหรับสาระการเรียนรู เปนเพียงวิชาการที่ครูถายทอดใหกับผูเรียน สวนการสอนของครูเปนการถายทอดประสบการณ ใหนักเรียนซึ่งครูสามารถใชวิธีการ สื่อ และอุปกรณไดอยางหลากหลาย (กิตติพร ปญญภิญโญผล.2549 : 5)

จากการสัมภาษณพูดคุยกับครูผูสอนเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2552 กับคณะครูในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จํานวน 20 คน พบวา ครูผูสอนสวนใหญมีความสนใจตั้งใจและตองการที่จะทําวิจัยในชั้นเรียนอยางแทจริง แตยังขาดความรูความเขาใจ ในการทําวิจัยในชั้นเรียนไดอยางถองแท ครูผูสอนบางสวนที่เคยรับการอบรมความรูเรื่องการทําวิจัยในชั้นเรียนจากหนวยงานตนสังกัดยังไมสามารถนําความรูมาใชในการปฏิบัติงานไดเนื่องจากครูผูสอนสวนใหญจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี การเขารับการอบรมความรูเกี่ยวกับการทําวิจัยที่หนวยงานจัดขึ้นยังไดรับความรูเกี่ยวกับกระบวนการวิจัยไมชัดเจนเนื่องจากการอบรมในเวลาจํากัด ความรูที่จัดอบรมเปนสาระเกี่ยวกับการทําวิจัยเชิงวิชาการที่มีแบบแผนเครงครัดครูผูสอนสวนใหญจึงมีเจตคติที่ไมดีตอการทําวิจัยในชั้นเรียน ดวยเหตุผลและสภาพดังกลาวขางตนผูวิจัยจึงไดมองเห็นความสําคัญ มีความสนใจศึกษาเพื่อสรางและพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 14: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

5

องคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เพื่อใหสอดคลองกับการปฏิบัติของครูผูสอน ใหครูผูสอนสามารถใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนในการพัฒนาจัดการเรียนการสอนของครู ตลอดจนพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และผลของการศึกษาจะเปนขอมูลสารสนเทศที่เปนประโยชนตอการนําเสนอแนวทางในการพัฒนาครูผูสอน เสริมสรางความรูความเขาใจในการทําวิจัยใจชั้นเรียน และการปฏิบัติงานของครูผูสอนใหดําเนินการตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

2. เพื่อหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ความสําคัญของการวิจัย

1. ไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) 1 เลม

2. คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) สามารถนําวิธีการ หลักการ และแนวทางไปประยุกตใชเพื่อจัดทําคูมือสําหรับปฏิบัติงานดานอื่น ๆ เกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพตอไป

ขอบเขตของการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเพื่อพัฒนา (Research and Development) ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของการวิจัยไว ดังนี้

ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรไดแก ครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ปการศึกษา 2552 จํานวน 56 คน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 15: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

6

กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ปการศึกษา 2552 จํานวน 20 คน ซึ่งผูวิจัยไดรับสมัครครูผูสอนที่สนใจทําวิจัยในชั้นเรียนจากทุกกลุมสาระการเรียนรูจากจํานวนทั้งหมด 56 คน พื้นที่ในการศึกษา

สถานศึกษาโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จังหวัดสุราษฎรธานี

ระยะเวลาในการศึกษาใชระยะเวลาในการศึกษา เดือนตุลาคม 2552 ธันวาคม 2552 ผูวิจัยไดใหครูผูสอน

ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี (ดอนสักผดุงวิทย) ศึกษาคูมือและทําแบบฝกการทําวิจัยในชั้นเรียน 3 สัปดาหในชั่วโมงซอมเสริม ประชุมนักเรียนและประชุมครูโดยไมกระทบ ตอการเรียนการสอน

ตัวแปรที่ใชในการศึกษาในการสรางและพัฒนาคูมือการทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนประกอบดวย

ตัวแปรตน คือ คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ตัวแปรตาม คือ ความรูในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูผูสอนและเจตคติของตอการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผูวิจัยศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับองคประกอบคูมือของ ศักรินทร สุวรรณโรจน และคนอื่น ๆ (2535) และ เอกวุฒิ ไกรมาก (2541) สังเคราะหความรูมาสรางและพัฒนาคูมือ ไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนที่ผูวิจัยสรางและพัฒนาขึ้น ประกอบดวย

1. คําชี้แจงการใชคูมือ1.1 องคประกอบของเนื้อหาสาระ1.2 วัตถุประสงคของคูมือ1.3 การใชคูมือ1.4 แนวทางการศึกษาคูมือ

2. เนื้อหาสาระและกระบวนการหรือขั้นตอน2.1 ตอนที่ 1 แนวคิดในการทําวิจัยในชั้นเรียน2.2 ตอนที่ 2 การดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 16: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

7

3. ความรูเสริมหรือแบบฝกหัด หรือแบบฝกปฏิบัติเพื่อชวยในการฝกฝนตอนที่ 3 แบบฝกปฏิบัติดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน

4. แหลงอางอิงและแหลงขอมูลตาง ๆ บรรณนุกรมที่แสดงถึงแหลงขอมูลที่สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมได

คูมือวิจัยในชั้นเรียนที่ผูวิจัยสรางและพัฒนาขึ้นใชแนวคิดของ ปรีชา ชางขวัญยืน และ คนอื่น ๆ (2542) ที่ไดแบงประเภทของคูมือออกเปน คูมือครู คูมือนักเรียน คูมือการอบรม และคูมือทั่วไป ซึ่งคูมือวิจัยในชั้นเรียนนี้จัดเปนคูมือทั่วไป ที่ใหความรูเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ไดศึกษา ทําความเขาใจและสามารถดําเนินการตามคําแนะนําของคูมือไดดวยตนเอง

จากแนวคิดดังกลาวขางตนผูวิจัยจึงไดกําหนดกรอบแนวคิดการศึกษาวิจัย ดังรายละเอียดที่แสดงในภาพที่ 1.1

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

สมมติฐานของการวิจัย

1. ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบความรูหลังศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน (Post - test) สูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) (Pre - test) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตัวแปรอิสระ(Independent Variable)

คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ตัวแปรตาม(Dependent Variable)

1. ความรูในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูผูสอน2. เจตคติของตอการทําวิจัยในชั้นเรียนของ

ครูผูสอน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 17: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

8

2. ครูผูสอนมีเจตคติตอการทําวิจัยในชั้นเรียนหลังศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสูงกวากอนศึกษาคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

นิยามศัพทเฉพาะ

คูมือ หมายถึง เอกสารที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงาน ในที่นี้ หมายถึง คูมือวิจัยในชั้นเรียน มีเนื้อหาสาระ ตัวอยางการเขียนรายงานการวิจัย และแบบฝกปฏิบัติที่ผูวิจัยสรางขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การทําวิจัยของครูผูสอนเพื่อแกปญหาในชั้นเรียน ในที่นี้ หมายถึง การทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ครูผูสอน หมายถึง ผูปฏิบัติการสอนในโรงเรียน ในที่นี้หมายถึง ครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

การพัฒนาคูมือ หมายถึง การปรับปรุงและแกไขคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอน ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

คุณภาพคูมือ หมายถึง คุณภาพของคูมือวิจัยในชั้นเรียนที่ชวยใหครูผูสอนมีความรูมีเจตคติที่ดีตอการทําวิจัยในชั้นเรียน และมีแนวทางในการทําวิจัยในชั้นเรียนไดเปนอยางดีโดยการศึกษาดวยตนเอง ดวยการทดสอบความรูกอน - หลังศึกษาคูมือ วิเคราะหเปรียบเทียบโดยการทดสอบคาที

ความรู หมายถึง ความสามารถในการจดจํา รับรูขอเท็จจริง และถายทอดความรูใหผูอื่นเขาใจ ตลอดจนสามารถแกปญหาได ในที่นี้ หมายถึง ความรูในการทําวิจัยในชั้นเรียนแบบงายของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) และสามารถ นําความรูไปใชในการปฏิบัติงานตามปกติได

เจตคติ หมายถึง ทาทีหรือความรูสึกของบุคคลตอสิ่งหนึ่งในที่นี้หมายถึง เจตคติที่ดีของครูผูสอนตอการนําความรูจากการศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) มาเปนแนวทางในการทําวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 18: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เปนการพัฒนาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ใหเกิดความรูและเจตคติ เกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาเปนกรอบแนวคิดในการวิจัยประกอบดวยหัวขอตาง ๆ ดังนี้

1. แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน 1.1 ความหมายและความสําคัญของการวิจัยในชั้นเรียน 1.2 ประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียน 1.3 รูปแบบและลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียน 1.4 กระบวนการทําวิจัยในชั้นเรียน 1.5 การสํารวจและกําหนดปญหาการวิจัยในชั้นเรียน 1.6 การศึกษาแนวทางเพื่อกําหนดทางเลือกสําหรับการวิจัยในชั้นเรียน 1.7 การวางแผนการวิจัยในชั้นเรียน

1.8 การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยในชั้นเรียน1.9 การวิเคราะหขอมูลการวิจัยในชั้นเรียน

1.10 การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน2. แนวคิดเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียน

2.1 ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน 2.2 แนวทางและขั้นตอนการทําวิจัยในชั้นเรียน

3. แนวคิดเกี่ยวกับคูมือ3.1 ความหมายและประเภทของคูมือ3.2 องคประกอบของคูมือ3.3 ประโยชนคูมือ

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ4.1 งานวิจัยในประเทศ4.2 งานวิจัยตางประเทศ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 19: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

10

แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายและความสําคัญของการวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน เปนการปฏิบัติงานที่ครูผูสอนดําเนินการควบคูกับการสอนปกติเพื่อ

นําผลการวิจัยไปใชแกปญหา และเปนการแสวงหาวิธีการที่เปนระบบเพื่อนําไปสูการแกปญหาโดยคนหาเหตุและผลของปญหาที่ศึกษาคนควานั้น โดยอาศัยขอมูล ประสบการณ หลักฐานที่พิสูจนทดสอบไดและตองเปนขอมูลที่ถูกตองบรรยายได ซึ่งการวิจัยในชั้นเรียนเปนการวิจัยที่เกี่ยวของ กับการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยครูมีบทบาทเปนผูวิจัย นักการศึกษาจึงไดใหความหมายของการวิจัยในชั้นเรียนไวอยางหลากหลาย ดังนี้

ทิศนา แขมณี. (2540 : 5) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การวิจัยที่ทําในชั้นเรียนโดยมุงนําผลการวิจัยมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน และเปนการนํากระบวนการวิจัยไปใช ในการพัฒนาครูใหไปสูความเปนเลิศทางวิชาการ

สุวัฒนา สุวรรณเขตนิยม. (2540 : 25) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง กระบวนการที่จะหาความจริงเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนในบริบทของชั้นเรียน โดยครูเปนผูวิจัยและใชผลของการวิจัย

อัจฉรา สระวาสี. (2540 : 16) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนหรือวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอน ทั้งในสวนที่เกี่ยวกับหลักสูตร วิธีสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดทําสื่อและอุปกรณประกอบการสอน ตลอดจนการวัดผลและประเมินผลโดยการศึกษาวิจัยมีจุดมุงหมายเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการเรียนการสอน หรือปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

พรอมพรรณ อุดมสิน. (2542 : 23) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนเปนการวิจัยแบบหนึ่งของการวิจัยทางการศึกษา ซึ่งเปนการวิจัยที่ทําโดยครู ผูซึ่งแสวงหาความรูหรือขอมูลเพื่อแกปญหาในเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน

ประกิต เอราวรรณ. (2542 : 3) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนเปนการศึกษาคนควาของครูซึ่งจัดวาเปนผูปฏิบัติงานในชั้นเรียนเพื่อแกปญหา (Problem Solving) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือพฤติกรรมนักเรียนและคิดวิเคราะห (Critical Thinking) เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน

ทัศนา แสวงศักดิ์. (2543 : 74) ไดกลาววา การวิจัยในชั้นเรียน คือ การศึกษาคนควา หาความรูใหม ๆ เพื่อนํามาใชในการแกปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียน หรือเปนความตองการที่จะเปลี่ยนแปลงพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนใหดียิ่งขึ้น ซึ่งความรูใหม ๆ คือ นวัตกรรม ทางการศึกษา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 20: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

11

สุภาภรณ มั่นเกตุวิทย. (2544 : 8) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) เปนการวิจัยที่ดําเนินการโดยครูผูสอนเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนการสอนมีจุดประสงคเพื่อพัฒนาศักยภาพของผูเรียน โดยใชนวัตกรรมที่มีความเหมาะสมกับผูเรียน และ มีความสัมพันธอยางเปนจริงกับปญหา

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546 : 1) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการที่ใหไดมาซึ่งความรูหรือคําตอบซึ่งครูเปนผูจัดทําขึ้นเอง โดยมีจุดมุงหมายที่จะนําผลการวิจัยไปใชในการแกปญหาการเรียนการสอนในชั้นเรียนของตน

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547 : 21) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การวิจัยปฏิบัติการ ที่ครูไดแสวงหาวิธีการหรือทางเลือกในการแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนรู เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน

สุวิมล วองวาณิช. (2547 : 21) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทําโดยครูผูสอนในชั้นเรียน เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และนําผลมาใชในการปรับปรุงการเรียนการสอนหรือสงเสริมพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนใหดียิ่งขึ้น โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด กับผูเรียน เปนการวิจัยที่ตองทําอยางรวดเร็ว นําผลไปใชไดทันที และสะทอนขอมูลเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานตาง ๆ ในชีวิตประจําวันของตัวครูเองและกลุมเพื่อนครูในโรงเรียนไดมีโอกาสวิพากษอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรูในแนวทางที่ไดปฏิบัติ และผลที่เกิดขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรู ทั้งของครูและผูเรียน

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550 : 2) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนคือ การดําเนินการของครูอยางเปนระบบในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการสะทอนผล และหาวิธีการแกปญหาตามสภาพ ที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน ดวยกระบวนการวิจัยที่เชื่อถือได เพื่อการแกไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา และเพิ่มพูนความรู เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดกับผูเรียน ทั้งในดานที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร และการบริหารจัดการเรียนการสอน

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551 : 21) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการสืบคนหา ขอเท็จจริง คําตอบ องคความรูใหม หรือการสรางพัฒนานวัตกรรมตาง ๆ ดวยวิธีการที่เปนระบบและเชื่อถือไดเพื่อใหไดขอคนพบ คําตอบ องคความรูใหมหรือนวัตกรรมที่เชื่อถือได

พิสณุ ฟองศรี. (2551 : 4) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการคนควาหาความรูอยางเปนระบบดวยวิธีการที่เชื่อถือไดหรือวิธีการทางวิทยาศาสตร ทําโดยครูผูสอนภายในหองเรียนหรือภายใตความรับผิดชอบของตน เนนการนําผลไปใชจริงเพื่อปญหาหรือพัฒนาผูเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 21: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

12

การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดแนวทางในการจัดการศึกษาไวประการหนึ่งวา ใหจัดกระบวนการเรียนรูโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ และตองสงเสริมใหผูสอนจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู ใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนไปพรอมกันจากแหลงทรัพยากรการเรียนรูตาง ๆ ทั้งในโรงเรียนและในชุมชน

จากแนวทางในการจัดการศึกษาที่กลาวมาขางตน จะเห็นไดวาครูจะมีอิสระในการจัด การเรียนการสอนมากขึ้น ขณะเดียวกันก็มีการคาดหมายกันวาครูจะตองเปลี่ยนบทบาทจากครูผูสอนหนังสือ มาเปนครูผูสอนวิธีการเรียนรูและทักษะในการแสวงหาความรู ซึ่งการที่ครูจะทําหนาที่ ในบทบาทใหมนี้ ครูจําเปนจะตองปฏิรูปในเรื่องวิธีการเรียนรูของตนเองเสียกอน โดยเปนการแสดงบทบาทของครูใน 2 สถานะ คือ ประการแรกครูในฐานะผูปฏิบัติหนาที่การสอนซึ่งเปนบทบาทหลักและประการที่สองครูในฐานะนักวิจัย ซึ่งเปนบทบาทเสริม โดยนัยนี้การสอนและการวิจัยของครูผูสอนจะไมแยกจากกันดังที่ครูไดเคยปฏิบัติมาแตกอน หากแตเปนการผสานเขาหากันมากขึ้น (ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล. 2543 : 35 - 36)

การทําวิจัยในชั้นเรียนจะชวยใหครูมีวิถีชีวิตของการทํางานอยางเปนระบบ เห็นภาพของงานตลอดแนว มีการตัดสินใจที่มีคุณภาพเพราะจะมองเห็นทางเลือกตาง ๆ ไดกวางขวางและลึกซึ้งขึ้น แลวจะตัดสินใจเลือกทางเลือกนั้นอยางมีเหตุผลและสรางสรรค ครูนักวิจัยจะมีโอกาสมากขึ้น ในการคิดใครครวญเกี่ยวกับเหตุผลของการปฏิบัติงานและครูจะสามารถบอกไดวา งานการจัด การเรียนการสอนที่ปฏิบัติไปนั้นไดผลหรือไม เพราะอะไร นอกจากนั้นครูที่ใชกระบวนการวิจัย ในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนนี้จะสามารถควบคุม กํากับ และพัฒนาการปฏิบัติงานของตนเองไดเปนอยางดี เพราะการทํางานและผลการทํางานนั้นลวนมีความหมาย และคุณคาสําหรับการพัฒนานักเรียน ผลจากการทําวิจัยในชั้นเรียนจะชวยใหครูไดตัวบงชี้ที่เปนรูปธรรมของผลสําเร็จในการปฏิบัติงานของครู อันจะนํามาซึ่งความรูในงาน และความเปนสุขในการปฏิบัติงานที่ถูกตองของครู และเปนที่คาดหวังวาเมื่อครูผูสอนไดทําการวิจัยในชั้นเรียนควบคูไปกับการปฏิบัติงานสอนอยางเหมาะสมแลวจะกอใหเกิดผลดีตอวงการศึกษา และวิชาชีพครูอยางนอย 3 ประการ คือ

1. นักเรียน จะมีการเรียนรูที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น2. วงวิชาการศึกษาจะมีขอความรู นวัตกรรม แนวทางการจัดการเรียนการสอน

ที่เปนจริงเกิดมากขึ้น อันจะเปนประโยชนตอครูและเพื่อนครูในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเปนอยางมาก

3. วิถีชีวิตของครู หรือวัฒนธรรมในการทํางานของครู จะพัฒนาไปสูความเปนครู “มืออาชีพ” (Professional Teacher) มากขึ้น ทั้งนี้เพราะครูนักวิจัยมีคุณสมบัติของการเรียนเปนผู

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 22: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

13

แสวงหาความรู หรือผูเรียนศาสตรแหงการสอนอยางตอเนื่อง และมีชีวิตชีวาจนในที่สุดจะเปนผู มีความรูความเขาใจที่กวางขวาง และลึกซึ้งในศาสตรและศิลปแหงการสอน เปนครูที่มีความรูความสามารถในการสอน สามารถที่จะสอนนักเรียนใหพัฒนากาวหนาในดานตาง ๆ ในหลายบริบทที่เรียกวา เปนครูรอบรูหรือครูปรมาจารย (Master Teacher) ซึ่งถามีปริมาณครูนักวิจัยมากขึ้นจะชวยในการพัฒนาวิชาชีพครูเปนไปอยางสรางสรรคและมั่นคง (สุวัฒนา สุวรรณเขตนิยม.2540 : 24 - 30)

ทัศนา แสวงศักดิ์. (2543 : 72) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนมีความสําคัญยิ่งในกรพัฒนาการศึกษา เพราะการวิจัยในชั้นเรียนสามารถนํามาใชแกปญหาและพัฒนากระบวนการเรียนการสอนในหองเรียนไดเปนอยางดี ครูผูสอนนอกจากจะมีบทบาทเปนผูถายทอดความรูแลวยังจะตองมีบทบาทในการเปนนักวิจัยดวย ซึ่งการวิจัยในที่นี้เปนการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนการสอน ซึ่งเกี่ยวของกับครู นักเรียน ผูปกครอง และสิ่งแวดลอมที่อยูรอบ ๆ ตัวนักเรียนโดยหวังผลเพื่อนํามาพัฒนาสงเสริมและแกปญหาใหเด็กมีพัฒนาการและมีกระบวนการเรียนรูดีขึ้น

คุรุรักษ ภิรมยรักษ. (2544 : 5) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนเปนเครื่องมือหรือกลไกสําคัญของครูในการพัฒนาไปสูความเปนครูมืออาชีพ เนื่องจากการวิจัยในชั้นเรียนจะชวยใหครูสามารถแสวงหาความรูและวิธีการใหม ๆ ทําใหครูมีความรูกวางขวางขึ้น สามารถทํางานไดอยางเปนระบบนอกจากนั้นการวิจัยในชั้นเรียนยังเปนเครื่องมือในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะผลการวิจัยในชั้นเรียนจะเปนตัวชี้วัดความสําเร็จในการทํางานของครู นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงของผูเรียนไปในทางที่พึงประสงคตามที่ครูตองการ

พิมพันธ เตชะคุปต. (2544 : 14 - 15) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนมีความสําคัญในแงแนวคิดพื้นฐาน คือ การบูรณาการวิธีการปฏิบัติงานกับการพัฒนาองคความรูที่เกิดจากการปฏิบัติ คือ เปนการปรับปรุงหลักสูตรและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานของครูเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียน การสอนโดยการทําวิจัย ซึ่งนําไปสูการพัฒนาวิชาชีพ การแสดงถึงความกาวหนาทางวิชาชีพครู โดยการเผยแพรความรูที่ไดจากการลงมือปฏิบัติ

กาญจนา วัฒนสุนทร. (2545 : 13) ไดแสดงความเห็นไววา การวิจัยในชั้นเรียน เปนการพัฒนาทางเลือกในการแกปญหาไดอยางเหมาะสมดวยตัวของครูผูสอนเอง มีจุดมุงหมายที่สําคัญเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนใหเกิดผลดีที่สุดดวยตัวของครูเอง ซึ่งสอดคลองกับ ชาตรี เกิดธรรม (2545 : 26 - 28) การวิจัยในชั้นเรียนมีความสําคัญ ดังนี้

1. เปนการพัฒนาหลักสูตร และพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ดวยการวิจัยโดยการนํานวัตกรรมเทคนิค หรือวิธีการที่มีคุณภาพ ผานกระบวนการวิจัยที่นาเชื่อถือไดมาแลว มาใชในการแกปญหาในชั้นเรียนโดยตรง อันจะมีผลใหการจัดการเรียนการสอนบรรลุจุดประสงคที่วางไว

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 23: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

14

2. เปนการพัฒนาวิชาชีพครูใหมีมาตรฐานยิ่งขึ้น และยังเปนการแสดงถึงความ กาวหนาวิชาชีพครู

3. เปนการเผยแพรความรูจากการปฏิบัติจริง อันจะเปนประโยชนสําหรับผูบริหารหรือหนวยงานที่เกี่ยวของดวย

4. เปนการสงเสริมสนับสนุนความกาวหนาดานการวิจัยทางการศึกษา และสามารถนําผลการวิจัยไปใชเปนผลงานทางวิชาการ เพื่อขอกําหนดตําแหนงที่สูงขึ้นได

5. เปนการสงเสริมหรือพัฒนาผูเรียนไดตรงตามศักยภาพของผูเรียนแตละคนสุวิมล วองวาณิช. (2547 : 24 - 25) กลาวถึง ความสําคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

ไวดังนี้ 1) ใหโอกาสครูในการสรางองคความรูและทักษะการทําวิจัย การประยุกตใชการตระหนักถึงทางเลือกที่จะเปนไปไดที่จะเปลี่ยนแปลงโรงเรียนใหดีขึ้น 2) เปนการสรางชุมชนแหงการเรียนรูนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงหรือสะทอนผลการทํางาน 3) เปนประโยชนตอผูปฏิบัติโดยตรงเนื่องจากชวยพัฒนาตนเองดานวิชาชีพ 4) ชวยทําใหเกิดการพัฒนาที่ตอเนื่องและเกิดการเปลี่ยนแปลงผานกระบวนการวิจัยในที่ทํางาน ซึ่งเปนประโยชนตอองคกร เนื่องจากนําไปสูการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติและการแกปญหา 5) เปนการวิจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของผูปฏิบัติในการทําวิจัยทําใหกระบวนการวิจัยมีความเปนประชาธิปไตย ทําใหเกิดการยอมรับในความรูของ ผูปฏิบัติ 6) ชวยตรวจสอบวิธีการทํางานของครูที่มีประสิทธิผล 7) ทําใหครูเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550 : 5 - 6) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนมีความสําคัญตอการแกปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ซึ่งอาจเปนปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางการเรียนการสอนหรือเปนปญหากอนหรือหลังการสอน โดยครูผูสอนจัดทําควบคูไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติ

จากความหมายและความสําคัญของการวิจัยในชั้นเรียนที่กลาวมาทั้งหมด สรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การวิจัยที่ทําโดยครู ซึ่งเปนกระบวนการในการแสวงหาความรูดวยวิธีการใหม ๆ หรือวัตกรรมเพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอยางเปนระบบ และเปนการพัฒนาการเรียนการสอนใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียนและมีความสําคัญ ตอการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียน คือ 1) เปนการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและปรับปรุงการปฏิบัติงานดวยการวิจัย 2) เปนการพัฒนาวิชาชีพครู 3) เปนการแสดงความกาวหนา ทางวิชาชีพครูดวยการเผยแพรความรูที่ไดจากการปฏิบัติ 4) เปนการสงเสริมความกาวหนาของ การวิจัยทางการศึกษา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 24: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

15

ประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียนมีผูกลาวถึงประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียนไวหลายประการ ดังนี้Hass. (1990 อางถึงใน พยุงศักดิ์ จันทรสุรินทร. 2541 : 50 - 51) ไดกลาวถึงประโยชน

ของการวิจัยในชั้นเรียนวา การวิจัยจะชวยปรับปรุงดานวิชาชีพ และครูผูสอนที่ทําการศึกษา จะทําใหเกิดความกาวหนาในการสอน ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รวมทั้งเกิดความรูและความคิดริเริ่มสรางสรรคใหม ๆ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังเปนการสรางภาพลักษณที่ดีตอวงการศึกษา เพราะคุณคาหรือผลการคิดคนนวัตกรรมการศึกษาขึ้นมาใชไดผลนั้น จะกอใหเกิดประโยชนตอบุคลากรและหนวยงานทางการศึกษา

ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2543 : 219) ไดกลาวถึงประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียนวาการวิจัยในชั้นเรียนนอกจากจะนําผลการวิจัยไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียนแลวยังเปนประโยชนสําหรับการทําผลงานทางวิชาการของครู และ เปนประโยชนกับเพื่อนครูและวงการครูอีกดวย

คุรุรักษ ภิรมยรักษ. (2544 : 7) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนเปนการชวยใหครูมีพลังอํานาจในการแกปญหาในชั้นเรียนเพิ่มขึ้น สามารถแกปญหาในชั้นเรียนไดทันทวงที และชวยสราง ความมั่นใจในการจัดการเรียนการสอนของครูมากขึ้น ครูทํางานไดอยางเปนระบบและประสบความสําเร็จในการทํางาน

สุวิมล วองวาณิช. (2547 : 25) กลาวถึงประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียนไววา การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชวยในการพัฒนาวิชาชีพครู เนื่องจากใหขอคนพบ ที่ไดมาจากกระบวนการสืบคนที่เปนระบบและเชื่อถือได ทําใหผูเรียนเกิดการพัฒนาการเรียนรูและครูเกิดการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังเปนการพัฒนาผูที่มีสวนรวม นําไปสูการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู และดวยหลักการสําคัญของการวิจัยที่เนนการสะทอนผล ทําใหการวิจัยแบบนี้สงเสริมบรรยากาศของการทํางานแบบประชาธิปไตยที่ทุกฝายเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณและยอมรับในขอคนพบรวมกัน

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550 : 8) ไดกลาวถึงประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียนไววา ผลของการวิจัยในชั้นเรียนกอใหเกิดประโยชนโดยตรงกับผูเรียนในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งดานความรู ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะหและการประเมินคา และยังเปนประโยชนตอครูในการแกปญหาในชั้นเรียน การวางแผนการสอน การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธี การสอน การผลิตสื่อและนวัตกรรม ตลอดจนการพัฒนาวิชาชีพ นอกจากนั้นยังเปนประโยชน ตอผูบริหารและสถานศึกษาในดานการวางแผนแกปญหาทั้งระบบในโรงเรียน ชวยลดปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน ทั้งยังชวยสนับสนุนสงเสริมครูและนักเรียนใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 25: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

16

จากที่กลาวมาทั้งหมดถึงประโยชนของการวิจัยในชั้นเรียนทั้งหมดขางตนสรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียนชวยในการนําผลการศึกษาคนควา หรือขอคนพบเปนแนวทางนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามเปาหมาย นอกจากนั้นยังเปนประโยชนตอครูผูสอนในการพัฒนาวิชาชีพของตนเองอีกดวย

รูปแบบลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนอุทุมพร จามรมาร. (2537 : 9) ไดกลาวถึงลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนวา การวิจัย

ในชั้นเรียนของครูจะมุงที่หองเรียนและโรงเรียน โดยครูเปนผูเก็บรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ นั่นคือ การวิจัยของครูเปนตัวกระตุนใหครูเกี่ยวของกับกิจกรรมการเรียนการสอนการบริหารจัดการงานของตนเองมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลตอนักเรียน การวิจัยของครูนอกจากจะมุงปรับปรุงการจัดประสบการณการเรียนการสอนใหกับนักเรียนแลว ยังตองการใหเกิดการปฏิบัติที่เกี่ยวกับโรงเรียนและหองเรียน ซึ่งผลของการปฏิบัติอาจขยายวงกวางไปยังหองเรียนอื่น โรงเรียนอื่นในพื้นที่เดียวกันและพื้นที่อื่นไดดวย

ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2543 : 33) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนควรเปนรูปแบบ การวิจัยเชิงปฏิบัติการที่มีความเฉพาะเจาะจงคือ มีจุดเริ่มตนการวิจัยจากสภาพปญหาในการเรียนการสอน ปญหาในการวิจัยเปนประเด็นที่เล็กแตจะมีความหมายสําหรับการเรียนการสอนโดยตรง วิธีการวิจัยมีความยืดหยุนปรับใหเหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอน และการวิจัยจะดําเนินการไปพรอม ๆ กับการเรียนการสอนปกติเปนสวนหนึ่งของการเรียนการสอนผูเรียนไมรูสึกวาอยูภายใตสภาวะการวิจัย

รัตนา ศรีเหรัญ. (2547 : 27 - 28) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนเปนงานวิจัยที่มุงคนหารูปแบบและวิธีการที่ เกี่ยวกับการเรียนการสอน มุงพัฒนาคุณภาพผูเรียน และประสิทธิภาพของครูผูสอน และมุงศึกษาสํารวจสภาพที่ปรากฏตามความตองการความคิดเห็นและความสนใจของบุคคลในหองเรียนโดยมีรูปแบบในการวิจัย คือ 1) เปนการศึกษาวิธีการหรือรูปแบบเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน 2) เปนการศึกษาเกี่ยวกับองคประกอบของการเรียนการสอน 3) เปนการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของหลักสูตร 4) เปนการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน 5) เปนการศึกษาเกี่ยวกับเทคนิค วิธีการ และรูปแบบของการวัดผลประเมินผล และ 6) เปนการศึกษาเกี่ยวกับสื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

สุวิมล วองวาณิช. (2547 : 34) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน เปนการแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยครูผูสอน มีการเก็บขอมูล โดยครูมีบทบาทเปนทั้งผูปฏิบัติการสอนและเปนผูปฏิบัติการวิจัยและแสวงหาวิธีการแกไขปญหาในชั้นเรียนดวยตนเอง ระหวางการดําเนินการวิจัยก็มีการแลกเปลี่ยนหรืออภิปรายเกี่ยวกับขอมูล ขาวสาร วิธีการใช และขอคนพบที่ไดจากหองเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 26: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

17

กับกลุมเพื่อนครูที่อยูในโรงเรียนเดียวกันเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหเกิดประโยชนโดยแบงรูปแบบของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนออกเปน 2 ประเภท คือ 1) การวิจัยแบบเปนทางการ (Formal Research) เปนงานวิจัยที่มีแบบแผนเครงครัด การดําเนินงานและการนําเสนอผลงานเหมือนงานวิจัยเชิงวิชาการของนักวิจัยมืออาชีพ 2) การวิจัยไมเปนทางการ (Informal Research) เปนงานวิจัยที่ไมยึดแบบแผนการวิจัยอยางเครงครัด มุงเนนที่การตอบคําถามการวิจัยมากกวานําเสนอผลงานเพียงประเด็นสําคัญเทานั้น และในบางครั้งพบวามีการรายงานผลเพียง 1 - 2 หนา

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550 : 7) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนสามารถทําไดใน 2 รูปแบบ คือ การวิจัยเพื่อความเขาใจปญหาในชั้นเรียน และการวิจัยเพื่อการแกปญหา/พัฒนาชั้นเรียน ซึ่ง ในแตละรูปแบบมีการวิจัยที่แตกตางกันคือ การวิจัยเพื่อความเขาใจปญหาในชั้นเรียน เปนการสํารวจศึกษาในชั้นเรียน วิเคราะหพฤติกรรมในชั้นเรียน การศึกษารายกลุม/รายบุคคล และการศึกษา เชิงความสัมพันธ สวนการวิจัยเพื่อการแกปญหา/พัฒนาชั้นเรียน เปนการวิจัยเชิงทดลอง การใชสื่อ/การสอน การทดลองเฉพาะราย/รายกลุม

จากรูปแบบลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนที่กลาวมาจะเห็นไดวาผูวิจัยคือ ครูผูสอนเริ่มตนจากปญหา หรือขอสงสัยที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน หรือทํากิจกรรมการสอนแลววางแผน การวิจัยไปสอน ไปเก็บรวบรวมขอมูลเปนขั้นตอน สรุปผลเพื่อนําไปแกปญหาในชั้นเรียน รูปแบบของการวิจัยในชั้นเรียนขึ้นอยูกับวาจะใชเกณฑอะไรมาเปนเกณฑในการจําแนก อยางไรก็ดีการวิจัยในชั้นเรียนไมวาครูจะเลือกทําในรูปแบบใด การวิจัยของครูตางเกิดประโยชนตอการพัฒนาการเรียนการสอนทั้งสิ้น ครูจะตองใชกระบวนการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรูหรือกระบวนการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน

กระบวนการในการทําวิจัยในชั้นเรียนนักการศึกษาไดเสนอกระบวนการของการวิจัยไว ดังนี้ยาใจ พงษบริบูรณ. (2537 : 11 - 15) ไดเสนอกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการไวเปนขั้นตอน

ดังนี้ 1) การวางแผน (Planning) สํารวจปญหาหรือกําหนดแนวคิดที่เกี่ยวของกับปญหา 2) ปฏิบัติการ (Action) กําหนดกิจกรรมจากขั้นวางแผนนํามาดําเนินงาน 3) สังเกต (Observing) มีการจดบันทึก วิเคราะหเอกสาร และ 4) การสะทอนการปฏิบัติงาน (Reflecting) ประเมินตรวจสอบเพื่อนําขอมูลยอนกลับไปวางแผนตอไป

อุทุมพร จามรมาร. (2537 : 41 - 47) สรุปขั้นตอนในการทําวิจัยในชั้นเรียนไวดังนี้ คือ 1) การระบุขอสงสัย ขอขัดแยง ปญหาที่เกิดจากครู นักเรียน กระบวนการเรียนการสอนทั้งในและนอกหองเรียน 2) ระบุปญหาขอสงสัยที่กระชับ มีขนาดเล็กและสามารถทําได 3) การแสวงหาคําตอบ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 27: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

18

ความชวยเหลือและแหลงเรียนรูเบื้องตน 4) กําหนดขั้นตอนในการปฏิบัติ 5) การปฏิบัติ 6) การถามสิ่งที่บันทึกและสังเกตเพิ่มเติม 7) การสรุปเปนชวง 8) การสรุปผลการวิจัย 9) การเริ่มตนกับเรื่องใหมที่เกี่ยวของ

กรมสามัญศึกษา. (2540 : 28) ไดกําหนดขั้นตอนของการทําวิจัยในชั้นเรียนไว 7 ขั้นตอนคือ 1) สํารวจและวิเคราะหปญหาการเรียนการสอน 2) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ 3) พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา 4) ออกแบบการทดลอง 5) สรางและพัฒนาเครื่องมือ 6) ทดลอง รวบรวม วิเคราะหสรุปผล 7) เขียนรายงานการวิจัย

ประกิต เอราวรรณ. (2542 : 6) ไดอธิบายกระบวนการทําวิจัยในชั้นเรียนไว 6 ขั้นตอนคือ 1) สํารวจปญหา ขอสงสัยที่ตองการแกไข 2) ตั้งวัตถุประสงค/วางแผน 3) คนหาคําตอบ 4) หาคําตอบ/นวัตกรรม 5) ปรับขอสงสัย/แกปญหา 6) สรุปองคความรู/เผยแพร

ทัศนา แสวงศักดิ์. (2543 : 76) ไดเสนอขั้นตอนในการวิจัยไว 8 ขั้นตอนคือ 1) สํารวจและวิเคราะหปญหาการเรียนการสอน 2) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ 5) กําหนดรูปแบบหรือวิธีการที่ใชแกปญหา 4) ออกแบบงานวิจัย 5) สรางและพัฒนาเครื่องมือ 6) รวบรวมขอมูล 7) วิเคราะหและสรุปผล 8) เขียนรายงาน

บัญชา อึ๋งสกุล. (2546 : 51) สรุปขั้นตอนของการทําวิจัยในชั้นเรียนดังนี้ คือ 1) การกําหนดปญหาความจําเปนตองการในการพัฒนา 2) การสรางเครื่องมือที่ใชในการแกปญหา/พัฒนา 3) การจัดกิจกรรมแกปญหา/พัฒนา 4) การวัดผล/ประเมินผล 5) รายงานผลการวิจัย

พิสณุ ฟองศรี. (2547 : 6) ไดกลาวไววา ขั้นตอนของการวิจัยในชั้นเรียนประกอบดวย 1) การสํารวจและการกําหนดปญหาการวิจัยชั้นเรียน 2) การศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ 3) การสรางและพัฒนานวัตกรรม 4) กําหนดและวัดตัวแปร/สมมติฐาน 5) การเลือกแบบวิจัย 6) การสรางและพัฒนาเครื่องมือ 7) การเลือกสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 8) การสรุปผลและ การเขียนรายงานการวิจัย

สุมาลี จันทรชลอ. (2547 :18 - 20) ไดสรุปขั้นตอนการทําวิจัยในชั้นเรียนไวดังนี้ คือ กําหนดประเด็นปญหา การทบทวนวรรณกรรม และวางแผนการปฏิบัติตามแผน การเก็บรวบรวมขอมูล และการสะทอนกลับและนําเสนอขอคนพบ

พิสณุ ฟองศรี. (2551 : 10) กลาววา การวิจัยชั้นเรียนมีบางขั้นตอนที่แตกตางกับการวิจัยทั่วไป เนื่องจากเปนการวิจัยเพื่อพัฒนาผูเรียนโดยใชนวัตกรรมตาง ๆ จึงกําหนดขั้นตอนการวิจัย ในชั้นเรียนไว ดังนี้ 1) การสํารวจและกําหนดปญหาเพื่อเตรียมเรื่องวิจัย 2) การคนควาและทบทวนเอกสาร 3) การสรางและพัฒนานวัตกรรมตาง ๆ 4) การกําหนดตัวแปรและสมมติฐาน 5) การเลือกแบบวิจัยและกําหนดกลุมตัวอยาง (ถามี) 6 ) การสรางและพัฒนาเครื่องมือเก็บขอมูล 7) การวิเคราะหขอมูล 8) การเขียนเคาโครงและรายงานการวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 28: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

19

กลาวโดยสรุปไดวา กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนที่เริ่มตนจากการสํารวจในชั้นเรียน ในโรงเรียนวามีปญหาอะไรบาง ปญหาคืออะไร มีขอบเขตเพียงใด เลือกวิธีแกปญหาที่เหมาะสมกับสาเหตุของปญหา ซึ่งกระบวนการดังกลาวเปนจุดเริ่มตนของการคิดหาหัวขอการวิจัยที่จะนําไปสูขั้นตอนการวิจัยซึ่งในที่นี้ผูวิจัยขอสรุปกระบวนการวิจัย ในชั้นเรียนไว 6 ขั้นตอนดังนี้ คือ 1) สํารวจและกําหนดปญหาการวิจัยในชั้นเรียน 2) ศึกษาแนวทางเพื่อกําหนดทางเลือก 3) วางแผนการวิจัย 4) ปฏิบัติตามแผนและเก็บรวบรวมขอมูล 5) วิเคราะหขอมูล 6) สรุปผลและเขียนรายงานการวิจัย

การสํารวจและกําหนดปญหาการวิจัยในชั้นเรียนจากขั้นตอนการวิจัยที่ไดสรุปไว 6 ขั้นตอน ทุกขั้นตอนจะมีความสําคัญ แตขั้นตอน

การกําหนดปญหาการวิจัยในชั้นเรียนถือวาสําคัญที่สุด และสงผลตอการดําเนินการวิจัยขั้นตอนอื่น ๆ ปญหาการวิจัยในชั้นเรียนเปนประเด็นที่ครูผูวิจัยสนใจใครรูและตองดําเนินการตามกระบวนการวิจัย (พิสณุ ฟองศรี. 2547 : 9) ซึ่งสามารถแบงออกเปน 2 ประเด็น คือ ประเด็นที่ตองการแกไขปญหาและประเด็นที่ตองการพัฒนา ปญหาที่จะนํามาวิจัยในชั้นเรียนเปนปญหาที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน เปนความแตกตางระหวางสภาพที่เปนจริงกับสภาพที่คาดหวัง หรือความไมสอดคลองกับสภาพ ที่สภาพที่เกิดขึ้นกับสภาพที่ควรจะเปน และปญหาการเรียนการสอนเกิดขึ้นไดใน 3 ระดับ คือ ปญหาระดับปจจัยหรือสิ่งจําเปนพื้นฐานในการเรียนการสอน ปญหาระดับกระบวนการหรือ การจัดการเรียนการสอนของครู และปญหาระดับผลผลิตหรือคุณภาพของนักเรียนและควรใชวิธีการวิเคราะหเชิงระบบในการกําหนดประเด็น (ประกิต เอราวรรณ. 2542 : 11)

การวิเคราะหเชิงระบบดังกลาวมีหลักการวา การทํางานของระบบจะประกอบไปดวยความสัมพันธของระบบ 4 สวน คือ ปจจัย กระบวนการ และผลกระทบ ในขณะที่ วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2546 : 10) ไดเสนอแนวทางในการวิเคราะหปญหาโดยวิธีการเชิงระบบ ซึ่งในการจัดการเรียน การสอนถามีการวิเคราะหตามระบบจะมี 4 สวน คือ บริบท (Context) ปจจัยปอนเขา (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Product)

บริบทของการจัดการเรียนการสอน ไดแก ปรัชญาการศึกษาของโรงเรียน จุดมุงหมายของหลักสูตร สภาพแวดลอมของโรงเรียน ซึ่งบริบทจะมีความสัมพันธกับปจจัยปอนเขา เนื่องจากถารูทิศทางหรือเปาหมายของของการศึกษาก็จะสามารถเตรียมปจจัยปอนเขาไดอยางเหมาะสม ซึ่งปจจัยปอนเขาของการเรียนการสอน ไดแก ครู นักเรียน งบประมาณ เวลา วัสดุอุปกรณ กระบวนการจัดการเรียนการสอน ไดแก กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาผูเรียนทั้ง 3 ดาน คือ ดานพุทธพิสัย ดานทักษะพิสัย และดานจิตพิสัย และผลผลิตของการจัดการเรียนการสอน คือ คุณภาพของนักเรียน ดังนั้น กอนที่จะลงมือทําวิจัยในชั้นเรียน ครูผูสอนจะตองทําการสํารวจสภาพปญหาหรือความตองการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 29: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

20

พัฒนาในการปฏิบัติงานสอนของตนเองวาพบปญหาหรือสิ่งที่ตองการพัฒนาอะไรบาง ในบางครั้งสามารถแจงปญหาออกไดหลายปญหา แตครูก็ไมสามารถนําปญหามาแกไข/พัฒนาไดทั้งหมด ดังนั้น จําเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณาและจัดลําดับความสําคัญของปญหาดังกลาวเสียกอน และ นําปญหาที่สําคัญมาแกไข/พัฒนาเปนอันดับแรกเสียกอน

เมื่อครูผูสอนไดประเด็นปญหาที่ตองการแกไขหรือตองการพัฒนาแลว การตั้งชื่อเรื่องวิจัยก็เปนสิ่งจําเปน เนื่องจากชื่อเรื่องจะบงบอกใหทราบวาครูผูสอนตองการทําอะไร (แกปญหาหรือพัฒนา) ทํากับใคร (นักเรียนระดับไหน ชั้นไหน) และทําอยางไร (ใชนวัตกรรมใดแกปญหาหรือพัฒนา) ซึ่งเรื่องควรมีองคประกอบครบทั้งสามประการดังกลาวและจะเปนแนวทางในการเริ่มตนใหครูผูสอนสามารถเริ่มเขียนโครงรางวิจัยตอไปได (ประเทศ ดวงพัฒนา. 2548 : 1) เมื่อครูผูสอนไดชื่อเรื่องของการวิจัยในชั้นเรียนแลว ผูวิจัยจะตองกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย การวิจัยวัตถุประสงคของการวิจัยเปนการระบุวาครูผูสอนแกปญหาหรือพัฒนาอะไร โดยนิยมเขียนเปนประโยคบอกเลา และในกรณีที่ผูวิจัยเพิ่งเริ่มทําวิจัยในชั้นเรียน สามารถเขียนวัตถุประสงคอยางงาย ๆ โดยขึ้นตนดวยคําวา “เพื่อ” และตามดวยชื่อเรื่องที่กําหนดไวแลว สวนเปาหมายการวิจัย เปนผลลัพธสุดทายหรือจุดมุงหมายปลายทางที่ครูตองการ โดยเปาหมายจะตองระบุทั้งดานคุณภาพและปริมาณ( ประเทศ ดวงพัตรา. 2548 : 4)

แหลงปญหาของการวิจัยในชั้นเรียนนั้นไดมาโดยตรงจากประสบการณในชั้นเรียน ซึ่งดูเหมือนวาปญหามีนอยและอยูในขอบเขตที่เล็กกวาการวิจัยทั่วไปแตสามารถกําหนดปญหาไดงายเพราะครูประสบกับปญหาโดยตรงดวยตนเอง จึงสามารถกําหนดปญหาไดงายและเร็วซึ่งในการกําหนดปญหาเนนใชวิธีเปรียบเทียบระหวางสภาพที่ควรจะเปนกับสภาพที่เกิดขึ้นจริงวามีชองวางมากนอยเพียงใด ถาแตกตางมากแสดงวามีปญหามาก หรือในกรณีที่ไมเกิดปญหาอาจกําหนดปญหาในทางปองกันไมใหเกิดหรือพัฒนาใหดีขึ้นได (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 21) จากที่กลาวมาเกี่ยวกับการสํารวจและกําหนดปญหาการวิจัยในชั้นเรียนสรุปไดวา การสํารวจและกําหนดปญหาการวิจัยในชั้นเรียนเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุดในกระบวนการวิจัยทั้งหมด ปญหาวิจัยในชั้นเรียนเปนปญหา ที่เกิดขึ้นในหองเรียนที่สงผลตอการจัดการเรียนการสอน เมื่อมีปญหาเกิดขึ้นครูตองคิดหาวิธีแกปญหาและพัฒนาผูเรียน สําหรับปญหาที่เกิดขึ้นกับการจัดการเรียนการสอนสามารถแบงออกเปน 2 ประเด็น คือ ประเด็นที่ตองการแกปญหา และประเด็นที่ตองการพัฒนา เมื่อครูไดปญหาการวิจัย ครูตองการนําปญหาที่พบมาจัดลําดับความสําคัญเพื่อเลือกปญหาการวิจัย นํามากําหนดชื่อเรื่องการวิจัย ในชั้นเรียน และกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายการวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 30: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

21

การศึกษาแนวทางเพื่อกําหนดทางเลือกสําหรับการวิจัยในชั้นเรียนการศึกษาแนวทางเพื่อกําหนดทางเลือก หรือการศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ

ผูวิจัยจะตองศึกษาคนควาความรูและขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดวยการอานสรุปวิเคราะห สังเคราะห สาระสําคัญ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ ขอมูล จากเอกสารตาง ๆ เชน หนังสือ ตํารา สื่อสิ่งพิมพอื่น ๆ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ เปนตน การสอบถามจากผูรู บุคคลที่เกี่ยวของ การดูขาวสารจากแหลงตาง ๆ ตลอดจนการคนควาจากคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต (พิสณุ ฟองศรี. 2547 : 18) เพื่อใหครูผูทําวิจัยไดขอมูลมาใชเปนทางเลือกในการทําวิจัยในชั้นเรียนตอไป

ในการทําวิจัยในชั้นเรียนสิ่งที่ครูผูวิจัยตองศึกษามากที่สุดคือ การเลือกใชนวัตกรรมหรือวิธีการที่จะนํามาเปนเครื่องมือวิจัยในการแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งนวัตกรรม เปนสิ่งที่นํามาใชเปนเครื่องมือในการแกปญหา หรือพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ โดยเนนคุณภาพผูเรียน ทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ และคุณธรรมจริยธรรม และสิ่งสําคัญ ในการออกแบบสรางนวัตกรรมที่จะนํามาใชพัฒนาศักยภาพของผูเรียนคือ ตองมีความสอดคลองและตอบสนองในการแกปญหาหรือพัฒนา เหมาะสมกับสภาพแวดลอมและผูเรียน (สุภาภรณ มั่นเกตุวิทย. 2544 : 39)

สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา. (2546 : 4) ไดรวบรวมวิธีการจัดการเรียนรูที่สามารถนําไปใชในการแกปญหาและพัฒนาการเรียนรูโดยแบงตามวัตถุประสงค คือ การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความรูและทักษะ เชน การจัดการเรียนรูแบบบรรยาย การจัดการเรียนรูแบบอภิปราย การจัดการเรียนรูแบบสาธิต การจัดการเรียนรูแบบแสดงบทบาทสมมติ การจัดการเรียนรูโดยใช การแสดงละคร การจัดการเรียนรูแบบสถานการณจําลอง การจัดการเรียนรูโดยใชเกม การจัด การเรียนรูที่เนนกระบวนการ การจัดการเรียนรูโดยกระบวนการกลุม การจัดการเรียนรูแบบรวมมือ การจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค TGT การจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค STAD การจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค Jigsaw การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูแบบ Storyline เปนตน

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547 : 46 - 47) แบงประเภทนวัตกรรมการเรียนรูออกเปน 1)ผลิตภัณฑ /สิ่งประดิษฐ (Product/Invention) ไดแก แบบฝก/ชุดฝก ชุดการเรียน ชุดการสอน เอกสารประกอบ การสอน บทเรียนสําเร็จรูป บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วีดิทัศน เกมส/นิทาน/การตูน สื่อประสม เปนตน และ 2) รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอน (Instruction/Method) ไดแก รูปแบบการสอน รูปแบบการเรียนรู เทคนิคการจัดกิจกรรม เทคนิคการปรับพฤติกรรม การเรียนแบบเพื่อนชวยสอน การสอนแบบบูรณาการ การสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 31: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

22

จากที่กลาวถึงเกี่ยวกับการศึกษาแนวทางเพื่อกําหนดทางเลือก พอจะสรุปไดวา การศึกษาแนวทางเพื่อกําหนดทางเลือก หรือการศึกษาและทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ ผูวิจัยจะตองศึกษาคนควาความรูและขอมูลที่เกี่ยวของจากเอกสาร ตํารา หนังสือ วิทยานิพนธ รายงานการวิจัย สอบถามผูรู และคนควาจากอินเตอรเน็ต เพื่อกําหนดหรือเลือกใชนวัตกรรม และวิธีการนํามาเปนเครื่องมือวิจัยในการแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน

การวางแผนการวิจัยในชั้นเรียนพิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547 : 51) กลาววา การวางแผนการวิจัยเปนกระบวนการที่ผูวิจัยกําหนด

รายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัยไวลวงหนาวาจะเก็บขอมูลอะไร เก็บอยางไร เก็บเมื่อใด จะวิเคราะหขอมูลอยางไร การวางแผนการวิจัยสามารถดําเนินการอยางเปนขั้นตอนได ดังนี้

1. ผูวิจัยตองกําหนดกลุมเปาหมายในการวิจัยใหชัดเจนวาจะดําเนินการวิจัยกับใคร จํานวนเทาใด เพื่อนํามาใชในการวิจัย

2. ผูวิจัยตองกําหนดเครื่องมือที่ใชการวิจัย ซึ่งประกอบดวย เครื่องมือที่ใชในการแกไขปญหาหรือพัฒนา และเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลใหสอดคลองและเหมาะสมกับปญหาที่จะแกไขหรือพัฒนาและวัตถุประสงคในการวิจัย

3. ผูวิจัยตองกําหนดแผนการดําเนินการ โดยระบุรายละเอียดวาจะทําอะไร เมื่อไร เพื่อแสดงใหทราบ ถึงชวงระยะเวลาในการดําเนินการวิจัยตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้นกระบวนการวิจัย

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551 : 51 - 52) กลาววา หลังจากครูไดวิเคราะหปญหาเพื่อใหทราบปญหาการเรียนรูที่จะตองแกไขหรือพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน ครูผูสอนตองแสวงหาวิธีการแกไขหรือนวัตกรรมใหเหมาะสมกับปญหาการเรียนรู ครูผูสอนจึงตองวางแผนการวิจัยโดยกําหนด กรอบแนวคิดและแนวทางในการทําวิจัยในชั้นเรียนไวลวงหนาในรูปเอกสารที่แสดงรายละเอียดตาง ๆ ตามสวนประกอบของแผนการวิจัย ผลลัทธที่ไดจากการวางแผนการวิจัยทําใหไดแผนการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งนิยมเขียนอยูในรูปโครงการวิจัย ซึ่งประกอบดวย 1) ชื่อเรื่องวิจัย 2) ความสําคัญของปญหา 3) วัตถุประสงคของการวิจัย 4) ตัวแปรที่ศึกษา 5) นิยามศัพทเฉพาะ 6) ประโยชนที่คาดวา จะไดรับ 7) วิธีดําเนินการวิจัย 8) แผนปฏิบัติการวิจัย

จากการกลาวถึงการวางแผนการวิจัยขางตนนั้นพอจะสรุปไดวา การวางแผนการวิจัย ในชั้นเรียน เปนกระบวนการที่ครูผูวิจัยกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนไวลวงหนาวาจะเก็บขอมูลอะไร เก็บอยางไร เก็บกับใคร เก็บเมื่อใด วิเคราะหขอมูลอยางไรและการวางแผน การวิจัยในชั้นเรียนจะตองกําหนดกลุมเปาหมาย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย กําหนดแผนดําเนินการโดยระบุวาจะทําอะไร เมื่อไร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 32: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

23

การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยในชั้นเรียนการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัยในชั้นเรียนนั้นตองกระทําไปพรอมกับการปฏิบัติ

กิจกรรมการเรียนรู ซึ่งปจจัยที่จะชวยใหการเก็บรวบรวมขอมูลมีประสิทธิภาพ คือ การเตรียมทั้ง ตัวผูวิจัยและเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล กลาวคือ ผูวิจัยจะตองมีเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลและมีความชัดเจนในการปฏิบัติ ซึ่งจะชวยใหบันทึกขอมูลไดตรง และจะตองมี ความชัดเจนในสิ่งที่จะตองรวบรวม นอกจากนั้นการบันทึกหลังการสอนทุกครั้งครูควรบันทึก อยางละเอียด และตรงตามสภาพที่เปนจริง ที่จะชวยเติมเต็มความสมบูรณของงานวิจัยในชั้นเรียน

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551 : 72) กลาววา การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัยในชั้นเรียน ครู นักวิจัยควรใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลและเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลใหสอดคลองเหมาะสมกับชนิดของขอมูล เชน ขอมูลดานความรู ความเขาใจ เก็บรวบรวมขอมูลโดยการทดสอบ โดยใชแบบทดสอบเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล หรือขอมูลดานความสามารถ ทักษะในการปฏิบัติงานและผลงาน เก็บรวบรวมขอมูลโดยการทดสอบ การประเมินทักษะ การประเมินพฤติกรรม การประเมิน ผลงาน โดยใชแบบทดสอบ แบบประเมินทักษะ แบบประเมินพฤติกรรม แบบประเมินผลงาน เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนตน

พิสณุ ฟองศรี. (2551 : 156 - 157) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนครูนักวิจัยสามารถเก็บขอมูลที่ใกลตัวไดในหองเรียน โดยทั่วไปจะเก็บขอมูลดวยวิธีการทดสอบ สอบถาม หรือสัมภาษณ ซึ่ง การสัมภาษณขอมูลจากผูเรียนโดยครูทําไดงาย เนื่องจากรูจักสนิทสนมกันดี แตการสังเกตครูตอง ใชเทคนิคอยูบาง โดยใชแนวทางสําคัญในการเก็บขอมูลโดยการสังเกต คือ 1) มีจุดมุงหมายที่ชัดเจนในการสังเกต 2) วางแผนลวงหนาอยางเปนระบบ 3) จดบันทึก 4) ครูตองมีความรูในเรื่องที่สังเกต 5) อยางใหผูถูกสังเกตรูตัว 6) ถาสังเกตหลายคนตองตรวจสอบเปรียบเทียบความแตกตางพรอมทั้งวิเคราะหหาสาเหตุความแตกตาง

จากที่กลาวมาเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมขอมูลสรุปไดวา การเก็บรวบรวมขอมูลจะตองดําเนินการใหเปนไปตามแผนที่กําหนดไว ระมัดระวังไมใหเกิดความลําเอียงในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยตองมีการเตรียมทั้งตัวผูวิจัยเองและเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล และตองมี ความชัดเจนในสิ่งที่ตองการเก็บรวบรวม นอกจากนั้นขอมูลตองตรงกับสภาพที่เปนจริง

การวิเคราะหขอมูลทิศนา แขมณี. (2546 : 71) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนไมจําเปนตองใชวิธีการทางสถิติ

ที่ซับซอนในการวิเคราะหขอมูล ครูสามารถใชวิธีวิเคราะหงาย ๆ ที่เห็นและเขาใจไดชัดเจน โดยอาศัยแผนผัง แผนภูมิ ตาราง กราฟ หรือคําอธิบายได และอาจวิเคราะหขอมูลโดยการแจกแจงความถี่และรอยละ การวิเคราะหดวยคาสถิติพื้นฐาน เชน คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบคะแนนความแตกตางระหวางกอนเรียนและหลังเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 33: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

24

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547 : 71) กลาววา การวิเคราะหขอมูล เปนกระบวนการจัดกระทํา กับขอมูลที่ครูผูวิจัยรวบรวมได นํามาจัดระเบียบจําแนกหมวดหมู แยกประเภท คํานวณคา สรุปและนําเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม และสื่อความหมายไดเพื่อตอบปญหาวิจัยหรือตอบวัตถุประสงค การวิจัย

สรชัย พิศาลบุตร. (2547 : 46) กลาววา การทําวิจัยในชั้นเรียนไมจําเปนตองใชวิธีการวิเคราะหขอมูลดวยสถิติอนุมาน ซึ่งประกอบดวย วิธีการประมาณคา และการทดสอบสมมติฐาน เชิงสถิติ เนื่องจากขอมูลที่จะนํามาใชในการวิเคราะหนั้นไดมาจากทุกหนวยตัวอยางในกลุมหรือประชากร

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551 : 73) กลาววา การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ สามารถทําไดโดยใชวิธีการทางสถิติ เชน หาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย เปนตน สวนขอมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงคุณลักษณะสามารถทําไดโดยวิธีการวิเคราะหเนื้อหา โดยนําเอาขอมูลที่อยูในประเด็นหรือเรื่องราวเดียวกัน มาพิจารณาแยกแยะหาความสําคัญ สิ่งที่แตกตาง สิ่งที่คลายคลึงกันหรือหาสวนที่เกี่ยวของสัมพันธกันแลวจึงสรุปเปนผลการวิเคราะหในแตละประเด็นหรือแตละเรื่อง

พิสณุ ฟองศรี. (2551 : 159) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนสวนใหญเปนขอมูลเชิงปริมาณจึงตองใชสถิติมาชวยการวิเคราะหขอมูล เชน ใชบรรยายและนําเสนอขอมูล ใชทดสอบเพื่อเปรียบเทียบหรือทดสอบสมมติฐาน ใชตรวจสอบเครื่องมือและนวัตกรรม ซึ่งตองเลือกใชสถิติ ที่เหมาะสมกับขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห ในกรณีที่เปนการวิจัยในชั้นเรียนเชิงคุณภาพการวิเคราะหจะไมใชสถิติ จึงตองใชการวิเคราะหเชิงคุณภาพ

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยในชั้นเรียนทั้งหมดที่กลาวมาพอสรุปไดวา ในการวิเคราะหขอมูลการวิจัยในชั้นเรียน ไมจําเปนตองใชวิธีการทางสถิติที่ซับซอนในการวิเคราะห ขอมูลที่ไดจากการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลมาจะตองอยูในลักษณะที่แปลความหมายและสื่อความหมายของขอมูลนั้น ๆ ใหมีความชัดเจน กะทัดรัด สามารถเขาใจงาย ตรงตามวัตถุประสงคของการวิจัย

การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนการเขียนรายงานการวิจัยเปนขั้นตอนของกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งจะเปนการ

บอกเลาถึงปญหาหรือสิ่งที่ตองการพัฒนา วิธีการแกไข/พัฒนา การปฏิบัติและผลของการแกปญหา/พัฒนา มีนักวิชาการไดเสนอรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนไว ดังนี้

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544 : 96) ไดแบงรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนเปน 3 แบบ คือ 1) รูปแบบไมเนนวิชาการ เปนรูปแบบที่ยืดหยุน นําเสนอเนื้อหาโดยสรุปสั้น ๆ เพียง 1 - 2 หนา โดยนําเสนอปญหาที่ตองการแกไขหรือพัฒนา วิธีการแกปญหาหรือพัฒนา และผลการแกปญหาหรือผลการวิจัย 2) รูปแบบกึ่งวิชาการ มีสาระสําคัญ คือ ชื่อเรื่องวิจัย ความสําคัญของ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 34: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

25

ปญหาวิจัย ปญหาวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ วิธีการดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย และการสะทอนผลการวิจัย และ 3) รูปแบบเชิงวิชาการ ประกอบดวย สวนนํา สวนเนื้อหาซึ่งมี 5 บท คือ บทนํา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูล สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ สวนอางอิง คือ บรรณานุกรมและภาคผนวก

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546 : 124) ไดนําเสนอโครงสรางของรายงานการวิจัยในชั้นเรียนแบบเปนทางการและแบบไมเปนทางการ ซึ่งแบบไมเปนทางการประกอบดวย ตอนที่ 1 สวนหนาประกอบดวย ปกนอก ปกใน บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ ตอนที่ 2 สวนเนื้อหา ประกอบดวย 5 บท คือ บทนํา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูล สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ ตอนที่ 3 สวนทาย ประกอบดวย บรรณานุกรมและภาคผนวก สวนโครงสรางของรายงานการวิจัยในชั้นเรียนแบบไมเปนทางการประกอบดวย 8 ประเด็นสําคัญ คือ 1) ชื่อเรื่องวิจัยและชื่อผูวิจัย 2) ความเปนมาและความสําคัญ ของปญหา 3) ปญหาการวิจัย 4) วัตถุประสงค ของการวิจัย 5) ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัยในชั้นเรียน 6) ตัวแปรที่ใชในการวิจัยประกอบดวยตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 7) วิธีดําเนินการวิจัย ประกอบดวย แบบแผนการวิจัย กลุมตัวอยางและเครื่องมือที่ใชในการวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูลและวิธีวิเคราะหขอมูล และ 8) ผลการวิจัย

สุวิมล วองวานิช. (2547 : 94 - 102) ไดเสนอรูปแบบของการนําเสนอรายงานการวิจัย ในชั้นเรียนวาสามารถทําได 2 แบบ คือ แบบเปนทางการ มีโครงสรางของเนื้อหาสาระที่นําเสนอสําหรับการวิจัยเชิงวิชาการนั้นสวนใหญมีการนําเสนอที่มีรูปแบบตายตัวโดยมีหัวขอ คือ บทนํา(ประกอบดวย ความเปนมาและความสําคัญของปญหา คําถามวิจัย กรอบความคิดของการวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย นิยามศัพท ขอตกลงเบื้องตนของการวิจัย ขอจํากัดของการวิจัย ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย) เอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย(ประกอบดวย เนื้อหาเกี่ยวกับ ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร กลุมตัวอยาง เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล อภิปรายและขอเสนอแนะ) ผลการวิเคราะหขอมูล อภิปรายและขอเสนอแนะ บรรณานุกรมและภาคผนวก และแบบไมเปนทางการจะมีโครงสรางของเนื้อหาสาระของรายงานการวิจัยที่นําเสนอเหมือนรายงานการวิจัยเชิงวิชาการแตมักนําเสนอแบบสั้น ๆ และไมยึดรูปแบบการนําเสนอตายตัว

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551 : 96) ไดเสนอรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนไว 3 รูปแบบ ไดแก 1) รูปแบบไมเนนวิชาการ (แบบลูกทุง) เปนการนําเสนอเนื้อหาโดยสรุป 1 - 2 หนา โดยนําเสนอปญหาที่ตองการแกไขหรือพัฒนา วิธีการแกไขหรือพัฒนา และผลการแกไขหรือผลการวิจัย 2) รูปแบบกึ่งวิชาการ (แบบลูกกรุง) สามารถนําเสนอได 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่นําเสนอการสะทอนผลการวิจัย โดยนําเสนอสาระสําคัญ คือ ชื่อเรื่องวิจัย ความสําคัญของการวิจัย ปญหา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 35: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

26

การวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย และการสะทอนผลการวิจัย อีกรูปแบบหนึ่งคือรูปแบบที่ กค. เสนอแนะ นําเสนอสาระสําคัญในหัวขอ คุณภาพที่จะตองพัฒนา กระบวนการ/เทคนิค/วิธีการพัฒนาผูเรียน ผลที่เกิดขึ้นจริง และแนวทาง การพัฒนาอยางตอเนื่อง 3) รูปแบบเชิงวิชาการ (แบบสากล) ประกอบดวย สวนนํา สวนเนื้อหาและสวนอางอิงซึ่งเนื้อหามี 5 บท ไดแก บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ สวนอางอิง คือ บรรณานุกรมและภาคผนวก

พิสณุ ฟองศรี. (2551 : 205) ไดเสนอแนวทางการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนไว 2 รูปแบบ คือ 1) รายงานการวิจัยอยางเปนทางการ ซึ่งมีรายละเอียด คือ สวนประกอบตอนตนประกอบดวย ปกนอก บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ ปกใน สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สวนเนื้อหา ประกอบดวย บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวของ บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล บทที่ 5 สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ สวนประกอบตอนทาย ประกอบดวย บรรณานุกรม และภาคผนวก 2) รายงานการวิจัยอยางไมเปนทางการ แบงไดเปนรายงานวิจัยหนาเดียว มีรายละเอียด คือ ผูเรียนมีปญหาอะไร ครูใชวิธีไหนแกไข และไดผลอยางไร และรายงการวิจัย 5 - 10 หนา มีรายละเอียดคลายกับรายงานการวิจัยอยางเปนทางการ มีรายละเอียด คือ สภาพทั่วไปของผูเรียน พฤติกรรมที่คาดหวัง พฤติกรรมที่มี ในตัวผูเรียน พฤติกรรมเปาหมายเปรียบเทียบระหวางพฤติกรรมที่คาดหวังกับพฤติกรรมที่มีในตัวผูเรียน การสรางหรือพัฒนานวัตกรรม ทําแผนการใชปฏิบัติตามแผน ประเมินผล และบรรยายความรูสึก

จากที่กลาวถึงการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนมาทั้งหมดนั้นพอสรุปไดวา การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนเปนการเขียนบอกถึงปญหาหรือการพัฒนาการเรียนการสอนในชั้นเรียนการดําเนินการตามแผนที่กําหนดไว รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นหรือขอคนพบ โดยมีรูปแบบในการเขียนรายงาน 2 รูปแบบ คือ แบบไมเนนวิชาการ และแบบเชิงวิชาการ สําหรับหัวขอในการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนควรประกอบดวย ชื่อเรื่อง ชื่อผูวิจัย ความเปนมาของการวิจัย วัตถุประสงคและเปาหมายของการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย ขอเสนอแนะและเอกสารอางอิง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 36: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

27

แนวคิดเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายการวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียนแบบงายเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติที่ดําเนินการโดยครูภายในชั้นเรียน

เพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน ซึ่งมีนักวิชาการไดใหความหมายไว ดังนี้กิตติพร ปญญาภิญโญผล. (2549 : 15) กลาวโดยสรุปวา การวิจัยเชิงปฏิบัติการ หมายถึง

การศึกษาคนควาอยางมีระบบถึงการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานเอง เพื่อเขาใจดีขึ้นหรือแกปญหา ที่เกี่ยวกับงานที่ทําอยู มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นซึ่งไดจากการรวบรวม การรวมมือ การสะทอนตนเองและการใชวิจารณญาณประกอบภายใตกรอบจรรยาบรรณที่ยอมรับกัน

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546 : 4) การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึงการวิจัยที่ทํางาย ๆ มีกระบวนการที่ไมซับซอน ใชเวลาไมมากนัก และสอดคลองกลมกลืนกับงานการเรียนการสอนปกติ

สุวิมล วองวาณิช. (2548 : 21) ไดสังเคราะหนิยามเกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สรุปไดวา “การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทําโดยครูผูสอนในชั้นเรียน เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และนําผลมาใชในการปรับปรุงการเรียนการสอนหรือสงเสริมพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนใหดียิ่งขึ้น”

จากที่กลาวมาขางตนพอจะสรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียนหมายถึงการวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียนที่ดําเนินการโดยครู เพื่อแกปญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และตัวผูเรียน ในหองเรียนอยางเปนระบบ โดยไมยึดแบบแผนการวิจัยเชิงวิชาการ ใชเวลาไมมากนักแตสอดคลองและกลมกลืนกับงานการเรียนการสอนปกติ

แนวทางและขั้นตอนการทําวิจัยในชั้นเรียนการจัดการเรียนการสอนของครู นับวาเปนวิชาชีพชั้นสูงที่ตองการความเชื่อถือไดในผลงาน

ซึ่งถาครูไดนําการวิจัยมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน หรือแกไขปญหาการเรียนรูของนักเรียน จะสามารถพัฒนานักเรียนไดอยางมีคุณภาพ เต็มศักยภาพตามความแตกตางระหวางบุคคลซึ่งเปนการประกันคุณภาพ อันจะสงผลใหผูเกี่ยวของโดยเฉพาะอยางยิ่งบิดามารดา ผูปกครอง ของนักเรียนมีความมั่นใจและเชื่อถือในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาไดเปนอยางดี

การปฏิบัติการสอนของครูตามปกติ ครูทุกคนมักคิดหาวิธีการหรือรูปแบบการสอนที่จะชวยใหนักเรียนในความรับผิดชอบของตนไดเรียนรูหรือมีพัฒนาการไดอยางมีคุณภาพสูงสุด ซึ่ง การปฏิบัติดังกลาวเปนผลสะทอนไดเปนอยางดีวา การวิจัยไดเขามามีบทบาทในการจัดเรียนการสอนตามปกติของครูนั้นเอง ซึ่งสามารถเขียนเปนแผนภูมิแสดงได (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน. 2546 : 2) ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 37: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

28

วิจัย : วิจัยที่เหมาะสมกับครู มีรายละเอียดเปนขั้นตอน ดังนี้1) ไมทําใหภาระของครูมีมากเกินไป2) ไมเปนงานที่แปลก แยกออกจากการทํางานปกติคือ การจัดการเรียนการสอน3) เปนการวิจัยที่มีกระบวนการที่ไมซับซอน4) เปนการวิจัยเรื่องเล็ก ๆ ใชเวลานอย5) เปนการวิจัยที่เขียนรายงานสั้น ๆ(2 หนา)

ประโยชนของการวิจัย1) ผูเรียนไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบนาเชื่อถือ2) ครูมีทักษะเปนพื้นฐานสูการเปนนักวิจัย3) ครูมีระบบและวิธีทํางาน อยางครูมืออาชีพ4) ครูมีผลงานวิชาการที่ชัดเจนตอเนื่อง เพื่อพัฒนางานและพัฒนาวิชาชีพ5) สงเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาที่มีความเชื่อมั่นไดสูง

ขั้นตอนสําคัญการวิจัย1) กําหนดประเด็นปญหาหรือเปาหมายการวิจัย2) กําหนดวิธีการวิจัย3) รวบรวมขอมูลตามที่กําหนด4) วิเคราะหผล ประมวลผล5) สรุปเขียนรายงาน

ประเด็นปญหาหรือเปาหมายการวิจัย1) เปนขอความที่เขียนแสดงคําตอบหรือคําอธิบายหาขอสรุป โดยใชกระบวนการ

วิจัย2) ปญหาจะกําหนดจากปญหาที่พบจากการทํางาน3) ปญหากําหนดจากการพัฒนางาน

ปญหาหรือเปาหมายการวิจัย กําหนดอยางไรจึงเหมาะสม1) เลือกปญหานาสนใจ2) เกิดประโยชนจริง3) เปนการวิจัยที่เล็ก ไมซับซอน4) ตอบคําถามได

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 38: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

29

การเขียนรายงานการวิจัย1) ชื่อเรื่อง2) ที่มาของปญหา3) เปาหมายของการวิจัย4) วิธีการวิจัยหรือวิธีการแกปญหา5) ขอคนพบหรือผลการพัฒนา6) ขอเสนอแนะ

ประโยชนที่จะไดรับ1) ครูมีคุณภาพเปนครูมืออาชีพ2) ผูเรียนมีคุณภาพ3) งานมีคุณภาพ4) วิชาชีพครูมีคุณภาพ5) สูระบบการประกันคุณภาพที่ดีได

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 39: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

30

ภาพที่ 2.1 ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรูที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2546

กระบวนการวิจัย กระบวนการจัดการเรียนการสอน

1. การกําหนดปญหา/ ประเด็นการพัฒนา

4. วิเคราะหขอมูล/แปลผล

สรุปและรายงานผล

2. ออกแบบการเรียนรู2.1 ทําความรูจักนักเรียน2.2 เลือกวิธีสอน2.3 เลือกสื่อ2.4 เลือกวิธีวัดผลประเมินผล

1. การจัดทําหนวยการเรียนรู

3.จัดทําแผนการจัดการเรียนรู

4. การจัดการเรียนรู

5. การวัดและประเมินผล การเรียนรู

6. การพัฒนาปรับปรุงแกไข

1. ขั้นเตรียมการจัดการเรียนรู1.1 การวางแผน (จัดทําหลักสูตร)1.2 กําหนดสาระการเรียนรู1.3 ออกแบบการจัดการเรียนรู

1.3.1 กําหนดจุดประสงคการเรียนรู1.3.2 กําหนดกิจกรรมการเรียนรู1.3.3 กําหนดสื่อ/ แหลงเรียนรู1.3.4 กําหนดแนวทาง /วิธีการ

ประเมินผลการเรียนรู1.4 จัดทําแผนการจัดการเรียนรู

ในแตละครั้ง จุดประสงค สาระ กิจกรรม และการประเมินผล การเรียนรู

2. ขั้นสอน2.1 การจัดการเรียนรูตามกิจกรรมที่กําหนด2.2 วัดผลประเมินผล บันทึกผลหลังสอน2.3 พัฒนาปรับปรุงแกไข

2. กําหนดวิธีแกไข/พัฒนา

3. ดําเนินการและเก็บขอมูล

3. ขั้นสรุป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 40: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

31

จากภาพขางตน เปนการปฏิบัติงานของครูตามปกติ จะเห็นวาการวิจัยไดเขามามีบทบาทตั้งแตการเตรียมการจัดการเรียนรู ทั้งนี้เพราะครูตองมีขอมูลนักเรียนและตองรูจักนักเรียนรายบุคคล และเลือกวิธีการจัดการเรียนรูที่คิดวาเหมาะสม หรือคาดวาเปนวิธีการที่ทําใหบรรลุเปาหมาย และ ลงมือปฏิบัติการสอน ประเมินผลนักเรียนแลว ครูจะตองศึกษาผลที่เกิดขึ้นหลังจากการสอนเพื่อนํามาพัฒนาหรือปรับปรุงแกไขวิธีสอนใหเหมาะสมกับนักเรียนมากยิ่งขึ้นและประเด็นของการพัฒนาหรือแกไขนี้เองเปนประเด็นสําคัญที่ครูไดพัฒนานักเรียนตรงกับปญหาและเปนระบบ โดยในแตละขั้นตอนการทํางานของครูหากครูไดนํากระบวนการวิจัยเขามาใชก็ยิ่งเปนการชี้ชัดวาครูไดจัด การเรียนรูโดยใชกระบวนการวิจัย

จากสภาพปญหาของครูผูสอนในปจจุบันที่มีปริมาณงานรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งงานหลักของครู คือ งานสอน ซึ่งเปนงานที่มีความละเอียด ลึกซึ้ง ลักษณะการวิจัยที่ครูใช ใหเหมาะสม จึงตองมีความสอดคลองกับภาระงานของครูไมเปนงานที่แยกจากการจัดการเรียน การสอนที่ครูปฏิบัติอยูตามปกติ

ดังนั้น ลักษณะงานวิจัยที่เหมาะสมกับครูจึงนาจะเปนการวิจัยที่ทํางาย ๆ กระบวนการ ไมซับซอน ใชเวลาไมมาก และสอดคลองกลมกลืนกับงานการเรียนการสอนตามปกติ ซึ่งเรียกวา “การวิจัยในชั้นเรียน” การวิจัยในชั้นเรียนเปนทางเลือกสําหรับครูผูสอนในการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับสภาพจริงในการปฏิบัติการสอนและขอจํากัดของครู ซึ่งการทําวิจัยในชั้นเรียนจะครอบคลุมประเด็นสําคัญ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2546 : 4) ดังนี้

1. เปนการพัฒนานักเรียนอยางเปนระบบ เชื่อถือได2. ดําเนินการในสภาพการทํางานตามปกติของครูโดยครูเปนผูวิจัย

แนวคิดการวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน โดยมีขอบเขตของเรื่องที่วิจัยไมใหญนัก แลวมีการสรุปผลการวิจัย เขียนเปนรายงานผลการวิจัยที่สมบูรณและครอบคลุมประเด็นสําคัญ โดยการเขียนที่มีจํานวนหนาไมมากนัก อาจเปนหนึ่งหนา หรือที่เรียนวา “การวิจัยหนาเดียวหรือแผนเดียว” หรืออาจจะมีมากกวาหนึ่งหนา รายงานการวิจัยในชั้นเรียนแบบงายนี้ ตางจากรายงานการวิจัยทั่วไป แตมีความสมบูรณในตัวเองตามประเด็นการวิจัยที่ครูสนใจศึกษาหรือหาคําตอบ

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546 : 5) กลาววา จุดเริ่มตนที่ครูทําวิจัย มีลักษณะไมแตกตางจากการวิจัยโดยทั่วไป คือ เกิดจากความตองการแกปญหาการเรียนการสอน ที่พบ หรือตองการพัฒนาการจัดการเรียนรูใหดียิ่งขึ้น แตการวิจัยในชั้นเรียนจะมีประเด็นและขอบเขตการวิจัยที่เล็กกวาการวิจัยโดยทั่วไป สามารถดําเนินการตามขั้นตอนได คือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 41: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

32

1. จุดเริ่มตนของการวิจัยจะกําหนดเปนปญหาหรือคําถามที่ตองการคําตอบ1.1 ครูจะแกปญหาเด็กชายสมบัติที่ชอบแกลงเพื่อนไดอยางไร1.2 ครูจะชวยเด็กหญิงสมฤดีใหมีทักษะในการคิดคํานวณไดอยางไร1.3 ครูจะฝกคัดลายมือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ใหสวยงามและถูกตองได

ดวยวิธีการใดบาง ฯลฯ2. ครูคิดหรือกําหนดวิธีการหาคําตอบหรือวิธีแกปญหาอยางมีขั้นตอนชัดเจนและ

มีเหตุผล3. ปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด และรวบรวมขอมูลที่เกิดขึ้น4. ตรวจสอบผลโดยวิเคราะหขอมูลที่รวบรวมไว5. สรุปผลและเขียนรายงานเพียงสั้น ๆ แตอานแลวเขาใจและสมบูรณในตัวเอง

จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของเกี่ยวกับแนวทางและขั้นตอนการวิจัยแบบเปนทางการมาขางตนแลว และศึกษาแนวคิดตลอดจนความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรูสามารถสังเคราะหความรูเพื่อกําหนดขั้นตอนในการทําวิจัยในชั้นเรียนได 5 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 กําหนดคําถาม หรือปญหาของการวิจัยขั้นที่ 2 การวางแผนการทําวิจัยขั้นที่ 3 การรวบรวมขอมูลขั้นที่ 4 วิเคราะหขอมูลและแปลความหมายขอมูลขั้นที่ 5 สรุปผลและเขียนรายงานวิจัย

จากการนําเสนอในประเด็นดังกลาวสามารถสรุปไดดังนี้ การวิจัยในชั้นเรียนหมายถึง การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่ดําเนินการโดยครู เพื่อแกปญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และตัวผูเรียนในหองเรียนอยางเปนระบบ โดยไมยึดแบบแผนการวิจัยเชิงวิชาการ ใชเวลาไมมากนักแตสอดคลองและกลมกลืนกับงานการเรียนการสอนปกติ

แนวคิดเกี่ยวกับคูมือ

ความหมายและประเภทของคูมือในการดําเนินงานการจัดการเรียนการสอนของครูหากไดมีแนวทางชี้นําก็สามารถทําให

การปฏิบัติงานสอนเปนไปตามขั้นตอนอยางถูกตองเปนระบบและมีประสิทธิภาพ คูมือเปนสิ่งที่กําหนดจุดมุงหมายในการปฏิบัติงาน และวิธีการแนวทางในการปฏิบัติ ใหผูปฏิบัติไดทํางานใหอยูในกรอบตามทิศทางที่ตองการ มีผูใหความหมายของคูมือไวหลายทาน ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 42: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

33

ปรีชา ชางขวัญยืน และคนอื่น ๆ. (2542 : 153) ใหความหมายของคูมือไววา คูมือ เปนหนังสือที่ใชควบคูกับการกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งบอกแนวทางในการปฏิบัติแกผูใชใหสามารถกระทําสิ่งนั้น ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย

สามารถ ปรุงสุวรรณ. (2545 : 76) ใหความหมายของคูมือไววา คูมือ หมายถึง หนังสือ ตํารา เอกสารแนะนํา หรือเปนสื่อที่ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานที่มีเนื้อหาสาระสั้น ๆ ซึ่งผูอานหรือผูใชสามารถนําไปปฏิบัติไดทันที จนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย

อนุชิต เชิงจําเนียร. (2545 : 22) ใหความหมายของคูมือไววา คูมือ หมายถึง หนังสือ ที่เขียนขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางใหผูใชคูมือไดศึกษาทําความเขาใจ และงายตอการปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่งใหมีมาตรฐานใกลเคียงกันมากที่สุด และทําใหนักเรียนนักศึกษามีความรูความสามารถและทักษะที่ใกลเคียงกัน

ศักรินทร สุวรรณโรจน และคนอื่น ๆ. (2535 : 77) ไดแบงประเภทของคูมือออกเปน 2 ประเภท ไดแก

1. คูมือการสอนหรือคูมือจัดกิจกรรม เปนคูมือที่ใหความรูและขอเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. คูมือหนังสือเรียน เปนคูมือที่จัดทําขึ้นควบคูกับหนังสือเรียนเพื่ออธิบายวิธีการใชหนังสือเรียนใหถูกตองอยางมีประสิทธิภาพ มีลักษณะกึ่งแผนการสอนกึ่งคูมือนักเรียนแยกประเภทคูมือไว ดังนี้

2.1 คูมือครูรายวิชา เปนตําราที่เสนอเทคนิคการสอนแตละวิชาในแตละระดับชั้น เชน คูมือการสอนวิทยาศาสตรระดับประถมศึกษา คูมือการสอนคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา เปนตน

2.2 คูมือสอนรายวิชาและรายชั้น เปนตําราที่เสนอแนะการสอนรายวิชาในระดับชั้นนั้นจัดทําขึ้นเพื่อชวยใหครูผูสอนสามารถดําเนินการสอนเปนรายบทเรียนควบคูไปกับแบบเรียนที่นักเรียนใชอยู เชน คูมือครูสอนวิทยาศาสตรชั้นประถมศึกษาปที่ 6 คูมือครูสอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 6

2.3 คูมือครูสอนรายชั้นเรียน เปนตําราที่เสนอแนะการสอนในระดับชั้นนั้น ๆ จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในระดับชั้นนั้น ๆ ที่ประกอบไปดวย จุดประสงค เนื้อหา กิจกรรมและการตรวจสอบผลการเรียนในระดับชั้นนั้น ๆ เชน แนวการสอนสําเร็จรูป คูมือครูสอนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - ประถมศึกษาปที่ 6 เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 43: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

34

สมพร พุตตาล เบ็ทซ. (2539 : 88) กลาวถึง คูมือปฏิบัติงานวา เปนเอกสารในการสื่อสารที่สําคัญ ระหวางผูบริหารกับผูปฏิบัติงานและระหวางผูปฏิบัติงานดวยกัน ซึ่งประกอยดวย นโยบายวัตถุประสงค หนาที่ความรับผิดชอบ ตลอดจนรายละเอียดตาง ๆ ที่สําคัญ คือ แนวทางและวิธีปฏิบัติงาน ซึ่งจะชวยใหบุคลากรผูปฏิบัติงานมีความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนไดอยางถูกตองชวยใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมีกฎเกณฑคงเสนคงวาไมวาใครเปนผูปฏิบัติและปฏิบัติตอใครทําใหเกิดระบบแบบแผนที่ดีงามราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

ประดับ เรืองมาลัย. (2542 : 98) ไดแบงคูมืออกเปน 3 ประเภท ไดแก1. คูมือการสอนหรือคูมือการจัดกิจกรรม เปนคูมือที่มีเนื้อหาสาระความรูและ

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม เปนคูมือการจัดกิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรียน คูมือ การจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมในโรงเรียน เปนตน

2. คูมือหนังสือเรียน เปนคูมือที่จัดทําขึ้นเพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียน3. คูมือการใชสื่อหรือนวัตกรรม เปนคูมือที่จัดทําขึ้นประกอบการเผยแพรของครู

เพื่อใหผูอื่นนําไปใชใหถูกตองปรีชา ชางขวัญยืน และคนอื่น ๆ.(2542 : 153) ไดแบงประเภทของคูมือไว ดังนี้

1. คูมือครู เปนหนังสือที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางใหคําแนะนําเกี่ยวกับเนื้อหาสาระวิชาการ กิจกรรม สื่อ วัสดุอุปกรณ และเปนแหลงขอมูลอางอิง

2. คูมือผูเรียน เปนหนังสือที่ผูเรียนใชควบคูกับตําราเรียนปกติ ประกอบดวย สาระแบบฝกหัด ตอบคําถามปญหาตาง ๆ สรุปเนื้อหาตาง ๆ

3. คูมือการอบรม เปนคูมือที่ใชในการอบรมเพื่อสอนใหนักเรียนซึมซาบจนติด เปนนิสัย และแนะนําชี้แจงใหเขาใจในเรื่องที่ตองการขัดเกลานิสัย

4. คูมือทั่วไป เปนหนังสือที่แนะนําใหความรูเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งแกผูอานใหผูอานเขาใจและสามารถดําเนินการตามคําแนะนําของคูมือไดดวยตนเอง

อนุชิต เชิงจําเนียร. (2545 : 24) ไดแบงประเภทของคูมือไว ดังนี้1. คูมือเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร เปนคูมือที่เสนอแนะแนวทางหรือ

เทคนิควิธีสอน การใชสื่อหรือนวัตกรรมที่สัมพันธกับรายวิชาหนึ่งหรือระดับชั้นเรียนตาง ๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรนั้น ๆ เชน คูมือรายวิชา คูมือระดับชั้นเรียน คูมือการใชสื่อและนวัตกรรม เปนตน

2. คูมือการจัดกิจกรรมการสอนทั่วไป เปนคูมือที่เสนอแนะแนวทางหรือเทคนิคการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุจุดประสงคตามที่หลักสูตรกําหนด และเปนคูมือที่ไมไดเกี่ยวของสัมพันธกับเนื้อหาสาระหรือคําอธิบายรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 44: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

35

โดยตรง เชน คูมือการจัดกิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรียน คูมือปฏิบัติกิจกรรมสรางนิสัยสําหรับโรงเรียนประถมศึกษา เปนตน

จากการศึกษาความหมายและประเภทของคูมือที่กลาวมาแลวพอจะสรุปไดวา คูมือ หมายถึง หนังสือ ตํารา หรือเอกสาร ที่เขียนขึ้นเพื่อเปนแนวทางใหผูใชคูมือไดศึกษาทําความเขาใจเรื่องที่จะทํา และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย คูมือ แบงประเภทไดตามวัตถุประสงคและความตองการของผูจัดทํา เพื่อใหผูใชคูมือมีความสะดวกและสามารถปฏิบัติงานไดบรรลุวัตถุประสงคและความตองการของผูจัดทํา เพื่อใหผูใชคูมือมีความสะดวกและสามารถปฏิบัติงานไดบรรลุวัตถุประสงคภายใตมาตรฐานที่ใกลเคียงกัน

องคประกอบและประโยชนของคูมือศักรินทร สุวรรณโรจน และ คนอื่น ๆ. (2535 : 89) กลาววา องคประกอบของการจัดทํา

คูมือมี ดังนี้1. คําชี้แจงการใชคูมือ2. เนื้อหาสาระและกระบวนการหรือขั้นตอน3. คําชี้แจงเกี่ยวกับการเตรียมการที่จําเปนตาง ๆ เชน วัสดุอุปกรณ สื่อ4. ความรูเสริมหรือแบบฝกหัด หรือแบบฝกปฏิบัติเพื่อชวยในการฝกฝน5. ปญหาและคําแนะนําเกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหา6. แหลงขอมูลและแหลงอางอิงตาง ๆ

สมพร พุตตาล เบ็ทซ. (2539 : 93) กลาววา คูมือในการปฏิบัติงานมีองคประกอบ ดังนี้1. สวนประกอบตอนตน ไดแก ปก หนาแสดงรายงานนามคณะผูจัดทําและปที่พิมพ

คํานํา สารบัญ และแผนภูมิโครงสรางของหนวยงาน2. สวนที่เปนเนื้อหาหรือวิธีปฏิบัติงาน ไดแก คําอธิบายลักษณะงาน แผนภูมิแสดง

สายการปฏิบัติงาน ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และภาพประกอบ3. สวนประกอบตอนทาย ไดแก คําอธิบายศัพท และดรรชนี

เอกวุฒิ ไกรมาก. (2541 : 54) กลาววา คูมือครูควรมีองคประกอบสําคัญ ดังนี้1. คําชี้แจงการใชคูมือ ประกอบดวย วัตถุประสงคของคูมือ ความรูพื้นฐานที่จําเปน

ในการใชคูมือ วิธีการใชคูมือ และคําแนะนําการใชคูมือ2. เนื้อหาสาระที่จะสอน โดยมีคําชี้แจงหรือคําอธิบายประกอบและอาจมีการวิเคราะห

เนื้อหาสาระ ใหผูอานเกิดความเขาใจที่จะอาน3. การเตรียมการสอน ประกอบดวย การเตรียมสถานที่ วัสดุ สื่อ อุปกรณ และ

เครื่องมือที่จําเปน การเตรียมวัสดุเอกสารประกอบการสอน แบบฝกหัดและแบบปฏิบัติ ขอสอบ คําเฉลย ตลอดจนการติดตอประสานงานที่จําเปน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 45: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

36

4. กระบวนการ วิธีการ กิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งตองใหขอมูลหรือรายละเอียด ไดแก คําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน คําแนะนําและตัวอยางเกี่ยวกับกิจกรรม การสอนที่จะใหการสอนบรรลุคําถาม ตัวอยาง แบบฝกปฏิบัติ และสื่อตาง ๆ ที่ใชในการสอนขอเสนอแนะเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทําไมควรทํา

5. การวัดผลและประเมินผล ประกอบดวย รายละเอียดตาง ๆ เชน เครื่องมือวัด วิธีวัดผล เกณฑการประเมิน

6. ความรูเสริม7. ปญหาและคําแนะนําเกี่ยวกับดานการปองกันและแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับ

ผูใชคูมือ โดยเขียนจากประสบการณ8. แหลงขอมูลและแหลงอางอิงตาง ๆ เพื่อเปนประโยชนตอผูใชคูมือในการศึกษา

คนควาตอไปปรีชา สัจจากุล. (2550 : 44) กลาววา คูมือปฏิบัติงานที่จัดทําขึ้นจะตองเปนประโยชน

ตอผูปฏิบัติงานและตอองคกร ดังนี้1. เปนบรรทัดฐานสําหรับการปฏิบัติงาน เพื่อชวยใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมี

เกณฑโดยไมวาใครเปนผูปฏิบัติก็ตาม ทําใหเกิดแบบแผนที่ดี2. ชวยใหผูปฏิบัติงานตระหนักในหนาที่และความรับผิดชอบอยางชัดเจน3. ใชสําหรับการฝกบุคลากรใหมใหสามารถปฏิบัติงานไดถูกตองและรวดเร็ว4. ชวยลดเวลา ลดความบกพรอง และความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน5. ชวยลดคาใชจายในการดําเนินงาน6. ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงาน

จากที่กลาวถึงองคประกอบของคูมือขางตนพอจะสรุปไดวา ในการจัดทําคูมือจะตองประกอบดวย องคประกอบที่สําคัญ คือ วิธีการใชคูมือหรือคําแนะนําในการใชคูมือ เนื้อหาสาระ คําชี้แจงเกี่ยวกับการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ การจัดกิจกรรม แหลงขอมูลอางอิง เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชคูมือ ใหสามารถดําเนินงานไดบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ และแบบฝกหัดหรือแบบฝกปฏิบัติเพื่อชวยในการฝกฝน เพื่อประโยชนในการชวยใหการปฏิบัติงานประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมาย ทั้งยังชวยในการประหยัดทรัพยากร ประหยัดเวลา และบุคลากร ตลอดจนผลงานมีคุณภาพตามเปาหมาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 46: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

37

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

จากการศึกษาการพัฒนาคูมือการทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ซึ่งผูวิจัยไดศึกษางานวิจัยที่ใกลเคียงเกี่ยวกับการพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนได ดังนี้

งานวิจัยในประเทศโกศล ศรีขาว. (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษารูปแบบที่มีประสิทธิภาพ

ในการพัฒนาครูเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนในโรงเรียน สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดพังงา ผลการวิจัย พบวา ครูที่ไดรับการพัฒนามีความรูความเขาใจเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียนกอนและหลังการอบรม เชิงปฏิบัติการและการศึกษาเอกสารดวยตนเองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการพัฒนา อยูในระดับดีมาก กอนการพัฒนาอยูในระดับปรับปรุงซึ่งไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ครูที่ไดรับการพัฒนาประเมินคุณภาพสื่อเอกสารที่ใชประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ และการศึกษาเอกสารดวยตนเองเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน โดยภาพรวมมีคุณภาพในระดับดี รูปแบบการพัฒนาครูเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการและการศึกษาเอกสารดวยตนเอง พบวา ทั้งสองรูปแบบมีประสิทธิภาพอยูในระดับดี และไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ครูที่ไดรับการพัฒนามีความรูสึกพึงพอใจตอคุณภาพและประโยชนจากการอบรม เชิงปฏิบัติการและศึกษาเอกสารดวยตนเอง เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนรอยละ 100

จุรีรัตน หลีกภัย. (2550 : 57) ไดศึกษาการพัฒนาคูมือฝกอบรมครู เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนสําหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อําเภอกะเปอร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดระนอง เพื่อศึกษาความตองการในการพัฒนาตนเองของครูในเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน จากครูผูสอนที่ไมเคยผาน การอบรมเรื่องการทําวิจัยในชั้นเรียน จํานวน 30 คน พบวา ครูผูสอนที่ยังไมเคยผานการอบรม เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนมีความรูความเขาใจเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับปานกลาง และ มีความตองการในการพัฒนาตนเองในเรื่องการทําวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมาก และการใชคูมือ การฝกอบรมการทําวิจัยในชั้นเรียนสงผลใหครูมีความรูความสามารถในการทําวิจัยในชั้นเรียนสูงขึ้นกวากอนใชคูมือ

เทวี พรหมมินตะ. (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการเสริมพลังอํานาจครูโดยการพัฒนาความสามารถดานการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตามแนวคิดความรวมมือ : การออกแบบดวยวิธีผสมผสาน เพื่อสํารวจสภาพการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูสังกัดสํานักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร ดวยวิธีการสํารวจจากการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นตามสัดสวนประชากร จําแนกตามกลุมเขตพื้นที่ จํานวน 778 คน ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางมีประสบการณในการทําวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 47: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

38

รอยละ 66.84 และครูมีความตองการฝกอบรมโดยกระบวนการเสริมพลังอํานาจครูดวยวิธีการบรรยายใหความรู และการสนับสนุนสงเสริมชวยเหลือในการทําวิจัยในชั้นเรียน รอยละ 56.57 ผลการวิจัยจากกรณีศึกษา พบวา หลังการเสริมพลังอํานาจครูในโรงเรียนที่เปนกรณีศึกษาทําวิจัยมากกวา รอยละ 50 ในแตละโรงเรียนมีการทําวิจัยแบบไมเปนทางการมากกวารอยละ 60 และลักษณะการทําวิจัยเปนรายบุคคลมากกวารอยละ 70

นันทวัน สวัสดิ์ภูมิ. (2540 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องเสนทางการพัฒนาครูนักวิจัย : การวิจัยรายกรณีของครูดีเดนระดับประถมศึกษา พบวา เสนทางการพัฒนาครูมาสูการเปนครู นักวิจัยของกรณีศึกษา เริ่มจากคุณลักษณะสวนตัวที่เปนคนชอบใฝหาความรู ชางคิด ชอบอาน ชอบเขียนและรักธรรมชาติ ลักษณะดังกลาวพัฒนาการเรียนรูจากการปฏิบัติงานในลักษณะของการสังเกต วิเคราะห สังเคราะห และสั่งสมประสบการณชีวิต และการทํางานอยางบูรณาการในหนาที่ ครูที่รักเด็กและปรารถนาที่จะชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก สงผลใหเกิดกระบวนการพัฒนามาสูการเปนครูนักวิจัย ปญหาการวิจัยมาจากปญหาของนักเรียน โดยครูมองเห็นโอกาสของการเรียนรู คือ มโนทัศน ประโยชนจากการวิจัยคือ การพัฒนานักเรียน พัฒนาตนเองใหสามารถพัฒนาการสอนนักเรียน ไดถูกตองและสรางสรรคยิ่งขึ้น

นวลจันทร รัตนพร. (2550 : 118) ไดศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการสรางพลังชุมชนเพื่อพัฒนาสถานีอนามัยตามโครงการสถานที่ทํางานนาอยูนาทํางาน สําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข พบวา เจาหนาที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานจริงในสถานีอนามัยและสํานักงานสาธารณสุข อําเภอ ทาแซะ จังหวัดชุมพร มีคะแนนวัดเจตคติหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการวัดเจตคติ กอนอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ปทุมมาศ นนทประเสริฐ. (2544 : 112) ไดศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรอบรมเรื่องการบริหารจัดการโครงการสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับครูผูสอนระดับมัธยมศึกษา พบวา ครูที่ผานการอบรมมีความรูความเขาใจเพิ่มสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ประภารัต มีเหลือ. (2540 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเกี่ยวกับสมรรถภาพของครูนักวิจัยจากกลุมตัวอยางขาราชการที่มีตําแหนงอาจารย 3 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ จํานวน 348 คน พบวา สมรรถภาพที่ครูนักวิจัยใหความสําคัญและมีความจําเปนมากที่สุด 10 รายการเรียงตามลําดับ คือ มีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนอยางกวางขวางและลึกซึ้ง มีความรูความเขาใจ ในเรื่องหลักสูตร สามารถวิเคราะหวินิจฉัยปญหาและความตองการที่แทจริงของนักเรียน มีความซื่อสัตยและซื่อตรงในทางวิชาการ เปนนักอาน มีความละเอียดรอบคอบ ทํางานเปนระบบ มีใจกวางรับฟงและเคารพความคิดทางวิชาการของผูอื่น ศึกษาเอกสารตําราและสื่อตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวิชาชีพครูอยูเสมอ มีความคิดอิสระริเริ่มและสรางสรรค มีศรัทธาตอการวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 48: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

39

ประสิทธิ์ ศักดิ์คําดวง. (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ความตองการพัฒนาการวิจัย ในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดรอยเอ็ด พบวา ความตองการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดรอยเอ็ด โดยภาพรวม อยูในระดับดีมากเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ครูผูสอนมีความตองการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมาก 2 ดาน คือ ดานเนื้อหาและดานวิธีการพัฒนา สวนดานระยะเวลาในการพัฒนามีความตองการอยูในระดับปานกลาง

เยาวภา เจริญบุญ. (2547 : บทคัดยอ) ไดศึกษาองคประกอบที่สัมพันธกับการทําวิจัย ในชั้นเรียนของครูมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร พบวา สาเหตุที่ทําใหครูผูสอนทําวิจัยในชั้นเรียน ไดแก ความตองการในการหาวิธีสอนที่ทําใหนักเรียนสนใจ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นเพื่อปญหาและชวยเหลือนักเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับการเรียน เพื่อทําผลงาน การใหการสนับสนุนของผูบริหารในการทําวิจัยในชั้นเรียน

ลัดดา กองคํา. (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาสภาพการวิจัยชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ พบวา โรงเรียนมีปญหาเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน อยูในระดับกลาง แตพบวา มีปญหาในระดับมาก 2 อันดับแรก คือ เรื่องการดําเนินการวิจัย วัสดุ อุปกรณและแหลงขอมูลสําหรับการวิจัย โรงเรียนมีความตองการอยูในระดับมาก โดยเฉพาะเรื่องการดําเนินการวิจัย งบประมาณและวัสดุอุปกรณ และแหลงขอมูลสําหรับการวิจัย ดานผูบริหาร พบวา ผูบริหารมีบทบาทตอการสงเสริมการวิจัยในชั้นเรียนในระดับปานกลาง โดยเฉพาะดาน ความรับผิดชอบตอครูผูทําวิจัยในชั้นเรียน ดานบุคลากรที่เกี่ยวของพบวาครูสวนมากมีการเรียนรูเกี่ยวกับงานวิจัยจากการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และผูบริหารใหการสนับสนุนในการทําวิจัย ในชั้นเรียน โดยการใหขวัญกําลังใจ

วารุณี โพธิ์บุตรดี. (2547 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการใชผลการวิจัยและผลกระทบจาก การทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยเพื่อศึกษาการใชผลจากการวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยศึกษาผลกระทบจากการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัย และเปรียบเทียบการใชผลการวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยที่มีภูมิหลังตางกัน พบวา บุคลากรในโรงเรียนที่มีสวนเกี่ยวของกับการใชผลการวิจัยในชั้นเรียนประกอบดวย 3 กลุม คือ ครูนักวิจัย และผูบริหารโรงเรียนโดยใชผลการวิจัยในชั้นเรียนในเชิงความคิดมากกวาเชิงปฏิบัติ ซึ่งครูนักวิจัยที่มีภูมิหลังตางกันมีการใชผลการวิจัยในชั้นเรียน ในเชิงความคิดที่แตกตางกัน คือ ครูนักวิจัยที่มีประสบการณในการทําวิจัยในชั้นเรียนมากกวา 3 เรื่อง มีการใชผลการวิจัยในชั้นเรียนสูงกวาครูนักวิจัยที่ทําวิจัยในชั้นเรียน 2 - 3 เรื่อง และการทําวิจัย ในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติสงผลกระทบ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 49: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

40

ทางบวกตอนักเรียน ครูนักวิจัย เพื่อนรวมงานและโรงเรียน สูงกวาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546 : ยอคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การสรางชุดพัฒนาตนเองเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งมีโครงสรางของชุดพัฒนาตนเอง ประกอบดวย ชื่อหนวยการเรียน หัวขอเนื้อหา แนวคิด วัตถุประสงค เอกสารอางอิง แบบประเมินตนเอง แบบทดสอบทายชุดพัฒนาตนเองและ ชุดพัฒนาเพื่อซอมเสริม ผลการวิจัย พบวา ผลการทดลองหาประสิทธิภาพชุดพัฒนาตนเอง 3 ครั้ง โดยใชกลุมประชากรซึ่งเปนครูประจําการ จํานวน 2 คน และ 30 คน ตามลําดับ พบวา ชุดพัฒนาตนเองมีประสิทธิภาพ 68.18/71.00,77.92/81.50 และ 80.30/80.80 ตามลําดับ ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา คะแนนหลังการศึกษาชุดพัฒนาตนเองสูงกวาคะแนนกอนการศึกษาชุดพัฒนาตนเองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

วีรพล ฉลาดแยม. (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนของครูประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลําภู พบวา ครูมีความรูและทักษะในการทําวิจัยในระดับนอย แตครูคิดวาตนเองมีลักษณะของนักวิจัยอยูในระดับมาก และมีปญหา ในการทําวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับการขาดหลักความรูเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน ขาดแหลงคนควาขาดงบประมาณ วัสดุสนับสนุนการวิจัยและผูเชี่ยวชาญใหคําปรึกษาอยูในระดับมาก แตมีความตองการในการทําวิจัยในชั้นเรียน

สกาวรัตน ชุมเชย. (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เพื่อศึกษาถึงสภาพปจจุบัน ปญหา ความตองการและแนวทางการทําวิจัยปฏิบัติการและนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับครูประถมศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน วิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช ประกอบดวย การศึกษาเอกสารและสื่อวีดีทัศน การสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ และการศึกษาภาคสนาม จากกรณีศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา 3 แหง พบวา การทําวิจัยปฏิบัติการมีทั้งแบบทําคนเดียว และทําเปนทีม ทั้งภายในโรงเรียนและกับบุคคลภายนอกโรงเรียน วิธีการวิจัยที่ครูใช คือ การสํารวจ การศึกษารายกรณี การวิจัยแบบกึ่งทดลองและการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรม ปญหาในการทําวิจัย คือ ครูยังขาดความรู ความเขาใจและ การชวยเหลือจากหนวยงาน ครูมองการวิจัยเปนเรื่องยาก ไมมีเวลาและภาระงานครูมากครูตองการสนับสนุนดานการอบรม ตัวอยางผลงาน การสนับสนุนปจจัยตาง ๆ และรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

สายศิลป สายืน. (2544 : บทคัดยอ) ทําการศึกษาเรื่อง ปจจัยที่เอื้อตอการวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดหนองบัวลําภู พบวา โดยภาพรวมปจจัยที่เอื้อตอการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมาก ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องวัสดุอุปกรณและแหลงวิชาการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 50: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

41

บุคลากรที่เกี่ยวของกับการทําวิจัย ทักษะในการวิจัย งบประมาณ คุณสมบัติผูวิจัยและความรูเกี่ยวกับการวิจัย สวนสภาพการวิจัยโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ไดแก สงเสริมใหครูที่มีผลงาน การวิจัยในชั้นเรียนเผยแพรผลงานการวิจัยใหเปนประโยชนแกครูทั่วไป ผูบริหารสนับสนุนเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนและสงเสริมใหครูที่มีผลการวิจัยสงผลงานเพื่อขอเลื่อนตําแหนง

สงสุข ไพละออ. (2547 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีตอการพัฒนาความรูและกระบวนการทํางานของครูประถมศึกษา : การผสมวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อสํารวจเปรียบเทียบสภาพความรู และกระบวนการทํางานของครูที่มีประสบการณในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตางกัน และศึกษาผลการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีตอ การพัฒนาความรูและกระบวนการทํางานของครูในสังกัดสํานักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร จํานวน 400 คน พบวา ครูสวนใหญมีความรูในกระบวนการทําวิจัยปฏิบัติการคอนขางต่ํา โดยที่ครูที่มีประสบการณในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมากมีความรู มีระดับการปฏิบัติในกระบวนการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนสูงกวาครูที่มีประสบการณนอยกวา และการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูทําใหเกิดกระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีระบบมากขึ้น สงผลใหครูเกิดการสรางลักษณะนิสัยการทํางานอยางมีระบบ อันกอใหเกิดผลตอการพัฒนาความรูของครู

โสภิดา พัฒนาภรณ. (2540 : 87) ไดศึกษาเกี่ยวกับการสรางและทดลองใชหลักสูตรอบรมสิ่งแวดลอมศึกษาเรื่อง การอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเลสําหรับครูมัธยมศึกษาตอนตน พบวา คะแนนวัดเจตคติหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการวัดเจตคติกอนอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากการวิจัยในประเทศที่เกี่ยวของและใกลเคียงกับการใชคูมือการทําวิจัยในชั้นเรียนและปจจัยที่สงผลตอการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนดังกลาวขางตน พอจะสรุปไดวา สภาพการทําวิจัยของครูผูสอนโดยภาพรวมมีปญหาเกี่ยวกับขาดความรู ความเขาใจในการดําเนินการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัยและขาดแหลงสําหรับศึกษาคนควา การจัดทําคูมือสําหรับเปนแนวทางใหกับครูผูสอนเปนวิธีการหนึ่งในการพัฒนาครูใหมีความรูความเขาใจและสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนไดอยางถูกวิธี การดําเนินงานวิจัยในชั้นเรียนตามขั้นตอนที่มีรายละเอียดอธิบายชัดเจนในคูมือสามารถสรางแรงจูงใจใหครูผูสอนสนใจศึกษาหาความรูอยางจริงจังเนื่องจากเปนการเรียนรูตามลําดับขั้นตอน และ การพัฒนาความรูความเขาใจดวยการศึกษาอบรมตรงตามสภาพที่เปนจริงและความตองการของครูผูสอนทําใหครูผูสอนมีความรูความเขาใจสูงขึ้น และมีเจตคติที่ดีตอการปฏิบัติงานนั้น ๆ

สุพัฒน มีสกุล. (2546 : บทคัดยอ) ไดทําวิจัยเรื่องกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการทําวิจัยชั้นเรียน โรงเรียนคลองลานวิทยา จังหวัดกําแพงเพชร พบวา จากการสนทนากลุม พบวา ครูขาดความรูในการทําวิจัย มีเวลาในการทําวิจัยนอยเกินไป ไมมีที่ปรึกษา ผลการพัฒนา ศักยภาพของครู พบวา สามารถเขียนรายงานอยูในระดับดี 3 คน อีก 2 คนอยูในระดับพอใช

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 51: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

42

นงคราญ ยันตทองอยู. (2549 : บทคัดยอ) ไดทําวิจัยเรื่อง ความพรอมในการทําวิจัย ในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอสารภี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม เขต 4 ประชากรที่ใชในการศึกษาคือ ครูในโรงเรียนประถมศึกษา อําเภอสารภี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม เขต 4 ในปการศึกษา 2548 จาก 18 โรงเรียนจํานวน 208 คน พบวา 1) ความพรอมดานตัวครู โดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีความพรอมในเรื่องการเห็นคุณคาและประโยชน ในการทําวิจัย และความสนใจตอการทําวิจัยอยูในระดับมาก 2) ความพรอมดานองคประกอบพื้นฐานในการวิจัยในชั้นเรียน โดยรวมอยูในระดับปานกลาง แตความพรอมในเรื่อง การหาเงินงบประมาณสําหรับใชในการทําวิจัย อยูในระดับนอย 3) ความพรอมดานการสงเสริมใหครูทําวิจัยในชั้นเรียนโดยรวมอยูในระดับปานกลาง สวนดานนโยบายในการทําวิจัยของโรงเรียน อยูในระดับมาก แตดานการสนับสนุนงบประมาณในการวิจัยอยูในระดับนอย ครูมีความคิดเห็นที่ดีตอการวิจัย ในชั้นเรียนเพราะสามารถนํามาใชพัฒนาการจัด การเรียนการสอนและปรับพฤติกรรมของนักเรียนไดแตครูยังขาดปจจัยพื้นฐานในการทําวิจัยในชั้นเรียน กลาวคือ งบประมาณ ผูใหคําปรึกษา

ดุสิต จันทรผง. (บทคัดยอ : 2548) ไดทําวิจัยเรื่องบทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1 พบวา ครูสอนสวนใหญเห็นวาผูบริหารใหความสําคัญของการทําวิจัยในชั้นเรียนแตไมไดเชิญวิทยากร ในการใหความรูในการทําวิจัยใหครูพัฒนาสื่อและอุปกรณแตไมไดจัดใหมีการจัดทําศูนยสารสนเทศการทําวิจัยในชั้นเรียน

ปยะทิพย บุญหนัก. (2548 : บทคัดยอ) ไดศึกษาปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนสังคมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษา กาญจนบุรี เขต 1 จํานวน 58 คนเครื่องมือในการศึกษา คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปญหาดานการทําวิจัย ในชั้นเรียนทางดานความรูทางดานเวลา ทางดานเครื่องมือวัสดุอุปกรณ ทางดานการสนับสนุนจากผูบริหาร ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ คือ 1) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานความรู พบวา มีปญหามากที่สุด คือ ความรู เกี่ยวกับสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 2) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานเวลา พบวา มีปญหามากที่สุด คือ ภาระหนาที่สวนตัวเปนอุปสรรคตอการดําเนินงานวิจัยในชั้นเรียน 3) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานเครื่องมือวัสดุอุปกรณ พบวา มีปญหา มากที่สุดคือ การใหบริการของโรงเรียนดานการพิมพเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยในชั้นเรียน 4) ปญหาดานการทําวิจัย ในชั้นเรียนทางดานการสนับสนุนจากผูบริหาร พบวา มีปญหามากที่สุด คือ ความตองการในดานการสงเสริมสนับสนุนจากผูบริหาร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 52: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

43

จินดารัตน ทาริน. (2548 : บทคัดยอ) ไดศึกษาปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหาดานการทําวิจัย ในชั้นเรียนของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลําปาง ประชากรที่ใชในการศึกษาคือครูที่สอนสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลําปางปการศึกษา2547 รวม 6 โรงเรียน เปนจํานวน 40 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนพบวา ปญหาที่มากที่สุดคือ ดานการศึกษาและเอกสารอางอิง ที่เกี่ยวของในการทําวิจัยชั้นเรียนรองลงไปคือปญหาดานความเขาใจในการสรุปและแปลผล ในการทําวิจัยในชั้นเรียน

รัตนาภรณ วรรณคํา. (2549 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาสภาพการวิจัยในชั้นเรียนตลอดจนปญหาและความตองการของครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหมประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอไชยปราการจังหวัดเชียงใหม ปการศึกษา 2548 จํานวน 201 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ แบบสอบถาม พบวา ปญหาที่พบในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูพบปญหาเกี่ยวกับ กระบวนการทําวิจัยในชั้นเรียนบุคลากรที่เกี่ยวของที่เปนผูบริหารและบุคคลที่มีสวนรวม งบประมาณ วัสดุอุปกรณ แหลงขอมูลการเลือกหัวขอหรือปญหา สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ความตองการในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูมีความตองการจัดตารางการเรียนการสอนและภาระงานที่พอเหมาะแกบุคลากรจัดทําศูนยวิจัย ในชั้นเรียน รวมทั้งจัดการอบรมและใหความรูในการทําวิจัยในชั้นเรียน โดยจัดบุคลากรใหคําแนะนําสงเสริมใหครูผูสอนเห็นความสําคัญของการทําวิจัยในชั้นเรียน รวมทั้งความรวมมือจากผูที่เกี่ยวของพรอมทั้งจัดงบประมาณ เงินทุน เงินรางวัล และคาตอบแทนจัดหาเอกสาร ตําราทางวิชาการ วัสดุอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวก และจัดอบรมเกี่ยวกับการใชวัสดุอุปกรณ

ผกามาศ หอมกอ. (2551 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาคูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงายสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กเครือขายนาสาร อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา คูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงายมีความเหมาะสมกับสภาพปญหาและความตองการของครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กเครือขายนาสาร โดยมีคาเฉลี่ยของความเหมาะสมตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญเทากับ 4.06 และดัชนีความสอดคลองของเนื้อหาตรวจโดยผูเชี่ยวชาญเทากับ 0.82 คาเฉลี่ยความรูและคาเฉลี่ยเจตคติหลังการศึกษาคูมือเพิ่มสูงขึ้นมากกวากอนการศึกษาคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 53: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

44

งานวิจัยตางประเทศAuger and Wideman. (2000) ไดศึกษาการเปดโลกการใชวิจัยปฏิบัติการเพื่อการเรียนรู

อยางเชี่ยวชาญตลอดชีวิต เพื่อสํารวจศักยภาพของการวิจัยปฏิบัติการในหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาตรีของครู โดยการสํารวจทางออมและทางตรง และศึกษาเปนรายบุคคลจากการทําวิจัยปฏิบัติการโดยการฝกสอนจาก 42 สัปดาหทําการวิจัยเพียง 13 สัปดาห พบวา หลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาตรีควรมีการทําวิจัยปฏิบัติการเพราะจะทําใหเพิ่มความเชี่ยวชาญและเพิ่มความสามารถทางการศึกษา

Kenneth. (1992) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนาครูนักวิจัยในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ของรัฐเพนซิลวาเนียตอนเหนือ พบวา มีบทสรุปเกี่ยวกับการวิจัยของครูทั้งหมด 6 ขอใหญ ๆ แตขอสรุปที่ 3 - 6 สะทอนถึงความคิดของผูเขารวมในประเด็นการวิจัยของครูถึงขั้นตอนการพัฒนาบุคลากร ดังนี้ ขอสรุปที่ 3 การสนับสนุนใหความรวมมือจากฝายบริหารมีความสําคัญยิ่งตอ ความพยายามทําวิจัยของครู ขอสรุปที่ 4 การวิจัยเปนเครื่องมือพัฒนาวิชาชีพที่ไดผล ขอสรุปที่ 5 อุปสรรคเดน ๆ ที่เปนอุปสรรคตองานวิจัยของครู คือ เวลาและทัศนคติ ขอสรุปที่ 6 มีความเปนไปไดในการสงเสริมการวิจัยของครูในโรงเรียนของรัฐเพนซิลวาเนียเพื่อพัฒนาบุคลากร แตครูตองทําวิจัยดวยความสมัครใจ ทําเปนระบบและรวมมือรวมใจกัน

Smulyan. (1988) ไดทําการวิจัยเรื่อง The Collaboration Process in Action Research โดยทําการศึกษากระบวนการรวมมือกันของทีมวิจัย ซึ่งประกอบดวย ครู 5 คน และนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย 2 คน โดยมีการพบปะกันทุกอาทิตยในชวง 2 ป ในปแรกมีการสํารวจขอมูลเบื้องตนเพื่อรวมกันกําหนดปญหา ปที่ 2 ตั้งวัตถุประสงคซึ่ง พวกเขาตระหนักวาวัตถุประสงคของการวิจัยไมใชการเปลี่ยนแปลงโรงเรียน แตเปนการพัฒนาบุคลากรและพัฒนาโรงเรียน ผลการวิจัย พบวา แมขอคนพบที่ไดจะเปนเพียงสวนหนึ่งของการปฏิบัติของกลุมเล็ก ๆ แตครูทั้ง 5 คนก็พบวา ในชวงปนี้พวกเขามีความรูสึกที่ดีตอตนเองและวิชาชีพ มีความเขาใจในระเบียบวิธีวิจัย มีทักษะในการ ทําวิจัยมากขึ้น และพรอมที่จะทําวิจัยในโอกาสตอไป

Tumer. (1992) ไดศึกษาวิจัยเรื่องครูผูสอนภาษาอังกฤษจะทําการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนไดอยางไร พบวา ครูมักใชประสบการณของตนเองในการแนะนําการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ซึ่งครูเหลานั้นจะดูเหมือนรูเรื่องราวการวิจัยในชั้นเรียนดานการฝกปฏิบัติของตนและมีสวนหนึ่ง ที่ไมคุนเคยกับเนื้อหาในงานครูในชั้นเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งการรายงานการปฏิบัติในชั้นเรียนที่มีนักเรียนมากกวา 30 คนขึ้นไป การควบคุมดูแลพฤติกรรมของนักเรียนคอนขางยากดูแลไดไมทั่วถึง และสิ่งสําคัญคือขาดการสนับสนุนจากผูบริหารอีกดวย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 54: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

45

Waworuntu. (1986 : 122) ไดทําวิจัยเรื่อง ภาคเรียนสําหรับการวิจัยในชั้นเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษที่สรางขึ้นใหมดวยเทคโนโลยี จากการศึกษาครูไดอธิบายถึงประสบการณเกี่ยวกับการดําเนินการวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีในการสอนในชั้นเรียนดวยความชวยเหลือของนักเรียน ครูสามารถสรางสรรคขั้นตอนที่ใหประโยชนมากที่สุดในการใชเทคโนโลยีสอนภาษาอังกฤษ

จากงานวิจัยตางประเทศที่เกี่ยวของสรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียนมีบทบาทที่สําคัญยิ่ง ในการพัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน และการปรับปรุงแกไขพฤติกรรมของผูเรียนทั้งในดานการเรียนและดานอื่น ๆ ครูผูสอนจึงตองปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนและใชการวิจัยในชั้นเรียนควบคูไปกับการเรียนการสอน โดยการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมและทําวิจัยในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง เพื่อศึกษาสภาพปญหาและความตองการของผูเรียน นํามาวางแผนแกปญหาตาง ๆ ในชั้นเรียน เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนประสบผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพตอไป

จากการศึกษางานวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศพอจะสรุปไดวา ไดมีผูที่ศึกษา การพัฒนาครูผูสอนเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนในแนวที่คลายกับการพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กที่ผูวิจัยไดสรางและพัฒนาขึ้น ดังนี้

จุรีรัตน หลีกภัย. (2550 : บทคัดยอ) ศึกษาการพัฒนาคูมือฝกอบรมเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อศึกษาความตองการในการพัฒนาตนเองของครูในเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน จํานวน 30 คน พบวาครูผูสอนที่ยังไมเคยผานการอบรมเร่ืองการวิจัยในชั้นเรียนมีความรูความเขาใจเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับปานกลาง และมีความตองการในการพัฒนาตนเองเรื่องการทําวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมากและการใชคูมือการฝกอบรมการทําวิจัยในชั้นเรียนสงผลใหครูมีความรูความสามารถ ในการทําวิจัยในชั้นเรียนสูงขึ้นกวากอนใชคูมือ

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การสรางชุดพัฒนาตนเองเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียนผลการวิจัย พบวา ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนหลังการศึกษาชุดพัฒนาตนเองสูงกวาคะแนนกอนการศึกษาชุดพัฒนาตนเองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สกาวรัตน ชุมเชย. (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานเพื่อศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาความตองการและแนวทางการทําวิจัยปฏิบัติการ และนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับครูประถมศึกษา โดยใชโรงเรียนเปนฐาน พบวา การทําวิจัยปฏิบัติการของครูผูสอนใชวิธีการสํารวจ การศึกษารายกรณีการวิจัยแบบกึ่งทดลองและการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรม ปญหาในการทําวิจัย คือ ครูยังขาดความรู ความเขาใจ และการชวยเหลือจากหนวยงาน ครูมองการวิจัยเปนเรื่องยาก ไมมีเวลาและภาระงาน ครูมาก ครูตองการการสนับสนุนดานการอบรม ตัวอยางผลงานและรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 55: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ครั้งนี้ เปนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคในการวิจัย ผูวิจัยจึงไดกําหนดขั้นตอนในการวิจัยไว 2 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 พัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) โดยผูวิจัยไดดําเนินการ 3 ขั้นตอนยอย คือ

1) ศึกษาขอมูลพื้นฐาน2) การสรางโครงรางคูมือ3) ตรวจโครงรางคูมือโดยอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ

ขั้นที่ 2 หาคุณภาพคูมือในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ขั้นตอนนี้เปนการทดลองหาคุณภาพของคูมือ ซึ่งทดลองปฏิบัติการกับกลุมเปาหมายและนําขอมูลจากการประเมินผลมาปรับปรุงแกไข เพื่อใหไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่สมบูรณ โดยผูวิจัยไดดําเนินการ 2 ขั้นตอนยอย ดังนี้

1) สรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติ2) ทดลองหาคุณภาพคูมือ

การดําเนินการวิจัยทั้ง 2 ขั้นตอน สามารถสรุปไดดังภาพที่ 3.1 - 3.2Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 56: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

47

ขั้นท่ี 1 พัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนในการวิจัยขั้นที่ 1

ศึกษาขอมูลพื้นฐาน1. วิธีการ สัมภาษณ ครูผูสอนโดยตรง2. เครื่องมือ ขอคําถาม3. วิเคราะหขอมูล รวบรวมขอมูลสภาพปญหา

และความตองการ สังเคราะหแนวทาง การทําวิจัยในชั้นเรียน

ขอมูลพื้นฐานในการสรางโครงรางคูมือ

การสรางโครงรางคูมือ1. วิธีการ ศึกษาเอกสารวิชาการ แนวคิดทฤษฎี

และงานวิจัยที่เกี่ยวของ2. เครื่องมือ บันทึกความรูจากการศึกษา3. วิเคราะหขอมูล สังเคราะหความรูมากําหนด

องคประกอบของคูมือ

การตรวจสอบโครงรางคูมือ1. วิธีการ ตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน2. เครื่องมือ แบบประเมิน3. สถิติที่ใช คาเฉลี่ย และคา IOC

โครงรางคูมือ1. กําหนดสภาพปญหา2. กําหนดวัตถุประสงคของคูมือ3. กําหนดองคประกอบเนื้อหา

สาระ

คูมือที่ผานการตรวจสอบเบื้องตนโดยอาจารยที่ปรึกษา

และผูเชี่ยวชาญ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 57: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

48

ขั้นที่ 2 หาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ภาพที่ 3.2 ขั้นตอนในการวิจัยขั้นที่ 2

ขั้นที่ 1 พัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

การดําเนินการวิจัยในขั้นตอนนี้เปนการดําเนินการตามวัตถุประสงคการวิจัยขอที่ 1 ซึ่งกําหนดไววา “เพื่อสรางและพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)” ในขั้นนี้ผูวิจัยไดดําเนินการ 3 ขั้นตอนยอย คือ

1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน2. การสรางโครงรางคูมือ3. ตรวจโครงรางคูมือโดยอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ

การสรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติ1. หาความเหมาะสมโดยผูเชี่ยวชาญ2. หาความเชื่อมั่น

2.1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ KR - 202.2 แบบวัดเจตคติ KR - 212.3 กลุมทดลองครูผูสอน 10 คน

1. แบบวัดผลสัมฤทธิ์2. แบบวัดเจตคติ

ทดลองใชคูมือ1. ประชากร ไดแกครูผูสอนจํานวน 56 คน2. กลุมตัวอยางไดแก ครูผูสอนจํานวน 20 คน ไดจาก

การสุมแบบบังเอิญแลวทําการรับสมัคร3. วิธีการทดลอง กลุมเดียววัดผล 2 ครั้ง4. สถิติที่ใช เปรียบเทียบคาที

ผลการเปรียบเทียบ ความรู เจตคติ กอนและ

หลังการทดลอง

คุณภาพของคูมือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 58: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

49

ศึกษาขอมูลพื้นฐาน1. ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร

สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จากการพูดคุยสัมภาษณแบบไมมีโครงสรางกับครูผูสอนโดยตรงในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ไดขอมูลพอสรุปไดคือ ครูผูสอนยังขาดความรูความเขาใจอยางถองแท ขาดการนิเทศชวยเหลือจากสถานศึกษาและหนวยงานตนสังกัดครูผูสอนตองการเอกสารหรือตําราที่สามารถศึกษาดวยตนเองในการทําวิจัยในชั้นเรียน และมีความตองการทําวิจัยชั้นเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนในชั้นเรียนอยางแทจริง

2. สังเคราะหแนวทางในการพัฒนาวิจัยเอกสาร แนวคิดทฤษฏี งานวิจัยที่เกี่ยวของและแนวทางการทําวิจัยในชั้นเรียนที่สอดคลองกับสภาพการจัดการเรียนการสอนที่แทจริงของครูผูสอนไดขอมูลพอสรุปไดคือ ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ครูผูสอนในแตละกลุมสาระการเรียนรู ครูผูสอนยังมีความคิดวาการทําวิจัยในชั้นเรียนตองทําแบบมีระเบียบแบบแผนที่เครงครัด เนื่องจากไดรับความรูเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนจาก การอบรมที่หนวยงานจัดขึ้นซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการดําเนินการวิจัยเชิงวิชาการ และการเขียนรายงาน 5 บท ซึ่งครูผูสอนสวนใหญมีพื้นฐานความรูระดับปริญญาตรี ขาดความรูเกี่ยวกับการรวบรวมขอมูลและสถิติในการวิเคราะหขอมูลทําใหครูผูสอนหยุดทําการวิจัยในชั้นเรียน ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับวิจัยในชั้นเรียนเชิงปฏิบัติการและแนวทางในการจัดทําคูมือวิจัยในชั้นเรียน แบบงายขึ้น

การสรางโครงรางคูมือขั้นนี้ผูวิจัยไดนําขอมูลจากการศึกษาเอกสาร แนวคิดทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของ และ

แนวทางการทําวิจัยในชั้นเรียนที่สอดคลองกับสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เปนจริงของครูผูสอนมากําหนดสวนประกอบ ดังนี้

1. กําหนดสภาพปญหา ความตองการ โดยพิจารณาขอมูลที่ไดจากการพูดคุยสัมภาษณโดยตรง เพื่อกําหนดขอบเขตของปญหาใชเปนแนวทางในการกําหนดวัตถุประสงคของคูมือใหสอดคลองกัน 2. กําหนดวัตถุประสงคของคูมือ โดยพิจารณาใหสอดคลองสภาพปญหาและ ความตองการ ซึ่งผูวิจัยคาดหวังวา เมื่อดําเนินการจนบรรลุวัตถุประสงคของคูมือแลว สามารถชวยใหครูผูสอนมีความรูความเขาใจ และมีเจตคติที่ดีตอการทําวิจัยในชั้นเรียน

3. กําหนดองคประกอบและเนื้อหาสาระของคูมือใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของคูมือผูวิจัยไดสังเคราะหความรูจากการศึกษาแนวคิดองคประกอบของคูมือของ ศักรินทร สุวรรณโรจน และคนอื่น ๆ (2535) และ เอกวุฒิ ไกรมาก (2541) มากําหนดองคประกอบของคูมือวิจัยในชั้นเรียนแบบงายได ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 59: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

50

3.1 คําชี้แจง กําหนดไวเพื่อที่จะทําความเขาใจเกี่ยวกับเนื้อหาสาระในคูมือวัตถุประสงคของคูมือ และแนวทางการใชคูมือดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน

3.2 ตอนที่ 1 แนวคิดในการทําวิจัยในชั้นเรียน ประกอบดวย เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความหมายการวิจัย ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการเรียนรู วิจัยในชั้นเรียน และวิจัยในชั้นเรียน

3.3 ตอนที่ 2 การดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน ประกอบดวย เนื้อหาสาระเกี่ยวกับขั้นตอนการทําวิจัยในชั้นเรียน

3.4 ตอนที่ 3 แบบฝกปฏิบัติดําเนินการวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนไดลงมือฝกปฏิบัติจากสภาพการจัดการเรียนการสอนจริง เพื่อใชแนวทางในการทําวิจัยในชั้นเรียนได ในโอกาสตอไปอยางตอเนื่อง

ตรวจโครงรางคูมือโดยอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญผูวิจัยดําเนินการตรวจสอบโครงรางคูมือโดยอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน

ซึ่งเปนผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทขึ้นไป มีประสบการณในการทํางานและมีผลงานดานการวัดผลประเมินผล ดานวิจัยในชั้นเรียน ดานภาษาไทย และดานบริหารการศึกษา ตรวจสอบ ความสมบูรณของคูมือที่ผูวิจัยสรางขึ้น โดยประเมินในดาน

1. ประเมินความเหมาะสมของโครงรางคูมือ เปนการพิจารณาสวนประกอบของคูมือ ในประเด็นปญหาและความตองการ จุดประสงคของคูมือ และเนื้อหาสาระ ในขั้นตอนนี้ผูวิจัยนําผลที่ไดจากการประเมินของผูเชี่ยวชาญมาวิเคราะหโดยใชคาเฉลี่ย นําคาคะแนนที่ไดจากคําตอบของผูเชี่ยวชาญแตละคนมาหาคาน้ําหนักเปนคะแนน ดังนี้

5 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด4 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมมาก3 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง2 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมนอย1 คะแนน หมายถึง มีความเหมาะสมนอยที่สุดการแปลความหมายคาเฉลี่ยน้ําหนักคะแนนแบงออกเปน 5 ระดับ (บุญชม

ศรีสะอาด. 2543 : 100) ดังนี้ 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมนอย 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมนอยที่สุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 60: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

51

ปรับปรุงแกไขโครงรางคูมือวิจัยในชั้นเรียน หลังจากผูเชี่ยวชาญไดตรวจสอบแลว โดยนําขอเสนอแนะในประเด็นตาง ๆ มาแกไขและปรับปรุง ซึ่งผูวิจัยไดคัดเลือกเนื้อหาสาระที่มีคาเฉลี่ยตั้งแต 3.51 ขึ้นไป (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 179) และปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญเพื่อใหไดคูมือในชั้นเรียนที่สมบูรณ

2. ประเมินความสอดคลองของโครงรางคูมือ เปนการพิจารณาสวนประกอบของเนื้อหาสาระในคูมือในดานความสอดคลอง ระหวางจุดประสงคของคูมือกับเนื้อหาสาระในแตละตอนวามีความสอดคลองกันหรือไมเพียงใด จากการหาคา IOC ซึ่งพิจารณาจากคะแนนของผูเชี่ยวชาญโดยการตรวจเปนลักษณะการพิจารณา 3 ประเด็น คือ เห็นดวย = 1 ไมเห็นดวย = -1 และไมแนใจ = 0 คา IOC ที่ไดตอง 0.5 ขึ้นไป จึงจะใชได (พิสณุ ฟองศรี. 2550 : 310)

ประเมินคุณภาพดานความเหมาะสมของโครงรางคูมือทําวิจัยในชั้นเรียน เปนการพิจารณาความเหมาะสมของรูปแบบและองคประกอบของโครงรางคูมือ ความเหมาะสมของจุดประสงคในคูมือ ความเหมาะสมของเนื้อหากับจุดประสงค ความเหมาะของเนื้อหากับสภาพปญหาและความตองการ ความเหมาะสมของแบบฝก และความเหมาะสมในการใชภาษาโดยหาคาจากสูตร (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 163)

คาเฉลี่ย = nx

เมื่อ x = ผลรวมของคะแนนผูเชี่ยวชาญทุกคน n = จํานวนผูเชี่ยวชาญ

ระดับความเหมาะสมของโครงรางคูมือดังแสดงในตารางที่ 3.1Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 61: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

52

ตารางที่ 3.1 ระดับความเหมาะสมของโครงรางคูมือ โดยผูเชี่ยวชาญ

ประเด็นความเหมาะสมระดับ

ความเหมาะสมขอเสนอแนะ

ของผูเชี่ยวชาญ1. รูปแบบและองคประกอบของคูมือ2. คําชี้แจง3. จุดประสงคในคูมือ 3.1 จุดประสงคขอที่ 1 3.2 จุดประสงคขอที่ 24. ความเหมาะสมของเนื้อหากับจุดประสงค 4.1 เนื้อหาตอนที่ 1 4.2 เนื้อหาตอนที่ 2 4.3 เนื้อหาตอนที่ 35. ความเหมาะสมของเนื้อหา 5.1 เนื้อหาตอนที่ 1 5.2 เนื้อหาตอนที่ 2 5.3 เนื้อหาตอนที่ 36. ความเหมาะสมของแบบฝก 6.1 แบบฝกที่ 1 6.2 แบบฝกที่ 2 6.3 แบบฝกที่ 3 6.4 แบบฝกที่ 4 6.5 แบบฝกที่ 57. ความเหมาะสมในการใชภาษา 7.1 เนื้อหาตอนที่ 1 7.2 เนื้อหาตอนที่ 2 7.3 เนื้อหาตอนที่ 3

มากมาก

มากมาก

มากมากมาก

มากมากมาก

มากมากมากมากมาก

มากมากมาก

ควรปรับการใชภาษาบางคํา ใหผูอานสามารถสื่อความหมาย ไดงายขึ้น

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 62: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

53

จากตารางที่ 3.1 พบวา ระดับคุณภาพของโครงรางคูมือดานความเหมาะสมประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ 5 คน โดยภาพรวมผูเชี่ยวชาญมีความเห็นวาเหมาะสมในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละประเด็น พบวา รูปแบบและองคประกอบ คําชี้แจง จุดประสงค ความเหมาะสมของเนื้อหากับจุดประสงค ความเหมาะสมของเนื้อหากับสภาพปญหาและความตองการ ความเหมาะสมของ แบบฝกและการใชภาษาของโครงรางคูมือ มีความเหมาะสมในระดับมาก และไดปรับการใชภาษาตามใน โครงรางคูมือตามคําแนะนําผูเชี่ยวชาญ

3. ประเมินคุณภาพโครงรางคูมือดานความสอดคลองกับจุดประสงคและเนื้อหาสภาพปญหาและความตองการ และประโยชนในการนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานของครูผูสอน พบวา ระดับคุณภาพความสอดคลองของโครงรางคูมือประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ 5 คน โดยภาพรวมผูเชี่ยวชาญเห็นดวยวามีความสอดคลอง มีคา IOC มากกวา 0.5 และเมื่อพิจารณาในแตละประเด็น พบวา จุดประสงคกับเนื้อหา เนื้อหากับสภาพปญหาและความตองการ และประโยชนและการนําไป ใชในการปฏิบัติงานมีความสอดคลองกัน โดยหาคาจากสูตร (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 179)

IOC = nR

เมื่อ R = ผลรวมของคะแนนผูเชี่ยวชาญทุกคน n = จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด

คาความสอดคลองของโครงรางคูมือดังแสดงในตารางที่ 3.2Cop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

Page 63: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

54

ตารางที่ 3.2 ความสอดคลองของเนื้อหาโครงรางคูมือโดยผูเชี่ยวชาญ

ประเด็นความเหมาะสมระดับ

ความเหมาะสมขอเสนอแนะ

ของผูเชี่ยวชาญ1. จุดประสงคกับเนื้อหา 1.1 จุดประสงคขอที่ 1 1.2 จุดประสงคขอที่ 22. สาระของเนื้อหา 2.1 เนื้อหาตอนที่ 1 2.2 เนื้อหาตอนที่ 2 2.3 เนื้อหาตอนที่ 33. ประโยชนและการนําความรูไปใชในการปฏิบัติงาน 3.1 เนื้อหาตอนที่ 1 3.2 เนื้อหาตอนที่ 2 3.3 เนื้อหาตอนที่ 3

0.800.60

1.001.001.00

0.800.800.60

ควรมีตัวอยางรายงานการวิจัย ใหมากกวาที่เสนอมาแลว

จากตารางที่ 3.2 พบวา ในการตรวจสอบคุณภาพของโครงรางคูมือผู เชี่ยวชาญเห็นวา มีความสอดคลองเฉลี่ย 0.5 ในทุกประเด็น และผูวิจัยไดนําขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูเชี่ยวชาญ ที่เสนอแนะใหเพิ่มตัวอยางรายงานการวิจัย ไปพิจารณาและดําเนินการหาตัวอยางมาเพิ่มเติมในคูมือตามคําแนะนํา แลวจัดทําเปนคูมือฉบับสมบูรณเพื่อทดลองใชกับกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน

ขั้นที่ 2 หาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

การดําเนินการวิจัยในขั้นตอนนี้ เปนการดําเนินการตามวัตถุประสงคการวิจัยขอที่ 2 ซึ่งกําหนดไววา “เพื่อหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)” เปนการหาคุณภาพของคูมือ ซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการ 2 ขั้นตอนยอย ดังนี้

1. สรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติ2. ทดลองหาคุณภาพคูมือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 64: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

55

สรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติเครื่องมือที่ใชทดลองหาคุณภาพของคูมือไดแกโครงรางคูมือฉบับสมบูรณที่ผานการ

ตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการไปแลวในขั้นที่ 1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ 1 ฉบับ และแบบวัดเจตคติ ตอการทําวิจัยในชั้นเรียน 1 ฉบับ เพื่อใหไดเครื่องมือที่มีความถูกตองสมบูรณและเชื่อถือไดในการเก็บรวบรวมขอมูล กอนที่จะนําเครื่องมือไปเก็บขอมูล ผูวิจัยไดทําการตรวจสอบเครื่องมือ ดังนี้

1. หาความตรงของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยผูวิจัยไดพิจารณาจากคาเฉลี่ยความเหมาะสม ตรวจโดยผูเชี่ยวชาญ 3 คน ตรวจสอบความเหมาะสมของขอคําถามในลักษณะมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ คือ 5 4 3 2 1 ซึ่งหมายถึง มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด แลวนํามา หาคาเฉลี่ยความเหมาะสม โดยแบบวัดผลสัมฤทธิ์แตละขอตองไดเฉลี่ยตั้งแต 3.51 ขึ้นไป (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 179)

คาเฉลี่ย = nR

เมื่อ R = ผลรวมของคะแนนผูเชี่ยวชาญทุกคน n = จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด

คาความตรงของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ดังแสดงในตารางที่ 3.3

ตารางที่ 3.3 ความตรงของแบบวัดผลสัมฤทธิ์โดยผูเชี่ยวชาญ

ความครอบคลุมตรงเนื้อหา

ระดับความเหมาะสม

ความสอดคลองกับเนื้อหา

ระดับความเหมาะสม

ความเหมาะสมของภาษาที่ใช

ระดับความเหมาะสม

ขอ 1ขอ 2ขอ 3ขอ 4ขอ 5ขอ 6ขอ 7

มากที่สุดมากที่สุด

มากมากมากมากมาก

ขอ 1ขอ 2ขอ 3ขอ 4ขอ 5ขอ 6ขอ 7

มากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุด

ขอ 1ขอ 2ขอ 3ขอ 4ขอ 5ขอ 6ขอ 7

มากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุด

มากมาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 65: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

56

ตารางที่ 3.3 (ตอ)

ความครอบคลุมตรงเนื้อหา

ระดับความเหมาะสม

ความสอดคลองกับเนื้อหา

ระดับความเหมาะสม

ความเหมาะสมของภาษาที่ใช

ระดับความเหมาะสม

ขอ 8ขอ 9ขอ 10ขอ 11ขอ 12ขอ 13ขอ 14ขอ 15ขอ 16ขอ 17ขอ 18ขอ 19ขอ 20

มากมาก

มากที่สุดมากที่สุด

มากมากมากมาก

มากที่สุดมากมาก

มากที่สุดมากที่สุด

ขอ 8ขอ 9ขอ 10ขอ 11ขอ 12ขอ 13ขอ 14ขอ 15ขอ 16ขอ 17ขอ 18ขอ 19ขอ 20

มากมากมากมากมากมากมาก

มากที่สุดมากมากมากมากมาก

ขอ 8ขอ 9ขอ 10ขอ 11ขอ 12ขอ 13ขอ 14ขอ 15ขอ 16ขอ 17ขอ 18ขอ 19ขอ 20

มากมากมากมาก

มากที่สุดมากมากมาก

มากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุด

จากตารางที่ 3.3 พบวา แบบวัดผลสัมฤทธิ์มีความคลอบคลุม ตรงตามเนื้อหา และใชภาษาไดเหมาะสม โดยแตละขอของแบบวัดผลสัมฤทธิ์มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญอยูในระดับมากที่สุดและระดับมาก

2. หาคาความตรงของแบบวัดเจตคติโดยผูวิจัยไดพิจารณาจากคาเฉลี่ยความเหมาะสมตรวจโดยผูเชี่ยวชาญ 3 คน ตรวจสอบความเหมาะสมของขอคําถามในลักษณะมาตรประมาณคา 5 ระดับ คือ 5 4 3 2 1 ซึ่งหมายถึง มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด แลวนํามาหาคาเฉลี่ยความเหมาะสมโดยแบบวัดเจตคติแตละขอคําถามตองไดเฉลี่ยตั้งแต 3.51 ขึ้นไป (พิสณุ ฟองศรี.2551 : 179)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 66: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

57

คาเฉลี่ย = nR

เมื่อ R = ผลรวมของคะแนนผูเชี่ยวชาญทุกคน n = จํานวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด

คาความตรงของแบบวัดเจตคติ ดังแสดงในตารางที่ 3.4

ตารางที่ 3.4 การตรวจสอบความตรงของแบบสอบถามวัดเจตคติโดยผูเชี่ยวชาญ

คําถามสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค

ระดับความเหมาะสม ใชภาษาไดเหมาะสม ระดับความเหมาะสม

ขอคําถามที่ 1ขอคําถามที่ 2ขอคําถามที่ 3ขอคําถามที่ 4ขอคําถามที่ 5ขอคําถามที่ 6ขอคําถามที่ 7ขอคําถามที่ 8ขอคําถามที่ 9ขอคําถามที่ 10

มากที่สุดมากมากมาก

มากที่สุดมากที่สุดมากที่สุด

มากมาก

มากที่สุด

ขอคําถามที่ 1ขอคําถามที่ 2ขอคําถามที่ 3ขอคําถามที่ 4ขอคําถามที่ 5ขอคําถามที่ 6ขอคําถามที่ 7ขอคําถามที่ 8ขอคําถามที่ 9ขอคําถามที่ 10

มากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุดมากที่สุด

มากมากมาก

จากตารางที่ 3.4 พบวา แบบวัดเจตคติในทุกขอคําถามสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงคในคูมือ ใชภาษาไดเหมาะสมสามารถสื่อความหมายไดชัดเจนตรงประเด็น มีระดับความเหมาะสมระดับมากที่สุด และระดับมาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 67: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

58

3. หาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดผลสัมฤทธิ์โดยผูวิจัยไดทดลองใชกับครูผูสอน ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๒ (บานดอนเกลี้ยง) ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจํานวน 10 คน ตามวิธีของคูเดอรและริชารดสัน KR - 21 โดยใชสูตรสัมประสิทธิ์อัลฟา

เมื่อ r แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบK แทน จํานวนขอสอบ

P แทน สัดสวนผูตอบถูกในขอหนึ่ง ๆ = NR เมื่อ

R แทน จํานวนผูตอบถูกในขอนั้นN แทน จํานวนผูสอบq แทน สัดสวนของผูตอบผิดในขอหนึ่ง ๆ = 1 – p

2tS แทน ความแปรปรวนของคะแนน

คาความเชื่อมั่นของแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ดังแสดงในตารางที่ 3.5

ตารางที่ 3.5 การหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดผลสัมฤทธิ์โดยใชกับกลุมทดลอง

คนที่ X 2X123456789

10

17141515161414131515

289196225225256196196169225225

x = 148 2x = 2,202

pq = 2.17 r = 0.72

จากตารางที่ 3.5 พบวา จากการใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์กับกลุมทดลอง จํานวน 10 คน ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง แบบสอบวัดความรูความเขาใจมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.72

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 68: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

59

4. หาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติ โดยผูวิจัยไดทดลองใชกับครูผูสอน ในโรงเรียนขนาดเล็กที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง จํานวน 10 คนตามวิธีของครอนบัค KR - 21 โดยใชสูตรสัมประสิทธิ์อัลฟา (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 181)

= 1k

k

เมื่อ แทน คาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นk แทน จํานวนขอของเครื่องมือวัด

2tS แทน ผลรวมของความแปรปรวนแตละขอ

2tS แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม

คาความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติ ดังแสดงในตารางที่ 3.6

ตารางที่ 3.6 การหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติโดยใชกลุมทดลอง

คนที่ X 2X123456789

10

42403941394239403937

1,7641,6001,5211,6811,5211,7641,5211,6001,5211,369

x = 398 2x = 15,862

pq = 3.91 r = 0.67

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 69: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

60

จากตารางที่ 3.6 พบวา จากการใชแบบสอบถามวัดเจตคติกับกลุมทดลองจํานวน 10 คน ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.67 ผูวิจัยจึงไดนําแบบสอบถาม วัดความรูความเขาใจและแบบสอบถามวัดเจตคติไปปรับปรุงและพัฒนาตามขอเสนอแนะและเพิ่มเติมที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะใหปรับปรุงเกี่ยวกับการใชภาษาใหสามารถสื่อสารไดตรงกันและนําไปใชกับกลุมตัวอยาง

ทดลองหาคุณภาพคูมือในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยเชิงทดลอง โดยใชรูปแบบการทดลองกลุมเดียว

วัดผล 2 ครั้ง (One Group Pretest - Posttest Design) คือ วัดผลสัมฤทธิ์กอนศึกษาคูมือ (O1) หลังจากนั้นทดลองใชคูมือกับกลุมตัวอยางเปนเวลา 3 สัปดาห (X) แลววัดผลสัมฤทธิ์หลังศึกษาคูมืออีกครั้ง (O2) (พิสณุ ฟองศรี. 2550 : 69) ดังแสดงในภาพที่ 3.3

X = คูมือวิจัยชั้นเรียนO 1 = การทดสอบกอนการทดลองในกลุมทดลองO 2 = การทดสอบหลังการทดลองในกลุมทดลอง

ภาพที่ 3.3 รูปแบบการทดลอง

เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์และคะแนนเจตคติระหวางกอนและหลังศึกษาคูมือวิเคราะหโดยใชคาสถิติ t - test ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 112) โดยใชสูตร

O 1 X O 2

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 70: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

61

1n2)D(2Dn

Dt

เมื่อ t แทน คาสถิติที่ใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต เพื่อทราบความมีนัยสําคัญ D แทน คาผลตางระหวางคูคะแนน N แทน จํานวนกลุมตัวอยางหรือจํานวนคูคะแนน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 71: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลการพัฒนาคูมือการทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สรางและพัฒนาคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) 2) เพื่อหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ซึ่งผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิจัยตามขั้นตอนวิธีการดําเนินการวิจัย ดังนี้

ขั้นที่ 1 ขั้นพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) โดยดําเนินการ 3 ขั้นตอนยอย คือ

1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน2. การสรางโครงรางคูมือ3. ตรวจโครงรางคูมือโดยอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ

ขั้นที่ 2 ขั้นหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เปนการประเมินหาประสิทธิภาพของคูมือ ซึ่งทดลองปฏิบัติการกับกลุมเปาหมาย และนําขอมูลจากการประเมินผลมาปรับปรุงแกไข เพื่อใหไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่สมบูรณ

ขั้นท่ี 1 ขั้นพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

ผลการศึกษาขอมูลพื้นฐานในขั้นนี้ผูวิจัยไดศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอน และสภาพการทําวิจัยในชั้นเรียน

ของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) โดยการสัมภาษณครูผูสอนโดยตรง รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนและสภาพ การทําวิจัยในชั้นเรียน พบวา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 72: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

63

1. ครูผูสอนแตละกลุมสาระการเรียนรูมีภาระงานมากและไมมีแรงจูงใจในการทําวิจัย ทําใหครูผูสอนไมสนใจทําวิจัยในชั้นเรียนเนื่องจากยังเขาใจวาการทําวิจัยในชั้นเรียนตองใชเวลานาน ตองทําวิจัยแบบเต็มรูปแบบ ตองเขียนรายงานการวิจัย 5 บท

2. ครูผูสอนที่เขารับการอบรมทําวิจัยในชั้นเรียนแบบเปนทางการมาแลวยังไมเขาใจเกี่ยวกับการเขียนรายงาน 5 บท การรวบรวมขอมูล และการใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลไดชัดเจน ทําใหไมสามารถนําความรูจากการอบรมมาใชทําวิจัยในชั้นเรียนได เนื่องจากครูสวนใหญมีพื้นฐาน ความรูในระดับปริญญาตรี

3. ครูผูสอนใหความสนและมีความตองการทําวิจัยในชั้นเรียนที่มีขอบเขตไมมากนัก มีการสรุปผลการวิจัยเขียนเปนรายงานการวิจัยที่สมบูรณ ครอบคลุมประเด็นสําคัญ ใชเวลาไมมากนัก และสามารถแกปญหาตลอดจนพัฒนาผูเรียนได

4. ครูผูสอนตองการคูมือหรือเอกสารที่เปนแนวทางการทําวิจัยอยางงายสําหรับศึกษาดวยตนเองที่มีขั้นตอน รูปแบบ และตัวอยางที่ชัดเจน เมื่อศึกษาดวยตนเองแลวสามารถลงมือทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาและแกปญหาผูเรียนได

ผลการตรวจคุณภาพโครงรางคูมือโดยผูเชี่ยวชาญผูวิจัยดําเนินการตรวจสอบคุณภาพของโครงรางคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอน

ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) กอนจะนําไปทดลองใชเพื่อหาคุณภาพ โดยอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน ดําเนินการประเมินเพื่อตรวจสอบคุณภาพของคูมือในดานความเหมาะสม และความสอดคลองของโครงรางคูมือ ดังนี้ พบวา ระดับคุณภาพของโครงรางคูมือดานความเหมาะสมประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ 5 คน โดยภาพรวมผูเชี่ยวชาญมีความเห็นวาเหมาะสมในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละประเด็น พบวา รูปแบบและองคประกอบ คําชี้แจง จุดประสงค ความเหมาะสมของเนื้อหากับจุดประสงค ความเหมาะสมของเนื้อหากับสภาพปญหาและความตองการ ความเหมาะสมของแบบฝกและการใชภาษาของโครงรางคูมือ มีความเหมาะสมในระดับมาก และไดปรับการใชภาษาตามในโครงรางคูมือตามคําแนะนําผูเชี่ยวชาญพบวา ในการตรวจสอบคุณภาพของโครงรางคูมือผูเชี่ยวชาญเห็นวา มีความสอดคลองเฉลี่ย 0.5 ในทุกประเด็น และผูวิจัยไดนําขอเสนอแนะเพิ่มเติมของผูเชี่ยวชาญที่ เสนอแนะใหเพิ่มตัวอยางรายงานการวิจัยไปพิจารณาและดําเนินการหาตัวอยางมาเพิ่มเติมในคูมือตามคําแนะนํา แลวจัดทําเปนคูมือฉบับสมบูรณเพื่อทดลองใชกับกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 73: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

64

ขั้นที่ 2 ขั้นหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

เปนการประเมินหาประสิทธิภาพของคูมือ ซึ่งทดลองปฏิบัติการกับกลุมเปาหมาย และนําขอมูลจากการประเมินผลมาปรับปรุงแกไข เพื่อใหไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่สมบูรณ

ผลการหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) พบวา แบบวัดผลสัมฤทธิ์มีความคลอบคลุม ตรงตามเนื้อหา และใชภาษาไดเหมาะสม โดยแตละขอของแบบวัดผลสัมฤทธิ์มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญอยูในระดับมากที่สุดและระดับมาก แบบวัดเจตคติในทุกขอคําถามสอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงคในคูมือ ใชภาษาไดเหมาะสมสามารถสื่อความหมายไดชัดเจนตรงประเด็น มีระดับความเหมาะสมระดับมากที่สุด และระดับมาก จากการใชแบบวัดผลสัมฤทธิ์กับกลุมทดลอง จํานวน 10 คน ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง แบบสอบวัดความรูความเขาใจมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.72 จากการใชแบบสอบถามวัดเจตคติกับกลุมทดลองจํานวน 10 คน ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.67 ผูวิจัยจึงไดนําแบบสอบถาม วัดความรูความเขาใจและแบบสอบถามวัดเจตคติไปปรับปรุงและพัฒนาตามขอเสนอแนะและเพิ่มเติมที่ผูเชี่ยวชาญเสนอแนะใหปรับปรุงเกี่ยวกับการใชภาษาใหสามารถสื่อสารไดตรงกันและนําไปใชกับกลุมตัวอยาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 74: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

65

ตารางที่ 4.1 ผลตางคะแนนผลสัมฤทธิ์กอนและหลังศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน

คนที่คะแนนทดสอบความรู

กอนใชคูมือ X1 กอนใชคูมือ X2 ผลตางของคะแนน X1 - X2

123456789

1011121314151617181920

12101115121211111213121388

14109

111010

1716141816151716151719175

10171414151617

+ 5+ 6+ 3+ 3+ 4+ 3+ 6+ 5+ 3+ 4+ 7+ 4+ 7+ 2+ 3+ 3+ 5+ 4+ 6+ 7

จากตารางที่ 4.1 พบวา ครูผูสอนทุกคนมีคะแนนจากการวัดผลสัมฤทธิ์เพิ่มมากขึ้นหลังจากศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 75: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

66

ตารางที่ 4.2 วิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ กอน - หลังศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน

ตัวแปร nกอนใชคูมือ หลังใชคูมือ

t - valueX X

ความรู 20 11.20 15.75 10.12

จากตารางที่ 4.2 พบวา ครูผูสอนทุกคนมีคะแนนความรูหลังใชคูมือวิจัยในชั้นเรียน เพิ่มมากขึ้น เมื่อศึกษาคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ปรากฏวาครูผูสอนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์เฉลี่ย ( X ) กอนศึกษาคูมือมีคาเทากับ 11.20 คะแนน หลังศึกษาคูมือมีคะแนนเฉลี่ยเทากับ 15.75 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยกอน - หลัง ใชคูมือวิจัยในชั้นเรียน พบวา เพิ่มสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวา คูมือวิจัยในชั้นเรียนที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีผล ทําใหครูผูสอนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนเพิ่มขึ้น

ตารางที่ 4.3 ผลตางคะแนนเจตคติ กอน - หลัง ศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียน

คนที่คะแนนทดสอบเจตคติ

กอนใชคูมือ X1 กอนใชคูมือ X2 ผลตางของคะแนน X2 – X1

123456789

101112

363839373838373836373837

454747464448434545434672

+ 9+ 9+ 8+ 9+ 6

+ 10+ 6+ 7+ 9+ 6+ 8+ 5

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 76: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

67

ตารางที่ 4.3 (ตอ)

คนที่คะแนนทดสอบเจตคติ

กอนใชคูมือ X1 กอนใชคูมือ X2 ผลตางของคะแนน X2 – X1

1314151617181920

3836353935393639

4444424342474447

+ 6+ 6+ 7+ 4+ 7+ 8+ 8+ 8

จากตารางที่ 4.3 พบวา ครูผูสอนทุกคนมีคะแนนเจตคติสูงขึ้นหลังจากใชคูมือวิจัย ในชั้นเรียน

ตารางที่ 4.4 วิเคราะหเปรียบเทียบเจตคติ กอน – หลังการใชคูมือวิจัยในชั้นเรียน

ตัวแปร nกอนใชคูมือ หลังใชคูมือ

t - valueX X

เจตคติ 20 35.80 44.70 14.95

จากตารางที่ 4.4 พบวา ครูผูสอนที่ศึกษาคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนทุกคนมีคะแนนเจตคติหลังศึกษาคูมือเพิ่มมากขึ้นเมื่อศึกษาคะแนนเฉลี่ยของแบบวัดเจตคติปรากฏวา ครูผูสอนที่ศึกษาคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนมีคะแนนเจตคติเฉลี่ยกอนศึกษาคูมือ เทากับ 35.80 คะแนน หลังศึกษาคูมือวิจัย ในชั้นเรียนมีคะแนนเจตคติเฉลี่ยเทากับ 44.70 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเจตคติกอนและหลังศึกษาคูมือของครูผูสอน พบวา สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวาคูมือวิจัยในชั้นเรียนที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีผลทําใหครูผูสอนมีเจตคติ ที่ดีตอการทําวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 77: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

สรุปผล

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางและพัฒนาคูมือวิจัย ในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) และหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการตามวิธีการและขั้นตอนการวิจัยสามารถสรุปผลการวิจัยออกเปน 2 ขั้น ดังนี้

ขั้นที่ 1 ผลการพัฒนาคูมือจากวัตถุประสงคขอที่ 1 เพื่อสรางและพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอน

ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ผูวิจัยไดดําเนินการ 3 ขั้นตอนยอย คือ

1. ผลจากการศึกษาขอมูลพื้นฐาน2. ผลการสรางโครงรางคูมือ3. ผลการตรวจโครงรางคูมือ

ผลจากการศึกษาขอมูลพื้นฐานผลการศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนการสอน และสภาพการทํา

วิจัยในชั้นเรียนครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จํานวน 56 คน สําหรับขอมูลดานการสอน ครูผูสอนแตละสาระการเรียนรูมีภาระงานมากและไมมีแรงจูงใจในการทําวิจัย ทําใหครูผูสอนไมสนใจทําวิจัยในชั้นเรียนเนื่องจากยังเขาใจวาการทําวิจัย ในชั้นเรียนตองใชเวลานาน ตองทําวิจัยแบบเต็มรูปแบบ ตองเขียนรายงานการวิจัย 5 บท ครูผูสอน ที่เขารับการอบรมทําวิจัยในชั้นเรียนแบบเปนทางการมาแลวยังไมเขาใจเกี่ยวกับการเขียนรายงาน 5 บท การรวบรวมขอมูล และการใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลไดชัดเจน ทําใหไมสามารถนําความรูจากการอบรมมาใชทําวิจัยในชั้นเรียนได เนื่องจากครูสวนใหญมีพื้นฐานความรูในระดับปริญญาตรีเมื่อศึกษาขอมูลความตองการของครูผูสอนที่จะทําวิจัยในชั้นเรียน ปรากฏวาครูผูสอนสวนใหญ มีความตองการทําวิจัยในชั้นเรียนที่มีขอบเขตไมมากนักเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนแบบเปนวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 78: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

69

ที่สามารถทําไดควบคูไปกับการจัดการเรียนการสอน โดยใชเวลาไมนานนักและไมตองเขียนรายงานการวิจัยเชิงวิชาการ มีความตองการเอกสารและคูมือที่บอกขั้นตอนชัดเจนมีตัวอยางการเขียนรายงานวิจัยเพื่อใชเปนแนวทางในการทําวิจัยในชั้นเรียนดวยวิธีศึกษาดวยตนเอง ดวยเหตุผลที่ไมตองการเขารับการอบรมอันเนื่องมาจากสาเหตุประการสําคัญ คือ การอบรมมักจัดเนื้อหาสาระการทําวิจัย ในชั้นเรียนที่เปนเชิงวิชาการ

ผลการสรางโครงรางคูมือการกําหนดกรอบแนวคิดในการสรางคูมือ จากการศึกษาเอกสารตํารางานวิจัยที่

เกี่ยวของ พบวา การบรรลุสูการใชการวิจัยในชั้นเรียนเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู นําไปสูการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดอยางเต็มศักยภาพไดนั้น ครูผูสอนตองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การวิจัยในชั้นเรียนอยางถองแท สามารถเลือกแนวทางหรือวิธีการทําวิจัยในชั้นเรียนใหสอดคลองกับสภาพการณของตนเอง การทําวิจัยในชั้นเรียนจึงเปนวิธีการหรือทางเลือกหนึ่งที่สงเสริมใหครูผูสอนทําวิจัยในชั้นเรียนกันมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาคูมือการทําวิจัยในชั้นเรียนจึงเปนแนวคิดในการสงเสริมใหครูผูสอนไดทําวิจัยในชั้นเรียนควบคูไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน อันจะสงผลตอการมีคุณภาพของผูเรียนและสถานศึกษา จําเปนอยางยิ่งที่ครูผูสอนตองมีคูมือที่สามารถศึกษาดวยตนเองเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน จากหลักการดังกลาว พรอมทั้งผลจากการศึกษาขอมูลพื้นฐานความตองการของครูผูสอน ผูวิจัยไดนํามาเปนแนวทางในการกําหนดกรอบแนวคิดในการจัดทําคูมือในครั้งนี้

การสรางโครงรางคูมือ ไดคํานึงถึงวัตถุประสงคของคูมือที่ตั้งไวเปนเปาหมาย พรอมทั้งศึกษาเอกสาร ตํารา แนวคิด ทฤษฏี และนําผลจากการศึกษาขอมูลพื้นฐานมาประกอบ การสรางคูมือในครั้งนี้ โดยเนนที่การศึกษาทําความเขาใจดวยตนเองและการลงมือปฏิบัติของครูผูสอน ดังนั้น คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จึงมีโครงสรางและสวนประกอบ คือ คําชี้แจง เนื้อหาสาระพรอมทั้งตัวอยาง และแบบฝกปฏิบัติ ซึ่งคาดวาครูผูสอนที่ศึกษาคูมือสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการปฏิบัติการทําวิจัยในชั้นเรียนได

ผลการตรวจโครงรางคูมือการตรวจสอบโครงรางคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการ

บริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ผูวิจัยใชเทคนิค SMS (Subject Matter Specialist) โดยนําโครงรางคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่สรางขึ้นใหผูเชี่ยวชาญ 5 คน ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม ครบถวนและสมบูรณ พบวา มีความเหมาะสมมาก คะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.80 - 4.20 มีความ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 79: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

70

สอดคลอง คา IOC ในทุกประเด็นที่ตรวจสอบ 0.5 หลังจากนั้นนํามาปรับปรุงตามขอเสนอแนะ ใหตัวอยางรายงานการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อความครบถวนสมบูรณมากยิ่งขึ้น

ขั้นที่ 2 ผลการหาคุณภาพการใชคูมือจากวัตถุประสงคขอที่ 2 เพื่อหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอน

ในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ผูวิจัยไดดําเนินการ 2 ขั้นยอย ดังนี้

1. สรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติ2. ทดลองหาคุณภาพคูมือ

ผลการสรางแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติผูวิจัยไดดําเนินการตรวจแบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบวัดเจตคติของครูผูสอน

ตอ การทําวิจัยในชั้นเรียน โดยผูเชี่ยวชาญ 3 คนซึ่งผูวิจัยไดพิจารณาระดับความเหมาะสม พบวา แบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติ มีคาเฉลี่ยความเหมาะสม 3.51 ทุกขอ จากนั้นนําไปหาคาความเชื่อมั่น โดยทดลองใชกับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๒ (บานดอนเกลี้ยง) จํานวน 10 คน ไดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบวัดความรู หาดวยวิธีของคูเดอรและริชารดสัน โดยใชสูตร KR - 20 เทากับ 0.72 คาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามวัดเจตคติหาดวยวิธีของครอนบัค เรียกวา สัมประสิทธิ์อัลฟา ( - Coefficient) ไดคาความเชื่อมั่น เทากับ 0.67 แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติมีความเหมาะสมและมีความเชื่อมั่นในการใชเก็บรวบรวมขอมูลได

ผลการทดลองหาคุณภาพคูมือการวิจัยเรื่อง การสรางและพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียน

องคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ผูวิจัยศึกษาจากประชากร คือ ครูผูสอนในแตละกลุมสาระ จํานวน 56 คน ปการศึกษา 2552 โดยใชกลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ปการศึกษา 2552 จํานวน 20 คน ซึ่งผูวิจัยไดรับสมัครครูผูสอนที่สนใจทําวิจัยในชั้นเรียนจากทุกกลุมสาระการเรียนรู

จากสมมติฐานการวิจัยขอที่ 1 ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยหลังใชคูมือสูงกวากอนใชคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจากสมมติฐานการวิจัยขอที่ 2 ครูผูสอนมีเจตคติที่ดีตอการทําวิจัยในชั้นเรียนหลังใชคูมือสูงกวากอนใชคูมือยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผูวิจัยไดทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใชรูปแบบการทดลองกลุมเดียววัดผลความรูความเขาใจ เจตคติกอนและ หลังศึกษาคูมือ โดยใชกลุมตัวอยางจํานวน 20 คน ศึกษาคูมือดวยตนเองและลงมือฝกปฏิบัติจาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 80: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

71

แบบฝกหัดเปนเวลา 3 สัปดาห เก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูล พบวา ครูผูสอนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยหลังศึกษาคูมือสูงกวาคะแนนผลสัมฤทธิ์ เฉลี่ยกอนศึกษาคูมือ เมื่อวิเคราะหดวยคาสถิติ t- test ปรากฏวา ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยจากการวัดผลสัมฤทธิ์หลังศึกษาคูมือสูงกวาคะแนนที่ไดจากการวัดความรูผูสัมฤทธิ์กอนศึกษาคูมือ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ผลการเปรียบเทียบคะแนนเจตคติของครูผูสอน พบวา ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยเจตคติหลังศึกษาคูมือสูงกวาคะแนนเฉลี่ยเจตคติกอนศึกษาคูมือ เมื่อวิเคราะหดวยคาสถิติ t-test ปรากฏวา ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยเจตคติหลังศึกษาคูมือสูงกวาคะแนนเฉลี่ยวัดเจตคติกอนศึกษาคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่ผูวิจัยสรางขึ้น หลังจากผานการตรวจสอบและประเมินตามวิธีการและขั้นตอนการวิจัยอยางถูกตองครบถวน ไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่สมบูรณ และสามารถนําไปใชเปนแนวทางสําหรับการทําวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู ตลอดจนนําไปประยุกตใชในการทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาวิชาชีพในโอกาสตอไป

อภิปรายผล

ผลการวิจัยครั้งนี้ ไดคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ตามวัตถุประสงคของการวิจัยจากการดําเนินโครงการ วิจัยตามขั้นตอนและวิธีการทั้ง 2 ขั้นตอน ดังรายละเอียดที่กลาวมาแลวขางตน ในการดําเนินการวิจัยดังกลาวผูวิจัยมีประเด็นที่เห็นควรนํามาอภิปรายผล ดังนี้

1. ผลการศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนและสภาพ การทําวิจัยในชั้นเรียนครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จํานวน 56 คน สําหรับขอมูลดานการสอน ครูผูสอนแตละสาระการเรียนรูมีภาระงานมากและไมมีแรงจูงใจในการทําวิจัยเชนเดียวกับที่ ปยะทิพย บุญหนัก (2548) ไดศึกษาปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนสังคมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีเขต 1 จํานวน 58 คน ผลการศึกษาสรุปไดดังนี้ คือ 1) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานความรู พบวา มีปญหามากที่สุด คือ ความรูเกี่ยวกับสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 2) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานเวลา พบวา มีปญหามากที่สุด คือ ภาระหนาที่สวนตัวเปนอุปสรรค

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 81: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

72

ตอการดําเนินงานวิจัยในชั้นเรียน 3) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานเครื่องมือวัสดุอุปกรณพบวา มีปญหามากที่สุดคือ การใหบริการของโรงเรียนดานการพิมพเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยในชั้นเรียน 4) ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนทางดานการสนับสนุนจากผูบริหาร พบวา มีปญหา มากที่สุด คือ ความตองการในดานการสงเสริมสนับสนุนจากผูบริหาร ทําใหครูผูสอนไมสนใจ ทําวิจัยในชั้นเรียนเนื่องจากยังเขาใจวาการทําวิจัยในชั้นเรียนตองใชเวลานาน ตองทําวิจัยแบบ เต็มรูปแบบ ตองเขียนรายงานการวิจัย 5 บท ครูผูสอนที่เขารับการอบรมทําวิจัยในชั้นเรียนแบบ เปนทางการมาแลวยังไมเขาใจเกี่ยวกับการเขียนรายงาน 5 บท การรวบรวมขอมูลดังที่ นงคราญยันตทองอยู (2549) ทําวิจัยเรื่อง ความพรอมในการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอสารภี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม เขต 4 พบวา 1) ความพรอมดานตัวครู โดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีความพรอมในเรื่องการเห็นคุณคาและประโยชนในการทําวิจัย และความสนใจตอการทําวิจัยอยูในระดับมาก 2) ความพรอมดานองคประกอบพื้นฐานในการวิจัย ในชั้นเรียน โดยรวมอยูในระดับปานกลาง แตความพรอมในเรื่อง การหาเงินงบประมาณสําหรับใชในการทําวิจัย อยูในระดับนอย 3) ความพรอมดานการสงเสริมใหครูทําวิจัยในชั้นเรียน โดยรวม อยูในระดับปานกลาง สวนดานนโยบายในการทําวิจัยของโรงเรียน อยูในระดับมาก แตดานการสนับสนุนงบประมาณในการวิจัยอยูในระดับนอย ครูมีความคิดเห็นที่ดีตอการวิจัยในชั้นเรียนเพราะสามารถนํามาใชพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและปรับพฤติกรรมของนักเรียนได แตครูยังขาดปจจัยพื้นฐานในการทําวิจัยในชั้นเรียน กลาวคือ งบประมาณ ผูใหคําปรึกษา สอดคลองกับที่ จินดารัตน ทาริน (2548) ไดศึกษาปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลําปาง ประชากรที่ใชในการศึกษาคือครูที่สอนสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลําปางปการศึกษา 2547 รวม 6 โรงเรียน เปนจํานวน 40 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเปนแบบสอบถามเกี่ยวกับปญหาดานการทําวิจัย ในชั้นเรียน พบวา ปญหาที่มากที่สุดคือ ดานการศึกษาและเอกสารอางอิงที่เกี่ยวของในการทําวิจัยชั้นเรียนรองลงไปคือ ปญหาดานความเขาใจในการสรุปและแปลผลในการทําวิจัยในชั้นเรียน และการใชสถิติในการวิเคราะหขอมูลไดชัดเจน ทําใหไมสามารถนําความรูจากการอบรมมาใชทําวิจัยในชั้นเรียนได เนื่องจากครูสวนใหญมีพื้นฐานความรูในระดับปริญญาตรี เชนเดียวกับ สุพัฒน มีสกุล (2546) ไดทําวิจัยเรื่องกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการทําวิจัยชั้นเรียน โรงเรียน คลองลานวิทยา จังหวัดกําแพงเพชร พบวา จากการสนทนากลุม พบวา ครูขาดความรูในการทําวิจัย มีเวลาในการทําวิจัยนอยเกินไป ไมมีที่ปรึกษา ผลการพัฒนาศักยภาพของครูพบวา สามารถเขียนรายงานอยูในระดับดี 3 คน อีก 2 คนอยูในระดับพอใช ซึ่งสอดคลองกับ สุวิมล วองวาณิช (2547 : 21)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 82: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

73

ไดสังเคราะหนิยามเกี่ยวกับการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนสรุปไดวา คือ การวิจัยที่ทําโดยครูผูสอนในชั้นเรียน เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และนําผลมาใชในการปรับปรุงการเรียนการสอน หรือสงเสริมพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนใหดียิ่งขึ้น เชนเดียวกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2546 : 4) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนมีกระบวนการที่ไมซับซอนใชเวลาไมมากนัก และกลมกลืนกับงานการเรียนการเรียนการสอนตามปกติและยังสอดคลองกับ ประสิทธิ์ ศักดิ์คําดวง (2544) ไดศึกษาเรื่อง ความตองการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเกษตรวิสัยจังหวัดรอยเอ็ด พบวา ความตองการพัฒนา การวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานประถมศึกษาอําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดรอยเอ็ด เมื่อพิจารณาเปนรายดานครูผูสอนมีความตองการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมาก 2 ดาน คือ ดานเนื้อหาและดานวิธีการพัฒนา สรุปวา ครูผูสอนมีความตองการทําวิจัยในชั้นเรียนที่สามารถดําเนินการไดพรอมกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยการเก็บขอมูลจากการเรียนการสอน วิเคราะหขอมูล เพื่อหาวิธีการแกปญหาตามสภาพที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน ดังที่ รัตนาภรณ วรรณคํา (2549) ไดทําการศึกษาสภาพการวิจัยในชั้นเรียนตลอดจนปญหาและความตองการของครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหมประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษาอําเภอไชยปราการจังหวัดเชียงใหม ปการศึกษา2548 จํานวน 201 คน พบวา ปญหาที่พบในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูพบปญหาเกี่ยวกับกระบวนการการทําวิจัยในชั้นเรียน บุคลากรที่เกี่ยวของที่เปนผูบริหารและบุคคลที่มีสวนรวม งบประมาณ วัสดุอุปกรณ แหลงขอมูล การเลือกหัวขอหรือปญหา สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ความตองการ ในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูมีความตองการจัดตารางการเรียนการสอนและภาระงานที่พอเหมาะ แกบุคลากรจัดทําศูนยวิจัยในชั้นเรียน รวมทั้งจัดการอบรมและใหความรูในการทําวิจัยในชั้นเรียนโดยจัดบุคลากรใหคําแนะนํา สงเสริมใหครูผูสอนเห็นความสําคัญของการทําวิจัยในชั้นเรียน รวมทั้งความรวมมือจากผูที่เกี่ยวของ พรอมทั้งจัดงบประมาณ เงินทุน เงินรางวัล และคาตอบแทนจัดหาเอกสาร ตําราทางวิชาการ วัสดุอุปกรณสิ่งอํานวยความสะดวก และจัดอบรมเกี่ยวกับการใชวัสดุอุปกรณ สมดังที่ ดุสิต จันทรผง (2548) ไดทําวิจัยเรื่องบทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1 พบวา ครูผูสอนสวนใหญเห็นวาผูบริหารใหความสําคัญของการทําวิจัยในชั้นเรียนแตไมไดเชิญวิทยากรในการใหความรูในการทําวิจัยใหครูพัฒนาสื่อและอุปกรณแตไมไดจัดใหมีการจัดทําศูนยสารสนเทศการทําวิจัยในชั้นเรียนสงผลใหเกิดการเสริมแรงดังที่ นันทวัน สวัสดิ์ภูมิ (2540) ไดศึกษาเรื่องเสนทางการพัฒนาครูนักวิจัย : การวิจัยรายกรณีของครูดีเดนระดับประถมศึกษา พบวา เสนทางการพัฒนาครูมาสูการเปนครูนักวิจัยของกรณีศึกษา เริ่มจากคุณลักษณะสวนตัวที่เปนคนชอบใฝหาความรู ชางคิด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 83: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

74

ชอบอาน ชอบเขียนและรักธรรมชาติ ลักษณะดังกลาวพัฒนาการเรียนรูจากการปฏิบัติงานในลักษณะของการสังเกต วิเคราะห สังเคราะห และสั่งสมประสบการณชีวิต เชนเดียวกับที่ ประภารัต มีเหลือ(2540) ไดศึกษาเกี่ยวกับสมรรถภาพของครูนักวิจัยจากกลุมตัวอยางขาราชการที่มีตําแหนงอาจารย 3 สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ จํานวน 348 คน พบวา สมรรถภาพที่ครูนักวิจัยใหความสําคัญและมีความจําเปนมากที่สุด 10 รายการเรียงตามลําดับ คือ มีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนอยางกวางขวางและลึกซึ้งทําใหเกิดแรงจูงใจในการทํางานสมดังที่ ประสิทธิ์ ศักดิ์คําดวง (2544) ไดศึกษาเรื่อง ความตองการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดรอยเอ็ด พบวา ความตองการพัฒนา การวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอ เกษตรวิสัย จังหวัดรอยเอ็ด โดยภาพรวมอยูในระดับดีมาก ทําใหเกิดการพัฒนางานวิจัยมากยิ่งขึ้นเปนทิศทางเชนเดียวกับ ลัดดา กองคํา (2541) ไดศึกษาสภาพการวิจัยชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ พบวา โรงเรียนมีปญหาเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน อยูในระดับกลาง แตพบวา มีปญหาในระดับมาก 2 อันดับแรก คือ เรื่องการดําเนินการวิจัย วัสดุ อุปกรณ และแหลงขอมูลสําหรับการวิจัย โรงเรียนมีความตองการอยูในระดับมาก ดังที่ วีรพล ฉลาดแยม (2544) ไดศึกษาเรื่องเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนของครูประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองบัวลําภู พบวา ครูมีความรูและทักษะในการทําวิจัยในระดับนอย แตครูคิดวาตนเองมีลักษณะของนักวิจัยอยูในระดับมาก และมีปญหาในการทําวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับการขาดหลักความรูเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน ขาดแหลงคนควาขาดงบประมาณ วัสดุสนับสนุนการวิจัยและผูเชี่ยวชาญใหคําปรึกษาอยูในระดับมาก แตมีความตองการในการทําวิจัย ในชั้นเรียน

2. ผลการทดลองหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียนในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดดําเนินการทดลองใชคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) สามารถอภิปรายผลการวิจัยได ดังนี้ ความรูเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนเมื่อวิเคราะหดวยคาสถิติ t- test ปรากฏวา ครูผูสอนที่ศึกษาคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนดวยตนเองมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบความรูหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการทดสอบความรูกอนใชคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพราะคูมือวิจัยในชั้นเรียนแบบงาย มีเนื้อหาสาระที่ชัดเจนและมีขั้นตอนการปฏิบัติตามลําดับพรอมทั้งตัวอยางประกอบ ดังที่ โกศล ศรีขาว (2544) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษารูปแบบที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาครูเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนในโรงเรียน สังกัด กรมสามัญศึกษา จังหวัดพังงา ผลการวิจัย พบวา ครูที่ไดรับการพัฒนามีความรูความเขาใจเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียนกอนและหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการและการศึกษาเอกสารดวยตนเองอยางมี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 84: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

75

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการพัฒนาอยูในระดับดีมาก กอนการพัฒนาอยูในระดับปรับปรุง ซึ่งไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งครูผูสอนสามารถศึกษาใหเขาใจไดงายและครูผูสอนสามารถลงมือปฏิบัติไดในสถานการณจริงจากแบบฝกปฏิบัติตามขั้นตอน การทําวิจัยในชั้นเรียน 5 แบบฝกในแตละแบบฝกมีเนื้อหาที่สอดคลองตอเนื่องกัน เปนเพราะการที่ครูผูสอนสามารถนํามาเขียนเปนรายงานการวิจัยตรงกับความตองการของครูสมดังที่จุรีรัตน หลีกภัย(2550 : 57) ไดศึกษาการพัฒนาคูมือฝกอบรมครู เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนสําหรับสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน อําเภอกะเปอร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดระนอง เพื่อศึกษาความตองการ ในการพัฒนาตนเองของครูในเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน จากครูผูสอนที่ไมเคยผานการอบรมเรื่อง การทําวิจัยในชั้นเรียน จํานวน 30 คน พบวา ครูผูสอนที่ยังไมเคยผานการอบรมเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนมีความรูความเขาใจเรื่องการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับปานกลาง และมีความตองการในการพัฒนาตนเองในเรื่องการทําวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมาก และการใชคูมือการฝกอบรมการทําวิจัย ในชั้นเรียนสงผลใหครูมีความรูความสามารถในการทําวิจัยในชั้นเรียนสูงขึ้นกวากอนใชคูมือ สงผลใหเกิดการเสริมพลังอํานาจในการทําวิจัยชั้นเรียนของครูสอดคลองกับที่ เทวี พรหมมินตะ (2544) ไดศึกษาผลของการเสริมพลังอํานาจครูโดยการพัฒนาความสามารถดานการทําวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียนตามแนวคิดความรวมมือ การออกแบบดวยวิธีผสมผสาน เพื่อสํารวจสภาพการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูสังกัดสํานักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร ดวยวิธีการสํารวจจาก การสุมตัวอยางแบบแบงชั้นตามสัดสวนประชากร จําแนกตามกลุมเขตพื้นที่ จํานวน 778 คน ผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางมีประสบการณในการทําวิจัยในชั้นเรียน รอยละ 66.84 และครูมีความตองการฝกอบรมโดยกระบวนการเสริมพลังอํานาจครูดวยวิธีการบรรยายใหความรู และการสนับสนุนสงเสริมชวยเหลือในการทําวิจัยในชั้นเรียน รอยละ 56.57 ผลการวิจัยจากกรณีศึกษา พบวา หลังการเสริมพลังอํานาจครูในโรงเรียนที่เปนกรณีศึกษาทําวิจัยมากกวา รอยละ 50 ในแตละโรงเรียนมีการทําวิจัยแบบไมเปนทางการมากกวารอยละ 60 และลักษณะการทําวิจัยเปนรายบุคคลมากกวารอยละ 70 ไดแสดงใหเห็นวา คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิผลที่ดีในการสรางความรูความเขาใจของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ปทุมมาศ นนทประเสริฐ (2544 : 112) เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรอบรมเรื่อง การบริหารจัดการโครงการสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับครูผูสอนระดับมัธยมศึกษา พบวา ครูที่ผานการอบรมมีความรูความเขาใจเพิ่มสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และยังสอดคลองกับ นวลจันทร รัตนพร (2550 : 118) เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การสรางพลังชุมชนเพื่อพัฒนาสถานีอนามัย ตามโครงการสถานที่ทํางานนาอยูนาทํางาน สําหรับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 85: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

76

เจาหนาที่สาธารณสุข พบวา เจาหนาที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานจริง ในสถานีอนามัยและสํานักงานสาธารณสุขอําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร มีคะแนนความรูความเขาใจเฉลี่ยหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการทดสอบความรูกอนอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เชนเดียวกับ ผลจากการเปรียบเทียบความรูที่เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเปนไปตามสมมติฐานขอที่ 1 ที่ตั้งไววา ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบวัดความรูหลังใชคูมือวิจัยในชั้นเรียนสูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนใชคูมือวิจัยในชั้นเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เชนเดียวกับที่นวลจันทร รัตนพร (2550 : 118) ไดศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการสรางพลังชุมชนเพื่อพัฒนาสถานีอนามัยตามโครงการสถานที่ทํางานนาอยูนาทํางาน สําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข พบวา เจาหนาที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานจริงในสถานีอนามัยและสํานักงานสาธารณสุข อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพรมีคะแนนวัดเจตคติหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการวัดเจตคติกอนอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเปนไปในทิศทางเดียวกับที่ ปทุมมาศ นนทประเสริฐ (2544 : 112) ไดศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรอบรมเรื่องการบริหารจัดการโครงการสิ่งแวดลอมศึกษาสําหรับครูผูสอนระดับมัธยมศึกษา พบวา ครูที่ผานการอบรมมีความรูความเขาใจเพิ่มสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังที่ วารุณี โพธิ์บุตรดี (2547) ไดศึกษาการใชผลการวิจัยและผลกระทบจากการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยเพื่อศึกษาการใชผลจากการวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยศึกษาผลกระทบจากการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัย และเปรียบเทียบการใชผลการวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยที่มีภูมิหลังตางกัน พบวา ครูนักวิจัย และผูบริหารโรงเรียนโดยใชผลการวิจัยในชั้นเรียน ในเชิงความคิดมากกวาเชิงปฏิบัติ ซึ่งครูนักวิจัยที่มีภูมิหลังตางกันมีการใชผลการวิจัยในชั้นเรียน ในเชิงความคิดที่แตกตางกัน คือ ครูนักวิจัยที่มีประสบการณในการทําวิจัยในชั้นเรียนมากกวา 3 เรื่อง มีการใชผลการวิจัยในชั้นเรียนสูงกวาครูนักวิจัยที่ทําวิจัยในชั้นเรียน 2 - 3 เรื่อง และการทําวิจัย ในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติสงผลกระทบทางบวกตอนักเรียน ครูนักวิจัย เพื่อนรวมงานและโรงเรียน สูงกวาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัยในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เชนเดียวกับที่ วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2544) ไดศึกษาเรื่อง การสรางชุดพัฒนาตนเองเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งมีโครงสรางของชุดพัฒนาตนเอง ประกอบดวย ชื่อหนวยการเรียน หัวขอเนื้อหา แนวคิด วัตถุประสงค เอกสารอางอิง แบบประเมินตนเอง แบบทดสอบทายชุดพัฒนาตนเองและชุดพัฒนาเพื่อซอมเสริม ผลการวิจัย พบวา ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา คะแนนหลังการศึกษาชุดพัฒนาตนเองสูงกวาคะแนนกอนการศึกษาชุดพัฒนาตนเองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ดังที่ เยาวภา เจริญบุญ (2537) ศึกษาองคประกอบที่สัมพันธกับการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร พบวา สาเหตุที่ทําใหครูผูสอนทําวิจัยในชั้นเรียน ไดแก ความตองการในการหาวิธีสอนที่ทําให

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 86: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

77

นักเรียนสนใจ และมีผลสัมฤทธิท์างการเรียนสูงขึ้นเพื่อปญหาและชวยเหลือนักเรียนในเรื่องที่เกี่ยวกับการเรียน เพื่อทําผลงาน การใหการสนับสนุนของผูบริหารในการทําวิจัยในชั้นเรียน ดังที่ ผกามาศ หอมกอ (2551) ไดทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาคูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงายสําหรับครูผูสอนในโรงเรียน ขนาดเล็กเครือขายนาสาร อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา คูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงาย มีความเหมาะสมกับสภาพปญหาและความตองการของครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กเครือขายนาสาร โดยมีคาเฉลี่ยของความเหมาะสมตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญเทากับ 4.06 และดัชนีความสอดคลองของเนื้อหาตรวจโดยผูเชี่ยวชาญเทากับ 0.82 คาเฉลี่ยความรูและคาเฉลี่ยเจตคติหลังการศึกษาคูมือเพิ่มสูงขึ้นมากกวากอนการศึกษาคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

เจตคติเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เมื่อวิเคราะหดวยคาสถิติ t - test ปรากฏวา ครูผูสอนที่ศึกษาคูมือทําวิจัยในชั้นเรียนดวยตนเองมีคะแนนเฉลี่ยจากการวัดเจตคติหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการวัดเจตคติกอนใชคูมือ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพราะคูมือวิจัย ในชั้นเรียนมีขั้นตอนในการดําเนินการที่สามารถทําไดควบคูไปกับการจัดการเรียนการสอนทําใหเกิดรูปแบบการทําวิจัยดังที่ สกาวรัตน ชุมเชย (2543) ไดศึกษาการนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เพื่อศึกษาถึงสภาพปจจุบัน ปญหา ความตองการและแนวทางการทําวิจัยปฏิบัติการและนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับครูประถมศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน วิธีวิจัยเชิงคุณภาพที่ใชประกอบดวย การศึกษาเอกสารและสื่อวีดีทัศน การสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ และการศึกษาภาคสนาม จากกรณีศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา 3 แหง พบวา การทําวิจัยปฏิบัติการมีทั้งแบบทําคนเดียวและทําเปนทีม ทั้งภายในโรงเรียนและ กับบุคคลภายนอกโรงเรียน วิธีการวิจัยที่ครูใช คือ การสํารวจ การศึกษารายกรณี การวิจัยแบบ กึ่งทดลองและการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรม ปญหาในการทําวิจัย คือ ครูยังขาดความรู ความเขาใจและการชวยเหลือจากหนวยงาน ครูมองการวิจัยเปนเรื่องยาก ไมมีเวลาและภาระงานครูมาก ครูตองการสนับสนุนดานการอบรม ตัวอยางผลงาน การสนับสนุนปจจัยตาง ๆ และรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาครูโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ใชเวลาไมมากนัก เขียนรายงานแบบ ไมเปนทางการเพียง 1 - 3 หนา แตมีความชัดเจนและสมบูรณ สามารถใชรายงานการวิจัยมาเปนขอมูลในการแกปญหาและพัฒนาผูเรียนไดอยางแทจริง แสดงใหเห็นวาคูมือวิจัยในชั้นเรียนที่ผูวิจัย พัฒนาขึ้นมีประสิทธิผลที่ดีในการสรางเจตคติของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) เกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ โสภิดา พัฒนาภรณ (2540 : 87) ไดศึกษาเกี่ยวกับการสรางและทดลองใชหลักสูตรอบรมสิ่งแวดลอมศึกษา เรื่อง การอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเลสําหรับครูมัธยมศึกษาตอนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 87: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

78

พบวา คะแนนวัดเจตคติหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการวัดเจตคติกอนอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ใหเกิดแรงหนุนในการทําวิจัยเชนเดียวกับที่ สายศิลป สายืน (2544) ทําการศึกษาเรื่อง ปจจัยที่เอื้อตอการวิจัยในชั้นเรียนของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดหนองบัวลําภู พบวา โดยภาพรวมปจจัยที่เอื้อตอการวิจัยในชั้นเรียนอยูในระดับมาก ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องวัสดุอุปกรณและแหลงวิชาการบุคลากรที่เกี่ยวของกับการทําวิจัย ทักษะในการวิจัย งบประมาณ คุณสมบัติผูวิจัยและความรูเกี่ยวกับการวิจัย สวนสภาพการวิจัยโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ไดแก สงเสริมใหครูที่มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนเผยแพรผลงานการวิจัยใหเปนประโยชนแกครูทั่วไป ผูบริหารสนับสนุนเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนและสงเสริมใหครูที่มีผลการวิจัยสงผลงานเพื่อขอเลื่อนตําแหนง และยังสอดคลองกับ นวลจันทร รัตนพร (2550 : 118) เกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตรการสรางพลังชุมชนเพื่อพัฒนาสถานีอนามัย ตามโครงการสถานที่ทํางานนาอยูนาทํางาน สําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข พบวา เจาหนาที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานจริง ในสถานีอนามัยและสํานักงานสาธารณสุขอําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร มีคะแนนความรูความเขาใจเฉลี่ยหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการทดสอบความรูกอนอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เชนเดียวกับผลจากการเปรียบเทียบความรูที่เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเปนไปตามสมมติฐานขอที่ 2 ที่ตั้งไววา ครูผูสอนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบวัดความรูหลังใชคูมือวิจัยในชั้นเรียน สูงกวาคะแนนเฉลี่ยกอนใชคูมือวิจัยในชั้นเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทําใหเกิดประสบการณและการกระตุนในการทําวิจัย สอดคลองกับ สงสุข ไพละออ (2547) ไดศึกษาผลการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีตอการพัฒนาความรูและกระบวนการทํางานของครูประถมศึกษา : การผสมวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อสํารวจเปรียบเทียบสภาพความรู และกระบวนการทํางานของครูที่มีประสบการณในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตางกัน พบวา โดยที่ครูที่มีประสบการณในการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมากมีความรู มีระดับการปฏิบัติในกระบวนการ ทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนสูงกวาครูที่มีประสบการณนอยกวา และการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูทําใหเกิดกระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีระบบมากขึ้นสงผลใหครูเกิดการสรางลักษณะนิสัยการทํางานอยางมีระบบ อันกอใหเกิดผลตอการพัฒนาความรูของครูและเจตคติที่ดี ในการทํางาน การวิจัยตอไปสมดังที่ โสภิดา พัฒนาภรณ (2540 : 87) ไดศึกษาเกี่ยวกับการสรางและทดลองใชหลักสูตรอบรมสิ่งแวดลอมศึกษาเรื่อง การอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเลสําหรับครูมัธยมศึกษาตอนตน พบวา คะแนนวัดเจตคติหลังอบรมสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการวัดเจตคติกอนอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เชนเดียวกับที่ ผกามาศ หอมกอ (2551) ไดทํา การวิจัยเรื่อง การพัฒนาคูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงายสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กเครือขาย นาสาร อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา คูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงายมีความเหมาะสมกับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 88: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

79

สภาพปญหาและความตองการของครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กเครือขายนาสาร โดยมีคาเฉลี่ยของความเหมาะสมตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญเทากับ 4.06 และดัชนีความสอดคลองของเนื้อหาตรวจโดยผูเชี่ยวชาญเทากับ 0.82 คาเฉลี่ยความรูและคาเฉลี่ยเจตคติหลังการศึกษาคูมือเพิ่มสูงขึ้นมากกวากอนการศึกษาคูมืออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะการนําผลวิจัยไปใชผลการวิจัยการพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหาร

สวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) พบวา คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ที่พัฒนาขึ้น สามารถพัฒนาความรูความเขาใจและเจตคติของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงกับความตองการจําเปนของครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) จากผลการวิจัยที่พบในครั้งนี้ ผูวิจัย มีขอเสนอแนะ ดังนี้

1. ผลการวิจัยจาการศึกษาขอมูลพื้นฐาน สภาพการจัดการเรียนการสอนและสภาพการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน พบวา การนําสภาพความเปนจริงและความตองการของกลุมเปาหมายมาพิจารณาในการสรางคูมือศึกษาดวยตนเองทําใหคูมือมีความครอบคลุมสอดคลองเหมาะสมตรงกับความตองการจําเปนบางกลุมเปาหมาย แตในการหาความเหมาะสมของโครงรางคูมือโดยผูเชี่ยวชาญ มีบางประเด็นที่มีคาเฉลี่ยความเหมาะสมนอยกวาประเด็นอื่น ไดแก จุดประสงคในคูมือขอ 2 “ครูผูสอนสามารถศึกษาคูมือดวยตนเองและสามารถนําความรูจากการศึกษาคูมือ มาเปนแนวทางในการประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริงของตนเองได” และแบบฝกที่ 2 การกําหนดวิธีวิจัย มีคาเฉลี่ยความเหมาะสม เทากับ 3.80 ซึ่งผูวิจัยจะไดนําประเด็นดังกลาวไปพิจารณาปรับปรุงกอนนําคูมือวิจัยในชั้นเรียนไปใชในสถานการณจริง

2. ผลการวิจัยจากการทดลองหาคุณภาพคูมือวิจัยในชั้นเรียน พบวา ครูผูสอน ที่ศึกษาคูมือมีคะแนนผลสัมฤทธิ์และคะแนนเจตคติจากการวัดผลสัมฤทธิ์และวัดเจตคติหลังใชคูมือสูงกวาคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการทดสอบความรูและเจตคติกอนใชคูมือยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 แสดงใหเห็นถึง คูมือวิจัยในชั้นเรียนสรางและพัฒนาขึ้นนี้มีคุณภาพสามารถนําไปใชเปนคูมือในการสงเสริมใหครูผูสอนสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนไดเปนอยางดี ดังนั้น ผูบริหารควรศึกษาคูมือใหเขาใจอยางชัดเจนเพื่อจะไดนําคูมือวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 89: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

80

ไปใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน และสามารถนิเทศ ติดตาม กํากับและใหคําปรึกษาในการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ

3. เนื่องจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 วาดวยแนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 24(5) ไดกําหนดวา “ใหสถานศึกษาสงเสริมสนับสนุนใหครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม สื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู ตลอดจนสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู” และมาตรา 30 กําหนด “ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหครูทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา” ผูบริหารควรใหความสําคัญกับการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน และในฐานะผูบริหารตองเปนผูนําทางวิชาการผูบริหารจึงควรศึกษาคูมือใหเขาใจ และจัดทําแผนการพัฒนาการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนใหสอดคลองกับสภาพการจัดการเรียนการสอนและจัดสรรงบประมาณสงเสริมและสนับสนุนใหครูทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนในสถานศึกษา

4. คูมือวิจัยในชั้นเรียนนี้ สามารถใชสําหรับการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียนไดตามสภาพจริงเทานั้นแตไมสามารถใชสําหรับเปนผลงานทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพได ดังนั้น เมื่อครูผูสอนศึกษาคูมือวิจัยในชั้นเรียนจนมีความรูพื้นฐานและแนวทางในการวิจัยแลวขั้นตอไปคุณครูควรจะไดศึกษาการทําวิจัยในชั้นเรียนในเชิงวิชาการเพื่อนําไปพัฒนาวิชาชีพ ใหเจริญกาวหนาในโอกาสตอไป

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป1. จากผลการวิจัยเจตคติตอการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียน

องคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) พบวา ครูผูสอนสวนมากมีเจตคติที่ดีตอการทําวิจัยในชั้นเรียน แตยังไมไดดําเนินการวิจัยเกี่ยวกับความสามารถและศักยภาพการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน ดังนั้น การวิจัยครั้งตอไปจึงควรวิจัยเกี่ยวกับความสามารถและศักยภาพของครูผูสอนในการทําวิจัยในชั้นเรียน เพื่อใหครูผูสอนสามารถใชการวิจัยในชั้นเรียนเปนเครื่องมือในการแกปญหาและพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพไดอยางถองแทตอไป

2. การวิจัยครั้งตอไปควรจะศึกษาเกี่ยวกับการสรางและพัฒนาคูมือการทําวิจัย ในชั้นเรียนเชิงวิชาการที่มีระเบียบแบบแผนที่เครงครัดขึ้น มีการเขียนรายงานเชิงวิชาการ 5 บท เพื่อครูผูสอนจะไดนําไปใชประโยชนในการพัฒนาวิชาชีพไดตอไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 90: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

บรรณานุกรม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 91: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

82

บรรณานุกรม

กาญจนา วัฒนสุนทร. (2545). การวิจัยในชั้นเรียนและคุณภาพการเรียนการสอน [Online].เขาถึงไดจาก : http:www.ston.ac.th/thai/school/sed/sevice/kanjana.do[2551, กุมภาพันธ 10]

กิตติพร ปญญาภิญโญผล. (2549). วิจัยปฏิบัติการ : แนวทางสําหรับครู. กรุงเทพ : มันทพันธ พริ้นติ้ง. โกศล ศรีขาว. (2544). การศึกษารูปแบบที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาครูเรื่องการวิจัยในชั้นเรียน

โรงเรียนกรมสามัญศึกษา จังหวัดพังงา [Online]. เขาถึงไดจาก : http:www.thaiedresearch.org/result/inof2.php?id 6822 [2551, กุมภาพันธ 10]

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สํานักงาน. (2546). การทําวิจัยชั้นเรียนแบบงาย. กรุงเทพฯ : ผูแตง.

คุรุรักษ ภิรมยรักษ. (2544). เรียนรูและฝกปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 4). ชลบุรี : งานชาง.จินดารัตน ทาริน. (2548). ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนสังกัด

เทศบาลนครลําปาง. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

จุรีรัตน หลีกภัย. (2550). การพัฒนาคูมือฝกอบรมครู เรื่องการวิจัยในชั้นเรียน สําหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอําเภอกะเปอร จังหวัดระนอง. ภาคนิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

ชาตรี เกิดธรรม. (2545). อยากทําวิจัยชั้นเรียนแตเขียนไมเปน (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง.

ดุสิต จันทรผง. (2548). บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการสงเสริมการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เขต 1. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ทัศนา แสวงศักดิ์. (2543). การวิจัยทางการศึกษา ในแบบแผนและเครื่องมือการทําวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมณี. (2540). การวิจัยทางการศึกษาในแบบแผนและเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เทวี พรหมมินตะ. (2544). ผลของการเสริมพลังอํานาจโดยการพัฒนาความสามารถ ดานการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตามแนวคิดความรวมมือ : การออกแบบดวยวิธีผสมผสาน. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 92: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

83

นงคราญ ยันตทองอยู. (2549). ความพรอมในการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนประถมศึกษา อําเภอสารภี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม เขต 4. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

นวลจันทร รัตนพร. (2550). การพัฒนาหลักสูตร การสรางพลังชุมชนเพื่อพัฒนาสถานีอนามัยตามโครงการสถานที่ทํางานนาอยูนาทํางาน สําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข.วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพัฒนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

นันทวัน สวัสดิ์ภูมิ. (2540). เสนทางพัฒนาครูนักวิจัย : การวิจัยรายกรณีครูดีเดนระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธิครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

บัญชา อึ๋งสกุล. (2546). เสนทางสูการวิจัยในชั้นเรียน : เสนทางสูครูอาชีพ. วารสารวิชาการ, 6(3), 5บุญชม ศรีสะอาด. (2543). วิธีการทางสถิติสําหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. _______. (2545). การวิจัยเบื้องตน ฉบับปรับปรุงใหม (พิมพครั้งที่7). กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาสน.ปทุมมาศ นนทประเสริฐ. (2544). การพัฒนาหลักสูตรอบรม เรื่องการบริหารจัดการโครงการ

สิ่งแวดลอมศึกษา สําหรับครูมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประกิต เอราวรรณ. (2542). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : ดอกหญาวิชาการ.ประดับ เรืองมาลัย. (2542). หลักการและการเตรียมประสบการณภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ :

วัฒนาพานิช.ประเทศ ดวงพัตรา. (2542). เอกสารการอบรมเชิงปฏิบัติการ สรางเครื่องมือวิจัยในชั้นเรียน.

สุราษฎรธานี : สํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา.ประภารัตน มีเหลือ. (2540). การศึกษาสมรรถภาพของครูนักวิจัย. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.ประสิทธิ ศักดิ์คําดวง. (2544). ความตองการการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียน

ประถมศึกษา อําเภอเกษตรวิสัย จังหวัดรอยเอ็ด. [Online]. เขาถึงไดจาก :http://rrr.theiedresearch.org/result/info2.php?id 6822 [2551, กุมภาพันธ 10]

ปรีชา ชางขวัญยืน และ คนอื่น ๆ. (2542). เทคนิคการเขียนและผลิตตํารา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 93: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

84

ปรีชา สัจจากุล. (2549). การพัฒนาคูมือระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห 38 จังหวัดระนอง. ภาคนิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

ปยะทิพย บุญหนัก. (2548). ปญหาดานการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนสังคมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ผกามาศ หอมกอ. (2551). การพัฒนาคูมือวิจัยชั้นเรียนแบบงายสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็กเครือขายนาสาร อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธาน.ี ภาคนิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.

ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2543). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

พยุงศักดิ์ จันทรสุรินทร. (2541, สิงหาคม). การวิจัยในชั้นเรียน:ทางเลือกใหมของการนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. วารสารวิชาการ, 2(5):2-12.

พรอมพรรณ อุดมสิน. (2542). ประมวลบทความ : การเรียนการสอนและวิจัยระดับมัธยมศึกษา.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). การวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

_______. (2547). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

_______. (2551). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

พิมพพันธ เตชะคุปต. (2544). วิจัยในชั้นเรียน : หลักการสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรกรุป แมเนจเมนท.

พิสณุ ฟองศรี. (2547). การวิจัย : การวิจัยชั้นเรียน. สุราษฎรธานี : คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎรธานี.

_______. (2549). วิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : พรอพเพอรตี้พริ้น._______. (2550). การเขียนรายงานการวิจัยชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : พรอพเพอรตี้พริ้น._______. (2551). วิชัยชั้นเรียน : หลักการและเทคนิคปฏิบัติ (พิมพครั้งที่5). กรุงเทพฯ :

พรอพเพอรตี้พริ้น.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 94: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

85

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550). ชุดฝกปฏิบัติการเหนือตํารา : การทําวิจัยในชั้นเรียน. พิษณุโลก : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ยาใจ พงษบริบูรณ. (2537, กันยายน). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ. วารสารศึกษาศาสตร, 17(2):11-15.เยาวภา เจริญบุญ. (2547). การศึกษาองคประกอบที่สําพันธกับการวิจัยในชั้นเรียนของครู

มัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

รัตนา ศรีเหรัญ. (2547, มีนาคม). ครู : นักวิจัยในชั้นเรียน. ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 24(2),27.

รัตนาภรณ วรรณคํา. (2549). สภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครูประถมศึกษาในอําเภอไชยปราการจังหวัดเชียงใหม. วิทยนิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

รับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา, สํานักงาน. (2547). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริหวานกราฟฟค.

ลัดดา กองคํา. (2541). การศึกษาสภาพการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน.

วารุณี โพธิ์บุตรดี. (2547). การศึกษาผลการใชผลการวิจัยและผลกระทบจากการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูนักวิจัย. วิยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.วีรพล ฉลาดแยม. (2544). การทําวิจัยชั้นเรียนของครูประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา

จังหวัดหนองบัวสําภู. วิยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยขอนแกน.

ศักรินทร สุวรรณโรจน และ คนอื่น ๆ. (2535). เสนทางกาวหนาของขาราชการครู : คูมือการจัดทําผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ : ประดิพัทธการพิมพ.

สกาวรัตน ชุมเชย. (2543). การนําเสนอรูปแบบการวิจัยปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาครูประถมศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐาน. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 95: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

86

สงสุข ไพละออ. (2547). ผลของการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีผลตอการพัฒนาความรูและกระบวนการทํางานของครูประถมศึกษา : การผสมวิธีวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ.วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมพร พุตตาล เบ็ทซ. (2539, ธันวาคม). การจัดทําคูมือปฏิบัติงาน. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, 3(8),5.

สรชัย พิศาลบุตร. (2547). วิจัยใครวายาก. กรุงเทพฯ : จูนพับลิชชิ่ง.สามัญศึกษา, กรม. (2540). ชุดฝกอบรมดวยตนเอง เรื่องการวิจัยในชั้นเรียน หนวยที่ 10 การนํา

ผลวิจัยไปใช. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม.สามารถ ปรุงสุวรรณ. (2545). การพัฒนาคูมือครูในโรงเรียนทหารชาง. ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.สายศิลป สายืน. (2544). ปจจัยที่เอื้อตอการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด

กรมสามัญศึกษา จังหวัดหนองบัวลําภู. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สิทธิพร คลายเมืองปก. (2543). ยาขมหมอใหญของครูสมัยเกา. วารสารขาราชการครู, 2(4), 38-39.สุพัฒน มีสกุล. (2546). กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพครูในการทําวิจัยในชั้นเรียน โรงเรียน

คลองลานวิทยา จังหวัดกําแพงเพชร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและสถิติการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สุภาพร มั่นเกตุวิทย. (2544). ตัวอยางการวิจัยในชั้นเรียนประสบการณตรงของครูตนแบบ.กรุงเทพฯ : ธารอักษร.

สุมาลี จันทรชลอ. (2547). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : เลี่ยงเชียง.สุวัฒนา สุวรรณเขตนิยม. (2540). หลักการแนวคิดและรูปแบบเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน.

กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา. (2546). 19 วิธีจดการเรียนรู : เพื่อพัฒนาความรูและทักษะ.

กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ.สุวิมล วองวานิช. (2546). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ :

ดานสุทธาการพิมพ._______. (2548). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 96: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

87

โสภิดา พัฒนาภรณ. (2540). การสรางและทดลองใชหลักสูตรฝกอบรมสิ่งแวดลอมศึกษาเรื่อง การอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเลสําหรับครูมัธยมศึกษาตอนตน ศึกษาเฉพาะจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหิดล.

อนุชิต เชิงจําเนียร. (2545). คูมือการจัดกิจกรรมเสริมสรางคุณลักษณะคนดีของนักเรียนนักศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา. ปริญญานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.

อภิภู สิทธิภูมิมงคล. (2545). การพัฒนาชุดฝกอบรมการวิจัยชั้นเรียนเรื่อง การพัฒนาและทดลองใชนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัจฉรา สระวาสี. (2540). การวิจัยแบบมีสวนรวม. วารสารขาราชการครู, 17(5), 15-17.อุทุมพร จามรมาร. (2537). การวิจัยของครู เลมที่ 15. กรุงเทพฯ : ฟนนี่พลับลิชชิ่ง.เอกวุฒิ ไกรมาก. (2541). การสรางคูมือในการจัดหาและใชประโยชนวิทยากรทองถิ่นสอนวิชา

ชางอุตสาหกรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาอุตสาหกรรมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.

Anger, W,R. (2000). Using Action Research to Open the Door to Life - Long Professional Leaning. Journal of Education.

Kenneth, Michael. (1992). Developing Teacher - Research in High School : A Case Study ofA Planed Intervation. University of Pensylvania.

Smulyan, Lisa. (1998). The Collaboration.Process in Action Research. Education Research Quarterly. Educational Research Quarterly, 12(1) : 47-56

Tunner, Marsha Rose. (1992). English Teacher in the Classroom: How can Research Inform Practice? (Classroom Practice). Indiana : Indiana University.

Waworumtu, Bob. (1986). The Research Productivity of Faculty in Indonesia Public Higher Education. New York : State University of New York.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 97: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 98: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก กหนังสือขอความอนุเคราะห

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 99: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ที่ ศธ ๐๕๖๑.๑๑/ว๐๖๘๕ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๑๐๐

๑๖ กันยายน ๒๕๕๒

เรื่อง ขอความอนุเคราะหตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

เรียน

สิ่งที่สงมาดวย ๑. เครื่องมือวิจัย จํานวน ๑ ชุด ๒. ภาคนิพนธบทที่ ๑ และบทที่ ๓

ดวย นางพัชรพร สันติวิจิตรกุล นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี กําลังศึกษาวิจัยเพื่อทําภาคนิพนธเรื่อง “การพัฒนาคูมือวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี” ขณะนี้อยูในขั้นตอนการสรางเครื่องมือวิจัยใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อนําไปใชในการศึกษาวิจัยตอไป

ในการนี้ บัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาเห็นวาทานเปนผูมีความรอบรู และมีความเชี่ยวชาญ ในเรื่องดังกลาว จึงขอความอนุเคราะหทานในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย พรอมทั้งใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนทางวิชาการแกนักศึกษาตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและหวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารยชูศักดิ์ เอกเพชร) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยโทรศัพท/ โทรสาร ๐-๗๗๓๕-๕๔๗๐, ๐-๗๗๙๑-๓๓๑๖

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 100: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก ขคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด

สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 101: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

92

คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑

(ดอนสักผดุงวิทย)

พัชรพร สันติวิจิตรกุล

ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 102: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

93

คํานํา

การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) เปนกระบวนการที่ครูผูสอนใชในการศึกษาคนควาเพื่อแกปญหา หรือพัฒนาผูเรียนและการจัดการเรียนการสอนที่ตนรับผิดชอบ ซึ่งมีจุดเนนคือการแกปญหาหรือพัฒนาอยางเปนระบบ ดังนั้นในการทําวิจัยในชั้นเรียนครูผูสอนจึงตองดําเนินงานทั้ง 3 บทบาท กลาวคือ ครูในฐานะนักวิจัย ครูในฐานะนักการสอน และครูในฐานะนักพัฒนา

ปญหาสําคัญในการทําวิจัยในชั้นเรียน ซี่งไดจากการสัมภาษณพูดคุยกับครูผูสอนโดยตรงพบวา ครูสวนใหญยังขาดความรูความเขาใจ ยังสับสนเรื่องการทําวิจัยในชั้นเรียนอยูไมสามารถดําเนินการทําวิจัยในชั้นเรียนได หรือไมทราบวาจะเริ่มตนทําวิจัยในชั้นเรียนไดอยางไร

คูมือวิจัยในชั้นเรียนนี้จัดทําขึ้นเพื่อเสนอสาระในประเด็นหลักของแนวคิดการวิจัย ในชั้นเรียน ซึ่งมีเนื้อหาตั้งแตความรูพื้นฐาน กระบวนการขั้นตอนของการวิจัยในชั้นเรียน ตลอดจนการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ซี่งครูผูสอนสามารถศึกษาไดดวยตนเองและทํากิจกรรมตามที่กําหนด โดยนําความรูไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานจริงได

หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือวิจัยในชั้นเรียนนี้คงเปนประโยชนในการทําวิจัยในชั้นเรียน ในฐานะนักวิจัย นักการสอน และนักพัฒนา

พัชรพร สันติวิจิตรกุล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 103: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

94

คําชี้แจง

1. คูมือการวิจัยในชั้นเรียนนี้ประกอบดวยเนื้อหาสาระสําคัญและกิจกรรม 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 แนวคิดในการทําวิจัยในชั้นเรียน ตอนที่ 2 การดําเนินการวิจัยในชั้นเรียนและตอนที่ 3 แบบฝกปฏิบัติการดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน

2. วัตถุประสงคของคูมือการวิจัยในชั้นเรียน 2.1 เพื่อใหครูผูสอนมีความรูความเขาใจ และมีเจตคติที่ดีตอการนําการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแกปญหา และพัฒนาผูเรียนไดอยางแทจริง

2.2 ครูผูสอนสามารถศึกษาคูมือดวยตนเองและนําความรูจากการศึกษาคูมือมาเปนแนวทางในการประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริงของตนเองได 3. คูมือการวิจัยในชั้นเรียนนี้ ครูผูสอนสามารถศึกษาดวยตนเอง ซึ่งการนําเสนอเนื้อหาสาระในแตละตอนมีความสัมพันธกับการนําความรูไปใชปฏิบัติงานจัดการเรียนการสอนของครูผูสอน ครูผูสอนจะตองลงมือปฏิบัติกิจกรรมไปพรอมกับการศึกษาคูมือดวย จะชวยใหครูไดมีความรูและทักษะที่ไดนําไปใชในการปฏิบัติไดเปนอยางดี

4. แนวทางการศึกษาคูมือศึกษาคูมือตอนที่ 1 เพื่อใหมีความรูความเขาใจศึกษาคูมือตอนที่ 2 เพื่อหาแนวทางในการนําความรูไปใชปฏิบัติในการจัดการเรียน

การสอนศึกษาคูมือตอนที่ 3 เพื่อลงมือปฏิบัติจริงในการทําวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 104: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

95

สารบัญ หนา

คําชี้แจง........................................................................................................................................ 94สารบัญ ........................................................................................................................................ 95ตอนที่ 1 แนวความคิดในการทําวิจัยในชั้นเรียน......................................................................... 96

ความหมายของงานวิจัย : เหตุผลที่ครูตองทํางานวิจัย ................................................ 96 ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรู ..................................................... 97 ความหมายของวิจัยในชั้นเรียน .................................................................................... 99 มโนทัศนของการวิจัยในชั้นเรียน ................................................................................ 99 วิจัยในชั้นเรียน ............................................................................................................ 102 ตอนที่ 2 การดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน ..................................................................................... 103 ขั้นตอนการทําวิจัยในชั้นเรียน ..................................................................................... 104 ขั้นที่ 1 การกําหนดปญหาหรือเปาหมายการวิจัย ......................................................... 104 ขั้นที่ 2 การกําหนดวิธีการวิจัย ..................................................................................... 106 ขั้นที่ 3 การรวบรวมขอมูลตามวิธีการที่กําหนด ........................................................... 108 ขั้นที่ 4 การวิเคราะหประมวลผล ตีความ ................................................................... 109 ขั้นที่ 5 การสรุปและเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ................................................. 111 ตัวอยางรายงานการวิจัย ............................................................................................... 111ตอนที่ 3 แบบฝกปฏิบัติดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน .................................................................... 116 แบบฝกหัดที่ 1 ฝกเขียนปญหาการวิจัย ........................................................................ 116 แบบฝกหัดที่ 2 ฝกกําหนดวิธีการวิจัย .......................................................................... 117 แบบฝกหัดที่ 3 ฝกรวบรวมขอมูลตามวิธีการที่กําหนด ................................................ 118 แบบฝกหัดที่ 4 ฝกวิเคราะห ประมวลผล ตีความ ....................................................... 119 แบบฝกหัดที่ 5 ฝกสรุปและเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน ...................................... 120บรรณานุกรม ............................................................................................................................... 122

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 105: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

96

ตอนที่ 1

แนวคิดในการทําวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายของการวิจัย : เหตุผลที่ครูตองทําวิจัย

การวิจัย (Research) เปนกระบวนการคนควาหาความรูเพื่อตอบคําถามหรือแกปญหาอยางเปนระบบดวยวิธีการที่เชื่อถือไดหรือวิธีการทางวิทยาศาสตร ซึ่งกระบวนการคนควาหาความรูตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจน โดยเริ่มจากที่ครูจะตองรูวา คําถามที่ตองการคําตอบคืออะไร ขอมูล ที่จะนํามาตอบคําถามเหลานั้น ไดแก ขอมูลอะไรบาง จะใชวิธีการและเครื่องมืออะไรในการรวบรวมขอมูลดังกลาว วิธีการและเครื่องมือเหลานั้นจะกําหนดและสรางอยางไรจึงจะเหมาะสมและทําใหไดมาซึ่งขอมูลที่ดี เชื่อถือได เมื่อไดขอมูลแลวจะวิเคราะหอยางไรจะแปลความหมายผลการวิเคราะหอยางไร เพื่อที่จะตอบคําถามที่กําหนดไว การวิจัยโดยทั่วไปมีขั้นตอน (พิสณุ ฟองศร.ี 2551 : 9) ดังนี้ 1. การกําหนดปญหา/หัวขอวิจัย 2. การคนควาและทบทวนเอกสาร 3. การกําหนดตัวแปรและสมมุติฐาน 4. การเลือกแบบการวิจัย 5. การสุมหรือเลือกกลุมตัวอยาง 6. การเก็บรวบรวมขอมูล 7. การวิเคราะหขอมูล 8. สรุปผลและเขียนรายงาน กระบวนการวิจัยจะเปนเครื่องมือที่ดีในการแสวงหาความรูในงานทุกสาขาอาชีพ รวมทั้ง งานการศึกษา โดยใชในการคนหาองคความรูหรือขอคนพบในการแกปญหาหรือพัฒนางานไดอยางเปนระบบ นาเชื่อถือ

การจัดการเรียนการสอนของครูนับไดวาเปนวิชาชีพชั้นสูงที่ตองการความเชื่อถือได ในผลงาน ซึ่งถาครูไดนําการวิจัยมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอน หรือแกไขปญหาการเรียนรูของนักเรียน จะสามารถพัฒนานักเรียนไดอยางมีคุณภาพ เต็มศักยภาพตามความแตกตางระหวางบุคคล ซึ่งเปนการประกันคุณภาพ อันจะสงผลใหผูเกี่ยวของโดยเฉพาะอยางยิ่งบิดามารดา ผูปกครองของนักเรียนมีความมั่นใจและเชื่อถือในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาไดเปนอยางดี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 106: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

97

ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรู

การปฏิบัติการสอนของครูตามปกติ ครูทุกคนมักคิดหาวิธีการหรือรูปแบบการสอนที่จะชวยใหนักเรียนในความรับผิดชอบของตนไดเรียนรูหรือมีพัฒนาการไดอยางมีคุณภาพสูงสุด ซึ่งการปฏิบัติดังกลาวเปนผลสะทอนไดเปนอยางดีวา การวิจัยไดเขามามีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนตามปกติของครูนั่นเอง ซึ่งสามารถเขียนเปนแผนภูมิแสดงได ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 107: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

98

ภาพที่ 1 ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรูที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2546

กระบวนการวิจัย กระบวนการจัดการเรียนการสอน

1. การกําหนดปญหา/ ประเด็นการพัฒนา

4. วิเคราะหขอมูล/แปลผล

สรุปและรายงานผล

2. ออกแบบการเรียนรู2.1 ทําความรูจักนักเรียน2.2 เลือกวิธีสอน2.3 เลือกสื่อ2.4 เลือกวิธีวัดผลประเมินผล

1. การจัดทําหนวยการเรียนรู

3.จัดทําแผนการจัดการเรียนรู

4. การจัดการเรียนรู

5. การวัดและประเมินผล การเรียนรู

6. การพัฒนาปรับปรุงแกไข

1. ขั้นเตรียมการจัดการเรียนรู1.1 การวางแผน (จัดทําหลักสูตร)1.2 กําหนดสาระการเรียนรู1.3 ออกแบบการจัดการเรียนรู

1.3.1 กําหนดจุดประสงคการเรียนรู1.3.2 กําหนดกิจกรรมการเรียนรู1.3.3 กําหนดสื่อ/ แหลงเรียนรู1.3.4 กําหนดแนวทาง /วิธีการ

ประเมินผลการเรียนรู1.4 จัดทําแผนการจัดการเรียนรู

ในแตละครั้ง จุดประสงค สาระ กิจกรรม และการประเมินผล การเรียนรู

2. ขั้นสอน2.1 การจัดการเรียนรูตามกิจกรรมที่กําหนด2.2 วัดผลประเมินผล บันทึกผลหลังสอน2.3 พัฒนาปรับปรุงแกไข

2. กําหนดวิธีแกไข/พัฒนา

3. ดําเนินการและเก็บขอมูล

3. ขั้นสรุป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 108: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

99

จากภาพขางตน เปนการปฏิบัติงานของครูตามปกติ จะเห็นวาการวิจัยไดเขามามีบทบาทตั้งแตการเตรียมการจัดการเรียนรู ทั้งนี้เพราะครูตองมีขอมูลนักเรียนและตองรูจักนักเรียนรายบุคคล และเลือกวิธีการจัดการเรียนรูที่คิดวาเหมาะสม หรือคาดวาเปนวิธีการที่ทําใหบรรลุเปาหมาย และ ลงมือปฏิบัติการสอน ประเมินผลนักเรียนแลว ครูจะตองศึกษาผลที่เกิดขึ้นหลังจากการสอนเพื่อนํามาพัฒนาหรือปรับปรุงแกไขวิธีสอนใหเหมาะสมกับนักเรียนมากยิ่งขึ้นและประเด็นของการพัฒนาหรือแกไขนี้เองเปนประเด็นสําคัญที่ครูไดพัฒนานักเรียนตรงกับปญหาและเปนระบบ โดยในแตละขั้นตอนการทํางานของครูหากครูไดนํากระบวนการวิจัยเขามาใชก็ยิ่งเปนการชี้ชัดวาครูไดจัด การเรียนรูโดยใชกระบวนการวิจัย

ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน

การวิจัยในชั้นเรียน เปนการปฏิบัติงานที่ครูผูสอนดําเนินการควบคูกับการสอนปกติ เพื่อนําผลการวิจัยไปใชแกปญหา และเปนการแสวงหาวิธีการที่เปนระบบเพื่อนําไปสูการแกปญหา โดยคนหาเหตุและผลของปญหาที่ศึกษาคนควานั้น โดยอาศัยขอมูล ประสบการณ หลักฐานที่พิสูจนทดสอบไดและตองเปนขอมูลที่ถูกตองบรรยายได โดยครูมีบทบาทเปนผูวิจัย นักการศึกษาจึงไดใหความหมายของการวิจัยในชั้นเรียนไวอยางหลากหลาย ดังนี้

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547 : 21) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การวิจัยปฏิบัติการ ที่ครูไดแสวงหาวิธีการหรือทางเลือกในการแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนรู เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน

สุวิมล วองวาณิช. (2547 : 21) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยที่ทําโดยครูผูสอนในชั้นเรียน เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน และนําผลมาใชในการปรับปรุงการเรียนการสอนหรือสงเสริมพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนใหดียิ่งขึ้น โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด กับผูเรียน เปนการวิจัยที่ตองทําอยางรวดเร็ว นําผลไปใชไดทันที และสะทอนขอมูลเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานตาง ๆ ในชีวิตประจําวันของตัวครูเองและกลุมเพื่อนครูในโรงเรียนไดมีโอกาสวิพากษอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรูในแนวทางที่ไดปฏิบัติ และผลที่เกิดขึ้นเพื่อพัฒนาการเรียนรู ทั้งของครูและผูเรียน

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550 : 2) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียนคือ การดําเนินการของครูอยางเปนระบบในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการสะทอนผล และหาวิธีการแกปญหาตามสภาพ ที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน ดวยกระบวนการวิจัยที่เชื่อถือได เพื่อการแกไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา และเพิ่มพูนความรู เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดกับผูเรียน ทั้งในดานที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร และการบริหารจัดการเรียนการสอน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 109: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

100

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551 : 21) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการสืบคนหา ขอเท็จจริง คําตอบ องคความรูใหม หรือการสรางพัฒนานวัตกรรมตาง ๆ ดวยวิธีการที่เปนระบบและเชื่อถือไดเพื่อใหไดขอคนพบ คําตอบ องคความรูใหมหรือนวัตกรรมที่เชื่อถือได

พิสณุ ฟองศรี. (2551 : 4) กลาววา การวิจัยในชั้นเรียน เปนกระบวนการคนควาหาความรูอยางเปนระบบดวยวิธีการที่เชื่อถือไดหรือวิธีการทางวิทยาศาสตร ทําโดยครูผูสอนภายในหองเรียนหรือภายใตความรับผิดชอบของตน เนนการนําผลไปใชจริงเพื่อปญหาหรือพัฒนาผูเรียน

จากความหมายของการวิจัยในชั้นเรียนที่กลาวมาทั้งหมดนั้นสรุปไดวา การวิจัยในชั้นเรียน คือ การดําเนินการของครูอยางเปนระบบในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการสะทอนผล และหาวิธีการแกปญหาตามสภาพที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน ดวยกระบวนการวิจัยที่เชื่อถือได เพื่อการแกไข ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง พัฒนา และเพิ่มพูนความรู เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดกับผูเรียน ทั้งในดานที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร และการบริหารจัดการเรียนการสอน ดังภาพสรุป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 110: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

101

ที่มา : มนสิช สิทธิสมบูรณ. 2550

การวิจัยในชั้นเรียนคือ

ใคร ครูผูสอน

ตามสภาพที่เกิดขึ้นจริงในชั้นเรียน

เก็บขอมูลเพื่อสะทอนผลและหาวิธีการแกปญหา

ในขณะจัดการเรียนการสอน

ดวยกระบวนการวิจัยที่เชื่อถือได

แกปญหา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาและเพิ่มพูนความรูใหเกิดประโยชนสูงสุดกับผูเรียน

การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนพัฒนาหลักสูตรและการบริหาร

ทําอะไร

เมื่อไร

เพื่ออะไร

อยางไร

เกี่ยวกับอะไร

ที่ไหน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 111: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

102

มโนทัศนของการวิจัยในชั้นเรียน

มโนทัศนสําคัญ ๆ ของการวิจัยในชั้นเรียน (พิชิต ฤทธิ์จํารูญ. 2551 : 24) มีดังนี้1. การวิจัยในชั้นเรียนเปนนวัตกรรมรูปแบบหนึ่งที่มีจุดมุงหมายหลักเพื่อนํา

ผลการวิจัยไปพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนสําหรับครูอาชีพ (Professional Teacher) 2. การวิจัยในชั้นเรียนเปนการวิจัยที่ทําโดยครู ของครู เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู 3. การวิจัยในชั้นเรียนเปนการวิจัยปฏิบัติการที่มีวงจรของการทํางานแบบ PAOR กลาวคือ 3.1 มีการวางแผนการดําเนินงาน (Plan) หรือการวางแผนการวิจัยนั่นเอง 3.2 มีการลงมือปฏิบัติการ (Action) โดยดําเนินการวิจัย ปฏิบัติการแกไขปญหา พัฒนาผูเรียนหรือทดลองตามแบบแผนที่กําหนด 3.3 มีการสังเกต (Observe) โดยมีการรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลจาก ผลการแกไขปญหาหรือพัฒนาผูเรียน 3.4 มีการสะทอนผลกลับ (Reflect) โดยนําขอคนพบที่ไดยอนกลับไปสูการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง 4. การวิจัยในชั้นเรียน เปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนหรือสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู การวิจัยในชั้นเรียนจึงเปนงานเสริมการสอนของครูเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน การดําเนินการวิจัยตองไมทําความยุงยากหรือกระทบตอการจัดการเรียนการสอนตามปกติ

การวิจัยในชั้นเรียนมีขั้นตอนคลายกับการวิจัยทั่วไป แตบางขั้นตอนอาจแตกตางในรายละเอียดหรืออาจตัดออก หรือเปนความยืดหยุนมากกวา เชน ขั้นตอนการสุมและเลือกกลุมตัวอยางสวนใหญไมจําเปนเนื่องจากการศึกษาในหองเรียนอาจศึกษาจากผูเรียนเพียงคนเดียว หรือมีนักเรียนกลุมเดียวที่ตองการแกไขหรือพัฒนา การทบทวนศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของก็อาจไมจําเปนมากนัก เนื่องจากสวนใหญเปนการพัฒนาผูเรียนโดยใชนวัตกรรมตาง ๆ การวิจัยในชั้นเรียนจึงมีขั้นตอน ในการดําเนินการ (พิสณุ ฟองศรี. 2551 : 10) ดังนี้

1. การสํารวจและกําหนดปญหาเพื่อเตรียมเรื่องวิจัย2. การคนควาและทบทวนเอกสาร3. การสรางและพัฒนานวัตกรรมตาง ๆ4. การกําหนดตัวแปรและสมมติฐาน5. การเลือกแบบวิจัยและกําหนดกลุมตัวอยาง (ถามี)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 112: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

103

6. การสรางและพัฒนาเครื่องมือเก็บขอมูล7. การวิเคราะหขอมูล8. การเขียนเคาโครงและรายงานการวิจัย

จากขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียนที่กลาวมาขั้นตนพอจะใหเหตุผลไดวา ทําไมครูจึงไมทําวิจัยในชั้นเรียน จากสภาพงานการสอนที่มากและรัดตัว และความเขาใจวาการวิจัยแยกสวนออกจากการเรียนการสอนตามปกติ การเสนอแนวทางการวิจัยในชั้นเรียน จึงเปนทางเลือกใหมที่นาสนใจสําหรับครูผูสอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในโรงเรียนขนาดเล็กที่ครูผูสอนไมครบชั้น ซึ่งจะชวยใหครูผูสอนมีเจตคติที่ดีตอการวิจัยในชั้นเรียน และครูผูสอนนําการวิจัยในชั้นเรียนไปใชควบคูกับ การจัดการเรียนการสอนในโอกาสตอไป

วิจัยในชั้นเรียน

จากสภาพปญหาของครูผูสอนในปจจุบันที่มีปริมาณงานรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งงานหลักของครูคือ งานสอน ซึ่งเปนงานที่มีความละเอียด ลึกซึ้ง ลักษณะการวิจัยที่ครูใช ใหเหมาะสมจึงตองมีความสอดคลองกับภาระงานของครูไมเปนงานที่แยกจากการจัดการเรียนการสอนที่ครูปฏิบัติอยูตามปกติ

ดังนั้น ลักษณะงานวิจัยที่เหมาะสมกับครูจึงนาจะเปนการวิจัยที่ทํางาย ๆ กระบวนการ ไมซับซอน ใชเวลาไมมากอละสอดคลองกลมกลืนกับงานการเรียนการสอนตามปกติ ซึ่งเรียกวา “การวิจัยในชั้นเรียนแบบงาย”

การวิจัยในชั้นเรียน เปนทางเลือกสําหรับครูผูสอนในการทําวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนา การจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับสภาพจริงในการปฏิบัติการสอนและขอจํากัดของครู ซึ่งการทําวิจัยในชั้นเรียนจะประเด็นสําคัญ ดังนี้ (คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2546 : 4) เปนการพัฒนานักเรียนอยางเปนระบบ เชื่อถือได ดําเนินการในสภาพการทํางานตามปกติของครูโดยครูเปนผูวิจัย

แนวคิดในการวิจัยในชั้นเรียน คือ การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน โดยมีขอบเขตของเรื่องที่วิจัยไมมากนัก แลวมีการสรุปผลการวิจัย เขียนเปนรายงานผลการวิจัยที่สมบูรณและครอบคลุมประเด็นสําคัญ โดยการเขียนที่มีจํานวนหนาไมมากนัก เชน อาจเปนหนึ่งหนาหรือที่เรียกวา “การวิจัยหนาเดียวหรือแผนเดียว” หรืออาจจะมีมากกวาหนึ่งหนา รายงานการวิจัยในชั้นเรียนนี้ตางจากรายงานการวิจัยทั่วไป แตมีความสมบูรณในตัวเองตามประเด็นการวิจัยที่ครูสนใจศึกษาหรือหาคําตอบ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 113: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

104

ตอนที่ 2

การดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน

ขั้นตอนการทําวิจัยในชั้นเรียน

สาระในตอนที่ 1 ไดเสนอขั้นตอนในการทําวิจัยทั่วไป และการทําวิจัยในชั้นเรียน ซึ่ง ไดกลาวมาแลววาไมสอดคลองกับสภาพการปฏิบัติงานของครู โดยเฉพาะอยางยิ่งครูในโรงเรียนขนาดเล็ก ที่ตองมีภาระงานในปริมาณเทากับโรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ แตจํานวนครูมีนอย ดังนั้น ครูแตละคนจึงมีภาระงานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เพื่อใหการทําวิจัยในชั้นเรียนเอื้อตอการทําวิจัยในชั้นเรียน และสรางเจตคติที่ดีตอการทําวิจัยของครูผูสอนจึงขอเสนอขั้นตอนในการทําวิจัย ในชั้นเรียน ซึ่งสอดคลองกับการวิจัยโดยทั่วไปไว 5 ขั้นตอน (คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2546 : 8) ประกอบดวย

1. การกําหนดปญหา หรือเปาหมายการวิจัย2. การกําหนดวิธีวิจัย หรือวิธีหาคําตอบ หรือวิธีการแกปญหาหรือพัฒนางาน3. การรวบรวมขอมูลตามวิธีการที่กําหนด4. การวิเคราะห ประมวล ตีความ โดยนําขอมูลที่รวบรวมมาพิจารณา5. การสรุปและเขียนรายงานการวิจัย

ขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียนที่นําเสนอขางตนดังนี้ เปนการดําเนินการควบคูกับการจัด การเรียนการสอนในชั้นเรียน รายละเอียดแตละขั้นตอนมี ดังนี้

ขั้นที่ 1 การกําหนดปญหาหรือเปาหมายการวิจัย

ปญหาการวิจัย หมายถึง ประเด็น ขอสงสัย หรือคําถามที่ครูนักวิจัยตองการดําเนินการเพื่อหาคําตอบที่ถูกตอง ตรงกับความเปนจริงดวยกระบวนการวิจัย ปญหาการวิจัยมีลักษณะเปนขอสงสัยของครูนักวิจัยตอสภาพการณตาง ๆ ทั้งที่เปนความแตกตางและไมแตกตางระหวางสภาพที่คาดหวังกับสภาพที่เปนจริง ซึ่งในสภาพที่เปนจริงการจัดการเรียนการสอนของครูผูสอนแตละวันตองพบกับปญหามากมาย ครูจึงไมสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนในทุกปญหา ซึ่งความเปนจริงแลวก็ไมมี ความจําเปนที่ครูจะตองทําวิจัยในทุกเรื่อง เพราะบางคําตอบอาจหาไดจากการพุดคุยกับเพื่อนครู จากการศึกษาเอกสารหรือหนังสือทางวิชาการ บางปญหาก็ตอบไดโดยไมตองทําวิจัยเพราะมีการศึกษาไวกอนแลว บางปญหาเล็กนอยมาก จนไมตองวางแผนการวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 114: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

105

ในการพิจารณาปญหาการวิจัยที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน ควรพิจารณาจากผลผลิตในชั้นเรียน นั่นคือผูเรียนเปนที่สําคัญ โดยพิจารณาวาคุณลักษณะผูเรียนเปนไปตามจุดประสงคของการเรียนหรือผลการเรียนรูคาดหวังหรือไม หากวาไมเกิดตามคุณลักษณะที่เราตองการ ก็ตองพิจารณาดูวาสาเหตุเกิดจากปจจัยใด หรือกระบวนการใดในการจัดการเรียนการสอน หรือในกระบวนการเรียนของผูเรียน เพื่อหาประเด็นปญหาที่ครูสามารถแกปญหาดวยตนเองไดรู

การเลือกปญหาและการกําหนดเปาหมายการวิจัย จะตองพิจารณาและเลือกใหเหมาะสมโดยเริ่มจากการเลือกปญหาที่นาสนใจ สําคัญ และเกิดประโยชนจริง สําหรับการวิจัยในชั้นเรียน จะเหมาะสมกับแกปญหาและเปาหมายการวิจัยที่เล็ก ไมใชปญหาใหญที่ตองใชการวิจัยที่ซับซอน จึงจะตอบคําถามได ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนของครูตามปกติจะมีปญหาการวิจัยอยูมาก

ตัวอยางปญหาหรือเปาหมายการวิจัยในชั้นเรียน1. ศึกษาพฤติกรรมความรับผิดชอบของเด็กชายแดง จากการทําหนาที่ประธาน

นักเรียน2. ศึกษาความรูความเขาใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ในบทบาทเรื่องพืช

จากการศึกษาดวยตนเองจากหองสมุด3. ศึกษาแนวทางการแกไขปญหานักเรียนขาดเรียน4. ศึกษาพฤติกรรมการใชหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปที่ 65. ศึกษาผลการใชแบบฝกอานเขียน ในการพัฒนาทักษะการอานและเขียนของ

เด็กชายดํา6. ศึกษาวิธีการพัฒนาทักษะการคิดคํานวณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางการกําหนดปญหาการวิจัยจากการพิจารณาสภาพปญหาสภาพปญหาครูมาลีรับผิดชอบสอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จากการทดสอบทักษะการอาน

และเขียนกอนเริ่มเรียน ตลอดจนการสังเกตและตรวจสมุดงาน พบประเด็นสําคัญที่เปนปญหาคือ นักเรียนอานหนังสือไมคลอง เขียนหนังสือไมคอยถูก โดยนักเรียน จํานวน 13 คน สามารถจัดกลุมตามความสามารถในการอานและเขียนได 4 กลุม คือ กลุมที่ 1 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับมาก อานเขียนไดคลองและถูกตอง กลุมที่ 2 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับดี อานเขียนไดคลองและอานเขียนผิดไมเกิน 5 คํา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 115: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

106

กลุมที่ 3 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับพอใช อานเขียนไดไมคอยคลอง อานและเขียนไมถูกตองเกิน 5 คํา กลุมที่ 4 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับตองปรับปรุง อานเขียนไดไมคลองและสามารถอานเขียนไดไมถึงรอยละ 60 ของคําที่กําหนด มีนักเรียนอยูในระดับปรับปรุง จํานวน 3 คน คือ เด็กชายแดง เด็กชายดํา และเด็กหญิงนิด

ปญหาการวิจัยจะชวยใหเด็กชายแดง เด็กชายดํา และเด็กหญิงนิด อานและเขียนไดคลองและถูกตอง

ไดอยางไรจากตัวอยางการกําหนดปญหาการวิจัยขางตนอาจกลาวไดวา ในการทําวิจัยในชั้นเรียน

ครูอาจเริ่มปญหาการวิจัยไดจาก 2 ประเด็น ไดแก1. ประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน หรือประเด็นที่ครูตองการพัฒนาเพื่อประโยชน

ตอการเรียนการสอน2. ประเด็นปญหาที่ครูบันทึกหลังสอน อาจเปนปญหาที่สําคัญ ซึ่งครูสามารถ

หาคําตอบเพื่อแกไขปญหาดวยกระบวนการวิจัยได

ขั้นที่ 2 การกําหนดวิธีการวิจัย

ขั้นตอนการกําหนดวิธีวิจัยในการทําวิจัยในชั้นเรียน จะกําหนดควบคูกับการกําหนดหนวยการเรียนรู และแผนการจัดการเรียนรู เพื่อแผนวิจัยที่กําหนดจะไดมีความชัดเจนและสอดคลองกับการจัดการเรียนการสอนจริง หรือทําใหสามารถดําเนินการวิจัยกับการจัดการเรียนการสอน ไปดวยกันไดอยางดีเปนเรื่องเดียวกัน

ตัวอยางการกําหนดวิธีการวิจัยชื่อเรื่อง การฝกทักษะการอานและการเขียนโดยใชแบบฝก : กรณี ด.ช. แดง ด.ช. ดํา

และ ด.ญ. นิดสภาพปญหาครูมาลีรับผิดชอบสอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จากการทดสอบทักษะการอาน

และเขียนกอนเริ่มเรียน ตลอดจนการสังเกตและตรวจสมุดงาน พบประเด็นสําคัญที่เปนปญหาคือนักเรียนอานหนังสือไมคลอง เขียนหนังสือไมคอยถูก โดยนักเรียน จํานวน 13 คน สามารถจัดกลุมตามความสามารถในการอานและเขียนได 4 กลุม คือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 116: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

107

กลุมที่ 1 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับมาก อานเขียนไดคลองและถูกตอง กลุมที่ 2 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับดี อานเขียนไดคลองและ อานเขียนผิดไมเกิน 5 คํา กลุมที่ 3 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับพอใช อานเขียนไดไมคอยคลอง อานและเขียนไมถูกตองเกิน 5 คํา กลุมที่ 4 ความสามารถในการอานและเขียนอยูในระดับตองปรับปรุง อานเขียนไดไมคลองและสามารถอานเขียนไดไมถึงรอยละ 60 ของคําที่กําหนด มีนักเรียนอยูในระดับปรับปรุง จํานวน 3 คน คือ เด็กชายแดง เด็กชายดํา และเด็กหญิงนิด

ปญหาการวิจัยจะชวยใหเด็กชายแดง เด็กชายดํา และเด็กหญิงนิด อานและเขียนไดคลองและถูกตอง

ไดอยางไรเปาหมายการวิจัยเพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาทักษะการอานและการเขียนของ ด.ช. แดง ด.ช. ดํา และ ด.ญ. นิดวิธีการวิจัย

1. สรางแบบฝกการอาน 10 ชุดและแบบฝกการเขียน 10 ชุด2. กําหนดการฝกรวมกับนักเรียน คือ หลังเลิกเรียนทุกวัน ติดตอกัน 4 สัปดาห3. ดําเนินการฝกตามแผนที่กําหนดไว4. กําหนดวิธีการประเมินโดยการสังเกตและสรางแบบสังเกตแบบทดสอบการอาน

และการเขียน โดยครูกําหนดประเด็นการสังเกต และประเด็นที่จะทดสอบ แลวกําหนดเกณฑระดับคุณภาพ

5. สังเกตพัฒนาการที่เกิดขึ้นและบันทึกลงในแบบสังเกต6. ใหนักเรียนจดบันทึกผลการฝกทุกครั้ง เพื่อตรวจสอบดูผลความกาวหนาในการฝก

แตละวัน7. ทดสอบนักเรียนดวยแบบทดสอบการอานและการเขียนสัปดาหละครั้ง8. สรุปผลการฝกหัดนักเรียน โดยใชแบบฝกการอานและเขียนแขงกับตัวเองโดย

พิจารณาจากคะแนนการทดสอบ เปรียบเทียบกับเกณฑที่กําหนดไว และขอมูลการสังเกต และ ผลการฝกที่นักเรียนบันทึกไว

ชวงเวลาดําเนินการเริ่มสรางแบบฝก 20 มิถุนายน นักเรียนเริ่มฝก 1 - 31 กรกฎาคม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 117: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

108

ขั้นที่ 3 การรวบรวมขอมูลตามวิธีการที่กําหนด

ขั้นนี้เปนการปฏิบัติตามแผนที่กําหนดไว โดยปกติการดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน ขั้นตอนการรวบรวมขอมูลจะดําเนินการรวมกับการจัดการเรียนการสอนและวัดประเมินผลการเรียนรู เพราะขอมูลที่รวบรวมไดจะไดจากสิ่งที่เกิดขึ้นระหวางการจัดการเรียนการสอน โดยครูผูสอนบันทึกไวทั้งระหวางเรียนและบันทึกหลังเรียน และจากการวัดประเมินผลที่ไดกําหนดไว

นอกจากนี้ครูผูสอนอาจเลือกใชเครื่องมือตาง ๆ ที่จะเก็บขอมูลโดยตรงตามที่ตองการ ซึ่งสามารถศึกษาไดจากตารางที่จะนําเสนอตอไปนี้

ชนิดของขอมูล วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล1. ขอมูลดานความรู ความเขาใจ การทดสอบ แบบทดสอบ2. ขอมูลดานความสามารถ ทักษะ

การปฏิบัติงาน และผลงาน1. การทดสอบ2. การประเมินทักษะ3. การประเมินพฤติกรรม4. การประเมินผลงาน

1. การทดสอบ2. การประเมินทักษะ3. การประเมินพฤติกรรม4. การประเมินผลงาน

3. ขอมูลดานพฤติกรรม 3.1 พฤติกรรมการเรียน 3.2 ลักษณะนิสัยในการเรียน 3.3 พฤติกรรมการทํางาน

3.4 ลักษณะนิสัยในการทํางาน

1. การสังเกต2. การตรวจสอบประวัติ การสอบถาม3. การสัมภาษณ การสังเกต4. การประเมินพฤติกรรม

1. แบบสังเกต2. แบบบันทึก/ตรวจสอบ รายการ แบบสอบถาม3. แบบสัมภาษณ แบบสังเกต4. แบบประเมินพฤติกรรม

4. ขอมูลดานความคิดเห็นความรูสึก4.1 ความคิดเห็น4.2 ความรูสึก4.3 เจตคติ4.4 คานิยม

1. การสอบถาม2. การวัดเจตคติ3. การวัดคานิยม4. การสัมภาษณ

1. แบบสอบถาม2. แบบวัดเจตคติ3. แบบวัดคานิยม4. แบบสัมภาษณ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 118: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

109

ขั้นที่ 4 การวิเคราะหประมวลผล ตีความ

ขั้นตอนนี้เปนการนําขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะห หรือจัดกระทําใหไดความหมายที่จะนําไปสูในการตอบคําถามการวิจัย หรืออธิบายผลตามเปาหมายของการวิจัยที่อยากทราบ การวิจัยในชั้นเรียน สวนใหญจะใชขอมูลเชิงคุณภาพรวมกับการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณที่ไดจากการสังเกต สอบถามหรือการตรวจสอบผลงาน โดยครูไดบันทึกไวในแบบบันทึกหลังสอนเปนหลักในการวิเคราะห โดยมีการใชคาสถิติพื้นฐาน เชน คารอยละ คาเฉลี่ย ประกอบการวิเคราะห

สรุปการวิเคราะหขอมูลการวิจัยในชั้นเรียน อาจใชวิธีการวิเคราะหขอมูล 2 วิธี ดังนี้

ลักษณะของขอมูล วิธีการวิเคราะหขอมูล1. ขอมูลเชิงปริมาณ 1.1 คะแนนจากการสอบ 1.2 คะแนนจากการสังเกต 1.3 คะแนนจากการปฏิบัติงานหรือตรวจ ผลงาน 1.4 คะแนนจากการประเมินพฤติกรรม 1.5 จํานวนครั้ง/จํานวนคน/จํานวนสื่อ ฯลฯ

โดยใชวิธีการทางสถิติ1. ความถี่2. รอยละ3. คาเฉลี่ย ( X )

2. ขอมูลเชิงคุณภาพ 2.1 ขอมูลที่รวบรวมจากเอกสาร บันทึกตาง ๆ

2.2 ขอมูลที่ไดจากการบันทึก การสังเกต การสัมภาษณ 2.3 ขอมูลที่เปนบันทึกเหตุการณตางๆ 2.4 ขอมูลจากคําถามปลายเปด

ฯลฯ

โดยไมใชวิธีการทางสถิติ การวิเคราะหขอมูล จะใชการวิเคราะหเนื้อหา โดยนําเอาขอมูลที่อยูในประเด็นหรือเรื่องราวเดียวกันมาพิจารณาแยกแยะหาความสําคัญ สิ่งที่แตกตางกัน สิ่งที่คลายคลึงกันหรือหาสวนที่เกี่ยวของสัมพันธกันแลวจึงสรุปเปนผลการวิเคราะหในแตละประเด็นหรือแตละเรื่อง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 119: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

110

ตัวอยางการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณถามีนักเรียนที่ตองแกไขหรือพัฒนาจํานวนนอย (4 - 10 คน) หรือครูผูสอนมีความประสงค

ที่จะประเมินผลการเรียนรูเปนรายบุคคล ควรวิเคราะหขอมูลเปนรายบุคคล โดยเปรียบเทียบกับเกณฑประเมินที่กําหนดไว (คะแนนที่จะยอมรับวานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หรือพัฒนาแลว) นําเสนอผลการวิเคราะห เปรียบเทียบกับเกณฑโดยการบรรยาย เชน

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 จํานวน 5 คน ที่อานประสมคํายังไมได ครูจึงจัดสอนซอมเสริมโดยใชแบบฝกการอานเสร็จแลวทดสอบการอานประสมคํา 20 ขอ จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน นักเรียนไดคะแนน ดังนี้

นักเรียนคนที่ 1 2 3 4 5คะแนนที่ได 18 17 18 19 20

ถากําหนดเกณฑการประเมินผานเทากับ 16 คะแนน ครูนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลโดยการบรรยายไดวา โดยการการเปรียบเทียบกับเกณฑประเมินซึ่งกําหนดไว 16 คะแนน พบวา นักเรียนทั้ง 5 คน มีคะแนนสูงกวาเกณฑ นั่นแสดงวา นักเรียนที่ฝกอานจากแบบฝกการอาน มีความสามารถในการอานคําประสมไดตามเกณฑ

ตัวอยางการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพจากการพัฒนาพฤติกรรมความรับผิดชอบของ ด.ช. แกน จากการมอบหมายหนาที่

เปนหัวหนาหอง จากการแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมของ ด.ช. แกน

พฤติกรรมดานความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย มีภาวะผูนํา กระตือรือรนในการทํางานเปนอยางดี

พฤติกรรมดานการเรียน สนใจและตั้งใจเรียน ถามครูเมื่อไมเขาใจหรือสงสัย ใหความรวมมือในกิจกรรมการเรียนการสอน

พฤติกรรมตอครู เชื่อฟง มีสัมมาคารวะพฤติกรรมตอเพื่อน มีมนุษยสัมพันธที่ดีตอเพื่อน ชวยเหลือเพื่อน

ครูนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลไดวา “จากการสังเกตพฤติกรรมของ ด.ช. แกน หลังจากไดรับมอบหมายใหเปนหัวหนาหอง 2 สัปดาห พบวา ด.ช. แกน มีพฤติกรรมในเชิงบวก มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนเปนแบบอยางทั้งดานการเรียนและความประพฤติ”

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 120: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

111

ขั้นที่ 5 การสรุปและเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

การเขียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน ครูอาจเขียนแบบไมเปนทางการ โดยไมตองกังวลเกี่ยวกับศัพทเทคนิคดานการวิจัย แตเนนการเขียนตามสภาพที่เกิดขึ้นจริง

ประเด็นหัวขอรายงานการวิจัยในชั้นเรียน พอจะกลาวไดวาประกอบดวยหัวขอหลัก ดังนี้

1. ปญหาหรือเปาหมายการวิจัย เขียนในลักษณะปญหาการเรียนการสอนที่ตองการแกไขหรือตองการพัฒนา 2. วิธีการวิจัยหรือวิธีการแกปญหาหรือวิธีการพัฒนา เขียนคลอบคลุมการวิเคราะหขอมูล หรืออาจจะเขียนการวิเคราะหขอมูล

3. ผลการวิจัยหรือผลการแกปญหาหรือผลการพัฒนาอาจมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมไดทั้งขอเสนอแนะการนําผลการวิจัยไปใช หรือการศึกษาวิจัยตอเนื่อง

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน จะเปนเอกสารหลักฐานที่ชัดเจนวา การศึกษาวิจัยนั้น ๆ ครูผูสอนไดทําอะไร แลวเกิดผลงานหรือขอคนพบอะไร สําหรับองคประกอบหรือหัวขอของ การเขียนรายงานนั้นสามารถยืดหยุนได โดยสิ่งที่ควรคํานึงคือ จะเขียนหัวขออะไรบาง และรายละเอียดอยางไรที่จะสื่อใหเห็นภาพที่ชัดเจนของการทําวิจัย และผลที่เกิดขึ้น เนื่องจากการวิจัยในชั้นเรียนเปนเรื่องที่มีขอบเขตไมใหญ รายละเอียดจึงมีไมมาก ครูผูทําวิจัยไมจําเปนตองเขียนมากเกินไป จนเปนภาระเกินความจําเปน รายงานการทําวิจัยในชั้นเรียนจึงมีความยาวไมมากนัก อาจจะมี 1 - 3 หนา

ตัวอยางรายงานการวิจัยในชั้นเรียนชื่อเรื่อง การพัฒนาการอานออกเขียนไดของ ด.ช. จักรี โดยใชแบบฝกชื่อผูวิจัย นางสาวบุษยา ใจดีสภาพปญหาเมื่อครูบุษยาเขาสอนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ในสัปดาหที่ 2

ครูบุษยาใหนักเรียนทุกคนดูภาพสวนสนุกและอานคําบรรยายภาพ แลวใหนักเรียนเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับภาพที่เห็นสงครู ซึ่งครูไดสังเกตพบวา ด.ช. จักรี มีอาการกระวนกระวายไมสามารถเขียนได จึงไดสอบถามพบวา ด.ช. จักรี อานหนังสือไมออกและเขียนไมไดนั่นเอง

ปญหาการวิจัยทําอยางไรที่จะชวยให ด.ช. จักรี อานหนังสือออกและเขียนไดเปาหมายการวิจัยเพื่อฝกและพัฒนาให ด.ช. จักรี อานออกเขียนได

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 121: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

112

วิธีการวิจัย1. สรางแบบฝกการสะกดคํา และบัตรคําตัวอักษร สระ เพื่อใชประสมเปนคํา/

พยางค2. สรางแบบฝกการเขียนสะกดคํา และเขียนเปนประโยค (จากงายไปหายาก)3. กําหนดขอความ/นิทานที่ใชในการฝกอาน 10 เรื่อง4. นัดหมายให ด.ช. จักรี มาเรียนกับครูทุกวัน ๆ ละ 1 ชั่วโมงหลังเลิกเรียนหรือ

ในเวลาวาง5. เริ่มฝกจากการสะกดคํางาย ๆ วันละ 5 - 10 คํา เปนเวลา 1 สัปดาห และฝกสะกดคํา

พรอมกับเขียนในสัปดาหที่ 2 - 36 ในสัปดาหที่ 4 - 5 จึงไดฝกแตงประโยคพรอมกับการอานและการเขียน ในสัปดาหที่ 6 - 15 จึงไดฝกอานจากนิทานตาง ๆ และเขียนเรื่องจากภาพในนิทาน รวมเวลาฝกอานและเขียน 4 เดือน

6. บันทึกผลการอานสะกดคําอาน การเขียนเปนคํา และการแตงประโยคทุกวัน เพื่อดูพัฒนาการความกาวหนาของ ด.ช. จักรี โดยบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน การอาน เขียนคํา เขียนเปนประโยค และเขียนเรื่องจากภาพ

7. บันทึกพฤติกรรมขณะฝกอาน เขียนลงในแบบสังเกตพฤติกรรม8. สรุปผลการอาน การเขียนของ ด.ช. จักรี

ผลการวิจัย1. การฝกอานของ ด.ช. จักรี พบวา

สัปดาหที่ 1 อานไดเฉลี่ยวันละ 3 คํา จาก 10 คํา สัปดาหที่ 2 - 3 ประสมคําอานได โดยเฉลี่ยวันละ 5 - 10 คํา จาก 10 คํา สัปดาหที่ 4 - 5 ฝกอานเปนประโยคได โดยเฉลี่ยวันละ 5 - 10 ประโยค สัปดาหที่ 6 - 16 ฝกอานนิทานสัปดาหละ 1 เรื่อง โดยเฉลี่ยพบวาอานได ประมาณมากกวารอยละ 50

2. การฝกเขียน สัปดาหที่ 2 - 3 เขียนคําที่มีตัวสะกดงาย ๆ ได โดยเฉลี่ยวันละ 5 คํา สัปดาหที่ 4 - 5 เขียนคําที่มีตัวสะกดงาย ๆ ได โดยเฉลี่ยวันละ 10 คํา สัปดาหที่ 6 - 10 เขียนเปนคําและแตงประโยคได โดยเฉลี่ยวันละ 3 - 5 ประโยค สัปดาหที่ 11 - 16 เขียนเปนคํา แตงประโยค และเขียนเลาเรื่องสั้น ๆ ได

3. ด.ช. จักรี มีพฤติกรรมการอาน - เขียนดีขึ้น กลาซักถามครู อาการกระวนกระวาย ลดนอยลงตามชวงเวลาที่ไดฝกอาน - เขียน และมีความสุขมากเมื่อไดอานนิทาน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 122: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

113

4. ผลการฝก ด.ช. จักรี สามารถอานหนังสือได และเขียนไดทั้งเปนคําและเปนประโยค รวมทั้งการเขียนเลาเรื่องจากภาพได

ตัวอยางรายงานการวิจัยในชั้นเรียนชื่อเรื่อง ผลการใชแบบฝกเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความสามารถในการอานและการเขียน

ภาษาไทยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนิคมสรางตนเอง 5 (สระเตย)ความสําคัญของปญหาการวิจัยจากการสอนวิชาภาษาไทยนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 พบวา มีนักเรียน 1 คน ที่ยังอาน

ไมออกและเขียนภาษาไทยไดไมดี ปญหานี้เปนอุปสรรคและมีผลกระทบตอการเรียนรูของนักเรียน เพราะความสามารถในการอานออกและเขียนไดในภาษาไทยจะเปนพื้นฐานและเครื่องมือที่สําคัญในการเรียนรู จึงตองหาวิธีชวยเหลือนักเรียนผูนี้ใหสามารถอานออกเขียนภาษาไทยใหได ผูวิจัย จึงไดสรางแบบฝกเสริมทักษะเพื่อพัฒนาความสามารถในการอานและเขียนภาษาไทยใหกับนักเรียนคนดังกลาว

ปญหาการวิจัยการเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะ จะชวยใหนักเรียนที่อานไมออกและเขียนภาษาไทย

ไมได สามารถอานออกและเขียนภาษาไทยไดดีขึ้นหรือไมวัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอานและเขียนภาษาไทยของนักเรียน กอนและหลัง

การเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. นักเรียนที่อานไมออกและเขียนภาษาไทยไมได สามารถอานออกและเขียนภาษาไทยไดดีขึ้น 2. ไดแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การแกปญหาสําหรับนักเรียนที่อานไมออกและเขียนภาษาไทยไมได

วิธีดําเนินการวิจัย1. รูปแบบการวิจัย เปนการวิจัยกึ่งทดลอง ใชกับนักเรียนคนเดียวโดยมีการทดสอบ

กอนและหลังเรียนโดยใชแบบฝกเสริมทักษะ 2. ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนนิคมสรางตนเอง 5 (สระเตย) ที่ยังอานไมออกเขียนภาษาไทยไมได จํานวน 1 คน ซึ่งเปนนักเรียนในหองเรียนของผูวิจัยเอง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 123: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

114

เครื่องมือวิจัยเครื่องมือวิจัย ประกอบดวย

1. แบบฝกเสริมทักษะการอานและเขียนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น 2 ชุด สําหรับใชฝกเสริมทักษะภาคเรียนละ 1 ชุด 2. แบบบันทึกขอมูลการฝกทักษะการอานและการเขียน 3. แบบสอบวัดความสามารถในการอานและการเขียนภาษาไทย 4. แบบสัมภาษณอยางไมเปนทางการสําหรับผูปกครองนักเรียน และครูที่เคยสอนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 3

การเก็บรวบรวมขอมูล 1. สัมภาษณอยางไมเปนทางการกับครูชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เพื่อหาขอมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนที่ผานมา 2. ใหนักเรียนทําแบบสอบวัดความสามารถในการอานและการเขียนภาษาไทยกอนใชแบบฝกเสริมทักษะ 3. จัดสอนซอมเสริมโดยใชแบบฝกเสริมทักษะทั้ง 2 ชุด ในแตละภาคเรียนชวงพักกลางวัน 4. หลังจากนักเรียนไดฝกเสริมทักษะการอานและเขียนจากแบบฝกในแตละ ภาคเรียนแลว ไดสอบวัดความสามารถในการอานและการเขียนของนักเรียนดวยแบบสอบชุดเดิม 5. สัมภาษณอยางไมเปนทางการกับผูปกครองนักเรียนเกี่ยวกับความกาวหนา ในการอานและการเขียนของนักเรียน

การวิเคราะหขอมูลวิเคราะหขอมูลโดยหาคาเฉลี่ยของคะแนนสอบกอนและหลังเรียน แลวหาคารอยละ

เปรียบเทียบความกาวหนาในการอานและการเขียนผลการวิจัย

1. นักเรียนมีความสามารถในการอานภาษาไทยไดดีขึ้นกวาเดิมทั้งในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 โดยมีคารอยละของความกาวหนาในการอานเทากับ 32 และ 48 ตามลําดับ (ดังตารางที่ 1)

2. นักเรียนมีความสามารถในการเขียนภาษาไทยดีขึ้นกวาเดิม เดิมทั้งในภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 โดยมีคารอยละของความกาวหนาในการอานเทากับ 44 และ 52 ตามลําดับ (ดังตารางที่ 2)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 124: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

115

ตารางที่ 1 คารอยละของความกาวหนาในการอานภาษาไทยของนักเรียนในภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2

ภาคเรียนที่คะแนนความสามารถในการอาน

รอยละของความกาวหนากอนใชแบบฝก (25) หลังใชแบบฝก (25)

1 8 16 322 6 18 48

รวม 14 34 40

ตารางที่ 2 คารอยละของความกาวหนาในการเขียนภาษาไทยของนักเรียนในภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2

ภาคเรียนที่คะแนนความสามารถในการเขียน

รอยละของความกาวหนากอนใชแบบฝก (25) หลังใชแบบฝก (25)

1 6 17 342 5 18 52

รวม 14 35 48

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 125: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

116

ตอนที่ 3

แบบฝกปฏิบัติดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน

แบบฝกที่ 1 การกําหนดปญหาการวิจัย

ใหคุณครูเขียนปญหาการวิจัย 3 ขอโดยเขียนทั้งในลักษณะขอความคําถาม (ลักษณะคําถามการวิจัย) และขอความประโยคบอกเลา (ลักษณะเปาหมายการวิจัย)

คําถามการวิจัย 1. ………………………………………………………….………………………. 2. ………………………………………………………….………………………. 3. ………………………………………………………….……………………….

เปาหมายการวิจัย 1. ………………………………………………………….………………………. 2. ………………………………………………………….………………………. 3. ………………………………………………………….……………………….

แนวเขียนปญหาการวิจัยปญหาการวิจัย เปนประเด็นที่กําหนดวาตองการคําคอบเรื่องใด หรือตองการศึกษาอะไร

จะเขียนในลักษณะคําถาม ถาเปนประโยคบอกเลาจะเขียนในรูปของการเขียนเปาหมายการวิจัยปญหาการวิจัย เขียนจากประเด็นปญหาที่พบ ที่ตองการแกไข หรือประเด็นของความ

ตองการพัฒนาการเรียนการสอน หรือการทดลองวิธีการใหม ๆ ก็ไดปญหาการวิจัยสําหรับการวิจัยในชั้นเรียนแบบงาย ควรเปนเรื่องไมใหญ และไมซับซอนมาก

แตไมใชเรื่องที่เล็กจนเกินไป ซึ่งไมจําเปนตองทําวิจัยก็หาคําตอบได

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 126: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

117

แบบฝกที่ 2 การกําหนดวิธีวิจัย

จากปญหาหรือเปาหมายการวิจัยที่คุณครูกําหนดในแบบฝกที่ 1 ขอใหคุณครูเลือกมา 1 เรื่อง แลวกําหนดวิธีการวิจัยของเรื่องนั้น

ปญหา/เปาหมายการวิจัย........................................................................................................................................................................................................................................................................................วิธีการวิจัย

1. ..............................................................................................................................2. ..............................................................................................................................

การวิเคราะหขอมูล........................................................................................................................................................................................................................................................................................

แผน/ตารางเวลา ดําเนินการ

............................................................................................................................................

............................................................................................................................................

แนวกําหนดวิธีการวิจัย วิธีการวิจัย เปนการวางแผนการดําเนินการวิจัยลวงหนาวาผูวิจัยจะดําเนินการอยางไรบาง เพื่อใหไดขอมูลครบถวน ถูกตอง ตรงตามความตองการ ซึ่งพอจะมีแนวตรวจสอบได เชน

1. ขั้นตอนการดําเนินการชัดเจนเปนลําดับ และเปนเหตุเปนผล สอดคลองกับปญหาการวิจัยหรือไม 2. วิธีรวบรวมขอมูลและเครื่องมือที่ใช มีแนวโนมที่จะทําใหไดขอมูลมาครบถวนตรง ถูกตอง หรือนาเชื่อถือหรือไม 3. แนวการวิเคราะหสรุปขอมูล จะชวยใหไดขอสรุปที่ตอบคําถามการวิจัย หรือไดตามเปาหมายการวิจัยไดหรือไม 4. ชวงเวลาดําเนินการเหมาะสม ทั้งกับการเก็บขอมูลและทันเวลาในการนําไปใชประโยชนหรือไม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 127: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

118

แบบฝกที่ 3 การรวบรวมขอมูล

เมื่อคุณครูไดกําหนดวิธีการวิจัยแลว คุณครูดําเนินการรวบรวมขอมูลในเรื่องที่คุณครู จะทําวิจัย โดยพิจารณาจากวิธีการวิจัยที่กําหนด คุณครูจะตองเตรียมการอยางไร เพื่อใหการเก็บรวบรวมขอมูลดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ

การเตรียมตัวผูวิจัยดําเนินการ โดย1. ..............................................................................................................................2. ..............................................................................................................................

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณรวบรวมขอมูลดําเนินการ โดย1. ..............................................................................................................................2. ..............................................................................................................................

การเตรียมระบบการจัดเก็บรวบรวมขอมูลดําเนินการ โดย1. ..............................................................................................................................2. ..............................................................................................................................

แนวเตรียมการรวบรวมขอมูล การเตรียมการตาง ๆ ในการรวบรวมขอมูล จะดําเนินการขณะจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผลการเรียนรู โดยมีแนวคิดสําคัญที่ควรคํานึง คือ เก็บขอมูลไดครบถวน สะดวก จัดเก็บเปนระบบ สะดวกที่จะใชวิเคราะหตอไปซึ่งควรเตรียมการทั้ง 3 ประเด็นหลัก คือ ตัวผูวิจัยเครื่องมืออุปกรณ การรวบรวมขอมูล และระบบการจัดเก็บรวบรวมขอมูล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 128: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

119

แบบฝกที่ 4 การวิเคราะหประมวลผล ตีความ

ใหคุณครูฝกวิเคราะหประมวลผล ตีความ จากขอมูลที่คุณครูไดรวบรวมไวในแบบฝกหัดที่ 3

ลักษณะขอมูลที่ตองการ

วิธีเก็บรวบรวมขอมูลและเครื่องมือ

วิธีการวิเคราะหขอมูลอภิปราย

ความเหมาะสม

แนวการอภิปรายการอภิปรายเพื่อดูความเหมาะสมของลักษณะขอมูล วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/เครื่องมือ

ที่ใชและการวิเคราะหขอมูล ซึ่งเปนเรื่องที่มีแงมุมหลากหลาย และมีรายละเอียดมาก คุณครูควรใชวิธีรวมคิดอภิปรายกับเพื่อนครูหรือผูมีความรู หรือมีประสบการณมากกวา จะชวยใหไดความรู แนวคิดมุมมองมากขึ้นกวาวิเคราะห อภิปรายเองคนเดียว คุณครูอาจใชวิธีคนควาเอกสาร ตํารา การวิจัยประกอบการวิเคราะห อภิปราย จะชวยใหการดําเนินการวิจัยมีความชัดเจนมากขึ้น

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 129: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

120

แบบฝกที่ 5 การสรุปและเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

เมื่อคุณครูดําเนินการจนครบกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนตามแบบฝกที่ 1 - 4 กลาวคือ ไดขอมูล และสรุปผลแลว ใหคุณครูฝกเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนตามหัวขอ ดังนี้

ชื่อเรื่อง.................................................................................................................................................ชื่อผูวิจัย...............................................................................................................................................

ปญหาการวิจัย............................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

เปาหมายในการวิจัย............................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

วิธีการวิจัย............................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

ผลการวิจัย............................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 130: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

121

สรุปและอภิปรายผล............................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 131: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

122

บรรณานุกรม

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สํานักงาน. (2546). การทําวิจัยแบบงาย : บันไดสูครูวิจัย (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ.

พิสณุ ฟองศรี. (2551). วิจัยชั้นเรียน : หลักการและเทคนิคปฏิบัติ (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ :พรอพเพอรตี้พริ้น.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

_______. (2551). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 6).กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

มนสิช สิทธิสมบูรณ. (2550). ชุดฝกปฏิบัติการเหนือตํารา : การทําวิจัยในชั้นเรียน. พิษณุโลก : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุวิมล วองวาณิช. (2547). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 132: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก ครายชื่อผูเชี่ยวชาญ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 133: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

124

รายชื่อผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพคูมือ

1. ชื่อ - สกุล นายวิเชียร สมผลตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียนชุมชนวัดวิสุทธิชลาราม อําเภอดอนสัก

จังหวัดสุราษฎรธานีวุฒิการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีเชี่ยวชาญดาน การบริหารการศึกษา

2. ชื่อ - สกุล นายพูลสวัดิ์ ใจเต็มตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียนวัดเขาสุวรรณประดิษฐ อําเภอดอนสัก

จังหวัดสุราษฎรธานีวุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเชี่ยวชาญดาน การบริหารการศึกษา

3. ชื่อ - สกุล นางณัฐนี แจมสุริยา ตําแหนง ครู คศ.3 วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเชี่ยวชาญดาน ภาษาไทย

4. ชื่อ - สกุล นายคํารณ ชวงชุณหสองตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียนชุมชนบานนางกํา อําเภอดอนสัก

จังหวัดสุราษฎรธานีวุฒิการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีเชี่ยวชาญดาน การวิจัย

5. ชื่อ - สกุล นายพรชัย จันทรรงคตําแหนง ผูอํานวยการโรงเรียนวัดทองอาว อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานีวุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเชี่ยวชาญดาน การบริหารการศึกษา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 134: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

125

รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจแบบวัดผลสัมฤทธิ์และแบบวัดเจตคติ

1. ชื่อ - สกุล ดร.พรศักดิ์ อาษาสุจริต วุฒิการศึกษา Ph.D. Educational Administration Missouri University U.S.A.

ตําแหนง เลขานุการโปรแกรมปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

สถานที่ทํางาน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

2. ชื่อ - สกุล นางกรรณิการ ปานนุชวุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานีตําแหนง ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญสถานที่ทํางาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 3

3. ชื่อ – สกุล นางสุพัตรา พาหะมากวุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

วิทยาเขตปตตานีตําแหนง ครู คศ. 3 วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ

สถานที่ทํางาน โรงเรียนนาสาร อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 135: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก งแบบประเมิน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 136: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

127

คําชี้แจงการตอบแบบประเมินโครงรางคูมือ

คูมือการวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นโดยอาศัยขอมูลพื้นฐานที่ไดจากการสัมภาษณพูดคุยกับครูผูสอนโดยตรงและศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของในการสรางคูมือวิจัยในชั้นเรียน สําหรับครูผูสอนโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) มาเปนกรอบแนวความคิดกําหนดโครงราง คูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ขึ้น เพื่อใหคูมือดังกลาวมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพอยางแทจริงในการนําไปใชเปนแนวทางในการทํางานวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย) ผูวิจัยใครขอความอนุเคราะหจากทานในการประเมินโครงรางตามแบบฟอรมที่แนบมา 2 สวน ดังนี้

1. ความคิดเห็นในแตละประเด็นของโครงรางคูมือ ประกอบดวย คําชี้แจง เนื้อหาสาระ และขั้นตอนในการทําวิจัยในชั้นเรียนแบบงาย โดยเมื่อทานพิจารณาโครงรางคูมือ และเครื่องมือสําหรับการวิจัย วิจัยแตละประเด็นแลวทานมีความคิดเห็นในระดับใด ใน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด หรือมีความคิดเห็นในระดับใด ใน 3 ระดับ คือ เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย แลวทําเครื่องหมาย / ลงในแบบฟอรมการประเมินโครงรางคูมือ และเครื่องมือสําหรับการวิจัย

2. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากการพิจารณาโครงรางคูมือ และเครื่องมือสําหรับการการวิจัย ทานเห็นวาผูวิจัยควรแกไขเพิ่มเติม เพื่อใหโครงรางคูมือ และเครื่องมือสําหรับการวิจัย มีความสมบูรณมากขึ้น กรุณาใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะในภาพรวมของโครงรางคูมือ และเครื่องมือสําหรับการวิจัยCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

Page 137: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

128

แบบประเมินความเหมาะสมของคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

โปรดใสเครื่องหมาย / ลงในชองการประเมินใหตรงกับความคิดเห็นของทาน ในแตละประเด็นเกี่ยวกับคูมือการวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอน พรอมทั้งเขียนขอเสนอแนะในกรณี ที่ทานเห็นวาควรปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้น

ประเด็นการประเมินระดับความเหมาะสม

5 4 3 2 11. รูปแบบและองคประกอบของคูมือ2. คําชี้แจง3. จุดประสงคของคูมือ 3.1 จุดประสงคขอที่ 1 3.2 จุดประสงคขอที่ 24. เนื้อหาเหมาะสมกับจุดประสงคที่กําหนด 4.1 ตอนที่ 1 4.2 ตอนที่ 2 4.3 ตอนที่ 35. เนื้อหาเหมาะสมกับสภาพปญหาและความตองการ 5.1 ตอนที่ 1 5.2 ตอนที่ 2 5.3 ตอนที่ 36. แบบฝกปฏิบัติ 6.1 ตอนที่ 1 6.2 ตอนที่ 2 6.3 ตอนที่ 3 6.4 ตอนที่ 4 6.5 ตอนที่ 5

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 138: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

129

ประเด็นการประเมินระดับความเหมาะสม

5 4 3 2 17. ใชภาษาถูกตองเหมาะสม 7.1 ตอนที่ 1 7.2 ตอนที่ 2 7.3 ตอนที่ 3

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 139: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

130

แบบประเมินความสอดคลองของคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย / ลงในชองการประเมินใหตรงกับความคิดเห็นของทาน ในแตละประเด็นเกี่ยวกับคูมือการวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอน พรอมทั้งเขียนขอเสนอแนะในกรณีที่ทานเห็นวาควรปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้น

ประเด็นการประเมินระดับความคิดเห็น

+1 0 -11. ความสอดคลองระหวางจุดประสงคกับเนื้อหา 1.1 จุดประสงคขอที่ 1 1.2 จุดประสงคขอที่ 22. เนื้อหาสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ 2.1 ตอนที่ 1 2.2 ตอนที่ 2 2.3 ตอนที่ 33. ประโยชนและการนําไปใชในการปฏิบัติงานของครู 3.1 ตอนที่ 1 3.2 ตอนที่ 2 3.3 ตอนที่ 3

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 140: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

131

บบประเมินคุณภาพของแบบทดสอบวัดความรูความเขาใจเรื่องวิจัยในชั้นเรียน

คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย / ลงในชองการประเมินใหตรงกับความคิดเห็นของทาน ในประเด็นเกี่ยวกับแบบสอบวัดความรูความเขาใจเรื่องวิจัยในชั้นเรียน พรอมทั้งกรุณาเขียนขอเสนอแนะ ในกรณีที่ทานเห็นวาควรปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้น

ประเด็นการประเมินระดับความเหมาะสม

ขอเสนอแนะ5 4 3 2 1

1. ครอบคลุม/ตรงเนื้อหา ตอนที่ 1 ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ตอนที่ 2 ขอ 6 ขอ 7 ขอ 8 ขอ 9 ขอ 10 ตอนที่ 3 ขอ 11 ขอ 12 ขอ 13 ขอ 14 ขอ 15 ขอ 16 ขอ 17 ขอ 18 ขอ 19 ขอ 20

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 141: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

132

ประเด็นการประเมินระดับความเหมาะสม

ขอเสนอแนะ5 4 3 2 1

2. สอดคลองกับเนื้อหา ตอนที่ 1 ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ตอนที่ 2 ขอ 6 ขอ 7 ขอ 8 ขอ 9 ขอ 10 ตอนที่ 3 ขอ 11 ขอ 12 ขอ 13 ขอ 14 ขอ 15 ขอ 16 ขอ 17 ขอ 18 ขอ 19 ขอ 20

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 142: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

133

ประเด็นการประเมินระดับความเหมาะสม

ขอเสนอแนะ5 4 3 2 1

3. ใชภาษาถูกตองเขาใจงาย ตอนที่ 1 ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ตอนที่ 2 ขอ 6 ขอ 7 ขอ 8 ขอ 9 ขอ 10 ตอนที่ 3 ขอ 11 ขอ 12 ขอ 13 ขอ 14 ขอ 15 ขอ 16 ขอ 17 ขอ 18 ขอ 19 ขอ 20

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 143: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

134

แบบประเมินคุณภาพของแบบสอบถามวัดเจตคติตอการทําวิจัยในชั้นเรียน

คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย / ลงในชองการประเมินใหตรงกับความคิดเห็นของทานในประเด็นเกี่ยวกับแบบสอบถามวัดเจตคติตอการทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอน พรอมทั้งเขียนขอเสนอแนะในกรณีที่ทานเห็นวาควรปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้น

ประเด็นการประเมินระดับความเหมาะสม

ขอเสนอแนะ5 4 3 2 1

1. สอดคลองกับเนื้อหาและวัตถุประสงค

ขอความที่ 1 ขอความที่ 2

ขอความที่ 3ขอความที่ 4ขอความที่ 5ขอความที่ 6ขอความที่ 7ขอความที่ 8ขอความที่ 9

ขอความที่ 102. ใชภาษาถูกตอง เขาใจงาย

ขอความที่ 1ขอความที่ 2ขอความที่ 3ขอความที่ 4ขอความที่ 5ขอความที่ 6ขอความที่ 7ขอความที่ 8ขอความที่ 9ขอความที่ 10

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 144: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก จแบบสอบวัดความรูความเขาใจ/แบบสอบถามวัดเจตคติ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 145: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

136

แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์/แบบวัดเจตคติเพื่อการวิจัยเรื่อง การพัฒนาคูมือการวิจัยสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัด

สุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

คําชี้แจง 1. ชุดที่ 1 เปนแบบวัดผลสัมฤทธิ์เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน มีทั้งหมด 3 ตอน ตอนที่ 1 ความรูความเขาใจและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน

ตอนที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรู ตอนที่ 3 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานวิจัยในชั้นเรียน 2. ชุดที่ 2 เปนแบบวัดเจตคติเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียน 3. ขอความรวมมือทานโดยทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบวัดเจตคติกอน - หลังศึกษาคูมือ ตามสภาพความเปนจริง ซึ่งในการทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบวัดเจตคติในครั้งนี้จะไมมีผลกระทบใด ๆ ตอการปฏิบัติงานของทานแตละประการใด แตเปนประโยชนตอการพัฒนา การทําวิจัยในชั้นเรียนของครูผูสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก และผูวิจัยขอขอบพระคุณทานที่กรุณาใหความรวมมือในการทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ และแบบวัดเจตคติในครั้งนี้เปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

พัชรพร สันติวิจิตรกุล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 146: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

137

แบบวัดผลสัมฤทธิ์เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนกอน - หลังการใชคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

คําชี้แจง แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ฉบับนี้มีทั้งหมด 3 ตอนตอนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับการวิจัย

ตอนที่ 2 ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรู ตอนที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานวิจัยในชั้นเรียน

ใหคุณครูเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

ตอนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับการวิจัย (จุดประสงคคูมือ ขอที่ 1)

1. เมื่อกลาวถึง “การวิจัย” ขอใดถูกตองที่สุดก. การแสวงหาคําตอบจากปญหาที่อยากรูข. การศึกษาคนควาหาวิธีการใหม ๆ อยางมีขั้นตอนค. การศึกษาคนควาเพื่อแสวงหาความรูใหม ๆ อยางมีขั้นตอนง. การศึกษาคนควาเพื่อแสวงหาคําตอบหรือความรูใหม ๆ อยางมีระบบระเบียบ

2. ขอใดเปนจุดเริ่มตนของการวิจัยก. การศึกษาคนควาข. คําถามที่ตองการคําตอบค. ความกาวหนาทางวิชาการง. ความตองการพัฒนาวิชาชีพ

3. ขอใดไมจัดเปนประเด็นในการเขียนปญหาการวิจัยก. ปญหาที่พบข. คําตอบที่ตองการค. ปญหาที่ตองแกไขง. วิธีการ/ขั้นในการศึกษา

4. ประโยชนของการวิจัยในขอที่มีผลตอวงการศึกษาและชวยพัฒนาการศึกษามากที่สุดก. แกไขปญหาการเรียนข. พัฒนาการเรียนการสอนค. ผลงานทางวิชาการง. ขอ ก. และ ข.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 147: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

138

5. การนําการวิจัยมาใชในสถานศึกษาสงผลตอระบบการประกันคุณภาพในดานใดมากที่สุดก. คุณภาพผูเรียนข. โรงเรียนมีชื่อเสียงค. ครูมีผลงานทางวิชาการง. สถานศึกษาไดรับการประกันคุณภาพ

ตอนที่ 2 ความสัมพันธระหวางการวิจัยกับการจัดการเรียนรู (จุดประสงคคูมือ ขอ 1)

1. ทานคิดวาขั้นตอนการกําหนดปญหา/ประเด็นพัฒนาในกระบวนการวิจัยมีความสัมพันธกับ การจัดการเรียนการสอนในขั้นตอนใดก. การวิเคราะหหลักสูตรข. การออกแบบการเรียนรูค. การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูง. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

2. สิ่งที่สําคัญที่สุดที่ครูผูสอนจะตองดําเนินการเปนอันดับแรกในการจัดการเรียนรูคือ ขอใดก. การออกแบบการเรียนรู

ข. การทําวิจัยในชั้นเรียนค. การศึกษานักเรียนรายบุคคลง. การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู

3. ในการจัดการเรียนการสอนขอใดไมจัดเปนประเด็นในการเขียนปญหาการวิจัยก. นักเรียนคิดคํานวณไมไดข. ทําอยางไรใหนักเรียนสามารถคิดคํานวณไดค. จะแกปญหานักเรียนที่คิดคํานวณไมไดอยางไรง. จะใชวิธีการ/ขั้นตอนอยางไรใหนักเรียนคิดคํานวณได

4. การกําหนดวิธีการวิจัยใหเหมาะสมกับปญหาการวิจัย เพื่อแกปญหาการจัดการเรียนการสอน มีประโยชนอยางไรก. มีขั้นตอนการวิจัยที่ชัดเจนข. งานวิจัยเสร็จทันเวลาที่กําหนดค. งานวิจัยเปนที่ยอมรับจากนักวิชาการง. การดําเนินงานมีประสิทธิภาพและนาเชื่อถือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 148: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

139

5. การดําเนินการวิจัยและเก็บขอมูล มีความสัมพันธกับการจัดการเรียนการสอนในขั้นตอนใดก. การจัดการเรียนรูข. การวัดผลประเมินผลค. การออกแบบการเรียนรูง. การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู

ตอนที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานวิจัยในชั้นเรียน (จุดประสงคคูมือ ขอ 2)

1. การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง ก. การศึกษาหาความรูใหม ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอนใหกับนักเรียน

ในชั้นเรียน ข. การศึกษาหาความรูใหม ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอนใหกับนักเรียน

ในโรงเรียน ค. การศึกษาหาความรูใหม ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอนใหกับนักเรียน

ที่เรียนออน ง. การศึกษาหาความรูใหม ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอนใหกับนักเรียนที่เกง/

เรียนดี2. ขอใดเปนจุดเริ่มตนของการวิจัยในชั้นเรียน

ก. ครูตองการพัฒนาวิชาชีพ/เลื่อนวิทยฐานะ ข. ครูมีความตองการเผยแพรผลงานทางวิชาการ

ค. ครูตองการแกปญหาการเรียนการสอนที่พบในชั้นเรียนง. ครูตองการสรางนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน

3. ขอใดเปนแนวคิดในการทําวิจัยในชั้นเรียน ก. การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ข. การวิจัยเชิงปฏิบัติตามสาระการเรียนรู ค. การวิจัยเชิงปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ ง. การวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวปฏิรูปการเรียนรู

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 149: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

140

4. ขอมูลที่ครูสามารถเก็บรวบรวมจากการจัดการเรียนการสอนเพื่อเปนประโยชนตอการวิจัย ในชั้นเรียนมากที่สุด ไดจากแหลงใดก. ขอมูลนักเรียนรายบุคคลข. จากบันทึกหลังสอนค. จากการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนง. จากบันทึกการแนะแนวและศึกษารายงาน

5. การเลือกปญหาและกําหนดเปาหมายในการวิจัยในชั้นเรียน ควรพิจารณาสิ่งใดเปนสําคัญก. เลือกปญหาใหมข. เลือกปญหาใกลตัวค. เลือกปญหาที่เกิดขึ้นบอยครั้งง. เลือกปญหาที่นาสนใจและเกิดประโยชน

6. การเตรียมการจัดเก็บขอมูลอยางเปนระบบ ประกอบดวย 3 ประเด็นหลัก ไดแกก. ตัวผูวิจัย เครื่องมือ การเก็บรวบรวมขอมูลข. การกําหนดสภาพปญหา รูปแบบการวิจัย เครื่องมือค. เครื่องมือ การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลง. การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การเขียนรายงาน

7. ถาครูตองการแกปญหาดานพฤติกรรมของนักเรียน ควรเลือกเครื่องมือการวิจัยในชั้นเรียนประเภทใดก. แบบทดสอบข. แบบประเมินพฤติกรรมค. แบบสอบถามความตองการง. แบบสํารวจความพึงพอใจ

8. การรวบรวมขอมูลในการวิจัยในชั้นเรียนจะดําเนินการรวมกับขั้นตอนใดในการจัดการเรียนรูก. การสอนซอมเสริมข. การจัดการเรียนการสอนค. การวัดผลประเมินผลง. ขอ ข. และ ขอ ค.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 150: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

141

9. ในขั้นตอนการวิเคราะหขอมูลการวิจัยในชั้นเรียน ดําเนินการวิเคราะหขอมูลอยางไรก. วิเคราะหตามสภาพจริงข. วิเคราะหตามสภาพปญหาค. วิเคราะหตามผลการวิจัยง. วิเคราะหตามวัตถุประสงคการวิจัย

10. ขั้นตอนใดเปนขั้นตอนสุดทายในการทําวิจัยในชั้นเรียนก. สรางนวัตกรรมเพื่อแกปญหาข. สรุปผลการวิจัยในชั้นเรียนค. รายงานการวิจัยในชั้นเรียนง. แกปญหาการเรียนรูของนักเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 151: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

142

แบบสอบถามวัดเจตคติเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนกอน - หลัง การใชคูมือวิจัยในชั้นเรียนสําหรับครูผูสอนในโรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)

คําชี้แจง ใหคุณครูทําเครื่องหมาย / ใหตรงกับความคิดเห็นและความรูสึกของทาน

ขอความ ระดับความคิดเห็นเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวยไมเห็นดวย

อยางยิ่ง

1. วิจัยในชั้นเรียนมีขอบเขตการศึกษาในชั้นเรียน ใชเวลาไมมากนัก สามารถเขียนรายงานเพียง 1 - 3 หนา

2. ครูผูสอนสามารถใชการวิจัยในชั้นเรียนเปน เครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพผูเรียน

3. ครูผูสอนสามารถใชการวิจัยในชั้นเรียนเปน เครื่องมือในการพัฒนาวิชาชีพในโอกาสตอไป

4 ถาสถานศึกษาของทานมีครูทําวิจัยในชั้นเรียน ทุกคนจะชวยใหผูเรียนมีคูณภาพยิ่งขึ้น

5. วิธีทําวิจัยในชั้นเรียน คือ การทําวิจัยในชั้นเรียนควบคูไปกับการจัดการเรียนการสอนปกติ

6. การทําวิจัยในชั้นเรียนแบบงายตรงกับสภาพ การปฏิบัติงานความตองการของทานมากที่สุด

7. การพัฒนาการวิจัยในชั้นเยนโดยการศึกษา ดวยตนเองจะชวยพัฒนาประสิทธิภาพในการทําวิจัยในชั้นเรียนได

8. ทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการทําวิจัย ในชั้นเรียนเปนอยางดี

9. ทานสามารถทําวิจัยในชั้นเรียนไดดวยความมั่นใจเปนอยางยิ่ง

10.ทานคิดวาจะชักชวนใหเพื่อนครู ทําวิจัยในชั้นเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 152: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ภาคผนวก ฉรายชื่อกลุมตัวอยาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 153: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

รายชื่อกลุมตัวอยาง

ที่ ชื่อ - สกุล ตําแหนง กลุมสาระ1.2.3.4.5.6.7.8.9.

10.11.12.13.14.15.16.17.18.19.20.

นางนิตยา หงษทองนางอุษา ทองแกวนางสุณิตา ชวยสงคนายวันชัย เรืองทองนางจาริณีย ชูแกวนางจารี ชาญเชี่ยวนางพรศิริ แซวองนางสาววันดี คงทองนายฤตภาสณ เพชรชวยนายสมพร ฮวดเลี้ยงนางเรวดี ฮวดเลี้ยงนางศิริพร เกิดจันทรนายสมคิด ทิพยเพ็งนางจิรภา คงสุวรรณสกุลนายเจษฎาภรณ คนซื่อนายวานิช เรืองวงษนายสมพงศ เพชรแกวนางสาวมลิวัลย แสงลีนายบุญมี โอทองนายสมศักดิ์ สุขบําเพิง

ครู คศ.2ครูผูชวยครู คศ.1ครู คศ.2ครูผูชวยครู คศ.2ครู คศ.1ครู คศ.1ครู คศ.2ครู คศ.2ครู คศ.2ครู คศ.2ผูชวยครูครู คศ.1ครู คศ.2ครู คศ.2ครู คศ.2ครู คศ.1ครู คศ.2 ครู คศ.2

ภาษาไทยภาษาไทยคณิตศาสตรคณิตศาตรคณิตศาสตรวิทยาศาสตรวิทยาศาสตรวิทยาศาสตรวิทยาศาสตรสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมสุขศึกษาและพลศึกษาการงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยีศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยีภาษาตางประเทศ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 154: การพัฒนาคู มือวิจัยในชั้น ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/pachraporn_med.pdf · 2020-05-09 · ชื่อเรื่องภาคนิพนธ

ประวัติผูทําภาคนิพนธ

ชื่อ –นามสกุล นางพัชรพร สันติวิจิตรกุล

วัน เดือน ปเกิด 23 พฤศจิกายน 2510

สถานที่อยูในปจจุบัน 27/2 หมูที่ 5 ตําบลดอนสัก อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานี

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2522 ชั้นประถมศึกษาวัดวังหงส อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

พ.ศ. 2525 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนลานสกาประชาสรรค อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

พ.ศ. 2528 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

พ.ศ. 2530 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิชาเอกสัตวบาลวิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช

พ.ศ. 2532 วิทยาศาตรบัณฑิต วิชาเอกเกษตรศึกษาคณะเกษตรศาสตรนครศรีธรรมราช

พ.ศ. 2551 ประกาศนียบัตรบัณฑิตการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

ประสบการณทํางาน ขาราชการครู พ.ศ. 2542 - ปจจุบัน

ตําแหนงหนาที่ ครู คศ.2 วิทยฐานะชํานาญการ

สถานที่ทํางานปจจุบัน โรงเรียนองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี ๑ (ดอนสักผดุงวิทย)ตําบลดอนสัก อําเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎรธานีสังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดสุราษฎรธานี

โทรศัพท 08-5047-1740

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity