14
มาตรฐานสินคาเกษตร มกษ. 3001-2553 THAI AGRICULTURAL STANDARD TAS 3001-2010 พริกแหง DRIED CHILI PEPPERS สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ICS 67.220.10 ISBN XXX-XXX-XXX-X

พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มาตรฐานสินคาเกษตร มกษ. 3001-2553

THAI AGRICULTURAL STANDARD

TAS 3001-2010

พริกแหง

DRIED CHILI PEPPERS

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาต ิ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ICS 67.220.10 ISBN XXX-XXX-XXX-X

Page 2: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มาตรฐานสนิคาเกษตร มกษ. 3001-2553

THAI AGRICULTURAL STANDARD

TAS 3001-2010

พริกแหง

DRIED CHILI PEPPERS

สาํนกังานมาตรฐานสนิคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ 50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

โทรศัพท 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357

www.acfs.go.th

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม 127 ตอนพิเศษ 150 ง

วันที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2553

Page 3: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

(2)

คณะกรรมการวิชาการพจิารณามาตรฐานสินคาเกษตร

เรื่อง พริกแหง

1. รองศาสตราจารยวิชัย หฤทัยธนาสันต ประธานกรรมการ

2. นางประภัสสรา พิมพพันธุ กรมวิชาการเกษตร

กรรมการ

3. นางสาวมยุรี อุรารุงโรจน กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข

กรรมการ

4. นางสาวนงนุช เมธียนตพิริยะ กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กรรมการ

5. นางสุกัญญา สันทัด สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สํานักนายกรัฐมนตรี

กรรมการ

6. นางมาลี จิรวงศศรี สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

กรรมการ

7. นายณฤทธ์ิ ฤกษมวง สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

กรรมการ

8. นางอรทัย ศิลปนภาพร สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

กรรมการ

9. นางสาวกรุณา วงษกระจาง สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

กรรมการ

10. รองศาสตราจารยกมลวรรณ แจงชัด

ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

กรรมการ

11. นางสาวนฤมล คงทน

สถาบันอาหาร

กรรมการ

12. นางพรทิพย เดชเกรียงไกรกุล

สภาหอการคาแหงประเทศไทย

กรรมการ

Page 4: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

(3)

13. นายวิศิษฎ ล้ิมประนะ

กลุมอตุสาหกรรมอาหาร สภาอตุสาหกรรมแหงประเทศไทย

กรรมการ

14. นางสาวกาญจนา เลิศสกุลเจริญ

สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป กรรมการ

15. นางจิราวัฒนา ฟาสวาง สํานักมาตรฐานสินคาและระบบคุณภาพ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

กรรมการและเลขานุการ

Page 5: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

(4)

พริกแหงเปนสินคาเกษตรที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ เปนที่ตองการของตลาดภายในประเทศและ

ตางประเทศมาก จนจําเปนตองนําเขาในบางฤดูกาล จึงควรสนับสนุนการควบคุมคุณภาพและความ

ปลอดภัยการผลิตพริกแหงอยางเปนระบบเพื่อคุมครองผูบริโภค ในการกํากับดูแลพริกแหงที่จําหนาย

ภายในประเทศและพริกแหงนําเขาจําเปนตองมีเกณฑกําหนดเพือ่อํานวยความสะดวกในทางการคาและมี

มาตรฐานดานความปลอดภัยสําหรับผูบริโภค คณะกรรมการสินคาเกษตร จึงเห็นสมควรจัดทํามาตรฐานสินคาเกษตร เรื่อง พริกแหง ข้ึน

มาตรฐานสินคาเกษตรนี้กําหนดข้ึนโดยใชเอกสารตอไปนี้เปนแนวทาง

CODEX STAN 193-1995. General Standard for Contaminants and Toxins in Food and Feed.

Joint FAO/WHO Food Standards Programme, FAO, Rome. P.13

ISO 972 : 1997, Chillies and capsicums, whole or ground (powdered) Specification.

ISO 948 : 1980, Spices and condiments-Sampling.

Page 6: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให
Page 7: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553

มาตรฐานสินคาเกษตร

พริกแหง

1 ขอบขาย

มาตรฐานสินคาเกษตรนี้ครอบคลุม พริกแหง (Whole dried chili peppers) ผลิตจากพืชสกุลพริก (Capsicum

sp.) อยูในวงศ Solanaceae ไดแก

1.1 พริกข้ีหนู ไดแก

1.1.1 พริกข้ีหนูผลเล็ก (Capsicum frutescens Linn.) เชน พริกกระเหรี่ยง และพริกข้ีหนูสวน

1.1.2 พริกข้ีหนูผลใหญ (Capsicum annuum Linn.) เชน พริกจินดา พริกหัวเรือ พริกหวยสีทน

และพริกยอดสน

1.2 พริกใหญ (Capsicum annuum Linn.) เชน พริกบางชาง พริกหยวก และพรกิมัน

2 นิยาม

ความหมายของคําท่ีใชในมาตรฐานสินคาเกษตรนี้ มีดังตอไปนี้

2.1 พริกแหง หมายถึง ผลพริกที่สุกหรือแกจัด ที่ผานกระบวนการทําใหแหง อาจมีกานหรือไมมีกานติด

อยูก็ได สําหรับจําหนายปลีกหรือบรรจุปริมาณมากเพื่อขายสง เพื่อใชปรุงรสหรือใชเปนสวนประกอบ

อาหารเพื่อการบรโิภค รวมถึงพริกแหงท่ีจําหนายเพื่อนําไปแบงบรรจุ หรอืใชในการแปรรูปเปนผลิตภัณฑ

3 ชนิด

พริกแหงแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 3.1 พริกข้ีหนูแหง

3.2 พริกใหญแหง

Page 8: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 2

4 คุณภาพ

4.1 คุณภาพท่ัวไป

พริกแหงตองมีคุณภาพดังตอไปนี้และมีตําหนิไมเกินเกณฑท่ีระบุไวในขอ 5

(1) ไมมีกล่ินอับ หรือกล่ินแปลกปลอม (2) พริกแหงในบรรจุภัณฑเดียวกันตองเปนชนิดเดียวกัน

(3) ไมมีศัตรูพืช หรือชิ้นสวนของศัตรูพืช

(4) ไมเนาเสียจนทําใหไมเหมาะตอการบริโภค

(5) ไมเห็นเสนใยของเชื้อรา เม่ือมองดวยตาเปลา (6) ความชื้นไมเกิน 13.5% (7) ไมมกีารแตงสี

5 ตําหนิและเกณฑการยอมรับ

5.1นิยามของตําหนิ

5.1.1 ผลมีสีผิดปกติ หมายถึง ผลพริกแหงทีมี่สีผิดปกติ เนือ่งจากผลิตจากผลพริกท่ียังไมสุกหรือแกจัด

กรรมวธิกีารผลิตไมเหมาะสม หรอืเนื่องจากการเขาทําลายของโรค

5.1.2 ผลไมสมบรูณ หมายถงึ ผลพริกแหงทีมี่รูปรางลักษณะผิดปกติ เนือ่งจากการเขาทําลายของศัตรูพืช

หรอืการเพาะปลูกไมเหมาะสม

5.1.3 ผลแตกหรือหัก หมายถึง ผลพริกแหงรวมท้ังเมล็ดที่เกิดจากการเส่ือมเสียทางกายภาพ เชน แตก

หรือหัก เนื่องจาก การบรรจุ ขนยาย หรือขนสง

5.1.4 ส่ิงแปลกปลอม หมายถึง สวนตางๆ ของตนพริก เชน กิ่ง กาน ใบ หรือชอดอกของพริก ยกเวนกาน

ท่ีติดมากับผล และหมายความรวมถึงส่ิงปะปนอื่นๆ ท่ีไมใชสวนประกอบตามธรรมชาติของพริก

5.2 ตําหนิของพริกแหงพบไดไมเกินเกณฑการยอมรับตําหนิ ตามตารางท่ี 1

Page 9: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 3

ตารางที่ 1 เกณฑการยอมรับตําหนิ (ขอ 5.2)

ตําหนิ เกณฑการยอมรับตําหนิ

(สัดสวนโดยนํ้าหนัก)

1. ผลมีสีผิดปกติ ไมเกิน 5 % 2. ผลไมสมบรูณ ไมเกิน 5 % 3. ผลแตกหรอืหัก (1) พริกข้ีหนูแหง (2) พริกใหญแหง

ไมเกิน 5 % ไมเกิน 10 %

4. ส่ิงแปลกปลอม ไมเกิน 1 %

6 วัตถุเจือปนอาหาร

หากมีการใช ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายท่ีเกี่ยวของ

7 สารปนเปอน

7.1 ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายท่ีเกี่ยวของ

7.2 อะฟลาทอกซิน ตองไมเกิน 15 µg/kg

8 สารพิษตกคาง

ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายทีเ่กีย่วของและขอกําหนดใน มกษ.9002 มาตรฐานสินคาเกษตร

เรื่อง สารพิษตกคาง : ปริมาณสารพิษตกคางสูงสุด และ มกษ.9003 มาตรฐานสินคาเกษตร เรื่อง สารพิษ

ตกคาง : ปริมาณสารพิษตกคางสูงสุดท่ีปนเปอนจากสาเหตุท่ีไมอาจหลีกเล่ียงได

9 สุขลักษณะ

การผลิตและการปฏิบัติตอพริกแหงใหเปนไปตามขอกําหนดใน มกษ. 9023 มาตรฐานสินคาเกษตร เรื่อง

หลักเกณฑการปฏิบัติ : หลักเกณฑท่ัวไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร

Page 10: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 4

10 การบรรจ ุ

พริกแหงตองบรรจุในภาชนะบรรจุทีส่ะอาด ถูกสุขลักษณะ และไมมีกลิ่นผิดปกติ ที่มีผลตอคุณภาพของ

พริกแหง และตองปองกันการปนเปอนท่ีจะกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค

11 ฉลาก

ใหแสดงฉลากตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ และอยางนอยตองมีขอความระบุในเอกสารกํากับ

สินคา หรือฉลาก หรือแสดงไวทีภ่าชนะบรรจุก็ได โดยขอความตองอานไดชัดเจน ไมหลุดลอก ไมเปนเท็จ

หรือหลอกลวง โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

11.1 ภาชนะบรรจุท่ีจําหนายโดยตรงตอผูบริโภค

11.1.1 ฉลากใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายท่ีเกี่ยวของ

11.1.2 ภาชนะบรรจุพริกแหงทุกหนวย อยางนอยตองมีเลขอักษร หรือเครื่องหมายแจงรายละเอียด

ดังตอไปนี้ใหเห็นงายและชัดเจน (1) ชื่อเรียกผลิตภัณฑ เชน พริกแหง

(2) น้ําหนักสุทธิเปนหนวยในระบบเมตริก (metric system)

(3) วัน เดือน ป ท่ีผลิต หรือ วัน เดือน ป ท่ีหมดอายุ (4) ใหระบุชือ่ประเภทของวัตถุเจือปนอาหาร (ถาใช) พรอมดวยชือ่เฉพาะหรือหมายเลขของวัตถุเจือปน

อาหารตามขอกําหนดของคณะกรรมาธิการมาตรฐานอาหารระหวางประเทศของโครงการมาตรฐานอาหาร

เอฟเอโอ/ดับเบิลยูเอชโอ (Codex Alimentarius Commission, Joint FAO/WHO Food Standards

Programme; Codex)

(5) ชื่อและท่ีต้ังของผูผลิตหรือผูแบงบรรจุสําหรับสินคาท่ีผลิตในประเทศ ชื่อและท่ีต้ังของผูนําเขาสําหรับ

สินคานําเขา แลวแตกรณี (6) ประเทศผูผลิต (7) รุนของผลิตภัณฑโดยอาจระบุเปนรหัสได (8) กรณีท่ีผลิตเพื่อจําหนายในประเทศตองใชขอความเปนภาษาไทย และกรณีทีผ่ลิตเพือ่สงออกจะแสดง

ขอความเปนภาษาตางประเทศก็ได

11.2 ภาชนะบรรจุสําหรับขายสง

ใหแสดงขอความตามที่กฎหมายกําหนดและตามรายละเอียดในขอ 11.1.2 ในฉลากหรือเอกสารกํากับ

สินคา

Page 11: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 5

12 เครื่องหมายการตรวจสอบทางราชการ หรือเครื่องหมายรับรอง

ใหเปนไปตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะกรรมการมาตรฐานสินคาเกษตรกําหนด หรือใหเปนไปตาม

หลักเกณฑและเง่ือนไขของหนวยตรวจ หรือหนวยรับรอง

13 วิธีวิเคราะห วิธชีักตัวอยางและเกณฑตัดสิน

13.1 วิธีวิเคราะห

ใหใชวิธีท่ีกําหนดในตารางท่ี 2 (โดยอางอิงเอกสารวิธีวิเคราะหฉบับลาสุด) ดังนี้

ตารางที่ 2 วิธีวิเคราะห (ขอ 13.1)

ขอกําหนด วิธีวิเคราะห หลักการ

1. คุณภาพทั ่วไป (ขอ 4.1

(1)-(5))

ตรวจพินิจ -

2. ความชื้น (ขอ 4.1 (6)) AOAC 934.06 หรือใชวิธีทีมี่ความถูกตอง

เทียบเทา

Gravimetry

3. ผลท่ีมีตําหนิ (ขอ 5.2) วธิกีารคํานวณหาสัดสวนโดยน้ําหนัก Subjective Measurement

4. อะฟลาทอกซิน (ขอ 7.2) AOAC 970.45 หรือใชวิธีทีมี่ความถูกตอง

เทียบเทา

HPLC/Densitometer

5. การบรรจุ (ขอ 10) ตรวจพินิจ -

13.2 วิธีชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน

ใหเปนไปตามภาคผนวก ก วิธีชักตัวอยางท่ีจําเปนนอกเหนือจากท่ีระบุ ใหเปนไปตามขอกําหนด

ในกฎหมายท่ีเกี่ยวของและขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตรท่ีเกี่ยวกับการชักตัวอยาง

Page 12: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 6

ภาคผนวก ก

วิธีชักตัวอยางและเกณฑตัดสิน (ขอ 13.2)

ภาคผนวก ก นี้ แสดงวิธีชักตัวอยางพริกแหง เพื่อการใชประโยชนไดสะดวก

ก.1 นิยาม

ความหมายของคําท่ีใชมีดังตอไปนี้

ก.1.1 วิธีการชักตัวอยาง (sampling procedure) หมายถึง การกําหนดวิธีการเก็บและจํานวนหนวย

ตัวอยางจากรุนสินคาเพื่อตรวจสอบใหไดขอมูลท่ีนํามาใชตัดสินการยอมรับรุนสินคา แบงเปน 2 ระดับ คือ (1) วิธีการชักตัวอยางขั้นตน หมายถึง การเก็บตัวอยางจากรุนสินคาโดยตรงเพื่อเปนตัวแทนที่ดีของรุน

สินคาในปริมาณท่ีเพียงพอตอการวิเคราะหและตัดสินการยอมรับรุนสินคา (2) วิธีการชักตัวอยางข้ันท่ีสอง หมายถึง การรวมตัวอยางข้ันตนใหเปนเนื้อเดียวกันและลดจํานวนตัวอยาง

ลงในปรมิาณท่ีเหมาะสม เพื่อการตรวจวิเคราะหและตัดสินการยอมรับรุนสินคา

ก.1.2 รุน (lot) ในท่ีนี้หมายถึง พริกแหงทีทํ่าจากพริกสดชนิดเดียวกันจากแหลงผลิตเดียวกัน ผลิตโดย

กรรมวิธีเดียวกัน บรรจุและเก็บรักษาในสภาพและสภาวะเดียวกันเพื ่อใหไดสินคาที ่มีคุณภาพและ

คุณลักษณะสมํ่าเสมอ

ก.2 วธิีการชักตัวอยางข้ันตน

ก.2.1 ใหชักตัวอยางพริกแหงรุนเดียวกันตามขนาดรุนท่ีกําหนดในตารางที่ ก.1 จะไดตัวอยางขัน้ตน นําไป

ตรวจสอบการบรรจุ เครือ่งหมายและฉลาก และน้าํหนกัสุทธิ

ก.2.2 หากผลการตรวจสอบของตัวอยางเปนไปตามขอกําหนดของ ขอ 10 และ ขอ 11 ใหถือวาพริกแหง

รุนนั้นเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนด

Page 13: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 7

ตารางที่ ก.1 วิธีการชักตัวอยางขั้นตน

(ขอ ก.2)

ขนาดรุน

ภาชนะบรรจุ

ขนาดตัวอยาง

ภาชนะบรรจุ

1 ถงึ 5 ทุกหนวย 6 ถงึ 49 5 หนวย

50 ถึง 100 รอยละ 10 ของขนาดรุน

ตั้งแต 101 ข้ึนไป รากท่ี 2 ของขนาดรุน

ก.3 วิธีการชักตัวอยางข้ันท่ีสอง

ชักตั วอย า ง เพื ่อส งหน วยป ฏิบัติ การตรวจวิ เคราะห คุณภาพด านต า งๆ จากตั วอย า ง ขั ้นตน

(ขอ ก.2.1) ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยาง ดังนี้

ก.3.1 ใหนําตัวอยางข้ันตนขอ ก.2.1 มารวมกัน จากนั้นสุมตัวอยางแบบกระจายเพือ่วิเคราะหคุณภาพ

ดังนี้

ก.3.1.1 ใหชักตัวอยางพริกแหงจากตัวอยางขอ ก.3.1 จนไดน้าํหนัก 300 g ตรวจสอบคุณภาพทั่วไปและ

ตําหนิของพริกแหง

ก.3.1.2 ใหชักตัวอยางพริกแหงจากขอ ก.3.1 จนไดน้ําหนัก 300 g ตรวจสอบหาปริมาณอะฟลาทอกซิน

ก.3.1.3 หากผลการตรวจสอบของตัวอยางเปนไปตามขอ 4.1 ขอ 5.2 และขอ 7.2 จึงจะถือวาพริกแหง

รุนนั้นเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนด

ก.3.2 สําหรับการวิเคราะหวัตถุเจือปนอาหาร สารปนเปอน และสารพิษตกคาง ใหเปนไปตามแผนการชัก

ตัวอยางของขอกําหนดในกฎหมาย และขอกําหนดมาตรฐานสินคาเกษตรท่ีเกี่ยวของ

Page 14: พริกแห ง - ACFS2.1 พร กแห ง หมายถ ง ผลพร กท ส กหร อแก จ ด ท ผ านกระบวนการท าให

มกษ.3001-2553 8

ภาคผนวก ข

หนวย

หนวยและสัญลักษณทีใ่ชในมาตรฐานนี ้และหนวยที่ SI (International System of Units หรือ Le

Systeme International d’Unites) ยอมรับใหใชได มีดังนี้

รายการ ชื่อหนวย สัญลักษณหนวย

มวล ไมโครกรมั (microgram) µg

กรมั (gram) G

กโิลกรมั (kilogram) Kg