124
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง .. 2554) ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน

หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

 

หลักสตูรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

       

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร

คณะวิทยาศาสตร และบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 2: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

(หลกัสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554)

 

 ปการศึกษาท่ีเริ่มใชหลักสูตรเดิม

พ.ศ. 2547 

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร

คณะวิทยาศาสตร และบัณฑิตวทิยาลัย

มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 3: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-ก- 

สารบัญ

หนา

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1

1. รหัสและช่ือหลักสูตร 1

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา 1

3. วิชาเอก 1

4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร 1

5. รูปแบบของหลักสูตร 1

5.1 รูปแบบ 1

5.2 ภาษาท่ีใช 1

5.3 การรับเขาศึกษา 1

5.4 ความรวมมือกับสถาบนัอ่ืน 1

5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา 1

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบ 2

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน 2

8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 2

9. ช่ือ เลขประจําตัวบตัรประชาชน ตาํแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย

ผูรับผดิชอบหลักสูตร

2

10. สถานท่ีจดัการเรียนการสอน 2

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจาํเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

3

11.1 สถานการณหรือการพัฒนาเศรษฐกิจ 3

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 3

12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจของ

สถาบัน

3

12.1 การพัฒนาหลักสูตร 3

12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน 3

13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน 3

13.1 การบริหารหลักสูตร 3

13.2 การบริการใหหลักสูตรอ่ืน 3

หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 4

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 4

2. แผนพัฒนาปรับปรุง 4

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร 6

1. ระบบการจัดการศึกษา 6

Page 4: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-ข-

สารบัญ (ตอ)

1.1 ระบบ

6

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน 6

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค 6

2. การดําเนินการหลักสูตร 6

2.1 วัน-เวลาในการดาํเนนิการเรียนการสอน 6

2.2 คุณสมบตัิผูเขาศึกษา 6

2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา 6

2.4 กลยุทธในการดาํเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 7

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาระยะ 5 ป 7

2.6 งบประมาณตามแผน 8

2.7 ระบบการศึกษา 8

2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและลงทะเบียนเรียนเขามหาวิทยาลัย 8

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 9

3.1 หลักสูตร 9

3.1.1 จาํนวนหนวยกิต 9

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร 9

3.1.3 รายวิชา 10

3.1.4 ตวัอยางแผนการศึกษา 13

3.1.5 คําอธบิายรายวิชา 15

3.2 ช่ือ เลขท่ีประจําตัวบตัรประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารย 23

3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร 23

3.2.2 อาจารยประจํา 23

3.2.3 อาจารยพิเศษ 24

4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม 24

5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําวิทยานิพนธ 25

5.1 คําอธิบายโดยยอ 25

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู 25

5.3 ชวงเวลา 25

5.4 จํานวนหนวยกิต 25

5.5 การเตรียมการ 25

5.6 กระบวนการประเมินผล 25

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล 26

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 26

Page 5: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-ค-

สารบัญ (ตอ)

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน 26

2.1 คุณธรรมและจริยธรรม 26

2.2 ความรู 27

2.3 ทักษะทางปญญา 27

2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผดิชอบ 28

2.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 28

3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum mapping)

39

หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 30

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน 30

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 30

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 30

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย 31

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 31

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกอาจารย 31

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 32

1. การบริหารหลักสูตร 32

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 32

2.1 การบริหารงบประมาณ 32

2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยูเดมิ 32

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม 35

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร 35

3. การบริหารคณาจารย 36

3.1 การรับอาจารยใหม 36

3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การตดิตามและทบทวนหลักสูตร 36

3.3 การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ 36

4. การบริหารบุคลากรสนับสนนุการเรียนการสอน 36

4.1 การกําหนดคณุสมบตัิเฉพาะตาํแหนง 36

4.2 การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัตงิาน 36

5. การสนับสนุนและการใหคาํแนะนาํนักศึกษา 36

5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการและอืน่ๆแกนักศึกษา 36

5.2 การอุทธรณของนักศกึษา 36

6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑติ 37

Page 6: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-ง-

สารบัญ (ตอ)

7. ตัวบงช้ีผลการดําเนนิงาน (key Performance Indicators) 37

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร 38

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 38

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 38

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 38

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 38

ภาคผนวก 40

ก. แผนท่ีแสดงการการะจายความรับผดิชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum mapping)

41

ข. ประวัติอาจารยประจําหลักสูตร 48

ค. คําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 71

ง. ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 53

จ. ประกาศบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับท่ี 22/2550) เร่ือง การเทียบ

โอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑติศึกษาจากการศึกษาในระบบ

92

ฉ. ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย พ.ศ.

2541

96

ช. ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบบัท่ี 946/2550) เร่ือง แนวปฏิบัตใินการขอ

อุทธรณผลการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ

99

ซ. องคประกอบและตัวช้ีวัดคณุภาพของการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ตามระบบการประเมินผลการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

102

ฌ. รายงานผลการประเมินหลักสูตร (กรณีหลักสูตรปรับปรุง) 110

ญ. ตารางเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง 114

 

Page 7: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-1- 

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยสีารสนเทศ

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 

ช่ือสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร 

หมวดที่ 1 ลักษณะและขอมูลทั่วไปของหลักสูตร 

1. รหัสและช่ือหลักสูตร ภาษาไทย : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Information Technology

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ช่ือเต็ม (ไทย) : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

ช่ือยอ (ไทย) : วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

ช่ือเต็ม (อังกฤษ) : Master of Science (Information Technology)

ช่ือยอ (อังกฤษ) : M.Sc. (Information Technology)

3. วิชาเอก

เทคโนโลยีสารสนเทศ 

4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 38 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ

เปนหลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก1 แผน ก แบบ ก2 และแผน ข

5.2 ภาษาที่ใช มีการจัดการเรียนการสอนเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษเปนบางรายวิชา

5.3 การรับเขาศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาตางประเทศท่ีสามารถพูด ฟง อาน เขียน และเขาใจภาษาไทย

อยางดี

5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน

ไมมี

5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาจะไดรับปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

Page 8: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-2-

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร      เปนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ปรับปรุงจากหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2547

คณะกรรมการกล่ันกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมคร้ังท่ี 4/2554

วันท่ี 4 มีนาคม 2554 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการประชุมคร้ังท่ี 4/2554 วันท่ี 1 มิถุนายน 2554

เปดสอนภาคการศึกษาท่ี 1 ปการศึกษาท่ี 2554

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรเปนหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ในระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ในปการศึกษา 2554  

8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา 8.1 นักวิเคราะหและออกแบบระบบสารสนเทศ

8.2 นักเขียนโปรแกรม ออกแบบและพัฒนาซอฟแวร

8.3 ผูดูแลระบบสารสนเทศ ระบบฐานขอมูลและระบบเครือขายท้ังภาครัฐและเอกชน

8.4 ผูบริหารและจัดการโครงการพัฒนาซอฟแวร

8.5 ทํางานดานมัลติมีเดีย เชน ส่ือการสอน พัฒนาเว็บไซต

8.6 อาจารย

8.7 นักวิจัยในสถาบันการศึกษา

8.8 นักวิชาการคอมพิวเตอร

9. ช่ือ ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ ช่ือ-สกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนง

วิชาการ

การศึกษา

1 นายสมจิตร อาจอินทร 3-4099-00639-46-5 รอง

ศาสตราจารย

D.Tech.Sci

(Computer Science)

2 นางงามนจิ อาจอินทร  3-1005-04090-63-5 ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D.(Computer

Science)  

3 นายจักรชัย โสอินทร 3-1199-00230-83-7 อาจารย Ph.D.(Computer

Engineering)

4 นางสาววรารัตน รุงวรวุฒิ 3-4018-00011-86-6 อาจารย Ph.D.(Computer

Engineering)

5 นางสาวสุมณฑา เกษมวิลาศ 3-4099-00021-82-8 อาจารย M.S.(Computer

Science)  

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 9: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-3-

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

สถานการณของเศรษฐกิจโลกแบบไรพรมแดน ระบบขอมูลขาวสารรวมถึงเทคโนโลยี

สารสนเทศ มีความจําเปนอยางย่ิงตอการพัฒนาและการแขงขันสําหรับทุกธุรกิจ ดังนั้นการพัฒนา

ทรัพยากรบุคลท่ีมีศักยภาพทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีความจําเปนอยางย่ิงสําหรับองคกรท้ัง

ภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ในการพัฒนาองคกรใหสามารถแขงขันท้ังภายในประเทศและ

ตางประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

การปรับปรุงหลักสูตร ไดคํานึงถึงการพัฒนานักศึกษาท่ีจะจบเปนมหาบัณฑิตของสังคม ให

มีคุณธรรม จริยธรรม และความรูดานกฎหมายขอมูลขาวสาร เพ่ือเปนกําลังสําคัญดานเทคโนโลยี

สารสนเทศ ท่ีจะชวยแนะนํา ช้ีแนะ และพัฒนาสังคมใหมีความรูความเขาใจถึงคุณและโทษของ

เทคโนโลยี

12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจ

ของสถาบัน

12.1 การพัฒนาหลักสูตร

กรอบแนวคดิในการปรับปรุงหลักสูตรนี้ คือ นักศึกษามีพ้ืนฐานความรูดานเทคโนโลยีท่ี

เพียงพอ และมีความเช่ียวชาญเฉพาะดานท่ีตนเองสนใจ เพ่ือใหสามารถนําไปประยุกตใชกับ

สถานการณหรือการประกอบอาชีพไดอยางแทจริง

12.2 ความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน

กรอบแนวคิดการปรับปรุงหลักสูตรและโครงสรางของหลักสูตร สอดคลองกับพันธกิจของ

มหาวิทยาลัยดานการผลิตบัณฑิต คือ เปนบัณฑิตท่ีพึงประสงค ซึ่งมีกรอบท่ีตองบรรลุ 3 ดานหลักๆ

คือ บัณฑิตพรอมใชงาน บัณฑิตมีความเช่ียวชาญเฉพาะดาน และเปนบัณฑิตท่ีความรู ทักษะและ

ทัศนคติท่ีดี

13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน (เชน รายวิชาที่เปด

สอนเพ่ือใหบริการคณะ/ภาควิชาอ่ืน หรือตองเรียนจากคณะ/ภาควิชาอ่ืน)

หลักสูตรนี้มีความสัมพันธกับหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ

คอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งมีบางรายวิชาท่ีท้ัง 2 สาขาวิชาใชรวมกัน โดย

มีการบริหารจัดการดวยคณะกรรมการบริหารที่เปนชุดเดียวกัน

Page 10: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-4-

หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลกัสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

1.1 ปรัชญา  

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) มุงผลิตมหาบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสาขาวิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศ มีความสามารถในการทําวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได โดยการใชความรูท้ัง

ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นํามาประยุกตใหเกิดการพัฒนาความรูใหมหรือวิธีการปฏิบัติงานใหมใน

สาขาวิชาไดอยางสรางสรรค มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณตามหลักวิชาการและวิชาชีพ และมี

ภาวะผูนําในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตนอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม และจรรยาบรรณทาง

วิชาการและวิชาชีพ

1.2 วัตถุประสงค

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.

2554) มีวัตถุประสงคเพ่ือผลิตมหาบัณฑิตท่ีมีคุณสมบัติดังนี้ (1) มีความรูความเขาใจอยางลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสําคัญในสาขาวิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศและสามารถประยุกตความรูในการทําวิจัยหรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพในระดับสูงได

(2) มีความสามารถในวิจัยหรือการจัดการโครงการทางวิชาการที่จะกอใหเกิดการพัฒนา

ความรูใหมหรือวิธีปฏิบัติงานใหมๆในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

(3) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห การสื่อสาร การใชคอมพิวเตอรและ

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการสมัยใหม ท่ีจะนําไปสูการพัฒนาความรูและการนําไปใชประโยชน

ไดในวงกวาง

(4) มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ/วิชาชีพ และมีภาวะผูนําในการ

สงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตนอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการและ

วิชาชีพ 

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

ปรับปรุงหลักสูตรทุกๆ 5 ป โดยการวิเคราะหประเด็นปญหาจากการดําเนินงาน รับฟงความ

คิดเห็นของผูประกอบการ นักวิชาการ และผูท่ีเก่ียวของ เชน นักศึกษา และบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา  

แผนการพัฒนา/เปล่ียนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

1. การพัฒนาการเรียนการสอน

o การเรียนรูโดยใช e-learning เสริม

เพ่ือใหนักศึกษาไดทบทวนเนื้อหา

ไดตลอดเวลา

o รายวิชา 322733

รายวิชา 322731

รายวิชา 322735

รายวิชา 322724

รายวิชา 322734

www.cs.kku.ac.th/ main/en/e-learning 

Page 11: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-5-

แผนการพัฒนา/เปล่ียนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

2. การพัฒนานักศึกษา o ก า ร พัฒน า ทั กษ ะ แล ะค ว าม

เช่ียวชาญเฉพาะดาน โดยการฝก

ปฏิบัติท่ีมีผูชวยสอนเปนผูแนะนํา

อยางใกลชิด

o จํ า น ว น นั ก ศึ ก ษ า ท่ี

สามารถฝกปฏิบัติได

จริง

3. การเปล่ียนแปลงจุดเนนของหลักสูตร

o หลักสูตรมุงพัฒนาความเช่ียวชาญเฉพาะดาน

o นั กศึ ก ษ า ทํ า วิ ท ย า ‐นิพนธภายใตกลุมวิจัย

ท่ีชัดเจน

4. การเพ่ิมเนื้อหาใหมๆ ท่ี

สําคัญ

o หลักสูตรมีการจัดกลุมสาขาวิจัยท่ีชัดเจน

o จํ า น วนนั กศึ กษ า ทํ า

วิทยานิพนธในแตละ

กลุมสาขาวิจัย

Page 12: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-6-

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ

ระบบการจัดการศึกษาเปนแบบทวิภาค ซึ่งเปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยชอนแกน วาดวย

การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดท่ี 2 ขอท่ี 7 หรือระเบียบท่ีจะปรับปรุงใหม

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

มีการจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ท้ังนี้เปนไปตามแนวปฏิบัติในการเปดรายวิชาและการจัด

การศึกษาภาคฤดูรอนของมหาวิทยาลัย

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

ไมมี

2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน – เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

ภาคการศึกษาตน เดือนมิถุนายน-เดือนกันยายน

ภาคการศึกษาปลาย   เดือนตุลาคม-เดือนกุมภาพันธ

ภาคฤดูรอน เดือนมีนาคม-เดือนพฤษภาคม (ถามี)

 

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

2.2.1 ผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ในแผน ก แบบ ก1 จะตองสําเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือ

เทียบเทาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร สาขาวิชาวิศวกรรม

คอมพิวเตอร หรือสาขาวิชาท่ีเทียบเทา โดยมีผลการศึกษาเฉล่ียในระดับปริญญาตรี 3.2  ข้ึนไป หรือ มี

ผลงานวิจัยหรือส่ิงประดิษฐท่ีไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

2.2.2 ผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ในแผน ก แบบ ก 2 และแผน ข จะตองสําเร็จการศึกษาปริญญา

ตรีหรือเทียบเทาทุกสาขา แตท้ังนี้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสามารถใหผูมีสิทธิ์เขาศึกษาลงทะเบียน

เรียนวิชาพ้ืนฐานอ่ืนๆ เพ่ิมเติมจากหลักสูตรท่ีกําหนดไวดวยก็ได โดยไมคิดหนวยกิต

2.2.3 เปนผูมีสุขภาพดีท้ังรางกายและจิตใจ

2.2.4 เปนผู มีคุณสมบัติตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 หมวดท่ี 5 ขอ 26.2 (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ง) หรือเปนไปตามระเบียบ

มหาวิทยาลัยขอนแกนท่ีปรับปรุงใหม

2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา

นักศึกษาท่ีจะเขาศึกษาไมไดสําเร็จปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชา

วิทยาการคอมพิวเตอร สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร หรือสาขาวิชาท่ีเทียบเทา

Page 13: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-7-

2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา / ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณาใหลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาเพ่ือปรับ

ฐานความรูใหอยูในระดับท่ีสามารถศึกษาได โดยไมคิดหนวยกิต  

 

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป

o แผน ก แบบ ก 1

จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา

2554 2555 2556 2557 2558

ช้ันปท่ี 5 5 5 5 5

ช้ันปท่ี 2 - 5 5 5 5

รวม 5 10 10 10 10

คาดวาจะจบการศึกษา - 5 5 5 5

o แผน ก แบบ ก 2

จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา

2554 2555 2556 2557 2558

ช้ันปท่ี 1 10 10 10 10 10

ช้ันปท่ี 2 - 10 10 10 10

รวม 10 20 20 20 20

คาดวาจะจบการศึกษา - 10 10 10 10

o แผน ข

จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา

2554 2555 2556 2557 2558

ช้ันปท่ี 1 40 40 40 40 40

ช้ันปท่ี 2 - 40 40 40 40

รวม  40 80 80 80 80

คาดวาจะจบการศึกษา - 40 40 40 40

Page 14: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-8-

2.6 งบประมาณตามแผน

2.6.1 งบประมาณรายรับ (หนวย บาท)

ประมาณการรายรับ ปงบประมาณ

2554 2555 2556 2557 2558

คาธรรมเนียมการศึกษา 1,710,000 3,420,000 3,420,000 3,420,00 3,420,000

งบประมาณแผนดิน 90,000 180,000 180,000 180,000 180,000

รวมรายรับ 

 

1,800,000

3,600,000

3,600,00

3,600,000

3,600,000

2.6.2 งบประมาณรายจาย (หนวย บาท)

ประมาณการรายจาย ปงบประมาณ

2554 2555 2556 2557 2558

งบใชสอย ตอบแทนและวัสดุ 540,000 1,080,000 1,080,000 1,080,000 1,080,000

งบครุภัณฑ 360,000 720,000 720,000 720,000 720,000

งบดําเนินการ (พัฒนาการเรียน

การสอน พัฒนานักศึกษา ทุน

ฯลฯ) 

20,000 1,440,000 1,440,000 1,440,000 1,440,000

กองทุนสงเสริม 1,800,000 360,000 360,000 360,000 360,000

รวมรายจาย 3,600,000 3,600,000 3,600,000 3,600,000 3,600,000

ประมาณการคาใชจายตอหัวนักศึกษาตอหลักสูตร = 152,000 บาท 

*หมายเหตุ จํานวนนักศึกษารวมหลักสูตรเกาและหลักสูตรปรับปรุง

2.7 ระบบการศึกษา

ระบบการศึกษาเปนแบบช้ันเรียน

2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย (ถามี)

ใหเปนไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับท่ี 73/2548) เร่ือง การ

เทียบโอนรายวิชาและคาคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา จากการศึกษาในระบบ และระเบียบ

มหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541 หรือเปนไปตามระเบียบหรือ

ประกาศท่ีจะปรับปรุงใหม 

Page 15: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-9-

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน

3.1 หลักสูตร ใหระบุรายละเอียดดังตอไปนี้

3.1.1 จํานวนหนวยกิต ไมนอยกวา 38 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 1 รวมตลอดหลักสูตร 38 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 รวมตลอดหลักสูตร 38 หนวยกิต

แผน ข รวมตลอดหลักสูตร 38 หนวยกิต

 

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร 

หมวดวิชาตามโครงสรางหลักสูตร จํานวนหนวยกติ

แผน ก แบบ ก1 แผน ก แบบ ก2  แผน ข

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร

1. หมวดวิชาบังคับ

2. หมวดวิชาเลือก

3. วิชาวิทยานิพนธ 4. วิชาการศึกษาอิสระ

38

- -

38

-

38

17 9

12

-

38

17

15

-

6  

แผน ก แบบ ก 1

นักศึกษาตองตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยท่ีมาจากงานวิทยานิพนธ ในเอกสารการประชุมทาง

วิชาการ (Proceedings) ในประเทศหรือตางประเทศ หรือในวารสารวิชาการท่ีเก่ียวของกับเทคโนโลยี

สารสนเทศ อยางนอย 2 เร่ือง โดยผลงานวิจัยนั้นจะตองไดรับการตอบรับใหลงตีพิมพกอนวันสําเร็จ

การศึกษา  

แผน ก แบบ ก 2

นักศึกษาตองตีพิมพเผยแพรงานวิจัยท่ีมาจากงานวิทยานิพนธ ในเอกสารการประชุมทาง

วิชาการ (Proceedings) ในประเทศหรือตางประเทศ หรือในวารสารวิชาการท่ีเก่ียวของกับเทคโนโลยี

สารสนเทศ อยางนอย 1 เร่ือง โดยผลงานวิจัยนั้นจะตองไดรับการตอบรับใหลงตีพิมพกอนวันสําเร็จ

การศึกษา  

แผน ข นักศึกษาจะตองสอบผานการสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) ดวย

ขอเขียนในรายวิชาท่ีกําหนด หรือ ตองผานการสอบปากเปลา (Oral Examination)

Page 16: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-10-

3.1.3 รายวิชา 3.1.3.1 หมวดวิชาบังคับ รวม 17 หนวยกิต

สําหรับหลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข ประกอบดวย รายวิชา

ดังตอไปนี ้

322 724 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

Systems Analysis and Design

3(3-0-6)

322 733 ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ

Database Systems and Design

3(3-0-6)

322 734 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Managing Information Technology

3(3-0-6)

*322 766 เครือขายคอมพิวเตอร

Computer Networks

3(3-0-6)

*322 793 ระเบียบวิธีวิจยั

Research Methodology

3(3-0-6)

322 891  สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

Information Technology Seminar I

1(1-0-6)

322 892 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

Information Technology Seminar II 1(1-0-6)

3.1.3.2 หมวดวิชาเลือก

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตแผน ก แบบ ก 2 ตองเลือกเรียนจาก

หมวดวิชาเลือกบังคับ ไมนอยกวา 9 หนวยกิต

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตแผน ข หมวดวิชาเลือกไมนอยกวา 15

หนวยกิต ตองเลือกเรียนจากหมวดวิชาเลือกบังคับไมนอยกวา 9 หนวยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรียน

รายวิชาจากรายวิชาตางๆ ตอไปนี้หรือจากรายวิชาอ่ืนๆ ในระดับบัณฑิตศึกษาท่ีภาควิชาวิทยาการ

คอมพิวเตอรจะเปดเพ่ิมเติมภายหลังหรือรายวิชาอ่ืนๆ ในระดับบัณฑิตศึกษา ท่ีเก่ียวของกับเทคโนโลยี

สารสนเทศ โดยความเห็นชอบจากกรรมการบริหารหลักสูตร  

หมายเหตุ *    หมายถึง รายวิชาใหม

Page 17: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-11-

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมการทําเหมืองขอมูลและการบูรณาการขอมูลสารสนเทศ

อยางส่ือความหมาย

322 731 เทคโนโลยีเว็บ

Web Technology

3(3-0-6)

322 735 เทคโนโลยี XML และการประยุกต

XML Technologies and Applications

3(3-0-6)

322 736 เทคโนโลยีเว็บแบบส่ือความหมาย

Semantic Web Technology

3(3-0-6)

322 756 การทําเหมืองขอมูล

Data Mining

3(3-0-6)

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมเทคโนโลยีการส่ือสารเครือขายประยุกต

322 744 การบริหารเครือขายคอมพิวเตอร

Computer Network Administration

3(3-0-6)

322 748 ความม่ันคงเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Security

3(3-0-6)

322 749 เทคโนโลยีการส่ือสารเคล่ือนท่ีและเครือขายไรสาย

Mobile and Wireless Networking Technology

3(3-0-6)

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมระบบอัจฉริยะและการเรียนรูเคร่ือง

322 754 วิศวกรรมความรู

Knowledge Engineering  3(3-0-6)

322 755 เทคโนโลยีสนบัสนุนการตดัสินใจ

Decision Support Technologies

3(3-0-6)

*322 757 การจัดการความรู

Knowledge Management

3(3-0-6)

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมโลจิสติกสและหวงโซอุปทาน

*322 763 ระบบสารสนเทศสําหรับการจัดการโลจิสติกสและหวงโซอุปทาน

Information System for Logistics and Supply Chain

Management

3(3-0-6)

*322 764 การจัดการหวงโซอุปทานธุรกิจอิเล็กทรอนิกส

Electronic-business Supply Chain Management

3(3-0-6)

*322 765 การจัดการโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Project Management

3(3-0-6)

Page 18: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-12-

 

3.1.3.3 วิชาวิทยานิพนธ สําหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1

322 898 วิทยานิพนธ  Thesis

38 หนวยกิต

สําหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 2 322 899 วิทยานิพนธ  

Thesis

12 หนวยกิต

3.1.3.4 วิชาการศึกษาอิสระ สําหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต แผน ข 

322 897 การศึกษาอิสระ

Independent Study

6 หนวยกิต

คําอธิบายระบบรหัสวิชา

ระบบรหัสวิชาใชตามระบบของมหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งใชระบบตัวเลขลวนจํานวน 6 หลัก

xxx xxx โดยมีความหมายดังนี้  322 xxx  หมายถึง ตัวเลขลําดบัท่ี 1-3   แทน  คณะและภาควิชาท่ีเปดรายวิชา

ตัวเลขลําดบัท่ี 4 แทน  ระดับช้ันปของนักศึกษา

เลข 7 และ 8 หมายถึง วิชาในระดับบณัฑิตศึกษาข้ันปริญญาโท ตัวเลขลําดบัท่ี 5   แทน  หมวดวิชา

ตัวเลขลําดบัท่ี 6   แทน  ลําดบัวิชาในแตละหมวด

เฉพาะตัวเลขลําดบัท่ี 5 มีความหมายดังนี้

322 x1x หมายถึง วิชาในหมวดภาษาคอมพิวเตอร

322 x2x หมายถึง วิชาในหมวดทฤษฎีคอมพิวเตอรและวิศวกรรมชุดคําส่ัง

322 x3x หมายถึง วิชาในหมวดเทคโนโลยีสารสารสนเทศ

322 x4x หมายถึง วิชาในหมวดเครือขายการสื่อสารคอมพิวเตอร

322 x5x หมายถึง วิชาในหมวดปญญาประดษิฐ

322 x6x หมายถึง วิชาในหมวดโลจิสติกสและหวงโซอุปทาน

322 x7x หมายถึง วิชาในหมวดหัวขอพิเศษเทคโนโลยีสารสารเทศ

322 x8x หมายถึง วิชาในหมวดปฏิบัติการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

322 x9x หมายถึง วิชาในหมวดสัมมนา การศึกษาอิสระและวิทยานิพนธ

* หมายถึง รายวิชาใหม

Page 19: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-13-

3.1.4 แสดงแผนการศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแผนการศึกษา

ดังนี้

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา  ช่ือวิชา แผน ก 1

หนวยกิต

แผน ก 2

หนวยกิต

แผน ข

หนวยกิต

322 733

*322 766

*322 793 

  322 898

ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ

Database Systems and Design

เครือขายคอมพิวเตอร

Computer Networks ระเบียบวิธีวิจยั

Research Methodology วิทยานิพนธ

Thesis 

-

-

 -

10

3

3

-

3

3

3

-

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 10 9 9

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 10 9 9

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชา ช่ือวิชา แผน ก 1

หนวยกิต

แผน ก 2

หนวยกิต แผน ข

หนวยกิต

322 724 

322 734

322 891

322 xxx

322 898

การวิเคราะหและออกแบบระบบ

Systems Analysis and Design

การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Managing Information Technology

สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

Information Technology Seminar I

วิชาเลือก

Elective วิทยานิพนธ

Thesis

-

-

-

-

10

3

3

1

6

-

3

3

1

6

-

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 10 13 13

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 20 22 22 

Page 20: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-14-

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชา  ช่ือวิชา แผน ก 1

หนวยกิต

แผน ก 2

หนวยกิต

แผน ข

หนวยกิต

322 xxx 

 322 892

322 897

322 898 

322 899

วิชาเลือก

Elective

สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

Information Technology Seminar II

การศึกษาอิสระ

Independent Study

วิทยานิพนธ

Thesis

วิทยานิพนธ

Thesis 

-

-

-

-

10

1

-

-

5

6

1

2

-

-

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 10 9 9

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 30 31 31

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 

รหัสวิชา ช่ือวิชา แผน ก 1

หนวยกิต

แผน ก 2

หนวยกิต

แผน ข

หนวยกิต

322 xxx

322 897

322 898

322 899

วิชาเลือก

Elective

การศึกษาอิสระ

Independent Study

วิทยานิพนธ

Thesis

วิทยานิพนธ

Thesis

-

-

-

-

-

-

7

3

4

-

-

รวมจํานวนหนวยกิตลงทะเบียนเรียน 8 7 7

รวมจํานวนหนวยกิตสะสม 38 38 38

Page 21: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-15-

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา

322 724 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

Systems Analysis and Design

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

ความรูเบื้องตนเก่ียวกับเทคโนโลยีวัตถุและการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ การพัฒนาขอเสนอ

โครงการและการจัดการโครงการ การเก็บรวบรวมและการวิเคราะหความตองการ แบบจําลอง Use

Case แบบจําลองลําดับเหตุการณของระบบ แบบจําลองโดเมน ทางเลือกสําหรับการพัฒนาระบบใหม

การออกแบบสถาปตยกรรมระบบ แบบจําลองโตตอบ แบบจําลองคลาส การออกแบบคลาสโดยใชแบบ

แผน GRASP การออกแบบฐานขอมูล การพัฒนาซอฟตแวร การติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบ

กรณีศึกษา: กระบวนการวิเคราะหและออกแบบระบบตามมาตรฐานการปรับปรุงกระบวนการท่ีมีวุฒิ

ภาวะ CMMI

Introduction to object technology and object-oriented system development, project

proposal development, project management, data gathering and requirement analysis, use case

model, scenario model, domain model, system development alternatives, system architecture

design, interaction model, class model, class modeling using GRASP, database design, software

coding, implementation and maintenance, case study: system analysis and design using CMMI.

322 731 เทคโนโลยีเว็บ

Web Technology

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

เทคโนโลยีอินเตอรเน็ต องคประกอบเครือขายอินเตอรเน็ตและการเช่ือมตออินเตอรเน็ต

โทโปโลยีอินเตอรเน็ต สถาปตยกรรมผูใหบริการอินเตอรเน็ต เครือขายใยแมงมุม โปรโตคอลเฮชทีทีพี

เทียร (1 เทียร 2 เทียร 3 เทียร) ภาษาตระกูลมารคอัพ (HTML XML XHTML) กระบวนการพัฒนา

เว็บดวยหลักการวิศวกรรมเว็บ วิวัฒนาการของเว็บ (Web 1.0 Web 2.0 Web 3.0) การพาณิชย

อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีเว็บเพจแบบไดนามิกส (client–side and server-side programming)

เทคโนโลยีเว็บเซอรวิส

Internet technologies, internet components and internetworking, internet topology,

internal architecture of an ISP, World Wide Web, HTTP protocol, tiers (1 Tier, 2 tier, 3 tier),

mark up languages (HTML, XML, XHTML), web development process using web engineering,

generation of web (Web 1.0, Web 2.0, Web 3.0), electronic commerce, dynamic web page

technology (client-side and server-side programming), web services technology. 

   

Page 22: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-16-

322 733 ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ

Database Systems and Design

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

แนวคิดระบบจัดการฐานขอมูล รูปแบบขอมูลและภาษา ทฤษฎีฐานขอมูลเชิงสัมพันธ การ

ออกแบบฐานขอมูล การจัดระเบียบแฟม การประมวลผลขอคําถาม การควบคุมภาวะพรอมกัน การ

ยอนกลับและการกูคืน บูรณภาพและความตองกัน ทัศนะการทําใหเกิดผล ความม่ันคงของฐานขอมูล

เทคนิคการทําใหเกิดผลสําหรับระบบฐานขอมูล

DBMS concepts, data models and languages, relational database theory, database

design, file organization, query processing, concurrency control, rollback and recovery, integrity

and consistency, and view implementation, database security, implementation techniques for

database systems.

322 734 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Managing Information Technology

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคเศรษฐกิจใหม การบริหารและการจัดการเทคโนโลยี

สารสนเทศในองคการ ยุทธศาสตรระบบสารสนเทศและการวางแผนระบบสารสนเทศ หลักการการรักษา

ความม่ันคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ กฎหมายดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเด็นดานจริยธรรม

คุณธรรม บทบาทของประธานผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ

Roles of information technology in new economy society, management and

administration of information technology in an organization, roles of CIO, IT policies and

strategic planning, IT application acquisitions and option, principle of managing IT security, IT

laws, social and ethical Issues.

322 735 เทคโนโลยี XML และการประยุกต

XML Technologies and Applications

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

เทคโนโลยี XML การสรางและการใชงาน Namespaces การสรางเอกสาร XML ท่ีมีการ

ควบคุมความถูกตองดวย DTD และ Schemas การสรางและการใชงาน Cascading Style Sheets การ

เช่ือมโยงขอมูล XML กับ Internet Explorer การประมวลผลเอกสาร XML ดวย XSLT และ XQuery

การประยุกตใชงาน XML กับเทคโนโลยีเว็บเซอรวิส การจัดการเอกสาร XML ดวยภาษาทางเว็บ ผาน

ทางมาตรฐาน DOM

XML technologies, working with namespaces, creating a valid XML document

using DTD and schemas, working with cascading style sheets, binding XML data with internet

explorer, XML processing with XSLT and XQuery, applying XML to web services technology,

managing XML document with web programming language through DOM.

Page 23: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-17-

322 736 เทคโนโลยีเว็บแบบส่ือความหมาย

Semantic Web Technology

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

แนะนําเทคโนโลยีเว็บแบบส่ือความหมาย เอกสารเว็บท่ีมีโครงสรางในรูปแบบของ XML

การอธิบายทรัพยากรบนเว็บดวย RDF  แนวคิดเก่ียวกับออนโทโลยี ภาษา OWL ท่ีใชอธิบายเว็บ

ออนโทโลยี ความสามารถในการสืบคนและการอนุมาน การประยุกตใชงานเทคโนโลยีเว็บแบบส่ือ

ความหมาย Introduction to semantic web technologies, structured web document in XML,

describing web resources in RDF, ontology concept, OWL-ontology web language, query and

reasoning capability, applications for semantic web technologies.

322 744 การบริหารเครือขายคอมพิวเตอร

Computer Network Administration

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

งานของการบริหารจัดการเครือขาย งานของผูบริหารกับการวางแผนศูนยขอมูล พ้ืนฐาน

วิศวกรรมอุปกรณบันทึกขอมูล เรดดิสกและกรณีศึกษาการวางแผนอุปกรณเก็บขอมูล การเสริมสราง

ความแข็งแกรงใหกับแมขายวินโดว หัวขอเลือกสรรเก่ียวกับปฏิบัติการการบริหารเครือขายโดยใช

ซอฟตแวรเชิงพาณิชยและซอฟตแวรแบบเปด สัมมนาในหัวขอวิจัยท่ีเลือกสรรดานการบริหารงาน

เครือขาย

Network management, administrator for data center planning and management,

fundamental to storage engineering, RAID technologies and storage design case studies, hardening

window server, selected topics in computer management for commercial and open source

software, research seminar for network management.

322 748 ความม่ันคงเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Security

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

ความม่ันคงระบบคอมพิวเตอรในปจจุบัน การปองกัน – ควบคุมการเขาใช ความม่ันคงใน

การเขาถึงเชิงกระจาย เทคนิคการเขารหัสแบบสมัยเกาและสมัยใหม ทฤษฎีตัวเลขเบื้องตน การศึกษา

เก่ียวกับการเขียนรหัสกุญแจสาธารณะ การจัดการกุญแจ ขาวสารที่เปนของเจาตัวจริงและฟงกชันแฮช

ลายเซ็นดิจิตอลและโปรโตคอลแสดงความเปนเจาตัวท่ีถูกตอง โปรแกรมประยุกตของการแสดงความ

เปนเจาของท่ีแทจริง ความม่ันคงของจดหมายอิเล็กทรอนิกส ความม่ันคงของหมายเลขประจําเคร่ือง

ความปลอดภัยของเว็บ ไฟรวอลและไวรัส กรณีศึกษาจากตัวอยางท่ีมีการใชงานจริง

Current computer system security, protection, access control, distributed access

security, classical and modern encryption techniques, introduction to number theory, public-key

Page 24: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-18-

cryptography, key management, message authentication and hash functions, digital signatures and

authentication protocols, authentication applications, electronic mail security, IP security, web

security, firewall and viruses, case studies from real world systems.

322 749 เทคโนโลยีการส่ือสารเคล่ือนท่ีและเครือขายไรสาย

Mobile and Wireless Networking Technology

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

เทคโนโลยีการส่ือสารเคล่ือนท่ีและเครือขายไรสาย ความรูพ้ืนฐานช้ันกายภาพสําหรับการ

ส่ือสารเคล่ือนท่ีและเครือขายไรสาย เทคโนโลยีอินเตอรเน็ต โพรโตคอลการสื่อสารแบบทีซีพีบน

เครือขายไรสาย มาตรฐานเทคโนโลยีเครือขายไรสาย เครือขายไรสายแบบทองถ่ิน เครือขายไรสายแบบ

สวนตัวและระบบตรวจจับ การคนหาเสนทางบนเครือขายไรสาย เครือขายไรสายตามลักษณะภูมิศาสตร

เทคโนโลยีเครือขายเซลลูลาร และความมั่นคงและปลอดภัยบนเครือขายไรสาย

Mobile and wireless networking technology, fundamental to physical layer for

mobile and wireless networking, internet technology, transmission control protocol (TCP) over

wireless network, wireless networking standards, wireless local area networks (WLANs),wireless

personal area networks (WPANs), sensor networks, ad hoc routing, wireless metropolitans area

networks (WMANs), cellular networks, wireless network security.

322 754 วิศวกรรมความรู

Knowledge Engineering

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

การแทนองคความรูแบบตางๆ องคความรูไมสมบูรณและไมแนนอน การคนหาองค

ความรูโดยเทคนิคการเรียนรูเคร่ือง สภาวะแวดลอมในการพัฒนาระบบองคความรู การประยุกตใชงาน

สําหรับปญหาการวินิจฉัย และปญหาการพยากรณ

Knowledge engineering, incomplete and uncertain knowledge, knowledge

acquisition and machine learning, knowledge system development environment, knowledge system

applications in forecasting and diagnosis.

322 755 เทคโนโลยีการสนับสนุนการตัดสินใจ

Decision Support Technologies

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและการจัดการประเภท การตัดสินใจไดแก แบบมี

โครงสราง ก่ึงโครงสราง และไมมีโครงสราง ระบบการตัดสินใจ การสรางตัวแบบและการวิเคราะห การ

จําลองปญหาและการแกปญหา โดยใชการโปรแกรมเชิงเสน ตนไมตัดสินใจ พัฒนาการสนับสนุนการ

ตัดสินใจและขาวกรองธุรกิจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยใชความรู ระบบอัจฉริยะ โดยระบบ ฐาน

Page 25: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-19-

กฎตรรกศาสตรคลุมเครือ การเรียนรูเคร่ือง โครงขายประสาทเทียม ข้ันตอนวิธีเชิงพันธุกรรม การคนหา

ความรู Management and Decision support system, decision type: structure, semi-

structure and unstructured, decision-making systems, modeling and analysis, problem formulation

and problem solving: linear programming, decision tree, business intelligence and decision support

development, knowledge-based decision support systems, intelligence system: rule-based system,

uncertainty in rule-based system, fuzzy logic, machine learning, neural network, genetic

algorithm, knowledge discovery.  

322 756  การทําเหมืองขอมูล

Data Mining

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

การทําเหมืองขอมูลเบื้องตน การเตรียมขอมูล การทําเหมืองความสัมพันธ การจําแนก

ประเภท ตนไมตัดสินใจ การเรียนรูแบบเบย โครงขายประสาทเทียม ข้ันตอนวิธีเชิงพันธุกรรม การ

เรียนรูเชิงอิงตัวอยาง การจัดกลุม

Data mining, data preparation, association mining, association rule, classification,

decision tree learning and application, bayesian learning, artificial neural network, genetic

algorithm, instance-based learning, clustering, applications of data mining,  

*322 757 การจัดการความรู

Knowledge Management

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

แนวคิดความรูและการจัดการความรู ตัวแบบการบริหารจัดการความรู การประมวล

ความรู การใชเคร่ืองมือและกลยุทธในการบริหารจัดการความรู

Knowledge and knowledge management concepts, knowledge management models,

knowledge processing, tools and strategies for knowledge management.

*322 763 ระบบสารสนเทศสําหรับการจัดการโลจิสติกสและหวงโซ

อุปทาน Information System for Logistics and Supply Chain

Management รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี 

3(3-0-6)

โลจิสติกสและหวงโซ อุปทาน มูลคาของโลจิสติกสและลูกคา การวัดตนทุนและ

ประสิทธิภาพของโลจิสติกส การสรางการตอบสนองตอหวงโซอุปทาน การจัดการกลยุทธการเปนผูนํา

ดานเวลา การเกิดหวงโซอุปทานในเวลาเดียวกัน การจัดการขาวสารแบบไรพรมแดน การแกปญหา

Page 26: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-20-

อุปสรรคการบูรณาการหวงโซอุปทาน ระบบบูรณาการสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนขอมูลอิเล็กทรอนิกส

มาตรฐานการแลกเปล่ียนสารสนเทศ สถาปตยกรรมการใหบริการ เทคโนโลยีบริการเว็บ กรณีศึกษา

Logistics and supply chain, logistics and customer value, measuring logistics costs

and performance, creating the responsive supply chain, strategic lead-time management,

synchronous supply chain, managing the global pipeline, overcoming the barriers to supply chain

integration, information integration system, electronic data interchange, information interchange

standards, service-oriented architecture (SOA) web service technology, case studies.

*322 764 การจัดการหวงโซอุปทานธุรกิจอิเล็กทรอนิกส

Electronic Business Supply Chain Management  รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี 

3(3-0-6)

การจัดการหวงโซอุปทาน องคกร หวงโซ และเครือขาย คุณลักษณะของอุปสงคและ

อุปทาน คลังสินคาในเครือขายของหวงโซ แนวคิดเร่ืองเครือขายหวงโซอุปทานและปฏิสัมพันธระหวาง

องคกร การปฏิบัติงานในการสงสินคาและบริการ การฝกปฏิบัติและเทคโนโลยีการทําธุรกรรม

อิเล็กทรอนิกส อธิบายและประเมินผลความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ

การจัดการหวงโซอุปทานในเชิงการปฏิบัติการและเชิงกลยุทธ

Supply chain, organization, chain, and network, capacity and network in supply

networks, concepts of supply chain networks and inter-organizational networks, products and

services delivery operations, E-business practices and technologies, explain and evaluate the iner-

relationship between ICT and supply chain management practices and strategies.

*322 765 การจัดการโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Project Management

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

การจัดการโครงการ บริบทของการจัดการโครงการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุม

กระบวนการจัดการโครงการ การจัดการโครงการแบบบูรณาการ การจัดการขอบเขตของโครงการ การจัดการเวลาของโครงการ การจัดการคาใชจายของโครงการ การจัดการคุณภาพของโครงการ การจัดการ

ทรัพยากรบุคคล การจัดการการส่ือสาร การจัดการความเส่ียง และการจัดซื้อจัดจาง ตัวแบบ

ความสามารถท่ีมีวุฒิภาวะข้ันแนะนํา ตัวแบบความสามารถที่มีวุฒิภาวะระดับ 2 ตัวแบบฝกปฏิบัติท่ีดี

สําหรับกระบวนการ การวางแผนโครงการ การติดตามและการควบคุมโครงการ การจัดการความ

ตองการ และการประกันคุณภาพผลิตภัณฑและกระบวนการ

Project management, project management and information technology context,

project management process groups, project integration management, project scope management,

project time management, project cost management, project quality management, project human

resource management, project communications management, project risk management and project

Page 27: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-21-

procurement management, introduction to capability maturity model integration (CMMI), process

area best practices: project planning; project monitoring and control; requirement management;

process and product quality assurance.

*322 766 เครือขายคอมพิวเตอร

 Computer Networks

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

ระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต ระบบการเครือขายคอมพิวเตอรแบบเล

เยอร ระดับช้ัน แอพพลิเคช่ัน ไฮเปอรเท็กซทรานเฟอรโพรโทคอล จดหมายอิเล็กโทรนิกส โพรโทคอ

ลการสงไฟลขอมูล ระบบการตั้งช่ือ ระดับช้ันทรานสพอรต โพรโทคอลทีซีพี และ ยูดีพี ระดับช้ัน

อินเตอรเน็ต โพรโทคอลไอพี การคนหาเสนทางเครือขาย ระดับช้ันดาตาลิงก เครือขายทองถ่ิน เครือขาย

มัลติมีเดีย การบริหารจัดการเครือขายคอมพิวเตอร ความม่ันคงและปลอดภัยของเครือขายคอมพิวเตอร

Computer network and internet, computer network layers, application layer,

hypertext transfer protocol (HTTP), electronic mail, file transfer protocol (FTP), domain name

system (DNS), transport layer, transmission control protocol (TCP), user datagram protocol

(UDP), internet layer, internet protocol (IP), network routing, datalink layer, local area networks

(LANs), multimedia networks, computer network management, computer network security. 

 *322 793 ระเบียบวิธีวิจยั

Research Methodology

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

3(3-0-6)

ความหมาย ความสําคัญ วัตถุประสงค การตั้งคําถาม และประเภทของระเบียบวิธีวิจัย

กระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การเขียนขอเสนอ

โครงการวิจัย สถิติ การทดลอง การสรุปผลงานวิจัย การเขียนรายงาน การเขียนบทความวิจัย การ

นําเสนอ การอางอิง และมารยาทและจรรยาบรรณในการทําวิจัย

Meaning semantic signiticant,objective,questioning and category for research

methodology, review article and related work, research proposal writing, statistics, experimental

study, research summary, report writing, research writing, proposal presentation, reference, and

research ethic. 

322 891  สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

Information Technology Seminar I

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

1(1-0-6)

การเลือกหัวขอเร่ืองหรือหัวขอ การวางแผนการสัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

การศึกษาคนควางานวิจัยท่ีเก่ียวของ การนําเสนอปากเปลา

Page 28: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-22-

Selecting topics or issues, planning seminars in information technology, related

research investigation, oral presentation 

 

322 892  สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

Information Technology Seminar II รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : 322 891

1(1-0-6)

การนําเสนอปากเปลา การอภิปรายและตอบปญหาเก่ียวกับงานวิจัยท่ีตีพิมพใหมระดับ

นานาชาติในวารสารท่ีเก่ียวของกับสาขาท่ีสนใจ การนําเสนอปากเปลา

Discussion and question clarification related to recently research publication in the

field of interest, oral presentation

 322 897

การศึกษาอิสระ

Independent Study

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

6 หนวยกิต

การศึกษาคนควา เจาะลึกในประเด็นทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศตามความสนใจของ

นักศึกษา โดยนําความรูในเร่ืองระเบียบวิธีวิจัยมาประยุกตใช โดยอยูในความดูแลของคณะกรรมการท่ี

ปรึกษาการศึกษาอิสระ

The intensive study of information technology issues based on student’s interest

through the application of Information technology research methodology under the supervision of

the Independent study advisory committees.

322 898

วิทยานิพนธ

Thesis

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

38 หนวยกิต

การทําวิจัยในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศโดยอยูในความดูแลของคณะกรรมการท่ีปรึกษา

วิทยานิพนธ

Research on a topic relevant to the field of information technology under the

supervision of the thesis advisory committees.

322 899

วิทยานิพนธ

Thesis

รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน : ไมมี

12 หนวยกิต

การทําวิจัยในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศโดยอยูในความดูแลของคณะกรรมการท่ีปรึกษา

วิทยานิพนธ

Research on a topic relevant to the field of information technology under the

supervision of the thesis advisory committee.

Page 29: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-23-

3.2 ช่ือ เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย

3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร ลําดับ ช่ือ-สกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนงวิชาการ การศึกษา

1 นายสมจิตร อาจอินทร 3-4099-00639-46-5 รองศาสตราจารย D.Tech.Sci

(Computer Science)

2 นางงามนิจ อาจอินทร 3-1005-04090-63-5 ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D.(Computer

Science)

3 นายจักรชัย โสอินทร 3-1199-00230-83-7 อาจารย Ph.D.(Computer

Engineering)

4 นางสาววรารัตน รุงวรวุฒิ 3-4018-00011-86-6 อาจารย Ph.D.(Computer

Engineering)

5 นางสาวสมุณฑา เกษมวิลาศ 3-4099-00021-82-8 อาจารย M.S.(Computer

Science)

หมายเหตุ รายละเอียดเกี่ยวกับประวัติ ผลงานทางวิชาการและภาระงานสอนใหดูในภาคผนวก ข

 

3.2.2 อาจารยประจํา ลําดับ ช่ือ-สกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนงวิชาการ คุณวุฒิ

1 นายศาสตรา วงศธนวสุ 3-4005-00671-16-9 รองศาสตราจารย D.Tech.Sci (Computer

Science)

2 นายสมจิตร อาจอินทร 3-4099-00639-46-5 รองศาสตราจารย D.Tech.Sci (Computer

Science)

3 นางงามนิจ อาจอินทร 3-1005-04090-63-5 ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D.(Computer

Science)  4 นางสาวพุธษดี ศิริแสงตระกูล  3-4099-00656-03-3 ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D.(Interdisciplinary

Intelligent Systems

Engineering)

5 นายบุญสง วัฒนกิจ 3-4099-01150-22-2 ผูชวย

ศาสตราจารย

วท.ม. (คอมพิวเตอร

ศาสตร)

6 นางสิรภัทร เชีย่วชาญวัฒนา 3-4099-00644-12-4 ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D. (Computer

Science)

7 นายคํารณ สุนัติ 3-2301-00466-97-7 อาจารย Ph.D.(Computer

Science)

Page 30: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-24-

ลําดับ ช่ือ-สกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนงวิชาการ คุณวุฒิ

8 นายจักรชัย โสอินทร 3-1199-00230-83-7 อาจารย Ph.D.(Computer

Engineering)

9 นางสาววรารัตน รุงวรวุฒิ 3-4018-00011-86-6 อาจารย Ph.D.(Computer

Engineering)

10 นางสาวสิลดา อนิทรโสธรฉนัท 3-4199-00161-20-4 อาจารย D.Eng.(Electrical

Engineering)

11 นางสาวสมุณฑา เกษมวิลาศ  3-4099-00021-82-8 อาจารย M.S.(Computer

Science)

3.2.3 อาจารยพิเศษ

ลําดับ ช่ือ – สกุล ตําแหนงวิชาการ คุณวุฒิ หนวยงานที่สังกัด

1  นางสาวภัทรสนีิ ภัทรโกศล ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D. (Computer

Science)

คณะวิทยาศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2 นายชมทิพ พรพนมชัย ผูชวย

ศาสตราจารย

Ph.D. (Computer

Science)

คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลยัมหิดล

3 นายสุพจน โกสิยะจินดา ผูชวย

ศาสตราจารย

M.S. (OR-CS)

บริษัท การบินไทย จาํกัด

4 นายปานใจ ธารทัศนวงศ อาจารย

Ph.D. (Computer

Science)

คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร

5 นายเมธี โอฬารสกุล

- Ph.D.(Computer

Science)

บริษัท ไอโซเน็ท จํากัด

6 นายสมนึก พวงพรพิทักษ อาจารย Ph.D. in

Networking

University of

Leeds

มหาวิทยาลยัมหาสารคาม

4. องคประกอบเก่ียวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน) (ถามี)

-ไมมี-

4.1 มาตรฐาน ผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม

-ไมมี-

4.2 ชวงเวลา -ไมมี-

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน

-ไมมี- 

 

 

 

Page 31: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-25-

5. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ 5.1 คําอธิบายโดยยอ

การทําวิจัยวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ นักศึกษาจะเรียนรูกระบวนการตางๆ โดย

ลงทะเบียนเรียนวิชาระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งจะแนะนํากระบวนการตางๆ เชน การเสนอเคาโครง การทบทวน

วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การเรียบเรียงผลการวิจัย

การเสนอผลการวิจัยในรูปบทความตีพิมพในวารสารหรือเผยแพรในการประชุมวิชาการระดับชาติหรือ

ระดับนานาชาติ ฯลฯ

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู

1. มีความรูและทักษะดานกระบวนการวิจัย

2. มีทักษะการทํางานดานการทดลองและทดสอบผลการวิจัย

3. มีมนุษยสัมพันธและสามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดี 4. มีการพัฒนาดานตางๆ เชน ทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม

5.3 ชวงเวลา

ภาคการศึกษาท่ี 1 ของช้ันปท่ี 2 ระยะเวลารวม 2 ภาคการศึกษา

5.4 จํานวนหนวยกิต

แผน ก แบบ ก 1 จํานวน 38 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2 จํานวน 12   หนวยกิต

แผน ข จํานวน 6 หนวยกิต 

 5.5 การเตรียมการ

หลักสูตรมีวิชา ระเบียบวิธีวิจัย ซึ่งนอกจากสอนกระบวนการทําวิจัยแลว ยังแนะนําข้ันตอนการ

ทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ รวมถึงแนะนํากลุมวิจัย เพ่ือใหนักศึกษาไดรูจักอาจารยในแตละกลุม

วิจัย เพ่ือเตรียมการเขาสูกระบวนการทําวิทยานิพนธ

5.6 กระบวนการประเมินผล

การประเมินผลงานการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาแผน ก และแผน ข

โดยการประเมินเคาโครง ประเมินจากการรายงานความกาวหนาและการสอบวิทยานิพนธสําหรับแผน ก

และจากการนําเสนอผลงานตีพิมพเผยแพรและสอบการศึกษาอิสระ สําหรับแผน ข

Page 32: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-26-

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรูและกลยุทธการสอน และการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

การเรียนการสอนจะสอดแทรกคุณลักษณะพิเศษใหกับนักศึกษา เชน การมอบหมายงานเปน

กลุม การนําเสนอ VDO เก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรม รวมถึงจรรยาบรรณในวิชาชีพ  

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา

ดานภาวะผูนําและรูจักการทํางานเปนทีม

1. ใหนักศึกษาแตละวิชามีการแบงกลุมเพ่ือใหดําเนิน

กิจกรรมในช้ันเรียน

2. มีการนําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน

มีวินัยและความรับผิดชอบ 1. มีกิจกรรมหรือกําหนดใหรายวิชาทํางานเปนทีมมีการ

แตงตั้งหัวหนางาน แบงภาระงานรับผิดชอบและ

กําหนดภาระงานในการนําเสนอรายงาน

2. สงเสริมใหกลาแสดงความคิดเห็นภายในช้ันเรียนโดยมีการกระตุน

3. สงงานภายในเวลาท่ีกําหนด มีความเช่ียวชาญในวิชาชีพ 1. ใหนักศึกษาคนควา เฉพาะดานท่ีตนเองถนัด ในวิชา

สัมมนา

2. ใหนักศึกษาไดสัมผัสกับประสบการณจริงในวิชาชีพท่ีตนเองสนใจ

 2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม

2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

1. สามารถจัดการปญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเปน

ผูนําหรือมีสวนริเร่ิมใหมีการทบทวนและวินิจฉัยปญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพไดอยาง

เหมาะสมตามสถานการณ

2. มีภาวะผูนําในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมจริยธรรมของบัณฑิต มข. ไดแก การมีวินัย ซื่อสัตย รับผิดชอบตอตนเองและสังคม เขาใจในความ

แตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในทองถ่ิน สถาบันและ

ประเทศชาติ

2.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

1. สอดแทรกเนื้อหาวิชาเรียน

2. การเรียนรูจากสถานการณจริง การจัดกิจกรรมในช้ันเรียนหรือวิชาเรียน

3. การสอนในรายวิชาสัมมนา วิชาวิจัย วิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ

Page 33: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-27-

2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

1. ประเมินพฤติกรรมโดยเพ่ือนนักศึกษา อาจารยท่ีปรึกษา อาจารยผูสอน

2. ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

2.2 ความรู 2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู

1. มีความรูและความเขาใจอยางลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสําคัญในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสามารถนํามาประยุกตในการศึกษาคนควางวิชาการหรือการปฏิบัติงานใน

วิชาชีพ

2. สามารถทําการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพไดอยางลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรูใหมๆ หรือการประยุกตวิธีปฏิบัติงานใหม ๆ ได

3. มีความรูความเขาใจในการพัฒนาการใหมๆ ในสาขาวิชา รวมถึงผลงานวิจัยท่ีมี

ผลกระทบตอการพัฒนาความรูใหมหรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาหรือวิชาชีพในปจจุบันและการ

เปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต

4. ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ ระเบียบ ขอบังคับในสาขาวิชาชีพท่ีเปล่ียนแปลง

ตามสถานการณท้ังในระดับชาติและระดับนานาชาติ (ถามี)

2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู

1. การสอนหลายรูปแบบในรายวิชาตามหลักสูตร ไดแก การบรรยาย อภิปราย การ

จัดกิจกรรมการเรียนรู การใหศึกษาคนควาดวยตนเอง

2. การฝกปฏิบัติ การทําวิจัย วิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ การเขารวม

ประชุมสัมมนาวิชาการ

2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู 1. ประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวิชา โดยการสอบขอเขียน สอบ

ภาคปฏิบัติ การทําแบบฝกหัด การทํารายงาน การนําเสนอรายงานในการประชุมวิชาการ

2. ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑิต

2.3 ทักษะทางปญญา 2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

1. สามารถสังเคราะหและประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรูหรือแนวความคิดใหม ๆ โดยบูรณาการเขากับความรูเดิมไดอยางสรางสรรค

2. สามารถดําเนินโครงการศึกษาท่ีสําคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการไดดวยตนเอง และหาขอสรุปท่ีสมบูรณเพ่ือขยายองคความรูหรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพไดอยางมีนัยสําคัญ

2.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

1. การสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การใหศึกษาคนควาดวยตนเอง การสัมมนา การทํารายงาน การทําวิจัย

วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

Page 34: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-28-

2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1. ประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวิชา 2. ประเมินผลงานจากการทําการศึกษาคนควาดวยตนเอง การทําโครงงาน การทํา

วิจัย วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ การสัมมนาวิชาการ

3. ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑติ

2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ

1. มีภาวะผูนํา รับผิดชอบในการดําเนินงานของตนเองและรวมมือกับผูอ่ืนในการจัดการขอโตแยงหรือปญหาทางวิชาการไดอยางเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ เพ่ือเพ่ิมพูน

ประสิทธิภาพการทํางานของกลุม

2. มีความรับผดิชอบในการเรียนรู รวมท้ังวางแผนและพัฒนาและปรับปรุงตนเองใหมีประสิทธิภาพในการทํางานระดบัสูงได

2.4.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผิดชอบ

1. การสอนในรายวิชาตางๆ ตามหลักสูตร โดยเนนการทํางานเปนกลุม

2. การจัดใหมีรายวิชาสัมมนา การทําวิจัย วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

1. ประเมินผลการเรียนรูจากรายวิชาตางๆ ท่ีมีการสงเสริมใหทํางานกลุม

2. ประเมินผลการเรียนรายวิชาสัมมนา การทําวิจัย วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

3. ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผูใชบัณฑติ

2.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรหรือกระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะหหรือแกปญหาการปฏิบัติงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนได

2. มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรูดวยตนเอง และการสรางสรรคผลงานทางวิชาการในรูปแบบตางๆ เพ่ือประโยชนใน

การเรียนรูของผูอ่ืนได

2.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ วิทยานิพนธ การศึกษาอิสระ

2. การเรียนรูดวยตนเองผานระบบ e-Learning

3. การเรียนรูจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการผลติผลงานวิจัยในรูปแบบตางๆ

Page 35: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-29-

2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร

และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ประเมินผลการเรียนรูจากการเรียนรายวิชาวิจัย หรือสถิติ วิทยานิพนธ การศึกษา

อิสระ

2. ประเมินผลการเรียนรูจากผลิตผลงานการวิจัยเพ่ือนําเสนอในรูปแบบตางๆ เชน

โปสเตอร บทความ ส่ือสารตางๆ

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรูสูรายวิชา (Curriculum mapping)

แสดงตารางแผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสู

รายวิชาตาม(ตามภาคผนวก ก).

Page 36: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-30-

หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ ในการใหระดับคะแนน (เกรด)

เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

หมวดท่ี 7 หรือระเบียบท่ีจะปรับปรุงใหม

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษา อาจารยผูสอนแตละรายวิชา ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดย

2.1 เทียบเคียงผลการเรียนของนักศึกษาท่ีเรียนในรายวิชา ซึ่งอาจเปนตางกลุม ตางช้ันป ตาง

คณะ แลวแตกรณีเพ่ือนําผลมาใชในการปรับปรุงรายวิชา

2.2 ทบทวนเนื้อหารายวิชาทุกปการศึกษา โดยอาจพิจารณารวมกับอาจารยผูสอนรายวิชาอ่ืนท่ีมี

เนื้อหาใกลเคียงกัน เพ่ือไมใหเกิดความซ้ําซอน หรือใหเกิดความสัมพันธและตอเนื่อง แลวแตกรณีและ

ทบทวนเนื้อหาโดยเทียบเคียงกับรายวิชาของสถาบันอ่ืน หรือเทียบเคียงกับตําราหรือบทความทางวิชาการ

หรือผลการวิจัย เพ่ือใหเกิดการพัฒนาเนื้อหาใหทันสมัยและมีมาตรฐานทางวิชาการ

2.3 ทบทวนและวิเคราะหจากผลงานการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 3.1 เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกนวาดวยการศกึษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

หมวดท่ี 9 ขอ 54.2 หรือระเบียบท่ีจะปรับปรุงใหม

Page 37: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-31-

หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 1.1 การใหเขารับการอบรมตามหลักสูตร การพัฒนาอาจารยใหม ของมหาวิทยาลัย ซึ่งเปน

หลักเกณฑใหอาจารยใหมทุกคนตองเขารับการอบรมใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักสูตรและการ

บริหารวิชาการของมหาวิทยาลัย บทบาทหนาท่ีของอาจารยมหาวิทยาลัยและจรรยาบรรณครูและใหมี

ทักษะเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การสอนสอดแทรกคุณธรรมและ

จริยธรรม และการสอนโดยใชส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.2 การมอบหมายใหมีอาจารยพ่ีเล้ียงทําหนาท่ีใหคําแนะนําและเปนท่ีปรึกษาในดานการจัดการ

เรียนการสอน 1.3 การช้ีแจงและแนะนําหลักสูตร รายวิชาในหลักสูตร

1.4 การมอบหมายใหอาจารยใหมศึกษาคนควา จดัทําเอกสารท่ีเก่ียวของกับการสอน ในหัวขอหนึ่ง

หรือหลายหัวขอท่ีอาจารยใหมมีความรูและถนัด เพ่ือทดลองทําการสอนภายใตคําแนะนําของอาจารยพ่ี

เล้ียง หรือปรานหลักสูตร

1.5 การกําหนดใหอาจารยใหมเขารวมสังเกตการณการสอนของอาจารยในหลักสูตร

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย

2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

1. กําหนดใหอาจารยตองเขารับการอบรมเพ่ือพัฒนาตนเองดานการจัดการเรียนการสอน การ

วัดและการประเมินผล ตามความตองการของอาจารย และเปนไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ซึ่ง

มหาวิทยาลัยมีการเปดหลักสูตรอบรมเพ่ือพัฒนาอาจารยในหัวขอตางๆ ท่ีเก่ียวของกับการจัดการเรียน

การสอน การวิจัย การผลิตผลงานทางวิชาการเปนประจําทุกป

2. การจัดใหมีการสอนแบบเปนทีม ซึ่งจะสงเสริมโอกาสใหอาจารยไดประสบการณการสอน

รวมกับคนอ่ืนรวมถึงมีโอกาสไดเปนผูรับผิดชอบรายวิชา ผูประสานงานและผูรวมทีมการสอน

3. การสงเสริมหรือสรางโอกาสใหมีการแลกเปล่ียนเรียนรูประสบการณดานการจัดการเรียนการสอนระหวางอาจารยในหลักสูตร หรือการทําวิจัยการเรียนการสอนท่ีสามารถนําไปเผยแพรในการ

ประชุมวิชาการที่มีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาเดียวกันของหลายๆ สถาบัน

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ

1. การสงเสริมใหอาจารยเขารวมการอบรม การประชุมสัมมนาในสาขาวิชาหรือวิชาชีพท่ีจัดตั้ง

ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยอยางนอยปละ 1 คร้ัง

2. การสงเสริมใหอาจารยผลิตผลงานทางวิชาการในรูปแบบตางๆ และการนําเสนอผลงานใน

การประชุมวิชาการในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ อยางนอยใหมีผลงานการเขียนหรือการนําเสนอปละ 1

เร่ือง

Page 38: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-32-

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร การจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัยขอนแกน กําหนดใหทุกหลักสูตรมีคณะกรรมการบริหาร

หลักสูตร ซึ่งตองทําหนาท่ีดังนี้

1.1 พัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรและรายวิชาใหมีความทันสมัยอยูเสมอ

1.2 จัดหาและกําหนดอาจารยผูสอนรายวิชาในหลักสูตร ท่ีมีความรูความสามารถและคุณสมบัติ

ตรงตามรายวิชาท่ีสอน

1.3 จัดตารางการเรียนการสอน ตารางสอบ ตารางการฝกปฏิบัติตามที่กําหนดในหลักสูตร

1.4 ควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารยใหมีคุณภาพ

และเปนไปตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและรายวิชา

1.5 การกําหนดอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ หรือการศึกษาอิสระท่ีมีความรูความสามารถตาม

หัวขอท่ีนักศึกษาสนใจและกํากับติดตามใหการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเปนไป

ตามเปาหมาย

1.6 สงเสริมและจัดใหมีการพัฒนาคุณภาพของอาจารยดวยวิธีการตางๆ เชน การจัดประชุม

วิชาการ การสงเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการ

1.7 สงเสริมและจัดใหมีการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตตามเปาหมายคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึง

ประสงคของหลักสูตร

1.8 ติดตามผลหลักสูตร โดยนักศึกษาจากผูมีสวนไดสวนเสีย เชน ผูใชบัณฑิต ศิษยเกา

อาจารยและนักศึกษาปจจุบัน

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ 2.1 การบริหารงบประมาณ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดทําแผนการใชจายงบประมาณประจําป จากงบประมาณท่ี

ไดรับการจัดสรรจากมหาวิทยาลัย และคาธรรมเนียมการศึกษา โดยมีการจัดแบงคาใชจายดังนี้

1. คาใชสอย วัสดุ 20%

2. คาครุภณัฑ 20%

3. งบดําเนินงาน 50%

4. กองทุนสงเสริมการพัฒนาบณัฑิต 10%

2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยูเดิม

2.2.1 ทรัพยากรการเรียนการสอนในสํานักวิทยบริการ หอสมุดกลาง สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแกนไดเก็บรวบรวมส่ิงพิมพ

โสตทัศนวัสดแุละฐานขอมูลสําเร็จรูป CD-ROM ท่ีเก่ียวของทางดานสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร โดย

สามารถใหบริการดังนี ้

 

Page 39: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-33-

 

1. หนังสือ   1.1  หนังสือภาษาไทย 1,366 รายการ 

  1.2  หนังสือภาษาตางประเทศ 1,831 รายการ 

2. วารสาร   2.1  วารสารภาษาไทย 19 รายการ 

  2.2  วารสารภาษาตางประเทศ    25 รายการ 3. โสตทัศนวัสด ุ 43 รายการ

4. ส่ืออิเล็กทรอนิกส 32 รายการ

นอกจากจํานวนส่ิงพิมพดังกลาวแลว สํานกัวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแกนยังมี

บริการสืบคนขอมูลอ่ืนๆ ซึ่งจําเปนสําหรับการศึกษาในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ดังนี ้

5. ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส 5.1 การสืบคนขอมูลจากฐานขอมูลซีดีรอม มีฐานขอมูลในสาขาวิชาวิทยาการ

คอมพิวเตอรจํานวน 4 ฐาน คือ 5.1.1 COMPENDEX PLUS

5.1.2 DISSERTATION ABSTRACTS ON DISC

5.1.3 INFORMATION SCIENCE ABSTRACTS PLUS

5.1.4 SCIENCE CITATION INDEX

5.2 ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย

5.3 ONLINE REFERENCE DATABASE จํานวน 2 ฐานขอมูล คือ

5.3.1 DISSERTATION ABSTRACTS ONLINE

5.3.2 IEEE/IEE ELECTRONIC LIBRARY ONLINE

5.4 ฐานขอมูลวารสารอิเล็กโทรนิกส จํานวน 5 ฐานขอมูล คือ

5.4.1 SPRINGER

5.4.2 PROQUEST

5.4.3 ACS PUBLICATIONS

5.4.4 SCIENCE DIRECT

5.4.5 WILSON

5.5 การสืบคนทรัพยากรสารนิเทศท่ีมีอยูในหองสมุดมหาวิทยาลัยขอนแกนดวยคอมพิวเตอรระบบเช่ือมตรงกับฐานขอมูล (OPAC – Online Public Access Catalog)

5.6 การสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลอ่ืนๆ ผานเครือขาย INTERNET

2.2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนในหองสมุดคณะ (ถามี)

ไมมี

Page 40: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-34-

2.2.3 ทรัพยากรการเรียนการสอนในภาควิชา/สาขาวิชา 2.2.3.1 สถานที ่

จะใชอาคารวิทยาศาสตร 06 และ 08 (SC06 และ SC08) คณะ

วิทยาศาสตร ซึ่งประกอบดวยหองตางๆ ดังนี้  

หองสารบรรณภาควิชาฯ   จํานวน 1 หอง

สํานักงานระดับบัณฑิตศึกษา  จํานวน 1 หอง

หองพักอาจารย   จํานวน 21 หอง

หองสมุดภาควิชาฯ จํานวน 1 หอง

หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร จํานวน 7 หอง

หองปฏิบัติวิจัยปริญญาเอก จํานวน 2 หอง

หองเรียนขนาด 50 ท่ีนั่ง จํานวน 2 หอง

หองเรียนขนาด 30 ท่ีนั่ง จํานวน 2 หอง

หองเรียนขนาด 20 ท่ีนั่ง จํานวน 3 หอง

หองพักนักศึกษาปริญญาโท จํานวน 2 หอง

หองสัมมนานักศึกษาปริญญาเอก จํานวน 1 หอง

2.2.3.2 อุปกรณการสอน

o อุปกรณการสอนท่ีมีอยูแลว อุปกรณการสอนใชท่ีมีอยูแลวสามารถใชในการสอนระดับบัณฑิตศึกษาท้ัง

ปริญญาโท และเอกไดโดยอุปกรณคอมพิวเตอรหลักๆ ท้ังฮารดแวรและซอฟตแวรมีอยูแลวอยูในระดับ

เพียงพอสําหรับการทําวิทยานิพนธ สําหรับอุปกรณคอมพิวเตอรชนิดพิเศษสําหรับการทําวิจัยเฉพาะ

พิเศษจะจัดหาเพ่ิมเติมตามความจําเปน

ปจจุบนัภาควิชาฯ มีอุปกรณสําหรับการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียด

ดังนี ้

ก. ซอฟตแวร 

Oracle

Informix

MS-SQL

MATLAB

Network (CISCO)

Mathematica

.NET

Java

Page 41: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-35-

SLAM II (simulation)

Graphics

3-D Image Processing

ข. ฮารดแวร 1. server ท่ีใหบริการในการเรียนการสอนและวิจัย จํานวน 18 เคร่ือง

2. เคร่ืองคอมพิวเตอร ท่ีใช สําหรับการเรียนการสอนและการวิจัย

Core2Duo 300 ชุด core2Guad 160 ชุด เคร่ือง workstation 160 ชุด

โดยคอมพิวเตอรสวนบุคคลท้ังหมดเช่ือมตอกันเปนระบบเครือขาย

LAN เครือขาย สําหรับหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและหองวิจัย

3. ระบบแสดงผลขอมูลและบันทึกขอมูล

Laser Printer HP 32 ชุด

HP DeskJet A4 3 ชุด

2.2.3.3 หองสมุดภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร หองสมุดภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มีเอกสารในสาขาวิชาวิทยาการ

คอมพิวเตอร และสาขาอ่ืนๆท่ีเก่ียวของท่ีสามารถคนไดจากหองสมุดภาควิชาฯ มีดงันี้

1. หนังสือ ภาษาไทย จํานวน 2,892 รายการ ภาษาตางประเทศ จํานวน 3,336 รายการ 

2. วารสาร ภาษาไทย จํานวน 5 รายการ ภาษาตางประเทศ จํานวน 5 รายการ 

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม

มหาวิทยาลัยขอนแกนมีแหลงความรูคือ สํานักวิทยบริการ ซึ่งมีหนังสือ วิทยานิพนธ และ

วารสาร รวมถึง e-journal ใหนักศึกษาคนควา

นอกจากนี้ในอนาคต ภาควิชาฯ จะมีการจัดซื้อเคร่ือง sever เพ่ือใหบริการการเรียนการสอน

และการวิจัยเพ่ิมเติม

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

ในแตละปการศึกษา ภาควิชาจัดสรรงบประมาณอาจารยจัดซื้อหนังสือไดคนละ 20,000 บาท

ซึ่งเพียงพอตอการเรียนการสอน มีการจัดกลุมวิจัยออกเปน 5 กลุม และมีงบประมาณสนับสนุนการวิจัย

สําหรับอาจารย และนักศึกษา

Page 42: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-36-

3. การบริหารคณาจารย 3.1 การรับอาจารยใหม

การคัดเลือกและรับอาจารยใหม เปนไปตามขอบังคับและระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน ท่ี

เก่ียวของกับการบริหารงานบุคคล

3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร

คณาจารยทุกคนในหลักสูตรมีสวนรวมในการกําหนดแผนการจัดการเรียนการสอนในแตละ

ภาคการศึกษาการทบทวนเนื้อหารายวิชา การแลกเปล่ียนขอมูลเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน คุณภาพ

และพฤติกรรมของนักศึกษา การวัดและประเมินผล ฯลฯ โดยการจัดใหมีการประชุมกรรมการบริหาร

หลักสูตรทุกๆ เดือน

3.3 คณาจารยที่สอนบางเวลาและคณาจารยพิเศษ

หลักสูตรมีการเชิญอาจารยพิเศษท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะดานจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มาสอนในบางรายวิชารวมถึงเปนอาจารยท่ี

ปรึกษารวมหรือกรรมการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา พรอมไดเชิญวิทยากรจาก

หนวยงานท้ังภาครัฐและเอกชนมาบรรยายพิเศษใหความรูเพ่ือใหนักศึกษาไดมีทักษะความรูและ

ประสบการณดานวิชาชีพทางคอมพิวเตอรโดยตรงและกวางขวาง

4. การบริหารบุคลากรสายสนับสนุน

4.1 การกําหนดคุณสมบัตเิฉพาะสําหรับตําแหนง การกําหนดคุณสมบัติตําแหนง เปนไปตามขอบังคับและระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกนท่ี

เก่ียวของกับการบริหารงานบุคคลและสําหรับหลักสูตรนี้มีความจําเปนตองมีบุคลากรสายสนับสนุนทํา

หนาท่ีดานบริการการศึกษาแกนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและบุคลากรสายสนับสนุนท่ีทําหนาท่ีดูแล

หองปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร

4.2 การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัติงาน

การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนของหลักสูตรนี้ ดําเนินการโดย การจัดบุคลากรสายสนับสนุน

เขาฝกอบรมตางๆ ท่ีเก่ียวของกับภาระหนาท่ีท่ีรับผิดชอบเพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางานรวมถึง

สนับสนุนใหทัศนศึกษาดูงานและเขารวมโครงการวิจัยสถาบันเพ่ือเปดโอกาสใหเพ่ิมทักษะความรูสําหรับ

นํามาพัฒนางานของตนเอง

5. การสนับสนุนและการใหคาํแนะนํานักศึกษา 5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอ่ืนๆ แกนักศึกษา

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษาทางวิชาการใหแกนักศึกษาทุกคน

เพ่ือทําหนาท่ีใหคําปรึกษาแนะนําดานการเรียน โดยอาจารยหนึ่งคนตอนักศึกษา 15 คน และอาจารยตอง

กําหนดช่ัวโมงใหคําปรึกษาแกนักศึกษา อยางนอยสัปดาหละ 1 ช่ัวโมง และการแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษา

วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตามเกณฑมาตรฐานและระเบียบของมหาวิทยาลัย

5.2 การอุทธรณของนักศึกษา การอุทธรณของนักศึกษา เปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยท่ีเก่ียวของกับการอุทธรณโทษ

สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ภาคผนวก ช) 

Page 43: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-37-

6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของ ผูใชบัณฑติ

การศึกษาความตองการของตลาดงาน สังคม และความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ดําเนินการดังนี้

6.1 การสํารวจความตองการของตลาดงานและผูใชบัณฑิต กอนการปรับปรุงหลักสูตรทุกรอบ 5 ป

6.2 การสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ทุกรอบการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร

7. ตัวบงช้ีผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

ตัวบงช้ีผลการดําเนินงานของหลักสูตร เปนไปตามตัวบงช้ีผลการดําเนินการตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิ เพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน และเกณฑการประเมินประจําป เปนไป

ตามระบบประเมินผลการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งดําเนินการทุกส้ินปการศึกษา ผาน

ระบบออนไลน http://pe.kku.ac.th ซึ่งมีเกณฑการประเมินประกอบดวย 8 องคประกอบ 27 ตัวช้ีวัด

หรือเปนไปตามระเบียบ/ประกาศท่ีจะปรับปรุงใหม (ภาคผนวก ซ )

Page 44: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-38-

หมวดที่ 8 กระบวนการการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

1.1 การประเมินกลยุทธการสอน

1.1.1 การประชุมรวมของอาจารยในภาควิชา/สาขาวิชาเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น ขอ

คําแนะนําขอเสนอแนะจากอาจารยท่ีมีความรูและประสบการณหรือเพ่ือนรวมงาน

1.1.2 การแลกเปล่ียนโดยสนทนากับนักศึกษา เพ่ือสะทอนผลการจัดการเรียนการสอนในชวง

ของการเรียนแตละรายวิชา

1.1.3 การประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา เปรียบเทียบพัฒนาการหรือ

ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนจากการใชกลยุทธการสอนท่ีแตกตางกัน

1.1.4 การทําวิจัยในช้ันเรียน เพ่ือประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในแตละ

รายวิชาหรือกลุมรายวิชา

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน

1.2.1 การประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดยนักศึกษาทุกส้ินภาคการศึกษา ตาม

ระบบของมหาวิทยาลัย

1.2.2 การประเมินการสอนของอาจารยโดยหัวหนาภาควิชาหรือปรานหลักสูตรหรือเพ่ือน

รวมงานตามระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของอาจารย/พนักงานสายผูสอน

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

2.1 การประเมินหลักสูตร โดยนักศึกษาปจจุบันและอาจารย เพ่ือนําขอมูลมาทบทวนและปรับปรุงการจัดการแผนการเรียน การจัดการเรียนการสอน และเนื้อหารายวิชาท่ีอาจซ้ําซอน ไมทันสมัย ยาก/งาย

เปนตน

2.2 การประเมินหลักสูตรโดยศิษยเกา เพ่ือติดตามผลการนําความรูและประสบการณท่ีไดรับจากการศึกษาในหลักสูตรไปใชในการทํางาน

2.3 การประเมินหลักสูตรโดยผูใชบัณฑิต เพ่ือสํารวจความพึงพอใจและความคิดเห็นและ

ขอเสนอแนะจากผูใชบัณฑิตเก่ียวกับคุณภาพของบัณฑิตท่ีจบจากหลักสูตรนี้

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร การประเมินผลจากการจัดการหลักสูตร เปนไปตามตัวบงช้ีผลการดําเนินงานของหลักสูตร

เปนไปตามตัวบงช้ีผลการดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เพ่ือการประกันคุณภาพหลักสูตรและการ

เรียนการสอน และเกณฑการประเมินประจําป และเปนไปตามระบบประเมินผลการจัดการหลักสูตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งดําเนินการทุกส้ินปการศึกษา ผานระบบออนไลน http://pe.kku.ac.th ซึ่งมี

เกณฑการประเมินประกอบดวย 8 องคประกอบ 27 ตัวช้ีวัด หรือเปนไปตามระเบียบ/ประกาศท่ีจะ

ปรับปรุงใหม(ตามที่กําหนดไวในหลักสูตรนี้ หมวดท่ี 7 ขอ 7)

4. การทบทวนผลการประเมินวางแผนปรับปรุงหลักสูตร และแผนกลยุทธการสอน

4.1 อาจารยประจําวิชา อาจารยผูสอน นําผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารยโดย

นักศึกษา ผูบังคับบัญชาและหรือเพ่ือนรวมงาน แลวแตกรณี มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการ

Page 45: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-39-

สอนในรายวิชาท่ีตนรับผิดชอบ

4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรนําผลประเมินตามระบบการจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัย

ซึ่งดําเนินการทุกส้ินปการศึกษามาทบทวนและวิเคราะห พรอมนําเสนอแนวทางปรับปรุงแกไขในจุดท่ีมีขอ

ปกพรองสําหรับปการศึกษาถัดไป

4.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นําผลการประเมินภาพรวมของหลักสูตรโดยนักศึกษาปจจุบันและอาจารยโดยศิษยเกา และโดยผูใชบัณฑิต เพ่ือทบทวนและพิจารณาในการนําไปแกไขปรับปรุง

หลักสูตร ตามรอบระยะเวลาท่ีกําหนดในระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย

Page 46: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-40-

ภาคผนวก

Page 47: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-41-

ภาคผนวก ก

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา

(Curriculum mapping)

Page 48: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)

สําหรับหลักสูตรระดับปริญญาโท

ความรับผิดชอบหลัก   ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา  1. คุณธรรม

จริยธรรม

2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสารและการ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 

1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

1. หมวดวิชาบังคับ (Required )    17 หนวยกิต

322 724 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

Systems Analysis and Design

3(3-0-6)

322 733 ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ

Database Systems and Design

3(3-0-6)  

322 734 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Managing Information Technology

3(3-0-6)

*322 766 เครือขายคอมพิวเตอร

Computer Networks

3(3-0-6)

*322 793 ระเบียบวิธีวิจยั

Research Methodology

3(3-0-6)

322 891 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

Information Technology Seminar I

1(1-0-6)

322 892 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

Information Technology Seminar II

1(1-0-6)

Page 49: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

รายวิชา  1. คุณธรรม

จริยธรรม

2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสารและการ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 

1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

2. หมวดวิชาเลือก (Elective Courses) 9-15 หนวยกิต

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมการทําเหมืองขอมูลและการบูรณาการ

ขอมูลสารสนเทศอยางสื่อความหมาย

322 731

เทคโนโลยีเว็บ  Web Technology 

3(3-0-6)

322 735 เทคโนโลยี XML และการประยุกต

XML Technologies and Applications

3(3-0-6)

322 736 เทคโนโลยีเว็บแบบสื่อความหมาย

Semantic Web Technology

3(3-0-6)

322 756 การทําเหมืองขอมูล  Data Mining

3(3-0-6)

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมเทคโนโลยีการสื่อสารเครือขายประยุกต

322 744 การบริหารเครือขายคอมพิวเตอร

Computer Network Administration

3(3-0-6)

322 748

ความมั่นคงเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Security

3(3-0-6)

322 749 เทคโนโลยีการสื่อสารเคลื่อนที่และเครือขายไร

สาย  Mobile and Wireless Networking Technology

3(3-0-6)

Page 50: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

รายวิชา  1. คุณธรรม

จริยธรรม

2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสารและการ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 

1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมระบบอัจฉริยะและการเรียนรูเครื่อง

322 754 วิศวกรรมความรู

Knowledge Engineering

3(3-0-6)

322 755 เทคโนโลยีสนบัสนุนการตดัสินใจ

Decision Support Technologies

3(3-0-6)

*322 757 การจัดการความรู

Knowledge Management

3(3-0-6)

o หมวดวิชาเลือกบังคับ กลุมโลจิสติกสและหวงโซอุปทาน

*322 763 ระบบสารสนเทศสําหรับการจัดการโลจิสติกส

และหวงโซอุปทาน

Information System for Logistics and Supply

Chain

3(3-0-6)

*322 764 ระบบสารสนเทศและธุรกิจอิเล็กทรอนิกส

Electronic Business Supply Chain Management

3(3-0-6)

*322 765 การจัดการโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Project Management

3(3-0-6)

Page 51: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

รายวิชา  1. คุณธรรม

จริยธรรม

2. ความรู 3. ทักษะทาง

ปญญา

4. ทักษะความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและความ

รับผิดชอบ

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสารและการ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 

1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2

3. หมวดวิชาวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ

3.1 วิชาการศึกษาอิสระ (Independent Study) 6 หนวยกิต

322 897 การศึกษาอิสระ Independent Study 6 หนวยกิต

3.2 วิชาวิทยานิพนธ 12-38 หนวยกิต

322 898 วิทยานิพนธ แผน ก แบบ ก 1 38 หนวยกิต

322 899 วิทยานิพนธ แผน ก แบบ ก 2 12 หนวยกิต

รวมทั้งหมด 23 รายวิชา เรียนไมนอยกวา 38 หนวยกิต

หมายเหต ุ หลักสูตรแผน ก แบบ ก1 ไมตองเรียนรายวิชาในหมวดวิชาบังคับและวิชาเลือก เวนแตหลักสูตรจะกําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิตและไมคิดคาคะแนน

Page 52: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-46-

1. ดานคุณธรรม จริยธรรม (Ethics & Moral)

1.1 สามารถจัดการปญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ เปนผูรูและเปนผูนําใน

การริเร่ิมใหมีการทบทวนปญหาและใชดุลยพินิจอยางผูรูในการแกไขปญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและ

วิชาชีพไดอยางเหมาะสมตามสถานการณ

1.2 มีภาวะผูนําในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตนและเปนแบบอยางท่ีดีในการปฏิบัติตน

ตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข. ไดแก การมีวินัย ซื่อสัตย รับผิดชอบตอตนเองและ

สังคม เขาใจในความแตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจใน

ทองถ่ิน สถาบันและประเทศชาติ

2. ดานความรู (Knowledge)

2.1 มีความรูและความเขาใจอยางลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสําคัญในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสามารถนํามาประยุกตในการศึกษาคนควางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ

2.2 สามารถทําการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพไดอยางลึกซึ้ง โดยการพัฒนา

ความรูใหมๆ หรือการประยุกตวิธีปฏิบัติงานใหม ๆ ได

2.3 มีความรูความเขาใจในการพัฒนาการใหมๆ ในสาขาวิชา รวมถึงผลงานวิจัยท่ีมีผลกระทบตอ

การพัฒนาความรูใหมหรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาหรือวิชาชีพในปจจุบันและการเปล่ียนแปลงที่จะ

เกิดข้ึนในอนาคต

2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ ระเบียบ ขอบังคับในสาขาวิชาชีพท่ีเปล่ียนแปลงตาม

สถานการณท้ังในระดับชาติและระดับนานาชาติ (ถามี)

3. ดานทักษะทางปญญา (Cognitive skills)

3.1 สามารถสังเคราะหและประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนา

ความรูหรือแนวความคิดใหม ๆ โดยบูรณาการเขากับความรูเดิมไดอยางสรางสรรค

3.2 สามารถดําเนินโครงการศึกษาท่ีสําคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการไดดวยตนเอง และหา

ขอสรุปท่ีสมบูรณเพ่ือขยายองคความรูหรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพไดอยางมีนัยสําคัญ

4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal skills &

responsibility)

4.1 มีภาวะผูนํา รับผิดชอบในการดําเนินงานของตนเองและรวมมือกับผูอ่ืนในการจัดการขอ

โตแยงหรือปญหาทางวิชาการไดอยางเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ เพ่ือเพ่ิมพูนประสิทธิภาพการ

ทํางานของกลุม

4.2 มีความรับผดิชอบในการเรียนรู รวมท้ังวางแผนและพัฒนาและปรับปรุงตนเองใหมี

ประสิทธิภาพในการทํางานระดับสูงได

Page 53: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-47-

5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical

analysis, communication & information technology skills)

5.1 มีความสามารถในการใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรและสถิติ หรือ

กระบวนการวิจัยในการคิดวิเคราะหหรือแกปญหาการปฏิบัติงานหรือปญหาทางวิชาการที่สลับซับซอนและ

พัฒนาองคความรูใหมได

5.2 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหา

ความรูดวยตนเอง และการสรางสรรคผลงานทางวิชาการในรูปแบบตางๆเพ่ือประโยชนในการเรียนรูของ

ผูอ่ืนได

Page 54: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-48-

ภาคผนวก ข  

อาจารยประจําหลักสูตร

Page 55: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-49-

ประวตัิอาจารยประจําหลักสูตร

นายสมจิตร อาจอินทร

(Assoc.Prof.Dr. Somjit Arch-int)

1. ตําแหนงทางวิชาการ

รองศาสตราจารย ระดับ 9

2 ประวัติการศึกษา 

ระดับ ช่ือปริญญา (สาขาวิชา) ช่ือสถาบัน,ประเทศ ป พ.ศ. ที่จบ

ปริญญาตรี B.Sc. (Statistics) Khon Kaen University,

Thailand

1983

ระดับปริญญาโท M.s. (Applied

Statistics)

National Institute of

Development Administration,

Thailand

1990

ระดับปริญญาเอก D.Tech.Sc. (Computer

Science)

Asian Institute of Technology,

Thailand 2002

3 ผลงานทางวิชาการ

3.1 ตํารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน

Arch-int, S. and Arch-int, N. (2006). Principles of Database Systems Analysis and Design.

Khon Kaen: Printing Khon Kaen, pp. 392 pages [in Thai (หลักการวิเคราะหและ

ออกแบบระบบฐานขอมูล)] (ISBN 9742844488).

Arch-int, S. and Batanov, D.N. (2003). Towards a Construction of Business Components:

An Approach for Web-based Applications Development (Chapter XIII), Practicing

Software Engineering in the 21st Century, edited by J. Peckham and S. Lloyd, IRM

Press, pp. 178-194. (ISBN: 1-931777-50-0)

Arch-int, S. and Arch-int, N. (1997). Database Systems, Khon Kaen: Book Center of Khon

kaen University, 325 pages [in Thai (ระบบฐานขอมูล)], (ISBN 9746749331).

Arch-int, S. (1995). Pascal Programming, Khon Kaen: Book Center of Khon Kaen

University, 275 pages [in Thai (หลักการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล)], (ISBN 974-

674-244-2).

Page 56: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-50-

3.2 งานวิจัย

โครงการวิจัย “การพัฒนา EPC-DS และการใช RFID เพ่ือการสอบยอนกลับสากลบนมาตรฐาน

EPCglobal Network” ปการศึกษา 2551-2553, คปก. (สกว.-สสว.)

โครงการวิจัย “การพัฒนาระบบสอบยอนกลับ การผลิต การแปรสภาพและการคาขาวหอมมะลิ

อินทรียโดยใชการบูรณาการระบบโลจิสติกสและหวงโซอุปทานผานการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ” ระยะเวลา 18 เดือน เร่ิม 15 กันยายน 2550 – 14 มีนาคม 2552, สกว.

ฝายอุตสาหกรรม

โครงการวิจัย “การวิจัยเพ่ือพัฒนามาตรฐานการเช่ือมโยงเก่ียวกับ SUPPLY CHAIN &

LOGISTICS MANAGEMENT: อุตสาหกรรมช้ินสวนจักรยานยนต ระยะเวลา 4 เดือน เร่ิม

20 กันยายน 2550 – 19 มกราคม 2551—เปนโครงการท่ีไดรับรางวัลชนะเลิศจากการเขา

ประกวดโครงการ ซึ่งจัดโดย SIPA และ NECTEC

โครงการวิจัย “ระบบจัดการโลจิสติกสภายในโรงงานแปงมันสําปะหลังดวย RFID” ระยะเวลา 12

เดือน, ปการศึกษา 2551, TRFMAG Window I, สกว. ฝายอุตสาหกรรม

โครงการวิจัย “ระบบการแลกเปล่ียนขอมูลอิเล็กทรอนิกสสําหรับกลุมผูปวยโรคเร้ือรังดวยมาตรฐาน

Health Level Seven (HL7)” ระยะเวลา 12 เดือน, ปการศึกษา 2551, TRFMAG

Window I, สกว. ฝายอุตสาหกรรม

โครงการวิจัย “ระบบคลังสินคาอัจฉริยะดวยเทคโนโลยี RFID” ระยะเวลา 12 เดือน, ปการศึกษา

2550, TRFMAG Window II, สกว .ฝายอุตสาหกรรม

ผูบริหารจัดการโครงการ “การพัฒนาระบบ ERP/Logistics สําหรับมันสําปะหลัง และขาวหอมมะลิ

กลุมจังหวัดรอยแกนสาร โดยใชมาตรฐานสากล (GS1) และเทคโนโลยี RFID” ระยะเวลา

12 เดือน เร่ิม 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2550

โครงการวิจัย “การศึกษาขอบเขตและความเหมาะสมสําหรับการพัฒนาระบบ ERP/Logistics

สําหรับมันสําปะหลัง กลุมจังหวัดรอยแกนสาร” ระยะเวลา 4 เดือน เร่ิม 23 เมษายน 2550

– 23 สิงหาคม 2550

โครงการวิจัย “การออกแบบและพัฒนาระบบสอบยอนกลับขาวหอมมะลิ กลุมจังหวัดรอยแกนสาร

“ ระยะเวลา 6 เดือน เร่ิม 23 เมษายน 2550 – 23 ตุลาคม 2550

Page 57: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-51-

ผูบริหารจัดการโครงการ “การพัฒนาระบบ ERP/Logistics สําหรับขาวหอมมะลิ กลุมจังหวัดรอย

แกนสาร” ระยะเวลา 5 เดือน เร่ิม 15 พค 2549 – 15 ตุลาคม 2549

โครงการวิจัย “การศึกษาขอบเขตและความเหมาะสมสําหรับการพัฒนาระบบ ERP/Logistics

สําหรับขาวหอมมะลิ กลุมจังหวัดรอยแกนสาร” ระยะเวลา 3 เดือน เร่ิม 16 มกราคม 2549

– 16 เมษายน 2549

โครงการวิจัย “แบบจําลองสําหรับการสืบคนขาวสารบนเว็บอยางมีความหมาย” ระยะเวลา 12

เดือน เร่ิม 1 ตุลาคม 2547 – 30 กันยายน 2548, สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

3.3 บทความทางวิชาการ

o Technical/Research Report:

สมจิตร และ คณะ . (2552).  รายงานการวิจัย การพัฒนาระบบสอบยอนกลับ การผลิต การ

แปรสภาพและการคาขาวหอมมะลิอินทรีย โดยใชการบูรณาการระบบโล

จิสติกสและหวงโซอุปทานผานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ, ขอนแกนการพิมพ,

หนา 182. สมจิตร และ คณะ . (2552). คูมือการปฏิบัติงาน เพ่ือการสอบยอนกลับขาวหอมมะลิ,

ขอนแกนการพิมพ, 47 หนา .

สมจิตร และ คณะ. (2552). คูมือการใชงาน ระบบสอบยอนกลับขาวหอมมะลิ, ขอนแกนการ

พิมพ, 51 หนา .

สมจิตร และ คณะ . (2552). รายงานการศึกษาวิจัย การศึกษาขอบเขตและความเหมาะสม

การพัฒนาระบบ ERP/Logistics สําหรับมันสําปะหลัง กลุมจังหวัดรอยแกนสาร,

ขอนแกนการพิมพ, 108 หนา .

สมจิตร และ คณะ . (2550). รายงานการศึกษาวิจัย การออกแบบและพัฒนาระบบสอบ

ยอนกลับในหวงโซอุปทานขาวหอมมะลิ, ขอนแกนการพิมพ, 150 หน. .

Arch-int, S., et al. (2007) ERP/LOGISTICS DEVELOPMENT FOR HOM MALI RICE USING

GLOBAL STANDARD (Technical Report: SIPA-KK/Logistics-2007-02)

(English Version), 56 pages.  สมจิตร และคณะ. (2550). การพัฒนาระบบ ERP/LOGISTICS ขาวหอมมะลิ ดวย

มาตรฐานสากล (ฉบับภาษาไทย) (รายงานเชิงเทคนิค: SIPA-KK/LOGISTICS-

2007-01), 69 หนา.

สมจิตร และ คณะ . (2549).  รายงานการศึกษาวิจัย การศึกษาขอบเขตและความเหมาะสม

การพัฒนาระบบ ERP/Logistics สําหรับขาวหอมมะลิ กลุมจังหวัดรอยแกนสาร,

ขอนแกนการพิมพ, 140 หนา.

Page 58: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-52-

สมจิตร อาจอินทร. (2549). แบบจําลองการสืบคนขาวสารบนเว็บอยางมีความหมาย,

ขอนแกนการพิมพ, 81 หนา.

 o Journals & Proceedings

Apiwitch, J. and Arch-int, S. (2009). Internal Logistics Management For Tapioca

Starch Manufactory Using RFID  Case Study: Sanguan Wongse Co.,Ltd.,

Proceedings of the Thai VCML Conference 2009: 19-21 November,

2009. (pp. 13-23). Pataya, Thailand.

Arch-int, S.,Juckupun, W., and Boonyawat, S. (2009). Traceability System in Hom

Mali Rice Supply Chain by Integrating Logistics System using Information

Technology and RFID. Journal of Thai VCML, 2(1), June 2009, 9-22.

Khandej, A. and Arch-int, S. (2010). IP-PBX in Organization Using Asterisk.

Proceeding of the 4th UBU Research conference: 9-10 August 2010, UBU,

Thailand.

Jakkhupan, W., Arch-Int, S., and Yuefeng, Li. (2010). Design and Implement of the

EPC Discovery Services with Confidentiality for Multiple Data Owners.

Proceeding of the IEEE International Conference on RFID-Technology and

Applications: 17 - 19 June 2010. (pp. 19-25). Guangzhou, China.

Suwannagoot, M., Arch-int, N.,  and Arch-int, S. (2010). Integrated Information

System for Heterogeneous Data sources Using Web Services Composition

Model: Case Study: Personal Information Integration of Khon Kaen

University. KKU Science Journal, 38 (1), 61-73.

Lurcha S., Arch-int N., and Arch-int S. (2010) Epidemiology Surveillance System

using Semantic Web Service Model-based on Health Level Seven Messages

(HL7). Proceedings of the 7th International Joint Conference on Computer

Science and Software Engineering- JCSSE’2010: May 12-14, 2010.

(pp. 293-301) Ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand.

Reingrit, S. and Arch-int, S. (2009). Network Element Monitoring System Using

Enterprise Java Bean Technology. Proceedings of The 13th National

Computer Science and Engineering Conference (NCSEC 2009):  4 -6

November 2009. (pp. 85-90). Bangkok, Thailand.

Sripirom, R. Arch-int, S., and Arch-int, N. (2009). The Integration of Electronic

Health Records using Web Service and Health Level Seven (HL7) Standard.

Proceedings of the 13th National Computer Science and Engineering

Page 59: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-53-

Conference (NCSEC 2009):  4-6 November 2009. (pp. 457-463).

Bangkok, Thailand.

Suchinsak, J. and Arch-int, S. (2009). Tourism Information Integration System Using

OTA Standard. Proceedings of The 13th National Computer Science and

Engineering Conference (NCSEC 2009): 4-6 November 2009. (pp.

492-497). Bangkok, Thailand.

Pharadorn, A. and Arch-int, S. (2009). Intelligent Warehouse Management System

with RFID Technology Case Study : Phimai Footwear Co.,Ltd., Proceedings

of the Thai VCML Conference 2009: 19-21 November, 2009. (pp. 1-

12). Pataya, Thailand.

Uraireungpun, O. and Arch-int, S. (2009). Semantic Text Summarization Using

Ontology . Proceedings of the 5th National conference on computer and

information technology (NCCIT2009): 22-23 May 2009. (pp. 294-

299). KMUTNB, Thailand.

Panyamee, M. and Arch-int, S. (2009). Web Search Results Clustering for Semantic

Search. Proceedings of the 5th National conference on computer and

information technology (NCCIT2009): 22-23 May 2009. (pp.839-

844). KMUTNB, Thailand.

Juckupan, W. and Arch-int, S. (2009). Management of Heterogeneous RFID and

Information Using ALE Standard. Proceedings of the 6th International Joint

conference on computer Science and Software Engineering (JCSSE2009):  

13-15 May 2009. Phuket, Thailand.

Banlue K., Arch-int N., and Arch-int S. (2009). User Profile Modeling for

Personalized e-Learning using Semantic Web. Proceedings of the 6th Joint

Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE

2009): May 13-15, 2009. (pp. 390-397). Thammasat University,

Phuket, Thailand.

Sripirom, R. Arch-int, S., and Arch-int, N. (2009). Electronic Health Record Data

Interchange System for the Chronic Disease Patient. Proceedings of the 6th

International Joint conference on computer Science and Software

Engineering (JCSSE2009):   13-15 May 2009. (pp. 1-8). Phuket,

Thailand.

Page 60: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-54-

Chumeunvai, C., Arch-int, N., and Arch-int, S. (2009). Semantic Information

Integration for Electronic Patient Record Using Ontology and Web Services

Model. Proceedings of the 3rd TRF-Master Research Congress III: 1 -3

April 2009. (pp. 141). Pattaya, Thailand.

Reechaipichitkul, P. and Arch-int, S. (2009). Intelligent Warehouse Management

with RFID. Proceedings of the 3rd TRF- Master Research Congress III: 1 -

3 April 2009. (pp.142). Pattaya, Thailand.

Arch-int, S., Arch-int, N., and Juckupun, W. (2009). B2B e-MarketPlace Model

for Supply Chain Management using RosettaNet and Web Service Standard: A

Case Study of Motorcycle Parts Industry in Thailand. Proceedings on the

International Conference on International Association of the Information

Society (IADIS2009): 25 - 28 February 2009. (pp.379-386). Spain.

Tshering and Arch-int, S. (2008). Principal Component Analysis Algorithm for

Multidimensional Data Reduction. Journal of Research & Development

(RUB). (December 2008).

Arch-int, S., Juckupun, W., and Boonyawat, S. (2008). Traceability System in Hom

Mali Rice Supply Chain using Information Technology and RFID. Proceedings

of the 7th Industrial Academic Annual Conference on Supply Chain and

Logistics Management (GTT 2008): 20-22 November 2008. (pp. 35-

46). Petchaburi, Thailand.

Thongtan, T. and Arch-int, S. The Multi-agent-based Model for Community Forest

Management. KKU Science Journal, 36 (Supplement), 157-171.

Kaewmarin, V., Arch-int, N., and Arch-int, S. (2008). Service Discovery System

using Search crawler. Proceedings of The International Conference on

Intelligent Agents, Web Technologies, and Internet Commerce

(IAWTIC2008): 27-28 December 2008. Vienna, Austria.

Chumeunvai, C., Arch-int, N., and Arch-int, S. (2008). Electronic Patient Record

Integration System for Hospital Using Web Services Model. Proceedings of

the 9th National Computer Science and Engineering Conference (NCSEC

2008): 26-27 October 2008. Pathaya, Thailand.

Jearwapee, S. and Arch-int, S. (2008) Data Integration Using Web Service and

Ontology. Proceedings of the 3rd National Computer and Information

Technology Conference (NCIT 2008): 2-3 November 2008. Bangkok,

Thailand.

Page 61: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-55-

Chan, M. and Arch-int, S. (2008). A GIS Based Method For Designing RF

Coverage. Proceedings of the 5th International Joint conference on computer

Science and Software Engineering (JCSSE2008): 7-9 May 2008. (pp.

366-371). Kanchanaburi, Thailand.

Tshering and Arch-int, S. (2008). Clustering ICT Indicators of Bhutan using hybrid

Self-Organizing Map: KSOM and HSOM. IEEE Proceedings of the

International Conference on Software Engineering, Artificial Intelligence,

Networking, and Parallel/Distributed Computing (SNPD2008). (pp. 121-

127). Phuket, Thailand.

Tshering and Arch-int, S. (2007). Two Level Hybrid HSOM Clustering Algorithm.

Journal of Research and Development. The Royal University of Bhutan.

1(1). 71-82.

Thongtan, T. and Arch-int, S. (2007). The Community Forest Usage Simulation by

the Multi-agent-based Model Approach. NECTEC Technical Journal.

8(18). 45-52 (reprinted).

Pilamart, S. and Arch-int, S. (2007). Web Document Clustering for Semantic Search.

Proceedings of the 11th National Computer Science and Engineering

Conference (NCSEC 2007):  19-21 November 2007. (pp. 466-477).

Miracle Grand Convention Hotel, Bangkok, Thailand.

Juckupun, W., Arch-int, S., and Surarat, S. (2007). Traceability System using RFID

and EPCglobal Standard Case Study: Pork Traceability System. Proceedings

of the 7th

Industrial Academic Annual Conference on Supply Chain and

Logistics Management (GTT 2007): 15-16 November 2007. (pp. 25-

33).  King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok,

Thailand.

Thungkawachara, J., Arch-int, S., and Horwijit, P. (2007). Sales Forecasting by

Coative Neuro-fuzzy Inference System: Case study Fishing net Industry.

Proceedings of The 11th National Computer Science and Engineering

Conference (NCSEC2007): 19-21 November 2007. (pp. 146-157).

Miracle Grand Hotel, Bangkok, Thailand.

Thungkawachara, J., Arch-int, S., and Horwijit, P. (2007). Sales Forecasting by

Neuro-fuzzy Inference System: Case study Fishing net Industry. Proceedings

of the 3rd National Conference on Computing and Information Technology

(NCCIT’07): 25-29 May 2007. (pp. 697-704). King Mongkut's

Institute of Technology North Bangkok, Thailand.

Page 62: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-56-

Tshering and Arch-int, S. (2007). Clustering of Socio-economic variables using two

stage K-Mean and SOM Algorithm for development analysis at District level,

Proceedings of the 4th International Joint Conference on Computer Science

and Software Engineering (JCSSE2007): 2-4 May 2007. (pp. 13-18).

Khon Kaen University, Thailand.

Kongnawung, W. and Arch-int, S. (2007). Developing a Health Information Systems

Model to Support Decision-making. Proceedings of the 9th Symposium on

Graduate Research: 19 January 2007. (pp.456-462). Khon Kaen

University, Thailand.

Eiumsirithaworn, S. and Arch-int, S. (2007). A Construction of a Geographic

Information System Model : A Case Study of Food Control Systems under the

Office of Trat Provincial Public Health. Proceedings of the 9th Symposium on

Graduate Research, 19 January 2007. (pp.422-429). Khon Kaen

University, Thailand.

Arsachai, A. and Arch-int, S. (2007). The Geographic Information System

Application to Developing a Model of Distribution of Public Health Service

Places: A Case Study in Kalasin province. Proceedings of the 9PthP

Symposium on Graduate Research, 19 January 2007. (pp.436-443).

Khon Kaen University, Thailand.

Teinluckananon, S. and Arch-int, S. (2007). Using Geographic Information Systems

for Mapping the Dental Personnel Distribution : A Case Study of Mukdahan

Province. Poster session presented at Proceedings of the 9th Symposium on

Graduate Research: 19 January 2007. Khon Kaen University, Thailand

4. ประสบการณสอน ระดับอุดมศึกษา 20 ป

5. ภาระการสอน

5.1 ระดับปริญญาตรี 322 161 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารข้ันแนะนาํ

322 372 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

320 473 การบริหารจัดการโครงการและการพัฒนาระบบ

320 476 วิศวกรรมซอฟตแวรข้ันสูง

 5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรน้ี)

322 724 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

322 765 การจัดการโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 63: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-57-

5.3 ระดับปริญญาเอก

322 999 Doctoral Dissertation

Page 64: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-58-

นางงามนิจ อาจอินทร

(Asst.Prof.Dr. Ngamnij Arch-int)

1. ตําแหนงทางวิชาการ

ผูชวยศาสตราจารย ระดับ 8

2. ประวัติการศึกษา ระดับ ช่ือปริญญา (สาขาวิชา) ช่ือสถาบัน,ประเทศ ป พ.ศ. ที่จบ

ปริญญาตรี B.Sc. (Statistics) Kasetsart University,

Thailand

1988

ระดับปริญญาโท M.s. (Applied

Statistics)

National Institute of

Development Administration,

Thailand

1990

ระดับปริญญาเอก Ph.D. (Computer

Science)

Chulalongkorn University,

Thailand

2003

3. ผลงานทางวิชาการ

3.1 บทความทางวิชาการ

Banlue K., Arch-int N., and Arch-int S. (2010). Ontology-based Metadata Integration

Approach for Learning Resource Interoperability. Proceedings of the 6th

International Conference on Semantics, Knowledge & Grids-SKG2010:

November 1-3, 2010. Zhejiang Wanli University, Ningbo, China.

Sommany L. and Arch-int N. (2010) Ontology-based Database Access using Query

Reformulatioin. Proceedings of the 2nd International Conference on Knowledge and

Smart Technologies-KST2010: July, 24-25, 2010. (pp. 65-72). Faculty of

Informatics Burapha University, Chonburi, Thailand.

Suwannakoot M., Arch-int N., and Arch-int S. (2010). Integrated Information System for

Heterogeneous Data Sources Using Web Services Composition Model. Case Study:

Personnel Information Integration of Khon Kaen University. KKU Science Journal,

38(1). March 2010. 61-73.

Lurcha S., Arch-int N. and Arch-int S. (2010). Epidemiology Surveillance System using

Semantic Web Service Model-based on Health Level Seven Messages (HL7),

Proceedings of the 7th International Joint Conference on Computer Science and

Software Engineering- JCSSE’2010, May 12-14, 2010. (pp. 293-301).

Ramkhamhaeng University, Bangkok, Thailand.

Page 65: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-59-

Arch-int N. (2009). Semantic Learning Resources Integration using Ontology-based Web

Services Metadata. Proceedings of the International Conference on International

Association for Development of the Information Soceity- IADIS e-

Society'2009: February 25-28, 2009. (pp. 130-134). Barcelona, Spain.

Arch-int, S., Arch-int, N. and Juckupun, W. (2009). B2B e-MarketPlace Model for

Supply Chain Management using RosettaNet and Web Service Standard: A Case

Study of Motorcycle Parts Industry in Thailand. Proceedings on the International

Conference on International Association of the Information Society (IADIS2009):

25 - 28 February 2009. (pp.379-386). Spain.

Ponyared, P., Remsungnen, T., Arch-int, N., Neeratanaphan, W., Akkasaeng, C. and

Tantisuwichwong, N. (2009). Computational analysis of sugarcane ESTs for high-

quality clusters and SSR mining. Thai Journal of Genetics, 2(2), 131-144.

Penkarn S. and Arch-int N. (2009). The Integration of Spatial and Non-Spatial data for

Epidemic Surveillance System on the Web using GML and SVG Technologies.

Proceedings of the 13th National Computer Science and Engineering Conference-

NCSEC’2009: Nov 4-6, 2009. (pp. 475-479). King Mongkut’s University of

Technology Thonburi, Bangkok, Thailand.

Sonsilapong S., Arch-int N., and Tantisuhichwongse, N. (2009). The Discovery and

Integration System of Sugarcane Expressed Sequence Tags (ESTs) Using Semantic

Web Services. Proceedings of the 13th National Computer Science and Engineering

Conference-NCSEC’2009: Nov 4-6, 2009. (pp. 519-525). King Mongkut’s

University of Technology Thonburi, Bangkok, Thailand.

Sripirom R., Arch-int S., and Arch-int N. (2009). The Integration of Electronic Health

Records using Web Service and Health Level Seven (HL7) Standard. Proceedings

of the 13th National Computer Science and Engineering Conference-

NCSEC’2009: Nov 4-6, 2009. (pp. 457-463). King Mongkut’s University of

Technology Thonburi, Bangkok, Thailand.

Banlue K., Arch-int N., and Arch-int S. (2009). User Profile Modeling for Personalized e-

Learning using Semantic Web. Proceedings of the 6th Joint Conference on

Computer Science and Software Engineering (JCSSE 2009): May 13-15,

2009. (pp. 390-397). Thammasat University, Phuket, Thailand.

Sripirom R., Arch-int S., and Arch-int N. (2009). Electronic Health Record Data

Interchange System for the Chronic Disease Patients. Proceedings of the 6th Joint

Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE 2009): May

13-15, 2009. (pp. 1-8). Thammasat University, Phuket, Thailand.

Page 66: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-60-

Kaewmarin V., Arch-int N., and Arch-int S. (2008). Semantic Web Service Discovery and

Integration using Service Search Crawler. Proceedings of the IEEE International

Conference on Intelligent Agents, Web Technology, and Internet Commerce -

IAWTIC’2008: Dec 10-12, 2008. (pp. 884-888). Vienna, Austria.

Kaewmarin V., Arch-int N., and Arch-int S. (2008). Semantic Service Discovery System

using Web Crawler. Proceedings of the 12th National Computer Science and

Engineering Conference-NCSEC’2008: Nov 20-21, 2008. (pp. 626-631).

King Mongkut’s University of Technology North Bangkok, Thailand.

Chumeunwai C., Arch-int N., and Arch-int S. (2008). Electronic Patient Record Integration

System for Hospital Using Web Services Model. Proceedings of the 2nd National

Conference on Information Technology-NCIT’2008: Nov. 6-7, 2008. (pp.

532-538). Rungsit University, Thailand.

Boonrod T., and Arch-int N. (2007). Information Discovery Model Using Agent Software.

Proceedings of the 11th National Computer Science and Engineering Conference-

NCSEC’2007: Nov 19-21, 2007. Sripatum University, Thailand.

Arch-int N., Lursinsup C., Sophatsathit P., and Amornpongkul T. (2006). E-Learning

Systems Integration using Metadata and Web Services Model. Proceedings of the

2nd National Conference on Computing and Information Technology

(NCCIT’2006): May 19-20, 2006. King Mongkut’s Institute of Technology

North Bangkok, Thailand, (This research is jointly sponsored by the “Thailand

Research Fund”-TRF and the “Commission on Higher Education”-CHE).

Nanudon E., Arch-int N., and Arch-int S. (2006). Service Integration System for Tourism

Information using Web Service Composition. Proceedings of the 3rd

Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE 2006): June

28-30, 2006. (pp.133-141). King Mongkut’s Institute of Technology North

Bangkok, Thailand.

Rawangsumrong S., Arch-int N., and Arch-int S. (2006). The Discovery System of

Robbery Vehicles Information on Mobile Device using Web services. Proceedings of

the 3rd Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE

2006): June 28-30, 2006. (pp.142-149). King Mongkut’s Institute of

Technology North Bangkok, Thailand.

Wanapu S., Arch-int N., and Kerdprasop N. (2006). E-Learning Data Classification using

Data Mining Technique. Proceedings of the 2nd National Conference on Computing

and Information Technology (NCCIT’2006): May 19-20, 2006. King

Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok, Thailand.

Page 67: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-61-

Arch-int N., Lursinsup C., and Sophatsathit P. (2005). A Reference Architecture for

Interoperating the existing e-Learning System using Metadata and Web Services

Model. Proceedings of the IEEE International Conference on Intelligent Agents,

Web Technology, and Internet Commerce -IAWTIC’2005: 28-30 Nov, 2005.

(pp. 891-896). Vienna, Austria. (This research is jointly sponsored by the

“Thailand Research Fund”-TRF and the “Commission on Higher Education”-

CHE).

Arch-int N., and Kunjaruk S. (2005). Information Integration System for Resolving the

Semantic Heterogeneity. Proceedings of the 9th National Computer Science and

Engineering Conference-NCSEC’2005: 27-28 Oct, 2005. (pp. 117-125).

UTCC, Thailand.

Wanapu S., Arch-int N., and Kerdprasop N. (2005). E-Learning Assessment System Using

Web Usage Mining. Proceedings of the Joint Conference on Computer Science and

Software Engineering-JCSSE’2005: 17-18 Nov, 2005. (pp. 263-268).

Burapha, Thailand.

Arch-int N., Sophatsathit P., and Li Y. (2003). Ontolog-based Metadata Dictionary for

Integrating Heterogeneous Information Sources on the WWW. Journal of Research

and Practice in Information Technology. 35(4), November 2003, 285-302.

Arch-int N., and Sophatsathit P. (2003). A Semantic Information Gathering Approach for

Heterogeneous Information Source on WWW. Journal of Information Science.

29(5), October 2003, 357-374.

Arch-int N., Li Y., Roe P., and Sophatsathit P. (2003). Query Processing the

Heterogeneous Information Sources using Ontology-based Approach. Proceedings of

the 18th International Conference on Computers and Their Applications: 26-28

March, 2003. (pp. 438-441). Honolulu, Hawaii, USA.

Arch-int N., and Sophatsathit P. (2002). A Reference Architecture for Integrating

Heterogeneous Information Sources using XML and Agent Model. Proceedings of

the Joint Conference on Information Sciences: 8-14 March 2002. (pp 235-

239). North Carolina, USA.

4. ประสบการณสอน ระดับอุดมศึกษา 16 ป

5. ภาระการสอน

5.1 ระดับปริญญาตรี

322 161 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

322 271 เทคโนโลยีอินเตอรเน็ตและวิศวกรรมเว็บ

Page 68: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-62-

5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรน้ี)

322 731 เว็บเทคโนโลยี

322 735 XML เทคโนโลยีและการประยุกต

322 736  เทคโนโลยีเว็บแบบส่ือความหมาย

322  891 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

322 892 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

322 897 การศึกษาอิสระ

322 899 วิทยานิพนธ

5.3 ระดับปริญญาเอก

322 999 Doctoral Dissertation

Page 69: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-63-

นายจักรชัย โสอินทร

(Chakchai So-In, Ph.D.)

1. ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย

2. ประวัติการศึกษา ระดับ ช่ือปริญญา (สาขาวิชา) ช่ือสถาบัน,ประเทศ ป พ.ศ. ที่จบ

ปริญญาตรี B.Eng Computer

Engineering

Kasetsart University,

Thailand

1999

ระดับปริญญาโท M.Eng Computer

Engineering

Kasetsart University,

Thailand

2001

ระดับปริญญาโท M.Sc Computer

Engineering

Washington University in

St. Louis

2006

ระดับปริญญาเอก Ph.D. Computer

Engineering

Washington University in   St. Louis

2010

3. ผลงานทางวิชาการ 3.1 ตํารา หนังสือหรือเอกสารประกอบการสอน

So-In, C. & Janyoi. P. (2011). Android Programming.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2010). Resource Allocation in IEEE 802.16e

Mobile WiMAX, Orthogonal Frequency Division Multiple Access

Fundamentals and Applications, Tao Jiang; Lingyang Song; Yan Zhang

(Eds.), CRC Press, 9781420088243.

So-In, C. & Kanyasiri, U. (Eds.) (2000), Setting up a Linux Internet Server, Se-

Ed., 974-534-073-1.

3.2 บทความวิชาการ

วารสารตางประเทศ (International Journal)

So-In, C., Jain, R., Paul, S. & Pan, J. (2011) Virtualization architecture using the

ID/Locator split concept for Future Wireless Networks (FWNs), Journal of

Computer Networks (COMNETS), Special Issue on Recent Advanced in

Wireless Networks, 55(2), 415-430.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2011). A Scheduler for Unsolicited Grant

Service (UGS) in IEEE 802.16e Mobile WiMAX Networks. IEEE System

Page 70: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-64-

Journal, 4(4), 487-494.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2011). Deficit Round Robin with

Fragmentation Scheduling to Achieve Generalized Weighted Fairness for

Resource Allocation in IEEE 802.16e Mobile WiMAX Networks, Journal of

Future Internet, Special Issue on QoS in Wired and Wireless IP networks,

2(4), 446-468.

So-In, C., Jain, R., Paul, S. & Pan, J. (2010) Virtual ID: ID/Locator Split in a

Mobile IP Environment for Mobility, Multihoming, and Location Privacy for

the Next Generation Wireless Networks, International Journal of Internet

Protocol Technology (IJIPT), Special Issue on Wireless Internet, 5(3),

142-153.

Pan, J., Jain, R., Paul, S. & So-In, S. (2010) MILSA: A New Evolution-Oriented

Architecture for Scalability, Mobility, and Multihoming for the Future

Internet, IEEE Journal on Selected Areas in Communication (JSAC),

Special Issue on Internet Routing Scalability, 28(8), 1344-1362.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2010). Capacity Evaluation for IEEE

802.16e Mobile WiMAX, Journal of Computer Systems, Networks, and

Communication (JCSNC), Special Issue on WiMAX, LTE, and WiFi

Internetworking.

Al-Tamimi, A., So-In, C. & Jain, R. (2010). Modeling and Resource Allocation

for Mobile Video over WiMAX Broadband Wireless Networks, IEEE Journal

on Selected Areas in Communication (JSAC), Special Issue on Wireless

Video Transmission, 28(3), 354-365.

Kim, B., So-In, S., Jain, J., Yun, J., Hur, Y. & Al-Tamimi, A. (2009). Capacity

Estimation and TCP Performance Enhancement over Mobile WiMAX

Networks, IEEE Communication Magazine, 47(8), 132-141.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2009). Scheduling in IEEE 802.16e Mobile

WiMAX Networks: Key Issues and a Survey, IEEE Journal on Selected

Areas in Communication (JSAC), Special Issue on Broadband Access

Networks: Architectures and Protocols, 27(2), 156-171.

Jain, R., So-In, C. & Al-Tamimi, A. (2008). System Level Modeling of IEEE

802.16e Mobile WiMAX Networks: Key Issues, IEEE Wireless

Communication Magazine, 15(5), 73-79.

Page 71: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-65-

บทความทางวิชาการตางประเทศ (International Proceeding)

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2010). Generalized Weighted Fairness and

its Application for Resource Allocation in IEEE 802.16e Mobile WiMAX,

in Proc. the 2nd International Conf. on Computer and Automation

Engineering (ICCAE), 784-788.

Al-Tamimi, A., So-In, C. & Jain, R. (2010). Dynamic Resource Allocation Based

on Online Traffic Prediction for Video Streams, in Proc. International

Conf. on Internet Multimedia Systems Architecture and Applications

(IMSAA), 1-6.

So-In, C., Jain, R., Paul, S. & Pan, J. (2010). A Policy Oriented Multi-Interface

Selection Framework for Mobile IPv6 Using the ID/Locator Split Concepts

in the Next Generation Wireless Networks, in Proc. the 2nd International

Conf. on Computation and Automation Engineering (ICCAE), 580-

584.

So-In, C., Jain, R., Paul, S. & Pan, J. (2010). Virtual ID: A Technique for

Mobility, Multi-Homing, and Location Privacy in Next Generation

Wireless Networks, in Proc. the 2nd IEEE International Workshop on

Mobile IPv6 and Network-based Localized Mobility Management

(MobiWorld-CCNC), 1-5.

Al-Tamimi, A., So-In, C. & Jain, R. (2010). Modeling and Generation of AVC

and SVC-TS Mobile Video Traces for Broadband Access Networks,

in Proc. Multimedia Systems Conf. (MMsys), 89-98.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2009). eOCSA: An Algorithm for Burst

Mapping with Strict QoS Requirements in IEEE 802.16e Mobile WiMAX

Networks, in Proc. IFIP Wireless Days (WD), 1-5.

So-In, C., Jain R. & Dommety G. (2009). PETS: Persistent TCP using Simple

Freeze, in Proc. the First International Conference on Future Information

Networks (ICFIN), pp. 97-102.

So-In, C., Jain, R. & Al-Tamimi, A. (2009). A Deficit Round Robin with

Fragmentation Scheduler for Mobile WiMAX, in Proc. IEEE Sarnoff

Symposium, 1-7.

So-In, C., Jiang, J. & Jain, R. (2008). Enhanced Forward Explicit Congestion

Notification (E-FECN) Scheme for Datacenter Ethernet Networks,

in Proc. Performance Evaluation of Computer and Telecommunication

Page 72: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-66-

Systems (SPECTS), 542-546.

Jiang, J., Jain, R. & So-In, C. (2008). An Explicit Rate Control Framework for

Lossless Ethernet Operation, in Proc. IEEE International Conf. on

Communication (ICC), 5914-5918

4. ประสบการณสอน ระดับอุดมศึกษา 4 ป

University the Thai Chamber of Commerce Operating system Labs

5. ภาระการสอน

5.1 ระดับปริญญาตรี 322  262 เครือขายไรสาย

322 261 เคร่ือขายการสื่อสารไรสายและโทรศัพทเคล่ือนท่ี

322 376 ความม่ันคงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  322 494 โครงการคอมพิวเตอร 1

322 495 โครงการคอมพิวเตอร 2

5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรน้ี)

322 749  เทคโนโลยีการส่ือสารเคล่ือนท่ีและเครือขายไรสาย

322 766 เครือขายคอมพิวเตอร

322 891 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1  322 892 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

322 899 วิทยานิพนธ

322 897 การศึกษาอิสระ         5.3 ระดับปริญญาเอก

322 999 Doctoral Dissertation

    

Page 73: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-67-

 

นางสาววรารัตน รุงวรวุฒิ

(Wararat Rungworawut, Ph.D)

1. ตําแหนงทางวิชาการ

อาจารย

2. ประวัติการศึกษา

ระดับ ช่ือปริญญา (สาขาวิชา) ช่ือสถาบัน,ประเทศ ป พ.ศ. ที่จบ

ปริญญาตรี B.Sc. Computer Science Khon Kaen University,

Thailand

2001

ระดับปริญญาโท M.Eng. Computer

Engineering

Khon Kaen University,

Thailand

2004

ระดับปริญญาเอก Ph.D. Computer

Engineering

Chulalongkorn University,

Thailand

2010

3. ผลงานทางวิชาการ

3.1 ตํารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน

วิชา 322 235 Software Testing http://202.28.94.51/users/wararat/course322235.htm

วิชา 322 491 Seminar in

Information Communication and

Technology 

http://202.28.94.51/users/wararat/course322491.htm

วิชา 322 475 Data Mining (ตรี) http://202.28.94.51/users/wararat/course322475.htm

วิชา 322 756 Data Mining (โท) http://202.28.94.51/users/wararat/course322756.htm

3.2 บทความวิชาการ

Rungworawut. W., Senivongse, T. (2011). Automating a Design Methodology for

Reuseable Business Process Components through a Genetic Algorithm,

International of Journal Software Engineering and Knowledge Engineering

(IJSEKE), February 2011.

Rungworawut. W. (2010). A Framework for UML Class Diagrams and Software

Patterns Integration. Proceedings of the International MultiConference of

Engineers and Computer Scientists 2010: 17-19 March 2010. (pp. 756-

761). Hong Kong. (Best student awards)

Rungworawut. W., Senivongse, T., and Cox, K. (2007). Achieving Managerial Goals in

Page 74: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-68-

Business Process Components Design Using Genetic Algorithm. Proceedings of

5th International Conference on Software Engineering Research,

Management, and Applications (SERA 2007): 20-22 August 2007. (pp.

409-416). Busan, Korea.

Rungworawut. W., Senivongse, T. (2006). Using Ontology Search in the Design of

Class Diagram from Business Process Model. Proceedings of International

Conference on Computer Science (ICCS 2006): 29-31 March 2006. (pp.

165-170). Vienna, Austria.

Rungworawut. W., Senivongse, T. (2005). From Business World to Software World:

Deriving Class Diagrams from Business Process Models. Proceedings of 5th

WSEAS International Conference on Applied Informatics and Communications

(AIC’05): 15-17 September 2005. Malta.

Rungworawut. W., Senivongse, T. (2005). A Guideline to Mapping Business Processes to

Class Diagrams. WSEAS Transactions on Computers, World Scientific and

Engineering Academy and Society, 11(4), November 2005, 1526-1533.

Rungworawut, W., Eua-Anant, N., Vihsupalert, C., Chaopanonm W., Pensuwon, W.

(2003). Localized Stochastic Competitive Evolutionary Neural Tree for

Classification. International Symposium on Communications and Information

Technologies (ISCIT'2003): 3-5 September 2003. Songkhla, Thailand.

4. ประสบการณสอน ระดับอุดมศึกษา 6 เดือน

5. ภาระการสอน

5.1 ระดับปริญญาตรี     322  235 การทดสอบซอพตแวร

322 491 สัมมนาเทคโนโลยีและการส่ือสาร

322 475 การทําเหมืองขอมูล

5.2 ปริญญาโท (หลักสูตรน้ี)

322 756 การทําเหมืองขอมูล

322 731 เทคโนโลยีเว็บ

                                5.3 ระดับปริญญาเอก

322 999 Doctoral Dissertation  

  

Page 75: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-69-

นางสาวสุมลฑา เกษมวิลาศ (Sumonta Kasemvilas,M.S.)

1. ตําแหนงทางวิชาการ

อาจารย

2. ประวัติการศึกษา 

ระดับ ช่ือปริญญา (สาขาวิชา) ช่ือสถาบัน,ประเทศ ป พ.ศ. ที่จบ

ปริญญาตรี B.S. Computer Science Khon Kaen University,

Thailand

1987

ระดับปริญญาโท M.S. Computer Science National Institute of

Development Administration,

Thailand

2000

3. ผลงานทางวิชาการ  3.1 ตํารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน

Firpo, D., Kasemvilas, S., Ractham, P., and Zhang, X. (2010). Constructing a sense of

community in a graduate educational setting using a Web 2.0 environment. In B. Ertl

(Ed.), Technologies and Practices for Constructing Knowledge in Online

Environments: Advancements in Learning, 46-83. IGI Global.

Eryilmaz, E., van der Pol, J., Kasemvilas, S., Mary, J., and Olfman, L. (2010). The role of

anchoring discussion in mediating effective online interaction for collaborative

knowledge construction. Proceedings of the 43rd Hawaii International Conference on

System Sciences: January 5-8, 2010. Koloa, Kauai, Hawaii.

Kasemvilas, S. and Olfman, L. (2009). Design alternatives for a MediaWiki to support

collaborative writing. Journal of Information, Information Technology, and

Organizations. 4, 87-106.

Kasemvilas, S. and Olfman, L. (2009). Design alternatives for a MediaWiki to support

collaborative writing in higher education classes. Journal of Issues in Informing Science

and Information Technology. 6(1), 45-64.

Eryilmaz, E. and Alrushiedat, N., Kasemvilas, S., Mary, J., and van der Pol, J. (2009). The

effect of anchoring online discussion on collaboration and cognitive load. Proceedings of

the Fifteenth Americas Conference on Information Systems: August 6-9, 2009. San

Francisco, California, USA.

Kasemvilas, S. and Firpo, D. (2009). Effects of AJAX technology on the usability of blogs. In:

M.J. Smith and G. Salvendy (Eds.): Human Interface and the Management of

Page 76: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-70-

Information. Information and Interaction, Part II. Symposium on Human Interface

2009, Held as Part of HCI International 2009: July 19-24, 2009. (pp. 45–

54). Springer-Verlag Berlin Heidelberg, San Diego, California, USA.

Firpo, D., Kasemvilas, S., Ractham, P., and Zhang, X. (2009). Implementation of an online

intellectual community in a graduate educational setting. Proceedings of the 2009

ACM SIGMIS CPR Conference: May 28 - 30, 2009. Limerick, Ireland.

Firpo, D., Kasemvilas, S.,Ractham, P., and Zhang, X. (2009). Fostering participation in an

online intellectual community in a graduate educational setting: A Case Study.

Proceedings of the International Conference on Internet and Web Applications and

Services: May 24 -28, 2009. Venice, Italy.

Firpo, D., Kasemvilas, S., Ractham, P., and Zhang, X. (2009, April) Generating a sense of

community in a graduate educational setting through persuasive technology. Poster

session presented at the 4th International Conference on Persuasive Technology, April

26-29, 2009. Claremont, California, USA.

Eryilmaz, E., Cochran, M., and Kasemvilas, S. (2009). Establishing trust management in an open

source collaborative information repository: An emergency response information system

case study. Proceedings of the 42nd Hawaii International Conference on System

Sciences: January 5-8, 2009. Waikoloa, Hawaii.

4 ประสบการณสอน ระดบัอุดมศึกษา 6 ป

5 ภาระการสอน

5.1 ระดับปริญญาตรี     322  117 การเขียนโปรแกรม 1

322 118  การเขียนโปรแกรม 2

322 273 การบริหารจัดการความรูในภาคทฤษฎี

และภาคปฏิบตั ิ

322 384 เทคโนโลยีเพ่ือการจูงใจ

5.2 ระดับปริญญาโท (หลักสูตรน้ี)

322 712 ทักษะการเขียนโปรแกรมบนเว็บ

322 793 ระเบียบวิธีวิจยั                               322 757  การจัดการความรู                               

 

 

Page 77: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-71-

  

ภาคผนวก ค 

คําส่ังแตงตัง้คณะกรรมการพัฒนา/คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

Page 78: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-72-

คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนา/คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

Page 79: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-73-

ภาคผนวก ง

 

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 

Page 80: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-74-

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน

วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

-----------------------

เพ่ือใหการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเปนไปอยางถูกตองตามมาตรฐานวิชาการ มีคุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 และ เรื่อง แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 อาศัยอาํนาจตามความในมาตรา 16(2) และมาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ.2541 และโดยมติสภามหาวิทยาลัยขอนแกน ในคราวประชุมครั้งท่ี 5/2548 เมื่อวันท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 สภามหาวิทยาลัยจึงวางระเบียบไวดังตอไปนี้

หมวดท่ี 1 บทท่ัวไป

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชสําหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยขอนแกนทุกหลักสูตรตั้งแตปการศึกษา

2548 เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2544บรรดาขอบังคับ

ระเบียบ คําส่ัง หรือประกาศอื่นใดของมหาวิทยาลัยหรือคณะท่ีขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 ในระเบียบนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยขอนแกน “อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน “คณะ” หมายถึง คณะ บัณฑิตวิทยาลัย หรือ หนวยงานท่ีมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “คณบดี” หมายถึง คณบดีของคณะ บัณฑิตวิทยาลัย หรือหัวหนา หนวยงานท่ีมี หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “สาขาวิชา” หมายถึง สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายถึง คณะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งจากคณบดีเพ่ือ รับผิดชอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา “ประธานหลักสูตร” หมายถึง ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร “สํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ” หมายถึง สํานักทะเบียนและประมวลผล (สํานักบริหารและ พัฒนาวิชาการ) ตามประกาศสภามหาวิทยาลัย ขอนแกน (ฉบับท่ี 3/2548)

Page 81: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-75-

“บัณฑิตวิทยาลัย” หมายถึง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน “คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย” หมายถึง คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน “นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษมหาวิทยาลัยขอนแกน

ขอ 5 ใหอธิการบดีรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจออกหลักเกณฑ ประกาศ คําส่ัง หรือระเบียบปฏิบัติซึ่งไม

ขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ในกรณีท่ีมิไดกําหนดหลักการและการปฏิบัติไวในระเบียบนี้ หรือในกรณีท่ีมีปญหเกี่ยวกับการปฏิบัติ

ตามระเบียบนี้ ใหคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาและเสนอความเห็นตออธิการบดี และใหอธิการบดีมีอํานาจวินิจฉัยส่ังการ คําวินิจฉัยของอธิการบดีใหถือเปนท่ีส้ินสุด

ท้ังนี้การวินิจฉัยหรือตีความใหยึดประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 และ เรื่อง แนวทางการบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

หมวดท่ี 2

ระบบการจัดการศึกษา

ขอ 6 การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ใหดําเนินการดังนี้ 6.1 บัณฑิตวิทยาลัยเปนผูรักษามาตรฐานของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย 6.2 บัณฑิตวิทยาลัยมีหนาท่ีประสานงานและสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สวนคณะและ

ภาควิชามีหนาท่ีจัดการศึกษาในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวของ 6.3 บัณฑิตวิทยาลัยจัดใหมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชารวม เพ่ือบริหารและจัดการศึกษาใน

หลักสูตรท่ีมีกระบวนวิชาเกี่ยวของกับหลายคณะโดยมีองคประกอบและหนาท่ีตามประกาศของมหาวิทยาลัย

ขอ 7 ระบบการศึกษาเปนแบบสะสมหนวยกิตใชระบบทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปนสองภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติใหมีระยะเวลาศึกษา ไมนอยกวา 15 สัปดาห สวนภาคฤดูรอนอาจจัดไดตามความจําเปนของแตละหลักสูตร โดยใหกําหนดระยะเวลาและจํานวนหนวยกิตมีสัดสวนเทียบเคียงกันไดกับการศึกษาภาคปกติ หลักสูตรอาจจัดการศึกษาระบบอื่น เชน ระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค หรืออ่ืนๆ ก็ได โดยใหถือแนวทางดังนี้

ระบบไตรภาค หนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 3 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคฤดูรอน หนึ่งภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 12 สัปดาห

ระบบจตุรภาค หนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 4 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคฤดูรอน หนึ่งภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 10 สัปดาห

ขอ 8 การคิดหนวยกิต 8.1 ระบบทวิภาค

รายวิชาภาคทฤษฎี ท่ีใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต

รายวิชาภาคปฏิบัติ ท่ีใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกต ิใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต

Page 82: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-76-

รายวิชาการฝกงานหรือการฝกภาคสนาม ท่ีใชเวลาฝกไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต

รายวิชาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ท่ีใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 8.2 ระบบไตรภาค

1 หนวยกิต ระบบไตรภาค เทียบไดกับ 12/15 หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ 4 หนวยกิต ระบบทวิภาค เทียบไดกับ 5 หนวยกิต ระบบไตรภาค 8.3 ระบบจตุรภาค

1 หนวยกิตระบบจตุรภาค เทียบไดกับ 10/15 หนวยกิตระบบทวิภาค หรือ 2 หนวยกิตระบบทวิภาค เทียบไดกับ 3 หนวยกิตระบบจตุรภาค

ขอ 9 การจัดแผนการศึกษา แบงเปน 2 ประเภทคือ 9.1 การจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตรโดย

กําหนดจํานวนหนวยกิตเฉล่ียตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 9 หนวยกิตตอภาคการศึกษาปกติ สําหรับระบบทวิภาค

9.2 การจัดแผนการศึกษาแบบไมเต็มเวลา (Part-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตรโดยกําหนดจํานวนหนวยกิตเฉล่ียตลอดหลักสูตร นอยกวา 9 หนวยกิตตอภาคการศึกษาปกติ สําหรับระบบทวิภาค

ขอ 10 หลักสูตรหนึ่งๆ อาจจัดระบบการศึกษา และหรือจัดแผนการศึกษาแบบใดแบบหนึ่ง หรือหลายแบบได ท้ังนี้ ระบบการจัดการเรียนการสอน และระบบการจัดแผนการศึกษาตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตาม

ประกาศของมหาวิทยาลัย

หมวดท่ี 3 หลักสูตร

ขอ 11 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้

11.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสรางเสริมความเชี่ยวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ เปนหลักสูตรท่ีมีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทามาแลว

11.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสงเสริมความกาวหนาทางวิชาการและหรือการวิจยัในสาขาวิชาตางๆ ในระดับสูงกวาขั้นปริญญาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิต

11.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสรางเสริมความเชี่ยวชาญหรือ ประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเปนหลักสูตรท่ีมีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทามาแลว

11.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสงเสริมความกาวหนาทางวิชาการ การวิจัยในสาขาวิชาตางๆ ในระดับสูงกวาปริญญามหาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง

ขอ 12 โครงสรางของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา 12.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง

ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 24 หนวยกิต

Page 83: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-77-

12.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 36 หนวยกิต โดยแบงการศึกษาเปน 2 แผนคือ

แผน ก เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการวิจัยโดยมีการทําวิทยานิพนธ ดังนี้ แบบ ก 1 ทําเฉพาะวิทยานิพนธไมนอยกวา 36 หนวยกิต และหลักสูตรอาจกําหนดใหศึกษา

รายวิชาเพ่ิมเติม หรือทํากิจกรรมวิชาการอื่นเพ่ิมขึ้นได โดยไมนับหนวยกิต แตตองมีผลสัมฤทธิ์ตามท่ีหลักสูตรกําหนด

แบบ ก 2 ทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 12 หนวยกิต และศึกษารายวิชาไมนอยกวา 12 หนวยกิต แผน ข เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการศึกษารายวิชาโดยไมตองทําวิทยานิพนธ แตตองมีการศึกษาอิสระไม

นอยกวา 3 หนวยกิต แตไมเกิน 6 หนวยกิต ท้ังนี้ สาขาวิชาใดเปดสอนหลักสูตร แผน ก ไมจําเปนตองเปดสอนหลักสูตรแผน ข ดวย แตถาเปด

สอนหลักสูตรแผน ข จะตองมีหลักสูตร แผน ก ใหนักศึกษาเลือกศึกษาไวดวย 12.3 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต

ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 48 หนวยกิต

ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือประกาศนียบัตรบัณฑิต ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 72 หนวยกิต

แบงการศึกษาเปน 2 แบบ คือ แบบ 1 เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการวิจัยโดยมีการทําวิทยานิพนธท่ีกอใหเกิดองคความรูใหม หลักสูตรอาจ

กําหนดใหมีการศึกษารายวิชาเพ่ิมเติม หรือทํากิจกรรมทางวิชาการอ่ืนเพ่ิมขึ้นได โดยไมนับหนวยกิต แตตองมีผลสัมฤทธิ์ตามท่ีหลักสูตรกําหนด ดังนี้

แบบ 1.1 ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 48 หนวยกิต

แบบ 1.2 ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตจะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 72 หนวยกิต ท้ังน้ี วิทยานิพนธตาม แบบ 1.1 และ แบบ 1.2 จะตองมีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน

แบบ 2 เปนแผนการศึกษาท่ีเนนการวิจัย โดยมีการทําวิทยานิพนธท่ีมีคุณภาพสูงและกอใหเกิดความกาวหนาทางวิชาการและวิชาชีพ และมีการศึกษารายวิชาเพิ่มเติม ดังนี้

แบบ 2.1 ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 36 หนวยกิต และศึกษารายวิชาอีกไมนอยกวา 12 หนวยกิต

แบบ 2.2 ผูเขาศึกษาท่ีสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต จะตองทําวิทยานิพนธไมนอยกวา 48 หนวยกิต และศึกษารายวิชาอีกไมนอยกวา 24 หนวยกิต ท้ังน้ี วิทยานิพนธตาม แบบ 2.1 และ แบบ 2.2 จะตองมีคุณภาพและมาตรฐานเดยีวกัน

ขอ 13 ประเภทของหลักสูตร แบงออกเปน 3 ประเภทคือ

13.1 หลักสูตรปกติ (Regular Program) หมายถึง หลักสูตรในสาขาวิชาหนึ่งท่ีใชภาษาไทยเปนส่ือหลักในการเรียนการสอน และ/หรืออาจมีบางรายวิชาท่ีใชภาษาตางประเทศเปนส่ือในการเรียนการสอนดวยก็ได

Page 84: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-78-

13.2 หลักสูตรท่ีศึกษาเปนภาษาอังกฤษ (English Program) หมายถึง หลักสูตรในสาขาวิชาหนึ่งท่ีใชภาษาอังกฤษเปนส่ือในการเรียนการสอนทั้งหลักสูตร รวมท้ังการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ

13.3 หลักสูตรนานาชาติ (International Program) หมายถึง หลักสูตรท่ีมีองคความรู และเนื้อหาสาระท่ีมีความเปนสากล และมีการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมความเปนนานาชาติ เพ่ือมุงผลิตบัณฑิตใหมี คุณภาพ และมาตรฐานสากล โดยใชภาษาตางประเทศเปนส่ือในการเรียนการสอน

ขอ 14 ระยะเวลาการศึกษาของแตละหลักสูตรท่ีจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา เปนดังนี้ 14.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ไมเกิน 3 ปการศึกษา 14.2 ปริญญามหาบัณฑิต ไมเกิน 5 ปการศึกษา 14.3 ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผูท่ีสําเร็จปริญญาบัณฑิตไมเกิน 8 ปการศึกษา สวนผูท่ีสําเร็จปริญญา

มหาบัณฑิต ไมเกิน 6 ปการศึกษา ระยะเวลาการศกึษาสําหรับหลักสูตรแบบไมเต็มเวลาหรือท่ีจัดการศึกษาแบบอ่ืน ใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

ขอ 15 การประกันคุณภาพ ใหกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรไวในทุกหลักสูตรใหชัดเจน และมีการดําเนินการ

ควบคุมมาตรฐาน คุณภาพ และจัดทํารายงานตามแนวทางการประกันคุณภาพของบัณฑิตวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ท้ังนี้อยางนอยแตละหลักสูตรตองจัดทํารายงานการประเมินตนเองปละหน่ึงครั้ง เสนอตอคณบดีตนสังกัดพรอมสงสําเนาใหบัณฑิตวิทยาลัย

หมวดท่ี 4

อาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ขอ 16 อาจารยระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบดวย

16.1 อาจารยประจํา หมายถึง ขาราชการ พนักงาน หรือผูท่ีมหาวิทยาลัยจางเพ่ือปฏิบัติงานในหลักสูตร สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแกน ทําหนาท่ีหลักดานการสอนและวิจัย และมีคุณสมบัติตามท่ีกําหนด ของภาระงานดานการเรียนการสอน

16.2 อาจารยประจําหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําท่ีไดรับมอบหมายใหเปนหลักในกระบวนการจัดการศึกษาของหลักสูตร โดยทําหนาท่ีอาจารยผูสอน และ/หรืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น อาจารยแตละคนจะเปนอาจารยประจําหลักสูตรในขณะใดขณะหนึ่งไดเพียงหลักสูตรเดียวเทานั้น

16.3 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารยประจําหลักสูตรท่ีไดรับมอบหมายใหเปนผูรับผิดชอบในการบรหิารจัดการ เกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลหลักสูตร และหนาท่ีอ่ืนท่ีเกี่ยวของ

16.4 อาจารยผูสอน หมายถึง อาจารยประจําหรืออาจารยบัณฑิตพิเศษท่ีไดรับมอบหมายหรือแตงตั้งใหทําหนาท่ีสอนในรายวิชาหรือบางหัวขอในแตละรายวิชา

16.5 อาจารยท่ีปรึกษาท่ัวไป หมายถึง อาจารยประจําท่ีคณะแตงตั้งเพ่ือทําหนาท่ีใหคําปรึกษาดานการศึกษาและการจัดแผนการเรียนของนักศึกษา

16.6 อาจารยท่ีปรึกษาหลัก (Major advisor) หมายถึง อาจารยประจําท่ีไดรับแตงตั้งใหรับผิดชอบกระบวนการเรียนรูเพ่ือวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเฉพาะราย เชน การพิจารณาเคาโครง การใหคําแนะนําและควบคุมดูแล รวมท้ังการประเมินความกาวหนาและการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา

Page 85: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-79-

16.7 อาจารยท่ีปรึกษารวม (Co-advisor) หมายถึง อาจารยประจํา หรือ อาจารยบัณฑิตพิเศษที่คณะ แตงตั้ง เพ่ือใหทําหนาท่ีรวมกับอาจารยท่ีปรึกษาหลักในการพิจารณาเคาโครง รวมท้ังชวยเหลือให คําแนะนําและควบคุมดูแลการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา

16.8 ผูทรงคุณวุฒิ หมายถึง ผูท่ีมิไดเปนอาจารยประจําท่ีไดรับการแตงตั้งใหทําหนาท่ีในการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาโดยผูท่ีไดรับแตงตั้งนั้นมีคุณวุฒิทางการศึกษาและตําแหนงทางวิชาการตามท่ีกําหนดในหนาท่ีนั้นๆ

16.9 ผูเชี่ยวชาญเฉพาะ หมายถึง ผูท่ีมิไดเปนอาจารยประจําท่ีไดรับแตงตั้งใหทําหนาท่ีบางสวนในการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดยผูท่ีไดรับแตงตั้งนั้นไมมีคุณวุฒิทางการศึกษาและหรือตําแหนงทางวิชาการตามท่ีกําหนดในหนาท่ีนั้นๆ แตมีความเชี่ยวชาญ หรือความชํานาญเฉพาะท่ีเปนประโยชนอยางย่ิงโดยตรงตอหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายนั้นๆ ท้ังนี้หากจะแตงตั้งใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ จะตองเปนผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณสูงในสาขาวิชานั้นๆ เปนท่ียอมรับในระดับหนวยงานหรือกระทรวงหรือวงการวิชาชีพดานนั้นๆ เทียบไดไมตํ่ากวาระดับ 9 ขึ้นไป ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนและหนวยงานท่ีเกี่ยวของกําหนด แตหากจะแตงตั้งใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ตองเปนบุคลากรประจํามหาวิทยาลัยเทานั้น

16.10 อาจารยบัณฑิตพิเศษ หมายถึง ผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะ ท่ีคณบดีแตงตั้งใหทําหนาท่ีเกี่ยวกับการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา

ขอ 17 คุณสมบัติอาจารยประจําหลักสูตร ตองเปนอาจารยประจําและมีคุณสมบัติไมตํ่ากวาคุณสมบัติของการเปนอาจารยผูสอนตามระดับของ

หลักสูตรนั้นๆ ขอ 18 คุณสมบัติอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

18.1 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร และมีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารองศาสตราจารยในสาขาวิชาท่ีสอนหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน จํานวนอยางนอย 3 คน

18.2 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร และมีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาเอกหรือเทียบเทาหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวาศาสตราจารยในสาขาวิชาท่ีสอนหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน จํานวนอยางนอย 3 คน

ขอ 19 การบริหารจัดการศึกษาหลักสูตร อยางนอยตองมีองคประกอบ ดังนี้ 19.1 มีอาจารยประจําหลักสูตร จํานวนไมนอยกวา 5 คน โดยตองประกอบดวยอาจารยผูรับผิดชอบ

หลักสูตรอยางนอย 3 คน 19.2 หลักสูตรหนึ่งๆ ตองอยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่งคณะแตงตั้งคณะ

กรรมการบริหารหลักสูตรดังกลาว อาจกํากับดูแลหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่ง หรือหลายหลักสูตร ก็ไดท้ังนี้ใหเปนไปตามที่คณะกําหนดองคประกอบและอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรดังกลาว ใหเปนไปตามที่คณะกําหนด

ขอ 20 ใหมคีณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ เพ่ือทําหนาท่ีกํากับดูแลคุณภาพและการบริหารจัดการหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาทุกหลักสูตรในองครวมของคณะนั้นๆ องคประกอบและอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการดังกลาว ใหเปนไปตามที่คณะกําหนด

ขอ 21 อาจารยผูสอน ตองมีคุณสมบัติดังนี้

Page 86: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-80-

21.1 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ตองเปนอาจารยประจํา หรือ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาโทหรือเทียบเทา หรือ เปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวาผูชวยศาสตราจารยในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน และตองมีประสบการณดานการสอนและการทําวิจัยท่ีมิใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา

21.2 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองเปนอาจารยประจํา หรือ ผูทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวารองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน และตองมีประสบการณดานการสอนและการทําวิจัยท่ีมิใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา

ขอ 22 อาจารยท่ีปรึกษาหลัก ตองมีคุณสมบัติดังนี้ เปนอาจารยประจํา มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวา

รองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้น หรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน และตองมีประสบการณในการทําวิจัยท่ีมิใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา

ขอ 23 อาจารยท่ีปรึกษารวม (ถามี) ตองมีคุณสมบัติดังนี้ เปนอาจารยประจํา หรือผูทรงคุณวุฒิท่ีมีวุฒิการศึกษา และตําแหนงทางวิชาการ รวมท้ังประสบการณ

การทําวิจัย เชนเดียวกับอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ในกรณีท่ีมีความจําเปนและเหมาะสม อาจแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเฉพาะใหเปนอาจารยท่ีปรึกษา

วิทยานิพนธรวมก็ได ขอ 24 ในกรณีท่ีมีความจําเปนคณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย อาจแตงตั้ง

ผูทรงคุณวุฒิ หรือแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเฉพาะที่เปนบุคลากรประจํามหาวิทยาลัยท่ีมีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ ใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาหลักได ท้ังนี้ใหเปนไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ 25 ภาระงานของอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ อาจารยประจํา 1 คน ใหเปนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธของนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตและ

หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิตไดไมเกิน 5 คน หรือเปนอาจารยท่ีปรึกษาการศึกษาอิสระของนักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตไมเกิน 15 คน หากเปนอาจารยท่ีปรึกษาท้ังวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ใหคิดสัดสวนจํานวนนักศึกษาท่ีทําวิทยานิพนธ 1 คน เทียบไดกับจํานวนนักศึกษาท่ีทําการศึกษาอิสระ 3 คน ท้ังนี้ใหนับรวมนักศึกษาท่ียังไมสําเร็จการศึกษาท้ังหมดในเวลาเดียวกัน

หากหลักสูตรใดมีอาจารยประจําท่ีมีศักยภาพพรอมท่ีจะดูแลนักศึกษาท่ีทําวิทยานิพนธ ไดมากกวา 5 คน อาจขอขยายเพิ่มขึ้นไดแตตองไมเกิน 10 คน ท้ังนี้ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

หมวดท่ี 5

การรับเขาศึกษา ขอ 26 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

26.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา ตามท่ีหลักสูตรกําหนด และมี

คุณสมบัติอ่ืนเพ่ิมเติมตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 26.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

Page 87: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-81-

ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต ตามท่ีหลักสูตรกําหนด และมีคุณสมบัติอ่ืนเพ่ิมเติมตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

26.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา ตามท่ีหลักสูตรกําหนด

และมีคุณสมบัติอ่ืนเพ่ิมเติมตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 26.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต

26.4.1 ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ตามท่ีหลักสูตรกําหนด และมีคุณสมบัติอ่ืนเพ่ิมเติมตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด หรือ

26.4.2 ผูเขาศึกษาตองเปนผูสําเร็จปริญญาบัณฑติหรือเทียบเทา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต ในสาขาวิชาเดียวกันหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกันกับหลักสูตรท่ีเขาศึกษา โดยมีผลการเรียนดีมาก และมีพ้ืนความรูความสามารถและศักยภาพเพียงพอท่ีจะทําวิทยานิพนธได หรือมีคุณสมบัติอ่ืนเพ่ิมเติมตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

ขอ 27 การรับสมัคร ใบสมัคร ระยะเวลาสมัคร หลักฐานประกอบและเงื่อนไขอื่นๆ ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิต

วิทยาลัย ขอ 28 การรับเขาศึกษา

28.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะเปนผูกําหนดเง่ือนไข วิธีการและจํานวนนักศึกษาท่ีจะรับในแตละสาขาวิชา และไดรับความเห็นชอบจากคณะและคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย

28.2 คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจใหความเห็นชอบในการรับบุคคลเขาศึกษาเปนกรณีพิเศษได ท้ังนี้ตองผานการพิจารณารับเขาจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะท่ีเกี่ยวของ

28.3 คณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจใหความเหน็ชอบในการรับผูมีพ้ืนความรูไมตํ่ากวาปริญญาบัณฑิต และมีคุณสมบัติตามขอ 26 เขาศึกษาหรือวิจัยโดยไมขอรับปริญญาเปนกรณีพิเศษเฉพาะรายได ท้ังนี้ตองผานการพิจารณารับเขาจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะท่ีเกี่ยวของ

28.4 ในกรณีท่ีผูสมัครกําลังรอผลการศึกษาขั้นปริญญาบัณฑิต หรือปริญญามหาบัณฑิต แลวแตกรณี การรับเขาศึกษาจะมีผลสมบูรณเมื่อผูสมัครสงหลักฐานการสําเร็จการศึกษาขั้นปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งตามท่ีหลักสูตรท่ีเขาศึกษานั้นกําหนด ภายในเวลาท่ีบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

28.5 การรับนักศึกษาตางชาติ ใหเปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน ขอ 29 การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา

การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 30 ประเภทของนักศึกษา แบงเปน 2 ประเภทคือ

30.1 นักศึกษาสามัญ คือ บุคคลท่ีบัณฑิตวิทยาลัยรับเขาเปนนักศึกษาโดยสมบูรณในแตละสาขาวิชา หรือรับเขาเปนนักศึกษาทดลองศึกษาตามเงื่อนไขของแตละสาขาวิชา ซึ่งเมื่อผานการประเมินผลหรือครบเง่ือนไขของแตละสาขาวิชา จึงจะไดรับเขาเปนนักศึกษาตามหลักสูตรในสาขาวิชาตาง ๆ เพ่ือรับปริญญา หรือประกาศนียบัตร

30.2 นักศึกษาวิสามัญ คือ บุคคลท่ีบัณฑิตวิทยาลัยรับเขาเปนนักศึกษา โดยไมขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร การดําเนินการเกี่ยวกับนักศึกษาวิสามัญใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

Page 88: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-82-

หมวดท่ี 6

การลงทะเบียนวิชาเรียน ขอ 31 การลงทะเบียนและการเพิ่มหรือถอนวิชาเรียน

31.1 การลงทะเบียนวิชาเรียนแบงออกเปน 2 ประเภทคือ 32.1.1 การลงทะเบียนโดยนับหนวยกิตและคิดคาคะแนน (Credit) 32.1.2 การลงทะเบียนโดยไมนับหนวยกิต (Audit)

31.2 การลงทะเบียนในภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาในหลักสูตรท่ีจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา ตองลงทะเบียนวิชาเรียนไมนอย

กวา 9 หนวยกิต และไมมากกวา 15 หนวยกิต นักศึกษาในหลักสูตรท่ีจัดแผนการศึกษาแบบไมเต็มเวลา ตองลงทะเบียนวิชาเรียนไม

นอยกวา 3 หนวยกิต และไมมากกวา 8 หนวยกิต นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ท่ีเขาศึกษาในภาคเรียนท่ี

หนึ่ง และนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ท่ียังสอบไมผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) อาจไดรับการยกเวนไมตองลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้นๆ โดยการอนุมัติของคณบดี ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ท้ังน้ีตองตอทะเบียนนักศึกษาและชําระคาธรรมเนียมการศึกษาเต็มตามอัตราท่ีกําหนด

31.3 ในภาคการศึกษาฤดูรอน นักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนไดไมเกิน 6 หนวยกิต 31.4 การลงทะเบียนวิชาเรียนนอยกวาหรือมากกวาท่ีกําหนดในขอ 31.2 และ 31.3 จะกระทําไดในกรณีท่ี

จํานวนหนวยกิตท่ีเหลือตามหลักสูตรมีจํานวนนอยกวา หรือมากกวาท่ีกําหนดไวขางตน และจําเปนตองสําเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้นๆ ท้ังนี้ตองไดรับอนุมติัจากคณบดีท่ีเกี่ยวของ ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

31.5 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนซ้ําเพ่ือคิดคาคะแนนในวิชาท่ีเคยลงทะเบียน และไดผลการเรียนต้ังแตระดับคะแนน B ขึ้นไปแลวมิได

ในกรณีท่ีนักศึกษาเรียนครบรายวิชาตามหลักสูตรแลว แตไดคะแนนเฉล่ียสะสมตํ่ากวา 3.00 จะสามารถลงทะเบียนวิชาเรียนซ้ําเพ่ือคิดคาคะแนนในวิชาท่ีเคยลงทะเบียนและไดผลการเรียนตํ่ากวาระดับคะแนน A ได

31.6 นักศึกษาท่ีเรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแลวแตยังไมสําเร็จการศึกษา และนักศึกษาท่ีลาพักการศึกษาจะตองชําระคาธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเปนนักศึกษาตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

31.7 นักศึกษาสามารถลงทะเบียนวิชาท่ีบรรจุอยูในแผนการเรียนตามหลักสูตร หรือรายวิชาท่ีเทียบเทาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นเพ่ือนับเปนวิชาตามแผนการเรียนตามหลักสูตรได เมื่อไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาทั่วไป และไดรับอนุมัติจากคณบดีท่ีเกี่ยวของ

ขอ 32 เกณฑการขอเพ่ิมและการถอนวิชาเรียน ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 33 การโอนหนวยกิตและคาคะแนนของรายวิชาท่ีไดศึกษามาแลวท้ังจากสถาบันการศึกษาอ่ืนและจาก

มหาวิทยาลัยขอนแกน ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 34 การเปล่ียนสาขาวิชา

Page 89: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-83-

นักศึกษาอาจขอเปล่ียนสาขาวิชาไดเมื่อศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแลวไมนอยกวา 8 หนวยกิต มีรายวิชาท่ีสามารถโอนเขาสาขาวิชาใหมไดไมนอยกวา 6 หนวยกิต และทุกวิชาท่ีจะขอโอนตองไดระดับคะแนน B ขึ้นไป หรือ S แลวแตกรณี และไดศึกษามาแลวไมเกิน 3 ป

สําหรับหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 และหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1 นกัศึกษาอาจขอเปล่ียนสาขาวิชาไดหลังจากท่ีไดลงทะเบียนเรียนแลวอยางนอย 1 ภาคการศึกษา และไดศึกษามาแลวไมเกิน 3 ป โดยมีศักยภาพในการทําวิทยานิพนธในสาขาวิชาใหมได

การดําเนินการเปล่ียนสาขาวิชาใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ขอ 35 การเปล่ียนระดับการศึกษา

นักศึกษาในหลักสูตรระดับท่ีตํ่ากวา อาจไดรับการพิจารณาใหโอนเขาศึกษาในหลักสูตรระดับท่ีสูงกวา หรือในทางกลับกัน นักศึกษาในหลักสูตรระดับท่ีสูงกวา อาจไดรับการพิจารณาใหโอนเขาศึกษาในหลักสูตรระดับท่ี ตํ่ากวาได ท้ังนี้ใหเปนไปตามเงื่อนไขท่ีกําหนดไวในหลักสูตรนั้นๆ และ/หรือประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

หมวดท่ี 7

การวัดและประเมินผลการศึกษา ขอ 36 การวัดและประเมินผลการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้

36.1 การสอบรายวิชา นักศึกษาจะตองสอบรายวิชาทุกรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียน เวนแตรายวิชาท่ีไดถอนโดยถูกตองตามระเบียบ ใหอาจารยประจําวิชาสงผลการสอบรายวิชาตามแบบฟอรมของสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ผานความเห็นชอบของภาควิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีท่ีเกี่ยวของ แลวแจงใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ

36.2 การสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) เปนการสอบขอเขียนหรือการสอบปากเปลา หรือการสอบทั้งสองแบบขางตน สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข การสอบประกอบดวยวิชาในสาขาวิชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาท่ีเกี่ยวของ โดยใหมีคณะกรรมการสอบประมวลความรูซึ่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอคณบดีเปนผูพิจารณาแตงตั้ง

36.3 การสอบวิทยานิพนธ เปนการสอบเพ่ือประเมินผลงานวิทยานิพนธของนักศึกษาในหลักสูตรปริญญา มหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ประกอบดวย การตรวจอานและประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบความรูของนักศึกษาดวยวิธีการสอบปากเปลา และการประชุมพิจารณาผลงานของกรรมการ โดยใหมคีณะกรรมการสอบวิทยานิพนธเปนผูสอบ

36.4 การสอบการศึกษาอิสระ เปนการสอบเพ่ือประเมินผลงานการศึกษาอิสระของนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข โดยคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ประกอบดวย การตรวจอานและประเมินคุณภาพผลงาน การทดสอบความรูของนักศึกษาดวยวิธีการสอบปากเปลา และการประชุมตัดสินผลงานของกรรมการ

36.5 การสอบวัดคุณสมบัติ เปนการสอบขอเขียน หรือการสอบปากเปลา หรือท้ังสองแบบในสาขาวิชาเอกและสาขาวิชาอ่ืนท่ีเกี่ยวของ สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรปรญิญาดุษฎีบัณฑิต เพ่ือประเมินวานักศึกษามีความสามารถท่ีจะดําเนินการวิจัยโดยอิสระ โดยใหมีคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติเปนผูสอบ ใหผูสอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ มีสิทธิ์เสนอขออนุมัติเคาโครงวิทยานิพนธในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได

Page 90: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-84-

36.6 การประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ สําหรับนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ 37 การสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ และการประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ ตามขอ 36.2, 36.5, 36.6 ใหบัณฑิตวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูกําหนดหลักเกณฑและวิธีการ

ขอ 38 นักศึกษาท่ีทําการทุจริตในการสอบ ใหดําเนินการตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวยการสอบประจําภาคของนักศึกษา พ.ศ 2547 หรือระเบียบอื่นท่ีจะมีการแกไข โดยอนุโลม

ขอ 39 การประเมินผลการศึกษา ใหกระทําเมื่อส้ินภาคการศึกษาแตละภาค ขอ 40 การประเมินผลรายวิชา ใหกําหนดระดับคะแนนหรือสัญลักษณ ซึ่งมีความหมาย และคาคะแนนดังนี้ ระดับคะแนน ความหมาย คาคะแนนตอหนวยกิต A ผลการประเมินขั้นดีเย่ียม (Excellent) 4.0 B+ ผลการประเมินขั้นดีมาก (Very Good) 3.5 B ผลการประเมินขั้นดี (Good) 3.0 C+ ผลการประเมินขั้นคอนขางดี (Fairly Good) 2.5 C ผลการประเมินขั้นพอใช (Fair) 2.0 D+ ผลการประเมินขั้นออน (Poor) 1.5 D ผลการประเมินขั้นออนมาก (Very Poor) 1.0 F ผลการประเมินขั้นตก (Failed) 0 สัญลักษณ ความหมาย

I การวัดผลยังไมสมบูรณ (Incomplete) ใชสําหรับรายวิชาท่ีมีคาคะแนน ในกรณีใดกรณีหนึ่งตอไปนี้ (1) นักศึกษาไมสามารถเขาสอบโดยเหตุสุดวิสัยหรือ (2) นักศึกษายังปฏิบัติงานไมครบเกณฑตามท่ีผูสอนกําหนด

ท้ังนี้ ตองไดรับอนุมัติจากคณบดีท่ีเกี่ยวของ S ผลการศึกษาเปนท่ีพอใจ (Satisfactory) ใชสําหรับรายวิชาท่ีลงทะเบียนโดยไมนับหนวยกิต (Audit) U ผลการศึกษายังไมเปนท่ีพอใจ (Unsatisfactory) ใชสําหรับรายวิชาท่ีลงทะเบียนโดยไมนับหนวยกิต W ถอนวิชาเรียนแลว (Withdrawn) ใชสําหรับรายวิชาท่ีไดรับอนุมัติใหถอนหรือใชในกรณีท่ีนักศึกษา

ไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา หรือใชในกรณีท่ีนักศึกษาถูกส่ังพักการศึกษาในภาคการศึกษาน้ัน ขอ 41 การประเมินผลการสอบประมวลความรู การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบภาษาตางประเทศ ใหเปนดังนี้ S (Satisfactory) หมายความวา สอบผาน U (Unsatisfactory) หมายความวา สอบไมผาน

การสอบประมวลความรูและการสอบวัดคุณสมบัติจะสอบไดไมเกิน 2 ครั้ง ในแตละหลักสูตร สําหรับการสอบภาษาตางประเทศ ไมจํากัดจํานวนคร้ังท่ีสอบ

ขอ 42 นักศึกษาท่ีไดระดับคะแนนต่ํากวา C หรือได U แลวแตกรณี ในหมวดวิชาบังคับถือวาตํ่ากวามาตรฐาน ใหลงทะเบียนเรียนซ้ํา

ขอ 43 การนับจํานวนหนวยกิตและคํานวณคะแนนเฉล่ียสะสม 43.1 ในกรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนวิชาใดวิชาหนึ่งมากกวา 1 ครั้ง ใหนับจํานวนหนวย

กิตตามหลักสูตรในวิชานั้นเพียงครั้งเดียว

Page 91: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-85-

43.2 ในการคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average) ใหคํานวณจากทุกรายวิชาท่ีมีคาคะแนน ในกรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาใดมากกวา 1 ครั้ง ใหนําจาํนวนหนวยกิตและคาคะแนนที่ไดทุกครั้งไปใชในการคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม การคํานวณคะแนนเฉลี่ยสะสมใหต้ังหารถึงทศนิยม 4 ตําแหนง และใหปดเศษเฉพาะทศนิยมท่ีมีคาต้ังแต 5 ขึ้นไป ต้ังแตตําแหนงท่ี 4 เพ่ือใหเหลือทศนิยม 2 ตําแหนง

หมวดท่ี 8

การทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ขอ 44 การลงทะเบียนวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระกระทําไดเมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติครบตามที่แตละหลักสูตร

กําหนด โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ท้ังนี้ หลักเกณฑอ่ืนๆ ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

ขอ 45 การควบคุมวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ใหมีอาจารยท่ีปรึกษาหลัก 1 คน และอาจมีอาจารยท่ีปรึกษารวมไดอีกตามความเหมาะสมแตละกรณี

ท้ังนี้ใหเปนไปตามประกาศหรือขอกําหนดของแตละคณะ (ถามี) ขอ 46 การประเมินผลความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ

46.1 การประเมินผลความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตองกระทําในทุกภาคการศึกษา

46.2 อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ มีหนาท่ีในการประเมินผลความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา และรายงานผลการประเมินตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะ และสํานักบรหิารและพัฒนาวิชาการ

46.3 ใชสัญลักษณ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเปนท่ีพอใจ ใหอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระประเมินความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา โดยระบุจํานวนหนวยกิตวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระท่ีไดรับการประเมินใหไดสัญลักษณ S ของนักศึกษาแตละคนในแตละภาคการศึกษานั้น แตท้ังนี้ตองไมเกนิจํานวนหนวยกิตท่ีลงทะเบียน (หากผลการประเมินพบวาไมมีความกาวหนา จํานวนหนวยกิตท่ีไดในภาคการศึกษานั้นๆ ใหมีคาเปน S เทากับ 0 (ศูนย))

ตนฉบับรางวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระท่ีพรอมนําเสนอคณะกรรมการสอบ และตนฉบับผลงานวิทยานิพนธ ท่ีตองตีพิมพหรือเผยแพรตามเง่ือนไขท่ีหลักสูตรกําหนด ใหถือเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ซึ่งตองกําหนดจํานวนหนวยกิต ตามความเหมาะสมแลวแตกรณี

46.4 นักศึกษาท่ีลงทะเบียนวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระแลว ไดรับการประเมินผลความกาวหนาเปน S เทากับ 0 (ศูนย) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ควรพิจารณาหาสาเหตุ ซึ่งอาจใหนักศึกษาผูนั้นไดรับการพิจารณาใหเปล่ียนหัวขอเรื่องวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระหรือเปล่ียนอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ หรืออ่ืนๆแลวแตกรณี และประธานหลักสูตรตองรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาตอคณบดีเพ่ือหาขอยุติ

ขอ 47 ในกรณีท่ีนักศึกษาใดรับอนุมัติใหเปล่ียนหัวขอวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ซึ่งมีผลตอการเปล่ียนแปลงสาระสําคัญของเนื้อหาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ใหอาจารยท่ีปรึกษาประเมินจํานวนหนวยกิตจาก หัวขอเดิม ท่ีสามารถนําไปใชกับหัวขอใหมได แตตองไมเกินจํานวนหนวยกิตท่ีผานในหัวขอเดิม ท้ังนี้ใหนับ

Page 92: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-86-

จํานวนหนวยกิตดังกลาว เปนจํานวนหนวยกิตท่ีผานไดสัญลักษณ S ซึ่งสามารถนํามานับเพ่ือสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได โดยตองไดรับอนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พรอมท้ังใหคณะแจงหนวยงานรับผิดชอบดานทะเบียนการศึกษา ภายใน 15 วัน และใหบันทึกการเปล่ียนแปลงในประวัติการศึกษา

ขอ 48 การสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 48.1 การสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ตองดําเนินการภายในเวลา 45 วัน หลังจากท่ีนักศึกษา

ผานการประเมินผลความกาวหนาและไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิตรายวิชาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้นๆ

ในการรายงานการประเมินผลความกาวหนาคร้ังสุดทายซึ่งนักศึกษาผานและไดสัญลักษณ S ครบตามจํานวนหนวยกิตรายวิชาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้น อาจารยท่ีปรึกษาตองเสนอใหคณบดีแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ รวมท้ังใหเสนอวันท่ีจะทําการสอบไปพรอมกันดวย

ในกรณีท่ีไมสามารถดําเนินการสอบไดภายใน 45 วัน ใหถือวา การไดสัญลักษณ S ในคร้ังการประเมินครั้งสุดทายเปนโมฆะ

48.2 การสอบวิทยานิพนธ 48.2.1 ใหคณะแตงตั้งคณะกรรมการสอบ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยซึ่ง

ไมไดเปนอาจารยท่ีปรึกษารวมไมนอยกวา 1 คน อาจารยประจํา ซึ่งไมไดเปนอาจารยท่ีปรึกษาไมนอยกวา 1 คน และอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ท้ังนี้อาจแตงตั้งอาจารยท่ีปรึกษารวม (ถามี) เปนกรรมการสอบดวยก็ได โดยใหกรรมการคนใดคนหนึ่งซึ่งไมใชอาจารยท่ีปรึกษาเปนประธานคณะกรรมการสอบ

อาจารยประจําและผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ท่ีเปนกรรมการสอบวิทยานิพนธ ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมตํ่ากวา รองศาสตราจารยในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธกัน และตองมีประสบการณในการทําวิจัยท่ีมิใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา

ในกรณีท่ีมีความจําเปน คณบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยอาจแตงตั้งผูเชี่ยวชาญเฉพาะเปนกรรมการสอบได ท้ังนี้ใหเปนไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

48.2.2 การสอบวิทยานิพนธ ตองเปนแบบเปด โดยการเปดใหผูสนใจเขารับฟงการนําเสนอและตอบคําถามของผูเขาสอบได และคณะวิชาตองประกาศใหผูสนใจทราบกอนการสอบไมนอยกวา 7 วัน

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธมีอํานาจ ในการอนุญาตหรือไมอนุญาตใหผูเขาฟงถามหรือแสดงความเห็นท่ีเกี่ยวของกับเนื้อหาของวิทยานิพนธ รวมท้ังการจํากัดเวลาการถาม และการควบคุมใหดําเนินการสอบเปนไปโดยเรียบรอย

48.2.3 ในวันสอบ จะตองมีคณะกรรมการสอบไมนอยกวา 3 คน ซึ่งประกอบดวย อาจารยประจําซึ่งไมไดเปนอาจารยท่ีปรึกษารวม ผูทรงคุณวุฒิภายนอกซึ่งไมไดเปนอาจารยท่ีปรึกษารวม และอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ จึงจะถือวาการสอบนั้นมีผลสมบูรณ

ถาคณะกรรมการสอบไมครบตามจํานวนดังกลาวขางตน ใหเล่ือนการสอบออกไป ในกรณีท่ีจําเปนอาจเปล่ียนแปลงกรรมการได โดยใหคณะแตงตั้งซอมกรรมการ ท้ังนี้

Page 93: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-87-

จะตองกําหนดวันสอบคร้ังใหมใหมีเวลาพอสมควรแกการท่ีกรรมการที่แตงตั้งซอมขึ้นใหม จะไดใชตรวจอานวิทยานิพนธได

48.2.4 ผูประเมินผลการสอบตองเปนกรรมการสอบท่ีอยูรวมในวันสอบ การประเมินผลโดยใหนับ(คณะ)อาจารยท่ีปรึกษาเปน 1 เสียง (คณะ)อาจารยประจําเปน 1 เสียง และ(คณะ) ผูทรงคุณวุฒิเปน 1 เสียง และใหถือผลการประเมินตามมติกรรมการจํานวนไมนอยกวา 2 ใน 3 เสียงของจํานวนกรรมการทั้งหมด

48.3 การสอบการศึกษาอสิระ 48.3.1 ใหคณะแตงตั้งคณะกรรมการสอบ ประกอบดวย อาจารยประจําหรือผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไมได

เปนอาจารยท่ีปรึกษารวมไมนอยกวา 1 คน อาจารยท่ีปรึกษาการศึกษาอิสระ และอาจารย ท่ีปรึกษารวม (ถามี) โดยใหกรรมการคนใดคนหนึ่งเปนประธานคณะกรรมการสอบ

48.3.2 ในวันสอบ จะตองมีคณะกรรมการสอบไมนอยกวา 2 คน ซึ่งประกอบดวย อาจารยประจําหรือผูทรงคุณวุฒิซึ่งไมไดเปนอาจารยท่ีปรึกษารวม และอาจารยท่ีปรึกษาการศึกษาอิสระ จึงจะถือวาการสอบนั้นมีผลสมบูรณ

ถาคณะกรรมการสอบไมครบตามจํานวนดังกลาวขางตน ใหเล่ือนการสอบออกไป ในกรณีท่ีจําเปนอาจเปล่ียนแปลงกรรมการได โดยใหคณะแตงตั้งซอมกรรมการ ท้ังนี้จะตองกําหนดวันสอบคร้ังใหมใหมีเวลาพอสมควรแกการท่ีกรรมการที่แตงตั้งซอมขึ้นใหม จะไดใชตรวจอานรายงานการศึกษาอิสระได

48.3.3 ผูประเมินผลการสอบตองเปนกรรมการสอบทุกคน การประเมินผลโดยอาจารยท่ีปรึกษาและอาจารยท่ีปรึกษารวมใหนับคะแนนเปน 1 เสียง และใหถือผลการประเมินตามมติกรรมการจํานวนไมนอยกวา 2 ใน 3 เสียงของจํานวนกรรมการทั้งหมด

ขอ 49 การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ แบงเปน 4 ระดับคือ Excellent หมายความวา ผลการประเมินขั้นดีเย่ียม

Good หมายความวา ผลการประเมินขั้นดี Pass หมายความวา ผลการประเมินขั้นผาน Fail หมายความวา ผลการประเมินขั้นตก

การสอบตามนัยนี้จะสอบไดไมเกิน 2 ครั้ง ขอ 50 ใหประธานคณะกรรมการสอบแจงผลการสอบเปนลายลักษณอักษรแกคณบดีและผูเขาสอบภายใน 3 วันทํา

การถัดจากวันสอบ 50.1 ในกรณีสอบผานแตตองมีการแกไขใหมีบันทึกประเด็นหรือรายการท่ีตองแกไข พรอมท้ังมีการ

อธิบายชี้แจงใหผูเขาสอบรับทราบ ท้ังนี้ผูเขาสอบตองแกไขใหแลวเสร็จ และคณะกรรมการสอบใหความ เห็นชอบภายใน 45 วันนับจากวันสอบ หากไมสามารถดําเนินการไดทันตามกําหนดดังกลาวใหถือวาไมผานในการสอบคร้ังนั้น ใหคณะกรรมการสอบรายงานผลขั้นสุดทายตอคณบดี

50.2 กรณีสอบไมผานคณะกรรมการตองสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไมใหผาน โดยบันทึกเปน ลายลักษณอักษร รายงานตอคณบดีภายใน 3 วันทําการถัดจากวันสอบ

ใหคณะแจงผลการสอบใหสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน ขอ 51 หากนักศึกษาขาดสอบโดยไมมีเหตุสุดวิสัย ใหถือวาสอบไมผานในการสอบคร้ังนั้น ขอ 52 ผูสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไมผานตามขอ 50.2 มีสิทธิย่ืนขอสอบคร้ังท่ี 2 ไดภายใน 15

วันหลังวันสอบ และตองสอบภายใน 60 วันหลังวันสอบ

Page 94: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-88-

ในกรณีท่ีไมผานการสอบตามนัยแหงขอ 50.1 ใหย่ืนขอสอบครั้งท่ี 2 ภายใน 15 วันหลังวันครบกําหนดการแกไข และตองสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกําหนดการแกไข

การขอสอบท้ัง 2 กรณี ตองเสียคาธรรมเนียมหรือคาลงทะเบียนสอบตามที่คณะกําหนด หากไมดําเนินการตามกําหนดขางตน ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา การใหโอกาสสอบคร้ังท่ี 2 นี้ ไมเปนเหตุใหไดรับการยกเวน หรือมิตองปฏิบัติตามระเบียบหรือ

หลักเกณฑท่ีกําหนดไวท่ีอ่ืนแตอยางใด ขอ 53 รูปแบบการพิมพ การสงเลม และลิขสิทธิ์ในวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระ

53.1 รูปแบบการพิมพวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระ ใหเปนไปตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 53.2 นักศึกษาตองสงวิทยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณตามจํานวน ลักษณะ และ

ระยะเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 53.3 ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรในวทิยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระ เปนของมหาวิทยาลัยขอนแกน

นักศึกษาและ/หรืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระเรื่องนั้นๆ สามารถนําไปเผยแพรในเชิงวิชาการได แตการนําเนื้อหาหรือผลจากการศึกษาไปใชเพ่ือประโยชนอ่ืน ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

กรณีท่ีการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระไดรับทุนวิจัยท่ีมีขอผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรโดยไดรับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ใหดําเนินการตามขอผูกพันนั้นๆ

หมวดท่ี 9

การสําเร็จการศึกษา ขอ 54 การสําเร็จการศึกษา

นักศึกษาจะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติตอไปนี้ 54.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 54.1.1 สอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตร 54.1.2 ไดคะแนนเฉล่ียสะสมของรายวิชาตามหลักสูตร ไมตํ่ากวา 3.00 54.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

54.2.1 มีความรูภาษาอังกฤษผานเกณฑมาตรฐาน ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 54.2.2 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดย

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการ หรือเสนอตอท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม

54.2.3 แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถวนตามที่กําหนดในหลักสูตร ไดคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา 3.00 พรอมท้ังเสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการ หรือเสนอตอท่ีประชุมวิชาการท่ีมีรายงานการประชุม

54.2.4 แผน ข ศึกษารายวิชาครบถวนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร ไดคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา 3.00 สอบผานการสอบการศึกษาอิสระ และสอบผานการสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) ดวยขอเขียนและ/หรือปากเปลาในสาขาวิชานั้น

Page 95: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-89-

54.3 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต 54.3.1 ผานเกณฑการประเมินความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ ตามประกาศของ

บัณฑิตวิทยาลัย 54.3.2 สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) 54.3.3 แบบ 1 เสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดยคณะกรรมการ

สอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสาร หรือส่ิงพิมพทางวิชาการท่ีมกีรรมการภายนอกรวมกล่ันกรอง (Peer Review) กอนการตีพิมพ และเปนท่ียอมรับในสาขาวิชานั้น

54.3.4 แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถวนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร ไดคะแนนเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา 3.00 พรอมท้ังเสนอวิทยานิพนธ และสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทาย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ และผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดําเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงานไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสาร หรือส่ิงพิมพทางวิชาการท่ีมีกรรมการภายนอกรวมกล่ันกรอง (Peer Review) กอนการตีพิมพ และเปนท่ียอมรับในสาขาวิชานั้น

ขอ 55 สําหรับนักศึกษาที่ศึกษาในหลักสูตรซึ่งกําหนดใหการตีพิมพผลงานวิทยานิพนธเปนสวนหนึ่งของเง่ือนไขใน

การสําเร็จการศึกษาและนักศึกษาไดดําเนินการจนผานเง่ือนไขการสําเร็จการศึกษาอ่ืนๆ ครบถวนแลวแตอยูในระหวางรอการยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการท่ีหลักสูตรกําหนดและนักศึกษาไดใชเวลาในการศึกษาครบตามระยะเวลาที่กําหนดในขอ 14 แลว นักศึกษาสามารถยื่นคํารอง ขอขยายเวลาการศึกษาไดครั้งละ 1 ภาคการศึกษา แตไมเกิน 2 ครั้ง ท้ังนี้ใหเปนไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

ใหคณะกรรมการประจําคณะเปนผูอนุมัติการสําเร็จการศึกษา และใหถือวันท่ีไดรับอนุมัตินั้นเปนวันสําเร็จการศึกษา

ขอ 56 การขออนุมัติปริญญา 56.1 นักศึกษาผูคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในแตละภาคการศึกษา ใหย่ืนคํารองแสดงความจํานงขอสําเร็จ

การศึกษาตอคณะลวงหนาอยางนอย 30 วัน กอนวันส้ินภาคการศึกษาท่ีคาดวาจะสําเร็จการศึกษานั้น

56.2 นักศึกษาท่ีจะไดรับการพิจารณาเสนอชื่อจากคณะเพ่ือขออนุมัติปริญญาตอสภามหาวิทยาลัยตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 56.2.1 เปนผูสําเร็จการศึกษาตามขอ 54 56.2.2 ไมคางชําระคาธรรมเนียมตางๆ หรือมีหนี้สินกับมหาวิทยาลัยหรือคณะ 56.2.3 เปนผูไมอยูในระหวางการดําเนินการทางวินัยนักศึกษา 56.2.4 สงวทิยานิพนธหรือรายงานการศึกษาอิสระและเอกสารอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ ท่ีจัดทําตาม

รูปแบบและจํานวนที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด 56.2.5 การเสนอชื่อผูสําเร็จการศึกษาเพ่ือขออนุมัติปริญญาตอสภามหาวิทยาลัย ใหเปนไปตามที่

มหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 57 ในกรณีท่ีมีเหตุผลท่ีจําเปนและสมควร มหาวิทยาลัยอาจพิจารณามิใหผูสําเร็จการศึกษาผูหนึ่งผูใดเขารับ

พระราชทานปริญญาบัตรก็ได ท้ังนี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 58 การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร

Page 96: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-90-

สภามหาวิทยาลัยอาจพิจารณาเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรซึ่งไดอนุมัติแกผูสําเร็จการศึกษาผูหนึ่งผูใดไปแลวตามกรณีดังตอไปนี้ 58.1 ผูสําเร็จการศึกษาผูนั้น ไมมีคณุสมบัติครบถวนตามนัยของคุณสมบัติผูมีสิทธิเขาศึกษา หรือผูสําเร็จ

การศึกษา ของหลักสูตรท่ีตนไดสําเร็จการศึกษา ตามขอ 26 หรือ ขอ 54 แหงระเบียบนี้ การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร มีผลตั้งแตวันท่ีสภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรใหกับบุคคลนั้น

58.2 วิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ หรือผลงานทางวิชาการอื่นท่ีเปนองคประกอบสําคัญตอการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ของผูสําเร็จการศึกษาผูนั้น ลอกเลียนงานผูอ่ืน หรือมิไดกระทําดวยตนเอง การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร ใหมีผลตั้งแตวันท่ีสภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรใหกับบุคคลนั้น

58.3 ผูสําเร็จการศึกษาผูนั้นไดกระทําการอันเปนท่ีเส่ือมเสียรายแรงตอมหาวิทยาลัย หรือตอศักด์ิศรีแหงปริญญาหรือประกาศนียบัตรท่ีตนไดรับ การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรในกรณีนี้ ใหมี ผลต้ังแตวันท่ีสภามหาวิทยาลัยมีมติเพิกถอน

หมวดท่ี 10

สถานภาพของนักศึกษา ขอ 59 การลาพักการศึกษา และการลาออกของนักศึกษา

59.1 นักศึกษาผูประสงคจะลาพักการศึกษาตองยื่นคํารองตอคณะที่เกี่ยวของ โดยผานการพิจารณาของอาจารยท่ีปรึกษาทั่วไป หรืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ และประธานหลักสูตร เพ่ือเสนอคณบดีพิจารณาอนุมัติ

59.2 การลาพักการศึกษาใหลาพักไดไมเกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ ตลอดหลักสูตร 59.3 นักศึกษาผูไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษาตองชําระคาธรรมเนียมสําหรับรักษาสถานภาพการเปน

นักศึกษาภายใน 15 วัน หลังจากที่ไดรับอนมุัติใหลาพักการศึกษา 59.4 นักศึกษาผูประสงคจะลาออกจากการเปนนักศึกษาตองยื่นคํารองตอคณะท่ีเกี่ยวของ โดยผาน การพิจารณาของอาจารยท่ีปรึกษาท่ัวไปหรืออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ประธานหลักสูตร และ คณบดี เพ่ือเสนออธิการบดีพิจารณาอนุมัติ

ขอ 60 การพนสภาพการเปนนักศึกษา นักศึกษาจะพนสภาพการเปนนักศึกษาตอเมื่ออยูในกรณีใดกรณีหนึ่งดังตอไปนี้

60.1 ตาย 60.2 ลาออกและไดรับอนุมัติแลว 60.3 สําเร็จการศึกษา 60.4 มหาวิทยาลัยส่ังใหออก อันเนื่องมาจากการฝาฝนระเบียบการลงทะเบียนและการชําระคาธรรมเนียม

การศึกษา 60.5 เรียนไดจํานวนหนวยกิตไมเกินกึ่งหนึ่งจากจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาท่ีมีคาคะแนนใน

หลักสูตร และไดคะแนนเฉล่ียสะสม ตํ่ากวา 2.50 60.6 เรียนไดจํานวนหนวยกิตเกินกึ่งหนึ่งจากจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาท่ีมีคาคะแนนในหลักสูตร

และไดคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวา 2.75

Page 97: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-91-

60.7 ไมมีความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดตอกัน โดยไดสัญลักษณ S เปน 0 ติดตอกัน 2 ภาคการศึกษา

60.8 สอบวิทยานิพนธ หรือสอบประมวลความรู หรือสอบการศึกษาอิสระ หรือสอบวัดคุณสมบัติครั้งท่ีสองไมผาน

60.9 หลังสอบคร้ังท่ี 1 ไมผาน ไมดําเนินการและ/หรือสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระครั้งท่ี 2 ตามระยะเวลาที่กําหนด

60.10 ใชเวลาการศึกษาครบตามท่ีหลักสูตรกําหนดแลว 60.11 นักศึกษาสามัญท่ีคงสภาพเปนนักศึกษาทดลองศึกษาเกินระยะเวลาที่กําหนด 60.12 ตองคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหจําคุก เวนแตความผิดท่ีเปนลหุโทษหรือความผิดอันไดกระทําโดย

ประมาท 60.13 ถูกลงโทษทางวินัยใหออกจากการเปนนักศึกษา

ขอ 61 การขอกลับเขาเปนนักศึกษา นักศึกษาท่ีพนสภาพการเปนนักศึกษาตามขอ 60.2 และ 60.4 อาจขอสถานภาพการเปนนักศึกษา

คืนได ท้ังนี้ ใหเปนไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

หมวดท่ี 11 บทเฉพาะกาล

ขอ 62 หลักสูตรใหม หรือหลักสูตรปรับปรุงท่ีไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยขอนแกน กอนวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ใหใชเกณฑมาตรฐานท่ีเกี่ยวของกับหลักสูตร ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2544 ท้ังนี้หลักสูตรตองไดรับการปรับปรุงและใชระเบียบนี้ภายใน 5 ป นับจากการปรับปรุงครั้งสุดทาย หรือเปดสอนคร้ังแรกของหลักสูตรนั้นๆแลวแตกรณี

ขอ 63 ใหยกเวนการบังคับใชขอ 14, 54 และ 60 กับนักศึกษาท่ีเขาศึกษากอนปการศึกษา 2548 โดยใหใชเกณฑท่ีเกี่ยวของดังกลาวตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2544 แทน

ขอ 64 อาจารยท่ีปรึกษาหรือกรรมการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ ท่ีไดรับการแตงตั้งกอนการประกาศใชระเบียบนี้ ใหยังคงเปนอาจารยท่ีปรึกษาหรือกรรมการสอบที่ไดรับการแตงตั้งนั้นตอไป

ขอ 65 บรรดาประกาศ หรือคําส่ัง หรือหลักเกณฑอันเกี่ยวของกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีมีอยูกอนระเบียบนี้มีผลบังคับใช ใหยังคงมีผลบังคับใชตอไป จนกวาจะไดมีการปรบัปรุงแกไขใหเปนไปตามระเบียบนี้ ท้ังนี้ตองดําเนินการใหแลวเสรจ็ภายใน 180 วัน หลังวันประกาศใชระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

(ลงชื่อ) พลตํารวจเอก เภา สารสิน (เภา สารสิน) นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 98: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-92-

ภาคผนวก จ  

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 22/2550)

เรื่อง การเทยีบโอนรายวิชา และคาคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา

จากการศึกษาในระบบ

Page 99: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-93-

Page 100: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-94-

Page 101: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-95-

Page 102: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-96-

ภาคผนวก ฉ  

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแกน วาดวย การลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541

Page 103: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-97-

Page 104: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-98-

Page 105: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-99-

ภาคผนวก ช  

ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแกน (ฉบับที่ 946/2550) 

เรื่อง แนวปฏิบัติในการขออุทธรณผลการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ

Page 106: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-100-

Page 107: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-101-

Page 108: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-102-

ภาคผนวก ซ 

 องคประกอบและตัวชี้วัดคุณภาพการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ตามระบบ

การประเมินผลการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 109: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-103-

1 ตัวช้ีวัดตามตัวบงช้ีของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554 2555 2556 2557 2558

1. อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80

มีสวนรวมในการประชุมเพ่ือวางแผน

ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

x x x x x

2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.

2 ท่ีสอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

แหงชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/

สาขาวิชา (ถามี)

x x x x x

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียด

ของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตาม

แบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอยกอน

การเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบ

ทุกรายวิชา

x x x x x

4. จัดทํารายงานผลการดาํเนินการของรายวิชา

และรายงานผลการดําเนินการของ

ประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ

มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง

ส้ินสุดภาคการศึกษาท่ีเปดสอนใหครบทุก

รายวิชา

x x x x x

5. จัดทํารายงานผลการดาํเนินการของหลักสูตร

ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังส้ินสุด

ปการศึกษา

x x x x x

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม

มาตรฐานผลการเรียนรู ท่ีกําหนดใน มคอ.3

และมคอ.4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25

ของรายวิชาท่ีเปดสอนในแตละปการศึกษา

x x x x x

7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจดัการเรียนการ

สอน กลยุทธการสอน หรือ การประเมินผล

การเรียนรู จากผลการประเมินการ

ดําเนนิงานท่ีรายงานใน มคอ.7 ปท่ีแลว

x x x x

8. อาจารยใหม (ถามี) ทุกคน ไดรับการ

ปฐมนิเทศหรือคําแนะนาํดานการจัดการ

x x x x x

Page 110: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-104-

ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2554 2555 2556 2557 2558

เรียนการสอน

9. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทาง

วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อยางนอยปละ

หนึ่งคร้ัง

x x x x x

10. จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

(ถามี) ไดรับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือ

วิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ตอป

x x x x x

11. ระดับความพงึพอใจของนักศึกษาป

สุดทาย/บัณฑติใหมท่ีมีตอคณุภาพ

หลักสูตร เฉล่ียไมนอยกวา 3.5 จาก

คะแนนเต็ม 5.0

x x

12. ระดับความพงึพอใจของผูใชบัณฑิตท่ีมีตอ

บัณฑิตใหม เฉล่ียไมนอยกวา 3.5 จาก

คะแนนเต็ม 5.0

x

รวมตัวบงช้ี(ขอ)ในแตละป 9 10 10 11 12

ตัวบงช้ีบังคบั (ขอท่ี) 1-5 1-5 1-5 1-5 1-5

ตัวบงช้ีตองผานรวม (ขอ) 1-6 และ 8-10

1-10 1-10 1-11 1-12

Page 111: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-105-

2. องคประกอบและตัวช้ีวัดคุณภาพของการจัดการหลักสูตร

องคประกอบและตัวช้ีวัดคุณภาพของการจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จัดแบงตาม

กระบวนการจัดการหลักสูตร 3 กระบวนการ คือ การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การนําหลักสูตรไปใช

และการประเมินผลการใชหลักสูตร มีองคประกอบ 8 องคปะกอบ และตัวช้ีวัด 27 ตัวช้ีวัด ดังนี้

องคประกอบ หลักสูตรระดับบัณฑิตศกึษา

ตัวช้ีวัด จํานวน

1. การพัฒนาหลักสูตร

1.1 คุณภาพของหลักสูตร 1.1.1 1

2.การนําหลักสูตรไปใช

2.1 คุณภาพของการบริหาร

หลักสูตร

2.1.1,2.1.2 2

2.2 คุณภาพของนักศึกษา 2.2.1,2.2.2,2.2.3,2.2.4,2.2.5 5

2.3 คุณภาพของอาจารย 2.3.1,2.3.2,2.3.3,2.3.4,2.3.5,2.3.6,2.3.7 7

2.4 คุณภาพการเรียนการสอน 2.4.1,2.4.2,2.4.3 3

2.5 คุณภาพของการจัดกิจกรรม

สงเสริมการเรียนการสอน

2.5.1,2.5.2 2

3.การประเมินผลการใชหลักสูตร

3.1 คุณภาพของบัณฑิต 3.1.1,3.1.2,3.1.3,3.1.4 4

3.2 คุณภาพของผลงานวิชาการ

และวิทยานิพนธ

3.2.1,3.2.2,3.2.3 3

รวมตัวช้ีวัด 27

Page 112: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-106-

3. รายละเอียดขององคประกอบและตัวช้ีวัดคุณภาพของการจัดการหลักสูตร

องคประกอบ ตัวช้ีวัด

1. การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร หมายถึง ภารกิจท่ีผูรับผิดชอบหลักสูตรตองดําเนินการเพ่ือให

หลักสูตรและรายวิชาในหลักสูตรท่ีเปดสอนมีความทันสมัย คุณภาพและไดมาตรฐาน ตอบสนองเปาหมาย

การผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะกําหนด

1.1 คุณภาพหลักสูตร 1.1.1 หลักสูตรไดรับการพัฒนาหรือปรับปรุงให

สอดคลองกับความตองการของตลาดงานและสังคม

ความเปล่ียนแปลงทางดานวิชาการเปาหมาย

คุณ ลักษณะบัณฑิ ต ท่ี พึ งประสงค และ เกณฑ

มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ

1.1.2 หลักสุตรมีรายวิชาสหกิจศึกษาหรือขอ

กํ าหนดใหนั กศึ กษาฝ กป ฏิบั ติ ง าน ในสถาน

ประกอบการและ รายวิชาวิจัยหรือโครงงานหรือ

สัมมนาท่ีสงเสริมกระบวนการวิจัยและการศึกษา

คนควาดวยตนเองของนักศึกษา

2. การนําหลักสูตรไปใช หมายถึง ภารกิจท่ีผูรับผิดชอบหลักสูตรตองดําเนินการเพ่ือใหกระบวนการจัดการหลักสูตรการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมตางๆ รวมท้ังปจจัยหลักในการผลิตบัณทิตท่ีมีคุณภาพ

เปนไปตามเปาหมายที่กําหนด

2.1 คุณภาพของการบริหารหลักสูตร 2.1.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมี

องคประกอบคุณสมบัต ิ จาํนวน และอํานาจหนาท่ี

ตามเกณฑมาตรฐานและระเบียบท่ีเก่ียวของ

2.1.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีการประชุม

อยางสมํ่าเสมอ เพ่ือพิจารณาและตัดสินใจรวมกัน

ในเร่ืองตางๆ เก่ียวกับการจัดการหลักสูตร

2.2 คุณภาพของนักศึกษา 2.2.1 สัดสวนจํานวนผูสมัคร: จํานวนประกาศรับ:

จํานวนผูรายงานตัวเขาศึกษา

2.2.2 คาเฉล่ีย GPA ของผูเขาศึกษาในแตละป ป.

ตรี เฉพาะรับตรง Admission สําหรับบริหารฯ

โครงการพิเศษ (คณะ) บัณฑิตศึกษา (บัณฑิต

วิทยาลัย)(กรณีไมแยกสาขาใหใชคาเฉล่ียของการ

รับในทุกสาขานั้น เชน วิศวกรรมท่ัวไป เกษตร

ท่ัวไป)

2.2.3 คาเฉล่ียคะแนนผลการสอบวิชาภาษาอังกฤษ

Page 113: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-107-

องคประกอบ ตัวช้ีวัด

ของผูเขาศึกษาในแตละป (กรณีไมแยกสาขาใหใช

คาเฉล่ียของการรับในทุกสาขาน้ัน เชน วิศวกรรม

ท่ัวไป เกษตรทั่วไป)

2.2.4 จํานวนนักศึกษานักศึกษาชาวตางประเทศ

(โดยเฉพาะอยางย่ิงหลักสูตรนานาชาติ)

2.2.5 รอยละของนักศึกษา ท่ีคงสภาพเปน

นักศึกษาในปการศึกษาปจจุบัน จากจํ านวน

นักศึกษาท่ีเขาศึกษาในภาพรวม

2.3 คุณภาพอาจารย 2.3.1 สัดสวนจํานวนอาจารยแยกตามคุณวุฒิ ตรี:

โท:เอก

2.3.2 สัดสวนจํานวนอาจารยแยกตามตําแหนงทาง

วิชาการ อาจารย : ผศ : รศ : ศ

2.3.3 สัดสวนจํานวนอาจารยตอจํานวนนักศึกษา

2.3.4 จํานวนอาจารย ผูเชียวชาญชาวตางประเทศ

ท่ีเปนผูสอน เชิญมาสอน เปนท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

กรรมการสอบวิทยานิพนธ และมาปฏิบัติงานอื่นๆ

ในหลักสูตร

2.3.5 จํานวนผลงานวิชาการ/ผลงานวิจัยท่ีตีพิมพ

หรือเผยแพรในวารสาร และ/หรือนําเสนอในการ

ประชุมวิชาการตอจํานวนอาจารยในหลักสูตร

2.3.6 จํานวนผลงานวิชาการประเภทหนังสือ ตํารา

และสื่อการสอนท่ีผลิตโดยอาจารยในหลักสูตรตอ

จํานวนอาจารยท้ังหมด

2.3.7 รอยละของอาจารย ท่ีได รับเชิญใหเปน

กรรมการในวิชาชีพ กรรมการวิทยานิพนธและ

ผูทรงคุณวุฒิดานวิชาการ ภายนอกมหาวิทยาลัย

ตอจํานวนอาจารยท้ังหมด

2.4 คุณภาพของการการจัดการเรียนการสอน 2.4.1 รอยละของรายวิชาท่ีมีการสอนแบบเนน

ผูเรียนเปนสําคัญจากจํานวนรายวิชาท้ังหมดท่ีเปด

สอนในหลักสูตรในแตละปการศึกษา

2.4.2 รอยละของรายวิชาท่ีมีการสอนโดยใชส่ือ

เทคโนโลยี หรือระบบ e-learning จากจํานวน

รายวิชาท้ังหมดท่ีเปดสอนในหลักสูตรในแตละป

การศึกษา

Page 114: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-108-

องคประกอบ ตัวช้ีวัด

2.4.3 รอยละของรายวิชาท่ีมีการสอนแบบบูรณา

การการสอนหรือสอดแทรกการพัฒนาคุณธรรม

จริยธรรม ให กับนักศึกษาจากจํานวนรายวิชา

ท้ังหมดท่ีเปดสอนในหลักสูตรในแตละปการศึกษา

2.4.4 คาเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของนักศึกษา

ตอคุณภาพ/ประสิทธิภาพการสอนของอาจารยใน

หลักสูตรในภาพรวม

2.5 คุณภาพของการจัดกิจกรรมสงเสริมการ

เรียนการสอน

2.5.1 ระดับความสําเร็จของการจัดกิจกรรมเสริม

ความรูและทักษะทางวิชาการ ท่ีดําเนินการในระดับ

หลักสูตร (เชน การใหคําปรึกษา การจัดอบรม/

สัมมนา การศึกษาดูงาน ฯลฯ

2.5.2 ระดับความสําเร็จของการจัดกิจกรรม

พัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต ท่ีพึงประสงค ท่ี

ดําเนินการในระดับหลักสูตร เชน การพัฒนา

คุณธรรม จริยธรรม การมีวินัย ในตนเองและ

ทํางานรวมกับผูอ่ืน ฯลฯ

3. การประเมินผลการใชหลักสูตร หมายถึง ภารกิจท่ีผูรับผิดชอบหลักสูตรตองดําเนินการเพื่อใหผลผลิต

คือ บัณฑิตและองคความรูอันเกิดจากกระบวนการผลิตบัณฑิต มีคุณภาพและมาตรฐาน เปนไปตาม

เปาหมาย สอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิตและสังคม

3.1 คุณภาพของบัณฑิต 3.1.1 รอยละของนักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษา

ภายในระยะเวลาท่ีกําหนดในหลักสูตร

3.1.2 รอยละของบัณฑิตท่ีไดงานทํา ประกอบ

อาชีพอิสระ หรือศึกษาตอในระยะเวลา 12 เดือน

หลังจบการศึกษา (และการไดงานทําตรงสาขาวิชาท่ี

สําเร็จการศึกษา และการไดรับเงินเดือนเร่ิมตนตาม

เกณฑ)

3.1.3 ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตตอ

คุณภาพบัณฑิต (ดานความรูความสามารถทาง

วิชาการตามลักษณะงานสาขานั้นๆ ดานความรู

ความสามารถพื้นฐานท่ีสงผลตอการทํางาน และ

ดานคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณใน

วิชาชีพ)

3.1.4 จํานวนนักศึกษา/ศิษยเกาท่ีไดรับประกาศ

เ กี ยรติ คุณยกย อ ง ในด าน วิ ช าการ วิ ช า ชีพ

Page 115: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-109-

องคประกอบ ตัวช้ีวัด

คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือ

ดานอ่ืนท่ีเก่ียวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ

หรือระดับนานาชาติในรอบ 3 ปท่ีผานมา (คน)

3 . 2 คุ ณภ าพข อ ง ผ ล ง า น วิ ช า ก า ร ห รื อ

วิทยานิพนธ

3.2.1 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของ

นักศึกษาท่ีไดรับรางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติ

ในรอบ 3 ปท่ีผานมา (ช้ินงาน)

3.2.2 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธ

ปริญญาโทของผูสําเร็จการศึกษาในปการศึกษานั้น

ท่ีตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธของผูสําเร็จ

การศึกษานั้นท้ังหมด

3.2.3 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธ

ปริญญาเอกที่ตีพิมพปริญญาเอกทั้งหมด

Page 116: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

-110-

ภาคผนวก ฌ

รายงานผลการประเมินหลักสูตรหรือรายงานผลการศึกษาความพึงพอใจ

ของผูมีสวนไดสวนเสีย (กรณีหลักสูตรปรับปรงุ)

Page 117: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-111-

รายงานผลการประเมินหลักสูตร การประเมินคุณภาพหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

รายงานผลการประเมินหลักสูตรนี้ไดมาจากการประเมินคุณภาพหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร โดยผูใหขอมูล คือ นักศึกษาผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจําป 2550 และ 2551 ซึ่งผลการประเมินสามารถ

แบงออกเปน 2 สวน คือ - สวนท่ี 1 สรุปขอมูลท่ัวไปของนักศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สวนท่ี 2 สรุปขอมูลความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี

สารสนเทศ สวนที่ 1 สรุปขอมูลทั่วไปของนักศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตารางที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของนักศึกษาท่ีตอบแบบสอบถาม

ผูใหขอมูล จํานวน (คน) รอยละ

นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาป 2550 16 38.09

นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาป 2551 26 61.90

รวม 42 100

สวนที่ 2 สรุปขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยี

สารสนเทศ

การสํารวจความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรไดมีการกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังรายละเอียดขางลางนี้

- ระดับความคดิเห็น 5 หมายถึง เห็นดวยมากท่ีสุด

- ระดับความคดิเห็น 4 หมายถึง เห็นดวยมาก

- ระดับความคดิเห็น 3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง

- ระดบัความคดิเห็น 2 หมายถึง เห็นดวยนอย

- ระดับความคดิเห็น 1 หมายถึง เห็นดวยนอยท่ีสุด

Page 118: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-112-

ตารางที่ 2 ขอมูลระดับความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีตอบแบบสอบถาม

สภาพการใชหลักสูตร ระดับความคดิเห็น

5 4 3 2 1

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

หมวดวิชาบังคับ

1. มีความเหมาะสมกับ

การนําไปใชในการ

ทํางาน

15 21 5 1 -

(35.71429)

(50)

(11.90476)

(2.380952) 

-

2. มีความเหมาะสมใน

ปริมาณของเนื้อหา

11 24 6 1 -

(26.19048) (57.14286) (14.28571) (2.380952) -

3. มีความทันสมัย

16 22 3 1 -

(38.09524) (52.38095) (7.142857) (2.380952) -

4. นําไปใชในการศึกษา

ตอในระดบัท่ีสูงข้ึน

16 22 3 1 -

(38.09524)

(52.38095)

(7.142857)

(2.380952) 

-

หมวดวิชาเลือก

1. มีความเหมาะสมกับ

การนําไปใชในการ

ทํางาน

11 22 8 1 ‐

(26.19048)

(52.38095)

(19.04762)

(2.380952)

-

2. มีความเหมาะสมใน

ปริมาณของเนื้อหา

9 22 9 1 -

(21.42857)

(52.38095)

(21.42857)

(2.380952)

-

3. มีความทันสมัย

16 18 6 1 1

(38.09524) (42.85714) (14.28571) (2.380952) (2.380952)

4. นําไปใชในการศึกษา

ตอในระดบัท่ีสูงข้ึน

14 21 6 1 -

(33.33333)

(50)

(14.28571)

(2.380952)

-

วิทยานิพนธ สําหรับ แผน ก 2

Page 119: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-113-

สภาพการใชหลักสูตร ระดับความคดิเห็น

5 4 3 2 1

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

จํานวน

(รอยละ)

1. เร่ืองท่ีทําวิทยานิพนธ

มีความเหมาะสมและ

มีประโยชนตอการ

ทํางาน

4 8 1 1 -

(9.52381)

(19.04762)

 

(2.380952)

 

(2.380952) 

 

-

2. เร่ืองท่ีทําวิทยานิพนธ

มีความเหมาะสมและ

มีประโยชนตอ

การศึกษาในระดับท่ี

สูงข้ึน

5 8 1 - -

(11.90476)

(19.04762)

(2.380952)

- -

ความคิดเห็นและขอเสนอแนะทั่วไป

1. ความทันสมัย

เหมาะสมกับ

เทคโนโลยีในปจจุบนั

13 19 5 2 1

(30.95238)

 

(45.2381)

 

(11.90476)

(4.761905)

(2.380952)

 

Page 120: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-114-

ภาคผนวก ญ  

ตารางเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง

Page 121: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-115-

ตารางเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรปรับปรุง พ .ศ . 2554 หลักสูตรเดิม พ .ศ . 2547 หมายเหต ุ

1. จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร

จํานวน 38 หนวยกิต 1. จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร

จํานวน 39 หนวยกิต

หนวยกิตรลดลง

2. โครงสรางหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1

หมวดวิชาบังคับ - หนวยกิต

หมวดวิชาเลือก - หนวยกิต

วิชาวิทยานิพนธ 38    หนวยกิต

วิชาการศึกษาอิสระ - หนวยกิต

2. โครงสรางหลักสูตร

แผน ก แบบ ก 1

หมวดวิชาบังคับ - หนวยกิต

หมวดวิชาเลือก - หนวยกิต

วิชาวิทยานิพนธ 39 หนวยกิต

วิชาการศึกษาอิสระ - หนวยกิต

  

หลักสูตรปรับปรุง

พ .ศ . 2554 ได

ปรับปรุง ดังนี้

1. แผน ก แบบ ก 1

หมวดวิทยานิพนธเพ่ิม

หนวยกิต จากเดิม 39

หนวยกิต ลดลงเปน

38 หนวยกิต

2. แผน ก แบบก

2 หมวดวิชาบังคับ

เทาเดิม หมวดวิชา

เลือกลดลงจากเดิม

จาก 10 หนวยกิต

เหลือ 9 หนวย 

3. แผน ข หมวด

วิ ช า บั ง คับ เ พ่ิ ม ขึ้ น

โ ด ย จ า ก เ ดิ ม 17

หนวยกิต เพ่ิมเปน

20 หน ว ย กิ ต แ ล ะ

หมวดวิชาเลือกลดลง

จากเดิม 16 หนวย

กิตลดลงเหลือ 15

หนวยกิต  

 

แผน ก แบบ ก 2

หมวดวิชาบังคับ 17 หนวยกิต

หมวดวิชาเลือก 9 หนวยกิต

วิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต

วิชาการศึกษาอิสระ -   หนวยกิต

แผน ก แบบ ก 2

หมวดวิชาบังคับ 17 หนวยกิต

หมวดวิชาเลือก 10 หนวยกิต

วิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต

วิชาการศึกษาอิสระ - หนวยกิต

 

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ 18 หนวยกิต

หมวดวิชาเลือก 15 หนวยกิต

วิชาวิทยานิพนธ - หนวยกิต

วิชาการศึกษาอิสระ 6    หนวยกิต

แผน ข

หมวดวิชาบังคับ 17 หนวยกิต

หมวดวิชาเลือก 16 หนวยกิต

วิชาวิทยานิพนธ - หนวยกิต

วิชาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต

3. รายวิชา

แผน ก แบบ ก 1

มีเฉพาะรายวิชา 322895 วิทยานิพนธ

3. รายวิชา

แผน ก แบบ ก 1

มีเฉพาะรายวิชา 322892 วิทยานิพนธ  

 เปลี่ยนรหัสวิชา 

แผน ก แบบ ก 2 และแผน ข

หมวดวิชาบังคับ 

   

แผน ก แบบ ก 2 และแผน ข

หมวดวิชาบังคับ

Page 122: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-116-

หลักสูตรปรับปรุง พ .ศ . 2554 หลักสูตรเดิม พ .ศ . 2547 หมายเหต ุ

322 724 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

3(3-0-6)

322 724 การวิเคราะหและออกแบบระบบ

3(3-0-6)

เปลี่ยนชื่อวิชา

322 733 ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ

3(3-0-6)

322 733 ระบบฐานขอมูลและการออกแบบ

3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 734 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3(3-0-6)

322 734 เทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ

สารสนเทศ 3(3-0-6)

เปลี่ยนชื่อวิชา

322 766 เครือขายคอมพิวเตอร

3(3-0-6)

322 742 เครือขายการสื่อสารคอมพิวเตอร

                                             3(3-0-6)

เปลี่ยนชื่อวิชา และ

รหัสวิชาใหม

322 891 สัมมนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

1(1-0-6)

322 891 สัมมนาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

1(1-0-6)

รายวิชาเดิม

322 892 สัมมนาทางทคโนโลยีสารสนเทศ 2

1(1-0-6)

322 892 สัมมนาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

1(1-0-6)

รายวิชาเดิม

322 793 ระเบียบวิธีวิจัย

3(3-0-6)

-ไมมี -

รายวิชาใหม

-ไมมี -

322 748 ความม่ันคงเทคโนโลยีสารสนเทศ  3(3-0-6)

ยายไปอยูในหมวด

วิชาเลือก

หมวดวิชาเลือก

322 731 เทคโนโลยีเว็บ

3(3-0-6)

322 731 เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและ

วิศวกรรมเว็บ 3(3-0-6)

เปลี่ยนชื่อรายวิชา

 322 735 เทคโนโลยี XML และการประยุกต

3(3-0-6)

322 735 เทคโนโลยี XML และการประยุกต

3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 736 เทคโนโลยีเว็บแบบสื่อความหมาย

  3(3-0-6)

322 736 เทคโนโลยีเว็บแบบส่ือความหมาย

    3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 756 การทําเหมืองขอมูล

3(3-0-6)

322 756 การทําเหมืองขอมูล

3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 744 การบริหารเครือขายคอมพิวเตอร

3(3-0-6)

   

322 744 การบริหารเครือขายคอมพิวเตอร

3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

Page 123: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-117-

หลักสูตรปรับปรุง พ .ศ . 2554 หลักสูตรเดิม พ .ศ . 2547 หมายเหต ุ

322 749 เทคโนโลยีการสื่อสารเคลื่อนท่ีและ

เครือขายไรสาย

3(3-0-6)

322 749 เทคโนโลยีการสื่อสารเคลื่อนท่ีและ

เครือขายไรสาย

   3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 754 วิศวกรรมความรู

3(3-0-6)

322 754 วิศวกรรมความรู

3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 755 เทคโนโลยีสนับสนุนการตัดสินใจ

3(3-0-6)

322 755 เทคโนโลยีสนับสนุนการตัดสินใจ

3(3-0-6)

รายวิชาเดิม

322 757 การจัดการความรูและการคนคืนระบบ

สารสนเทศ 3(3-0-6)

-ไมมี- รายวิชาใหม

*322 763 ระบบสารสนเทศสําหรับระบบ

โลจิสติกสและหวงโซอุปทาน

3(3-0-6)

-ไมมี- รายวิชาใหม

*322 764 การจัดการหวงโซอุปทานธุรกิจ

อิเล็กทรอนิกส

3(3-0-6)

-ไมมี- รายวิชาใหม

*322 765 การจัดการโครงการดานเทคโนโลยี

สารสนเทศ 3(3-0-6)

-ไมมี- รายวิชาใหม

-ไมมี-

322 726 ระบบแบบกระจาย 3(3-0-6)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุงแตสามารถ

เปนวิชาเลือกไดถา

หลักสูตรอ่ืนเปด

-ไมมี-

322 728 การพัฒนาซอฟตแวรและการจัดการ

โครงการ 3(3-0-6)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุงแตสามารถ

เปนวิชาเลือกไดถา

หลักสูตรอ่ืนเปด

-ไมมี- 322 732 การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

3(3-0-6)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุงแตสามารถ

เปนวิชาเลือกไดถา

หลักสูตรอ่ืนเปด

-ไมมี- 322 782 ปฏิบัติการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1

1(0-2-4)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุง

-ไมมี-

322 783 ปฏิบัติการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2

1(0-2-4)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุง

-ไมมี-  322 772 หัวขอเร่ืองพิเศษทางเทคโนโลยี

สารสนเทศ 3(3-0-6)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุง

Page 124: หลักสูตร โท IT5.2 การอ ทธรณ ของน กศกษา 36 6. ความต องการของตลาดแรงงาน ส งคม

มคอ.2

-118-

หลักสูตรปรับปรุง พ .ศ . 2554 หลักสูตรเดิม พ .ศ . 2547 หมายเหต ุ

-ไมมี - 320 761 หลักการการรับรูจากระยะไกล

3(2-3-0)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุงแตสามารถ

เปนวิชาเลือกไดถา

หลักสูตรอ่ืนเปด

-ไมมี - 322 746 การคอมพิวเตอรแบบกระจายและ

ขนาน 3(3-0-6)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุงแตสามารถ

เปนวิชาเลือกไดถา

หลักสูตรอ่ืนเปด

-ไมมี - 322 752 เครือขายประสาทเทียม

3(3-0-6)

ไมมีในหลักสูตร

ปรับปรุงแตสามารถ

เปนวิชาเลือกไดถา

หลักสูตรอ่ืนเปด

3. หมวดวิชาวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ

3.1 วิชาการศึกษาอิสระ 6 หนวยกิต

322 897 การศึกษาอิสระ Independent Study

6 หนวยกิต

322 897 การศึกษาอิสระ Independent Study

6 หนวยกิต

รายวิชาเดิม

3.2 วิชาวิทยานิพนธ 12-38 หนวยกิต

322 898 วิทยานิพนธ

38 หนวยกิต

322 898 วิทยานิพนธ

39 หนวยกิต

รายวิชาเดิม

322 899 วิทยานิพนธ

12 หนวยกิต

322 899 วิทยานิพนธ

12 หนวยกิต

รายวิชาเดิม