22
ภำคผนวก ง กำรประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

ภำคผนวก ง กำรประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

Page 2: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-1

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ในการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืนนั้น ที่ปรึกษาจะด าเนินการจัดประชุมกลุ่มย่อยกับผู้บริหารระดับสูงทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรอิสระ และนักวิชาการที่มีความช านาญในประเด็น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรับฟังความคิดเห็นอย่างเข้มข้นเกี่ยวกับ “ร่างแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน”โดยจัดท าทั้งสิ้น 4 ครั้ง ได้แก ่ ง.1 การสนทนากลุ่มย่อยครั้งที่ 1 มีจุดประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นต่อกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร ในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ง.2 การสนทนากลุ่มย่อยครั้งที่ 2 มีจุดประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นต่อกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร ในกลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ ง.3 การสนทนากลุ่มย่อยครั้งที่ 3 เพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดท าร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน และแนวทางขับเคลื่อนในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ง.4 การสนทนากลุ่มย่อยครั้งที่ 4 เพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดท าร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน และแนวทางขับเคลื่อนในกลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ

ง.1 การประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที ่1 (กลุ่มอตุสาหกรรมอาหาร)

1) วัตถุประสงค์ เพื่อระดมความคิดเห็นต่อกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร

2) เนื้อหาน าเสนอ น าเสนอกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรในภาพรวม และกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรสาขาเป้าหมาย โดยน าเสนอผลการวิเคราะห์เบื้องต้นใน 2 กลุ่มอุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมข้าว และอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน

3) กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ประกอบด้วย ตัวแทนภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม และผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมการเกษตร โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุม ดังแสดงในตารางที่ ง.1-1

Page 3: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-2

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ตารางที่ ง.1-1 แสดงผู้เข้าร่วมการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 1 (กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร)

ล าดับ ชื่อ-สกุล ต าแหน่ง 1 นายอ านวย อรรถลังลอง นักวิชาการเกษตรช านาญการพเิศษ

สถาบนัวิจัยพชืสวน กรมวิชาการเกษตร 2 นางสาววิภา ตั้งนิพนธ ์ นักวิทยาศาสตร์ช านาญการพิเศษ

ส านักงานวจิัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร 3 นางสาวชุติมา คชวัฒน ์ นักวิทยาศาสตร์ช านาญการพิเศษ

สถาบนัวิจัยพืน้ไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวชิาการเกษตร 4 นางสาวสุปรียา ศุขเกษม นักวิทยาศาสตร์ช านาญการพิเศษ

สถาบนัวิจัยและพัฒนาวทิยาการหลังการเก็บเกี่ยว กรมวิชาการเกษตร 5 นางพชัร ี ตั้งตระกูล ผู้อ านวยการสถาบนัค้นควา้และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร 6 นายสทุธิพงศ ์รอตโกมิล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ส านักงานมาตรฐานสนิค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 7 นายบัณฑิต พงศ์ไพสทิธิ ์ นักวิชาการอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 8 นางสาวณัฏฐิญา เนตยสุภา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 9 นางดวงฤด ีศิริเสถียร ผู้แทนส านักงานวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 10 นางสาวนันทรัตน ์มหาสวัสดิ ์ นักวิจัยนโยบาย ส านักงานคณะกรรมการนโยบายวทิยาศาสตร์ เทคโนโลยี

และนวัตกรรมแห่งชาต ิ11 นายสุรัตน ์โชคประจักษช์ัด ผู้จัดการสมาคมโรงสีข้าวไทย 12 นายอรรถพล เลิศวาณชิดิลก ผู้จัดการสมาคมแป้งมันส าปะหลังไทย 13 นายจลุดิษฐ ์ชื่นก าไร ผู้แทนสมาคมปาล์มน้ ามนัและน้ ามันปาล์มแห่งประเทศไทย 14 นายประโยชน ์อรรถธร ประธานกลุ่มเครื่องจักรการเกษตร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 15 นายธวชัชัย วีระพรวณิชย์กลุ ที่ปรึกษา บริษทัไทยชูการ ์มิลเลอร์ จ ากัด

Page 4: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-3

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

4) ผลลัพธ์จากการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 1 ภายหลังการน าเสนอผลการศึกษา ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นต่ออุตสาหกรรมต่างๆ ดังนี้

4.1) อุตสาหกรรมข้าว ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมข้าวในแต่ละมิติตามล าดับ

ความส าคัญ ดังนี้ (1) มิติการเชื่อมโยงเชิงพื้นที่เพื่อการจัดสรรทรัพยากรการผลิต (มิติที่ 1) มีประเด็นส าคัญ

ที่ควรจัดท า ดังนี้ - การพัฒนาแนวทางลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกร โดยการช่วยเหลือพันธุ์ข้าว

และถ่ายทอดองค์ความรู้ในการเพาะปลูก โดยเฉพาะองค์ความรู้ในการบริหารจัดการน้ าและการรักษาสภาพดิน เห็นได้จากการเผาซางข้าวหลังเก็บเก่ียวและการใช้ปุ๋ยเคมีมากเกินไป - การพัฒนาระบบการบริหารจัดการวัตถุดิบระหว่างเกษตรกรกับโรงงาน เนื่องจาก ในปัจจุบัน การเกี่ยวข้าวท าได้เร็วส่งผลให้ในฤดูเก็บเกี่ยว มีผลผลิตเข้าสู่ตลาดเป็นจ านวนมาก เกิดปัญหาโรงสีไม่มีก าลังซื้อและสถานที่จัดเก็บผลผลิต

- การส่งเสริมพืชถั่วเหลืองเป็นพืชที่ปลูกสลับกับข้าว เพื่อไถกลบเป็นปุ๋ยพืชสด นอกจากนี้ ยังมีความต้องการถั่วเหลืองที่ไม่ได้ผ่านการตัดต่อพันธุกรรม (Non-GMOs) อยู่มากทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ เพราะในปัจจุบัน ถั่วเหลืองที่น าเข้ามาเพื่อแก้ปัญหาการขาดตลาดส่วนใหญ่เป็นถั่วเหลือง ที่ตัดต่อพันธุกรรม (GMOs) ทั้งนี้ ในการส่งเสริม ควรตั้งเป้าหมายเพื่อทดแทนการน าเข้ามากกว่าเพื่อการส่งออก

(2) มิติการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการสร้างคุณค่า (มิติ 2) มีประเด็นส าคัญที่ควรจัดท า ดังนี้

- การค านึ งถึ งการพัฒนาอาหารที่ มีลั กษณะเป็นยาเข้ าไปด้วย เนื่ องจาก ผู้บริโภคมีความต้องการสูงขึ้น

- การสร้างกลไกตลาดให้มีความเป็นธรรมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งจะท าให้อุตสาหกรรมข้าวไทยมีความยั่งยืนในเชิงเศรษฐศาสตร์ - มิติการสร้างสภาพแวดล้อมและความเข้มแข็งให้กับปัจจัยพื้นฐาน (มิติที่ 4) มีประเด็นส าคัญที่ควรจัดท า ดังนี้

- การส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยและระบบบัญชีให้สอดคล้องกับความเป็นจริง เพื่อแก้ปัญหาความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นในสังคม เช่น ระยะเวลาที่เก็บข้าวเปลือกได้ ควรวิจัยเพื่อพิสูจน์ว่าข้าวเก่าแท้จริงแล้วมีคุณภาพมากกว่าข้าวใหม่ เนื่องจากข้าวเก่าหุงขึ้นหม้อมากกว่า (ใช้ข้าวสารในการหุงน้อยกว่าเพื่อให้ได้ข้าวสวยในปริมาณเท่ากัน) เพื่อน าไปสู่การก าหนดระบบบัญชีที่สอดคล้องกับความเป็นจริงยิ่งขึ้น เพราะการบันทึกข้าวในปัจจุบันนั้น หากเก็บโดยโรงสีเอกชนจะตีมูลค่าเพิ่มให้ข้าวเก่า ในขณะที่องค์การคลังสินค้าของรัฐจะคิดมูลค่าเสื่อมให้ข้าวเก่า

- การก าหนดหน่วยงานส่ง เสริมการใช้งานวิจัยในเชิงพาณิชย์ ให้ชัด เจน เพราะปัจจุบันมีงานวิจัยจ านวนมากที่ไม่ได้รับการเผยแพร่และน าไปใช้ในเชิงพาณิชย์

Page 5: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-4

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

- การปรับปรุงและพัฒนากฎระเบียบและมาตรการส่งเสริมการลงทุนในประเทศ เพื่อนบ้าน ในปัจจุบันการน าเข้าวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้านเพื่อแปรรูปติดปัญหาข้อกฎหมายและระเบียบต่างๆ ในขณะที่การลงทุนโรงสีข้าวในประเทศเพื่อนบ้านติดข้อจ ากัดด้านทุนหมุนเวียนกิจการ เพราะกิจการสีข้าว เป็นกิจการที่ต้องใช้เงินสดในการซื้อวัตถุดิบ แต่ขายสินค้าในรูปแบบเงินเชื่อ 4.2) อุตสาหกรรมมันส าปะหลัง ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับอุตสาหกรรมมันส าปะหลังในแต่ละมิติตามล าดับความส าคัญ ดังนี้

(1) การพัฒนาผลิตภาพของผลผลิตเกษตร (มิติที่ 1) สามารถแก้ปัญหาเร่งด่วน โดยการจัดโซนนิ่ง พัฒนาเครื่องจักรเก็บเกี่ยวในเชิงพาณิชย์ หรืออุดหนุนปัจจัยการผลิตแบบมีเงื่อนไข เพื่อแก้ปัญหาผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการจากโรงงานแป้งมันและอุปสรรคในการน าเข้าวัตถุดิบจาก ประเทศเพื่อนบ้านที่เกิดจากโครงสร้างพื้นฐานที่ยังไม่ได้คุณภาพ

(2) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม (มิติที่ 4) เพื่อหาแนวทางการใช้ประโยชน์จาก กากมันส าปะหลังที่เกิดจากการแปรรูปมันส าปะหลังที่ยังมีจ านวนมาก

4.3) อุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามันในแต่ละมิติตามล าดับ

ความส าคัญ ดังนี้ (1) การใช้วัตถุดิบภายในประเทศ (มิติที่ 1) ควรเลือกใช้วัตถุดิบและช่วยเหลือเกษตรกร

ภายในประเทศก่อนที่จะมีการน าเข้าผลผลิตหรือลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นอุตสาหกรรม ทดแทนการน าเข้ามากกว่าอุตสาหกรรมส่งออกและใช้อัตราการทดแทนการน าเข้าเป็นตัวชี้วัดความส าเร็จ ผ่านการพัฒนาการจัดการวัตถุดิบให้มีคุณภาพด้วยการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ พัฒนาพันธุ์ ปัจจัยการผลิต และความรู้ความสามารถของเกษตรกร การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่ต้นน้ า เช่น การเก็บข้อมูลจากลานเทปาล์ม รวมถึงการสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรผลิตของมีคุณภาพ ทั้งนี้ หากจะลงทุนประเทศเพื่อนบ้าน ควรแยกท าเป็นธุรกิจในต่างประเทศต่างหาก โดยลงทุนและขายนอกประเทศเท่านั้น เพื่อไม่ให้ปัญหาผลผลิตในประเทศล้นตลาดร้ายแรงกว่าเดิม

(2) โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ (มิติที่ 4) ปัญหาด้านการขนส่งที่ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตไบโอดีเซลสูงกว่าประเทศคู่แข่ง มีการขนส่งน้ ามันปาล์มจากภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปแปรรูป ที่ภาคตะวันออกส่งผลให้ต้นทุนการผลิตไบโอดีเซลของประเทศสูง

(3) การหาตลาดใหม่ (มิติที่ 2) สามารถท าได้ผ่านการส่งเสริมการใช้น้ ามันปาล์มในการผลิตพลังงานมากข้ึน เช่นเดียวกับกรณีที่โรงไฟฟ้ากระบี่ได้หันมาใช้น้ ามันปาล์มแทนน้ ามันเตามากข้ึน

(4) พัฒนามาตรฐาน (มิติที่ 3) โดยพัฒนาทั้งมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เช่น มาตรฐาน RSPO (Round Table for Sustainable Palm Oil) ฉลากคาร์บอน (Carbon Labeling)1 มาตรฐานไบโอแก๊ส มาตรฐานไบโอดีเซล และมาตรฐานโรงงาน โดยการเก็บข้อมูลและจ ากัดจ านวนโรงงานที่ไม่ได้มาตรฐาน เนื่องจากยังคงมีโรงงานที่ด้อยประสิทธิภาพกว่า 50 โรงงาน เช่น ใช้ไฟฟ้าหลวง ไม่รายงานข้อมูลให้กระทรวงพาณิชย์

1 ในปัจจุบัน FRA (Forest Resources Assessment) ได้บังคับใช้ฉลากคาร์บอนเป็นมาตรฐานน าเข้าในบางประเทศแลว้

Page 6: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-5

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

(5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (มิติที่ 2) โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์จ าพวกอุตสาหกรรมชีวภาพจากน้ ามันหรือไขมัน ซึ่งมีปาล์มน้ ามันเป็นวัตถุดิบหลักเพราะเป็นพืชน้ ามันหลักของประเทศ

(6) ความยั่งยืน (มิติที่ 5) โดยค านึงถึงสังคมและวิถีชีวิตเกษตรกร ซึ่งสามารถท าได้ ผ่านการก าหนดและบังคับใช้เขตส่งเสริมการปลูกปาล์มโดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์อย่างจริงจัง เนื่องจากการก าหนดเขตและบังคับใช้ในปัจจุบันไม่ได้ผล เพราะปลูกทั้งประเทศ

(7) พลังงานทดแทน (มิติที่ 5) เช่น การน าผลพลอยได้จากปาล์มน้ ามันที่เหลือจากการผลิตมาผลิตพลังงาน

4.4) อุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาล ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลในแต่ละมิติ

ตามล าดับความส าคัญดังนี้ (1) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม (มิติที่ 4) เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด ซึ่งเป็นสิ่งที่โรงงานอ้อยและน้ าตาลให้ความสนใจมาก (2) โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ (มิติที่ 4) เพื่อลดต้นทุนการผลิตในการส่งออก ซึ่งช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก (3) การพัฒนากฎระเบียบ (มิติที่ 4) เนื่องจากการก าหนดราคาขายคงที่ ในขณะที่ราคาในตลาดโลกผันผวน ส่งผลให้เกิดการลักลอบเก็งก าไรจากส่วนต่างของราคา (4) พลังงานทดแทน (มิติที่ 5) เนื่องจากอุตสาหกรรมอ้อยและน้ าตาลเป็นอุตสาหกรรมที่สามารถผลิตพลังงานเพียงพอส าหรับการด าเนินโรงงานด้วยตนเอง อีกทั้ง ยังสามารถจ าหน่ายต่อหน่วยงานรัฐได้ ในบางโรงงานอีกด้วย (5) ลงทุนในประเทศเพ่ือนบ้าน (มิติที่ 1) เพื่อใช้ประโยชน์จาก GSP ในประเทศเพื่อนบา้น

4.5) ความคิดเห็นอื่นๆ ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคดิเห็นในประเด็นอื่นๆ ดงันี้ (1) ผลผลิตการ เกษตรที่ มี คุณภาพ -ต้นทุน -การขนส่ ง (Quality-Cost-Delivery)

และตราสินค้าท้องถิ่นเป็นสิ่งส าคัญการการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เหมือนในกรณีสาเกญี่ปุ่น หรือโสมเกาหลี

(2) การน างานวิจัยและพัฒนาไปใชใ้นเชิงพาณิชย ์ควรมีการส่งเสริมมากกว่าในปัจจุบนั (3) การส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาต้องค านึงถึงปริมาณบุคลากร เงินทุน และอุปกรณ์

ที่เหมาะสม เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรและการเข้าถึงอุปกรณ์ทดลอง เหมือนดังกรณีประเทศจีน ที่มีการสนับสนุนทุนและอุปกรณ์วิจัยเป็นจ านวนมาก อีกทั้งส่งเสริมให้ผู้คนจ านวนมากเข้าถึงและใช้งานอุปกรณ์ได้

Page 7: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-6

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ภาพที่ ง.1-1 แสดงบรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร

Page 8: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-7

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ง.2 การสนทนากลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 (กลุ่มอตุสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ) 1) วัตถุประสงค์ เพื่อระดมความคิดเห็นต่อกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร 2) เนื้อหาน าเสนอ น าเสนอกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรในภาพรวม และกรอบการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรสาขาเป้าหมาย โดยน าเสนอผลการวิเคราะห์เบื้องต้นใน 2 กลุ่มอุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมข้าว และอุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน 3) กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ ประกอบด้วย ตัวแทนภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการเกษตร โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุม ดังแสดงในตารางที่ ง.2-1 4) ผลลัพธ์จากการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 2 ตารางที่ ง.2-1 แสดงผู้เข้าร่วมการประชุมกลุ่มย่อย คร้ังที่ 2 (กลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ)

ล าดับ ชื่อ-สกลุ ต าแหน่ง 1 นางนตพร จันทร์วราสุทธ์ิ นักวิจัย ส านักงานเลขานุการคณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพ 2 นางสาวณัฏฐญิา เนตยสภุา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 3 นางสาวรุจิรตัน ์รุจิรกุล นักวิชาการคอมพิวเตอร์ช านาญงาน กรมพัฒนาท่ีดิน 4 ผศ.สมุาล ีพุ่มภิญโญ อาจารย์ประจ าคณะเศรษฐศาสตร ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์

5 นายชวนเพ่ิม สังข์สิงห ์ เศรษฐกรช านาญการพิเศษ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 6 นางสาวพีรดา พัสดุรีนนท ์ วิศวกรโครงการ บริษัท เอ็นโซล จ ากัด 7 นางสาวสุภกญัญา กาญจนะภูนะ เศรษฐกรช านาญการพิเศษ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 8 นางสาวปิยภรณ ์แซ่ลิ่ม ผู้จัดการสมาคมยางพาราไทย 9 นางจันทรวรรณ คงเจรญิ นักวิชาการเกษตรช านาญการพิเศษ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร 10 นางเพ็ญรุ่ง สมบตัินิมิตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการ ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 11 นายกฤช เอี่ยมฐานนทร ์ เศรษฐกรช านาญการ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 12 นายต่อพงษ ์ตริยานนท์ ผู้แทนสมาคมโรงกลั่นน้ ามันปาล์ม 13 นางสาวศิรลิักษณ์ จงสุวรรณวัฒนา เจ้าหน้าท่ีอาวุโส สมาคมการค้าผูผ้ลิตเอทานอลไทย 14 นายปอก๊วน กิตติศรสีไว กรรมการผู้จดัการบริษัท ซันไทยอุตสาหกรรมถุงมือยาง จ ากัด 15 นางสาวขวัญใจ โชติสุวรรณ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซูพริม รีนิวเอเบิ้ล เอ็นเนอรย์ี่ จ ากัด

Page 9: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-8

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

1) อุตสาหกรรมยางพารา ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมยางพาราในแต่ละมิติตามล าดับ

ความส าคัญ ดังนี้ (1) การใช้วัตถุดิบในประเทศ (มิติที่ 1) โดยควรเลือกใช้วัตถุดิบภายในประเทศก่อนที่จะมี การน าเข้าผลผลิตหรือลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน (2) การหาตลาดใหม่ (มิติที่ 2) เนื่องจากในปัจจุบัน มีการพึ่งพาตลาดประเทศจีนมากเกินไป เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจจีนชะลอตัวหรือผันผวนจึงส่งผลกระทบต่อประเทศไทยค่อนข้างสูง (3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (มิติที่ 2) ควรมีการพัฒนาต่อยอดขึ้นไป ไม่ใช่พึ่งพาเพียงผลิตภัณฑ์ขั้นต้นเท่านั้น และควรให้ความส าคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากน้ ายางข้นและยางคอมปาวด์ซึ่งเป็นสิ่งที่ภาครัฐได้พยายามส่งเสริมอยู่ด้วย นอกจากนี้ ควรส่งเสริมวัสดุก่อสร้างที่ท าจากผลิตภัณฑ์ยาง เช่น อุปกรณ์กันกระแทกส าหรับกันแผ่นดินไหวหรือใช้เป็นวัตถุดิบในการสร้างถนน

(4) การส่งเสริมนวัตกรรมและการวิจัยและพัฒนา (มิติที่ 4) เนื่องจากในปัจจุบัน ประเทศไทยท าการส่งออกเพียงผลิตภัณฑ์ยางขั้นต้นเท่านั้น

(5) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ (มิติที่ 4) เนื่องจากในปัจจุบัน ผู้ประกอบการจ านวนมากต้องรับภาระในการขนส่งจากบริษัทเดินเรือเป็นจ านวนมาก เช่น ต้นทุนที่เกิดจากปัญหาความความแออัดของท่าเรือ

(6) พลังงานทดแทนและความยั่งยืน (มิติที่ 5) เนื่องจากอุตสาหกรรมยางพาราเป็น อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดของเสียเป็นจ านวนมาก จึงควรให้ความส าคัญกับการก าจัดของเสีย 2) อุตสาหกรรมมันส าปะหลงัและอ้อยโรงงาน (เอทานอล)

ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับอุตสาหกรรมมันส าปะหลังและอ้อยโรงงานในแต่ละมติิตามล าดับความส าคัญ ดังนี้ (1) กฎระเบียบที่ต้องพัฒนา (มิติที่ 4) เนื่องจากการผลิตเอทานอลมีปัญหาเชิงโครงสร้างและ การบริหารจัดการเป็นอย่างมากเพราะเก่ียวข้องกับกฎหมายและกฎระเบียบของหน่วยงานราชการหลายหน่วยงาน เช่น กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งผลให้เกิดค่าโสหุ้ยและ ค่าบริหารจัดการจ านวนมาก เช่น เม่ือผู้ผลิตเอทานอลจดทะเบียนขึ้นโรงงานต้องเลือกว่าจะจดมาตรฐานเชื้อเพลิงหรือมาตรฐานอุตสาหกรรม ในกรณีจดทะเบียนมาตรฐานอุตสาหกรรม จะไม่สามารถขายในประเทศได้ ต้องส่งออกเท่านั้น ส่วนกรณีจดทะเบียนมาตรฐานเชื้อเพลิง จะขายให้ได้เฉพาะผู้ค้ามาตรา 7 หรือผู้ค้าน้ ามัน (โรงกลั่น) เท่านั้น ในขณะที่แผนพลังงานทดแทน ระบุให้ผู้ประกอบการผลิตเพื่อใช้ในประเทศก่อนที่จะส่งออก (2) โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ (มิติที่ 4) เนื่องจากพื้นที่ปลูกมันส าปะหลังส่วนใหญ่อยู่ใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานอยู่ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ แต่จ าเป็นต้องขนส่งเอทานอลเพื่อมาผสมกับน้ ามันเบนซินเป็นแก๊สโซฮอลล์ ที่ โรงงานในภาคกลางหรือ ภาคตะวันออก (นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด) จึงส่งผลต่อต้นทุนการขนส่งเป็นอย่างมาก

Page 10: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-9

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

(3) พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบ (มิติที่ 1) เนื่องจากผลิตภัณฑ์แปรรูปมันส าปะหลังที่น ามาแปรรูปมักจะมีปัญหาเรื่องฝุ่นทรายและสัดส่วนแป้งต่ า ส่งผลให้โรงงานต้องทดสอบเครื่องจักรเป็นเวลานานเพื่อให้ได้เอทานอลตามมาตรฐานที่รัฐก าหนด (4) การเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานและการสร้างความต้องการสินค้าที่มีมาตรฐาน (มิติที่ 2 และ 3) เนื่องจากความต้องการเอทานอลไม่ขยายตัวเท่าที่ควร ถึงแม้ภาครัฐจะยกเลิกน้ ามันเบนซิน 91 เพื่อกระตุ้นความต้องการแก๊สโซฮอลล์ แต่ก็ท าให้ความต้องการของน้ ามันเบนซิน 95 ขยายตัวมากเช่นกัน (5) การจัดสรรผลผลิตการเกษตร (มิติที่ 1) เนื่องจากปริมาณผลผลิตการเกษตรยังมี ความไม่แน่นอนสูง ส่งผลให้ผู้ประกอบการวางแผนการผลิตได้ยาก (6) ความสม่ าเสมอและสอดคล้องของนโยบายของภาครัฐ (อื่นๆ) เนื่องจากในปัจจุบัน โครงสร้างราคาของเอทานอลถูกบิดเบือนอย่างมาก อันเป็นผลจากการที่ภาครัฐมีการรับจ าน ามันส าปะหลังซึ่ง ท าให้ต้นทุนเอทานอลจากมันส าปะหลังสูงกว่าเอทานอลจากกากน้ าตาลมาก แต่ในขณะเดียวกัน ภาครัฐได้ ขอความร่วมมือให้ผู้ประกอบการผลิตเอทานอลโดยใช้วัถุดิบจากมันส าปะหลังก่อน 3) อุตสาหกรรมปาล์มน้ ามัน สถานการณ์อุตสาหกรรมปาล์มน้ ามันของประเทศไทยในปัจจุบันยังมีความสามารถในการแข่งขันค่อนข้างต่ าและจ าเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยมีล าดับความส าคัญ ดังนี้ (1) การเพิ่มผลผลิตภาคเกษตร (มิติที่ 1) เนื่องจากผลผลิตของปาล์มน้ ามันไทยยังอยู่ในระดับต่ า ส่งผลให้ต้นทุนต่อหน่วยอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเทียบกับมาเลเซีย จึงควรพัฒนาชาวสวน ทั้งในด้านการบริหารจัดการในสวน (องค์ความรู้) และแหล่งทุน นอกจากนี้ ยังควรเป็นพันธมิตรกับมาเลเซีย เพื่อการเรียนรูอ้งค์ความรู้ในการพัฒนาผลิตภาพ เช่น การใช้เทคโนโลยีจีโนมิค (Genomic) (2) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ (มิติที่ 4) โดยเฉพาะการขนส่งระหว่างประเทศ เนื่องจากการน าสินค้าเข้า-ออกประเทศไทยนั้น เรือสินค้าต้องเดินเรือออกจากเส้นทางประจ า เพื่อเข้ามาใน อ่าวไทย ส่งผลให้มีต้นทุนสูงกว่ามาเลเซียและอินโดนีเซีย ประมาณร้อยละ 15 (3) การหาตลาดใหม่ (มิติที่ 2) สามารถท าได้ ในกรณีที่ต้นทุนการผลิตสามารถแข่งขันกับ ประเทศอ่ืนได้และมีปริมาณเพียงพอ (4) การพัฒนามาตรฐาน (มิติที่ 3) โดยส่งเสริมการจัดท ามาตรฐาน RSPO (Round Table on Sustainable Palm Oil) ซึ่งเป็นการสร้างมาตรฐานตลอดทั้งห่วงโซ่การผลิต โดยมุ่งให้ความส าคัญกับ การบริหารจัดการที่ต้นน้ า ทั้งในด้านการผลิตของเกษตรกรและความเข้าใจของผู้บริโภค (5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (มิติที่ 2) ต้องค านึงถึงการพัฒนางานวิจัยในห้องทดลองให้เป็นไปได้ทั้งในทางเศรษฐศาสตร์และธุรกิจด้วย เช่น การผลิตน้ ามัน B10 B20 หรือ BHD2 จะสามารถท าได้ในห้องทดลอง แต่ยังไม่คุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ

2 น้ ามันดีเซลสังเคราะห์จากพืชน้ ามัน (Bio-Hydrogenated Diesel)

Page 11: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-10

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

(6) การพัฒนาระบบวัดคุณภาพ (มิติที่ 3 และ 4) เนื่องจากในปัจจุบัน ลานเทปาล์ม ยังไม่สามารถวัดความเข้มข้นของน้ ามันปาล์มในผลปาล์มได้ ส่งผลให้ราคาผลผลิตปาล์มที่คุณภาพสูงและต่ าไม่ต่างกัน เกษตรกรจึงไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์

(7) การพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืน (มิติที่ 5) เนื่องจากแนวทางการพัฒนาที่มุ่งเน้น การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการน าของเสียในกระบวนการผลิตมาผลิตพลังงานทดแทนมีค่าใช้จ่ายที่สูง ซึ่งเป็นข้อจ ากัดของผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม 4) อื่นๆ (1) ควรมีการก าหนดระยะเวลาของแผนให้ชัดเจน กรณีปาล์มน้ ามันมีปัญหาล้นตลาด (ในปัจจุบัน มีการผลิตไบโอดีเซลเพียง 1.62 ล้านลิตร/วัน) แต่ถ้าคาดการณ์ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน พบว่า ปาล์มน้ ามันจะขาดแคลน เพราะต้องใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล (เป้าหมายการผลิตไบโอดีเซล ปี 2564 คือ 5.97 ล้านลิตร/วัน)

(2) ในการผลิตสินค้าต้องค านึงถึงต้นทุนในความเป็นจริงด้วย เช่น พลาสติกชีวภาพ ที่ถึงแม้จะมีมาตรฐานรองรับจากส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แต่ต้นทุนในการผลิตวัตถุดิบบางชนิด เช่น เอนไซม์ หากผลิตของในประเทศจะมีต้นทุนสูง จึงต้องน าเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ

(3) ควรมีการวางแผนในการวิจัยและพัฒนา เนื่องจากหากไม่มีการวางแผนการพัฒนา เช่น เลือกพัฒนาสินค้าเพียงชิ้นเดียว ไม่ใช่สินค้าในห่วงโซ่อุปทาน จะส่งผลให้ต้นทุนการวิจัยสูงมาก

(4) การพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ส่งผลให้ต้นทุนของผู้ผลิตสูงขึ้นยังเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการให้ความส าคัญน้อยที่สุด

Page 12: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-11

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ภาพที่ ง.2-1 แสดงบรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อย กลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ

Page 13: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-12

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ง.3 การจดัประชุมกลุ่มยอ่ย ครัง้ที่ 3 (กลุ่มอตุสาหกรรมอาหาร)

1) วัตถุประสงค์

(1) เพื่อน าเสนอร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน (2) เพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดท าร่างยุทธศาสตร์ฯ และแนวทางขับเคลื่อน

2) เนื้อหาน าเสนอ น าเสนอสถานการณ์แวดล้อมของอุตสาหกรรมการเกษตร (SWOT Analysis) และร่างยุทธศาสตร์

การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืนในภาพรวม 3) กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ประกอบด้วย ตัวแทนภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม และผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมการเกษตร โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุม ดังแสดงในตารางที่ ง.3-1 4) ผลลัพธ์จากการจัดประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 3

ตารางที่ ง.3-1 แสดงผู้เข้าร่วมการประชุมกลุ่มย่อย คร้ังที่ 3 (กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร) ล าดับ ชื่อ-สกลุ ต าแหน่ง

1 นายกิตตภิพ วายุภาพ นักวิชาการเกษตรช านาญการพิเศษ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน

2 นายนริศ จูกระจ่าง รองผู้อ านวยการ ส านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย 3 นางสาวนิรัชรา เต็มกุศลวงศ์ นักวิชาการมาตรฐานช านาญการ

ส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 4 นางสันธนา หิริศักดิส์กุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 5 นางสาวณัฏฐญิา เนตยสภุา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ

ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 6 นางสาวดวงฤด ีศิริเสถียร เจ้าหน้าท่ีปฏิบตัิการระดับสูง 2

ส านักงานส่งเสริมวสิาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 7 ดร.ก่อศักดิ ์โตวรรธกวณิชย ์ นักวิจัยนโยบายอาวุโส

ส านักงานนโยบายวิทยาศาสตรเ์ทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ 8 นางสาวนันทรัตน ์มหาสวสัดิ ์ นักวิจัยนโยบาย

ส านักงานนโยบายวิทยาศาสตรเ์ทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งุชาต ิ9 นายวิทวัสก ์สาระศาลิน ผู้อ านวยการกองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาต ิ

Page 14: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-13

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ตารางที่ ง.3-1 แสดงผู้เข้าร่วมการประชุมกลุ่มย่อย คร้ังที่ 3 (กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร) (ต่อ) ล าดับ ชื่อ-สกลุ ต าแหน่ง 10 คุณจุมทิพย ์เสนียร์ัตนประยูร อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 11 คุณอังศุธร เถื่อนนาดี อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 12 นายภูมิศักดิ ์ราศร ี ผู้อ านวยการศูนย์ปฏิบตัิการเศรษฐกิจการเกษตร

ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 13 นายทศพล ใหม่สุวรรณ ผู้อ านวยการ ส่วนนโยบายและแผนพัฒนาระบบโลจิสติกสด์้านการเกษตร

ส านักนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร 14 คุณช่อลัดดา เที่ยงพุก นักวิจัยสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภณัฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์15 นายมานัส กิจประเสริฐ นายกสมาคมโรงสีข้าวไทย 16 นายอรรถพล เลิศวาณิชดิลก ผู้จัดการสมาคมแป้งมันส าปะหลังไทย 17 นายวิวัฒน์ ตีระวนิชพงศ์ สมาชิกสมาคมแป้งมันส าปะหลังไทย 18 นายจุลดิษฐ ์ช่ืนก าไร ผู้แทนนายกสมาคมปาล์มน้ ามันและน้ ามันปาล์มประเทศไทย 19 นายวินัย แท่นประเสริฐกลุ ผู้ประสานงานสมาคมผู้ผลิตน้ ามันถั่วเหลืองและร าข้าว 20 นางสาวรัตดาวรรณ ชิณปะ สมาชิกสมาคมผู้ผลิตน้ ามันถั่วเหลอืงและร าข้าว 21 นางสาววัญญา สังขโพธ์ิ เจ้าหน้าท่ีสมาคมกุ้งไทย 22 นายธวัชชัย วีระพรวณิชย์กลุ เลขานุการคณะท างานด้านต่างประเทศ บริษัท ไทย ซูการ์ มิลเลอร์ จ ากัด 23 นายวุฒินนท์ ค าเดช บริษัท เอ็นโซล จ ากดั

ภายหลังจากการน าเสนอเกี่ยวกับสถานการณ์แวดล้อมของอุตสาหกรรมการเกษตร (SWOT Analysis) และร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืนในภาพรวม ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นตามยุทธศาสตร์ต่างๆ ได้ดังนี้ ยุทธศาสตร์ SO-1: ยุทธศาสตร์เพ่ิมผลผลิตและปรับสมดุลการใช้ทรัพยากร 1) ส่งเสริมการผลิตด้วยการโซนนิ่ง เพื่อให้สามารถจัดสรรพื้นที่ในการเพาะปลูกเชิงพาณิชย์ได้มากขึ้น รวมถึงการสร้างความเช้าใจในทุกภาคส่วน เช่น การก ากับแปลงเพาะ ลานเท และโรงงาน ให้มีความสอดคล้องกับการท าโซนนิ่งในแต่ละพื้นที่ 2) วิเคราะห์โดยค านึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องทุกด้าน ทั้งทรัพยากรการผลิต (เช่น สภาพพื้นที่ สภาพดิน ทรัพยากรน้ า) บริบททางสังคม (เช่น วัฒนธรรม ประเพณี) การบริหารจัดการ (เช่น ความพร้อมของเจ้าหน้าที่รัฐ) วัตถุดิบการเกษตร รวมถึงความเป็นธรรมและความเหมาะสมต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ปรับปรุงข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ให้ทันสมัยและถูกต้อง เช่น ข้อมูลการใช้ที่ดิน การขึ้นทะเบียนเกษตรกร การขึ้นทะเบียนโรงงาน (ในกรณีของโรงงานปาล์ม พบว่า มีโรงงานขึ้นทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ มีประมาณ 80 โรง ในขณะที่มีโรงงานขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานประมาณ 160 โรง) 4) บูรณาการหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยรัฐควรเป็นผู้ที่วิเคราะห์และก าหนดยุทธศาสตร์ของประเทศโดยรวมเพื่อให้ผู้ เกี่ยวข้องทั้งหมดมีความเข้าใจและเป้าหมายเดียวกัน ในขณะที่ ภาคเอกชน จะมุ่งความส าคัญไปในส่วนที่ตนถนัดและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของประเทศ

Page 15: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-14

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ยุทธศาสตร์ SO-2: ยุทธศาสตร์ยกระดับคุณค่าและความปลอดภัยผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป 1) การพัฒนาองค์ความรู้แก่เกษตรกร ได้แก่ การแก้ความเข้าใจผิด (เช่น ความเชื่อที่ว่ามันส าปะหลังเป็นพืชที่ปลูกในพื้นที่ที่ไม่สามารถปลูกพืชอื่นได้) การสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง (โดยเฉพาะเรื่องการพัฒนาผลผลิต และการบ ารุงรักษาพืช) การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงการสร้างจิตส านึกที่ดีในการเพาะปลูกพืชอาหาร

2) การสร้างแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบแก่เกษตรกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการตลาด เพือ่สร้างความมั่นใจแก่ผู้ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 3) มีกระบวนการการจัดการหลังเก็บเกี่ยวที่มีคุณภาพ เพราะเป็นกระบวนการที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลผลิตอย่างมากโดยมีหน่วยงานที่เข้ามาดูแลอย่างจริงจัง เพราะในปัจจุบัน ยังเป็นกระบวนการที่คาบเกี่ยวระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ซึ่งดูแลเรื่องผลิต และกระทรวงอุตสาหกรรมซึ่งดูแลเรื่องการแปรรูป จึงไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง

4) การส่งเสริมการปฏิบัติตามมาตรฐานต่างๆทั้งของภาครัฐและเอกชน เช่น มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของ (Good Agricultural Practice; GAP) หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practice; GMP) มาตรฐานโดยสถาบันส่งเสริมคุณภาพเกษตรไทย (ThaiGAP) มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มาตรฐาน RSPO ของปาล์มน้ ามัน (Roundtable on Sustainable Palm Oil) โดยหลายมาตรฐานได้มีการน าร่องโดยภาคเอกชน ซึ่งทางภาครัฐสามารถขยายผลได้โดยการผลิตบุคลากรในการอบรมทั่วประเทศ 5) ผลักดันการบังคับใช้มาตรฐาน รวมถึงการมีมาตรการลงโทษผูผ้ลิตสนิค้าไม่ได้มาตรฐาน

6) ปรับกฎหมายและมาตรฐานให้หลากหลาย รวมถึงสอดคล้องกับความต้องการของตลาด เนื่องจากความต้องการของประเทศคู่ค้ามีหลากหลาย เช่น บางประเทศอาจต้องการเพียงข้าวขาว 5% เท่านั้น การก าหนดมาตรฐานที่สูงมากส าหรับสินค้าส่งออก เช่น ข้าวหอมมะลิ 99% จึงก่อให้เกิดภาระที่เกินความจ าเป็นแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการจ านวนมาก

7) การกระจายอ านาจในการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีความใกล้ชิดกับเกษตรกรมากกว่าภาครัฐ 8) มีการประชาสัมพันธ์และสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐาน ผ่านการท าตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ รวมถึงจัดกลุ่มมาตรฐานเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ผู้บริโภค

ยุทธศาสตร์ ST-1: ยุทธศาสตร์สร้างเครือข่ายความร่วมมือในกลุ่มอุตสาหกรรมเชื่อมโยงสู่ภมูิภาค 1) ก าหนดแผนให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดโลกและครอบคลุมถึงอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถึงก าหนดขอบเขตการแข่งขันเพื่อยับยั้งปัญหาที่ผู้ประกอบการในประเทศแข่งขันกันเองจน สูญเสียความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก

ยุทธศาสตร์ WO-1 ยุทธศาสตร์สร้างนวัตกรรมและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต 1) ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาทั้งในเชิงการการทดลองและเชิงพาณิชย์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของประเทศไทยซึ่งมีเกษตรกรรายย่อยจ านวนมากและมีการปลูกในพื้นที่ข นาดเล็ก ซึ่งต่างจากประเทศอื่น เช่น บราซิล ที่มีการปลูกอ้อยในพื้นที่ขนาดใหญ่ จึงใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ได้ รวมถึงการศึกษาความคุ้มค่า เมื่อน าไปใช้ในเชิงพาณิชย์ด้วย

Page 16: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-15

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

2) พัฒนาระบบสนับสนุนงานวิจัย เช่น ระบบลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรทางปัญญา แหล่งทุนเพื่อแก้ปัญหา การละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งเป็นอุปสรรคที่ส าคัญของการวิจัยและพัฒนาในประเทศไทย

ยุทธศาสตร์ WO-2 ยุทธศาสตร์ยกระดับประสิทธิภาพ การบริหารจัดการตลอดห่วงโซ่อุปทาน 1) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสมตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่ในขั้นตอนการคัดสายพันธุ์ การวิเคราะห์ดิน (การวิเคราะห์สารอาหารและสารอินทรีย์ของที่เหมาะสมต่อแต่ละพื้นที่) การใช้ปุ๋ย การเพาะปลูก การเก็บเก่ียวผลผลิต ระบบโลจิสติกส์ (รูปแบบการการขนส่งและการจัดเก็บที่เหมาะสมและสอดคล้องกับฐานการผลิต) และการแปรรูป 2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาและเสริมสร้างความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบเก่ียวกับเทคโนโลยี 3) ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ รวมถึงการตลาดที่ต่อเนื่อง โดยการจัดตั้งหน่วยงานที่ดูแลเรื่องเมล็ดพันธุ์อย่างทั่วถึง (ในปัจจุบัน กรมการข้าวเป็นผู้ดูแล แต่มักจะให้ความส าคัญกับเมล็ดพันธุ์ข้าวเท่านั้น) เน้นการร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public -Private Partnership; PPP) (ในปัจจุบัน ได้มีการจัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน ซึ่งเปิดโอกาสให้เอกชนเข้าไปร่วมด าเนินงานได้) รวมถึงการท าตลาดให้แก่เมล็ดพันธุ์ที่ส่งเสริมเพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่เกษตรกรที่ปลูกด้วย 4) การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค เช่น มาตรการควบคุมการน าเข้า การส่งออก และการถ่ายล า

ยุทธศาสตร์ WT-1 ยุทธศาสตร์การขจัดภัยและจุดอ่อน 1) ปรับปรุงกฎระเบียบให้เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก เช่น การท ากองทุนพยุงราคาอ้อย โดยเก็บเงินเข้ากองทุนเมื่อราคาสูง และมีเงินชดเชยเมื่อราคาต่ า) อย่างไรก็ตาม การด าเนินการต้องผ่าน การเห็นชอบของทุกภาคส่วน รวมถึงมาตรการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ 2) ลดการแทรกแซงจากภาครัฐ เพื่อไม่ให้เกิดการบิดเบือนโครงสร้างราคาและตลาด

โดยสรุปแล้ว สามารถกล่าวได้ว่าผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาโดยรวม ดังนี้

1) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสม รวมถึงการบริหารจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management; KM) และการวิจัยและพัฒนา ทั้งในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม

2) การมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดห่วงโซ่อุปทาน ทั้งเกษตรกร และผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกรรายย่อย และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)

3) ปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยพื้นฐานอย่างเหมาะสม โดยรวมถึงมาตรฐาน กฎระเบียบ มาตรการ กฎหมาย และโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา

4) พัฒนาความรูเ้ข้าใจของเจ้าหน้าที่ภาครัฐ (Smart Officer) ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 5) ก าหนดยุทธศาสตร์เชิงรุกมากขึ้น ทั้งในด้านการผลิต การตลาด และการส่งออก

6) บูรณาการในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร เพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน

Page 17: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-16

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

7) เสริมสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ ผ่านตราสินค้าและการตลาด เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ 8) พัฒนาตลาดสินค้าที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน

ภาพที่ ง.3-1 แสดงบรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 3 (กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร)

Page 18: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-17

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ง.4 การจดัประชุมกลุ่มยอ่ย ครัง้ที่ 4 (กลุ่มอตุสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ) 1) วัตถุประสงค์

(1) เพื่อน าเสนอร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืน (2) เพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดท าร่างยุทธศาสตร์ฯ และแนวทางขับเคลื่อน

2) เนื้อหาน าเสนอ น าเสนอสถานการณ์แวดล้อมของอุตสาหกรรมการเกษตร (SWOT Analysis) และร่างยุทธศาสตร์

การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืนในภาพรวม 3) กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ ประกอบด้วย ตัวแทนภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการเกษตร ดังแสดงในตารางที่ ง.4-1 4) ผลลัพธ์จากการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 4 ตารางที่ ง.4-1 แสดงผู้เข้าร่วมการประชุมกลุ่มย่อย คร้ังที่ 4 (กลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ)

ล าดับ ชื่อ-สกลุ ต าแหน่ง 1 นายพิเชฏฐ์ พร้อมมลู นักวิชาการเกษตรสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร 2 นายประเสริฐ อะมรติ นักวิจัย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 3 นางสาววัชริน มีรอด นักวิจัยหน่วยศึกษานโยบายและความปลอดภัยทางชีวภาพ

ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชีีวภาพแห่งชาติ 4 นายพงศ์ไท ไทโยธิน เศรษฐกรช านาญการพิเศษ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 5 นางสาวมณทริา พรหมพิทยายุทธ เศรษฐกรช านาญการพิเศษ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร 6 นายอัสน ีมาลัมพุช นายกสมาคมโรงกลั่นน้ ามันปาล์ม 7 นางสาวปิยภรณ ์แซ่ลิ่ม ผู้จัดการสมาคมยางพาราไทย 8 นายวิกรานต ์ปอแก้ว เจ้าหน้าท่ีประสานงาน สมาคมเอทานอลจากมันส าปะหลัง 9 นายวุฒินนท์ ค าเดช บริษัท เอ็นโซล จ ากดั 10 คุณอังศุธร เถื่อนนาดี อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร ์มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 11 Luo Yun GM BLT Flexitank Industrial Co., Ltd. 12 ผศ.สมุาล ีพุ่มภิญโญ อาจารย์ประจ าคณะเศรษฐศาสตร ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์

13 วันวิวา หลักหนองบุ ผู้จัดการโครงการ บริษัท เอนโซล จ ากัด

Page 19: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-18

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ภายหลังจากการน าเสนอเกี่ยวกับสถานการณ์แวดล้อมของอุตสาหกรรมการเกษตร (SWOT Analysis) และร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างยั่งยืนในภาพรวม ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกับสถานการณ์แวดล้อมของอุตสาหกรรมการเกษตร ดังนี้ 1) จุดแข็ง (S)

S5 รัฐและผู้ประกอบการมีขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ในกรณีของอุตสาหกรรมยางไทยไม่ถือเป็นจุดแข็ง เนื่องจากยังมีนวัตกรรมน้อย 2) จุดอ่อน (W) W3 นโยบายภาครัฐขาดความชัดเจนและต่อเนื่อง เป็นประเด็นที่ผู้เข้าร่วมประชุมเห็นด้วย เป็นอย่างมาก และได้ยกตัวอย่างในกรณีที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ส่งเสริมการปลูกยางพาราและปาล์มน้ ามัน ในขณะที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนยกเลิกการส่งเสริมโรงงานยางพาราและปาล์มน้ ามัน โดยให้เหตุผลว่าเป็นโรงงานที่ใช้แรงงานเข้มข้น และมีมูลค่าเพิ่มต่ า W6 อุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นการแปรรูปขั้นต้น ยังขาดอุตสาหกรรมการแปรรูปขั้นสูง มีความเห็นเพิ่มเติมว่าควรค านึงถึงอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ใช้วัตถุดิบทางการเกษตรด้วย เช่น เคสมือถือ-ไบโอพลาสติก 3) โอกาส (O)

O4 การเปิดเขตเศรษฐกิจเสรีอาเซียนเป็นโอกาสด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร ในกรณีของอุตสาหกรรมยางพารา ไม่นับเป็นโอกาส เนื่องจากประเทศคู่ค้าส่วนใหญ่อยู่นอกอาเซียน ในขณะที่ประเทศในอาเซียนส่วนใหญ่มีสถานะเป็นคู่แข่งกัน อย่างไรก็ตาม ในบางสินค้า ประเทศไทยอาจเป็นศูนย์กลางการค้าและการแปรรูปโดยน าเข้าวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้านได้

O5 การพัฒนาเส้นทางคมนาคมสู่ประเทศจีนและเพื่อนบ้านเป็นโอกาสขยายการค้าชายแดนและจีนตอนล่าง ในกรณีของอุตสาหกรรมยางพารา ไม่นับเป็นโอกาส เนื่องจากสินค้าส่วนใหญ่ท าการขนส่งทางเรือ การพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางบกจึงไม่ได้ก่อให้เกิดโอกาสเพิ่มขึ้น 4) ภัยคุกคาม (T) T2 การกีดกันทางการค้าจากมาตรการไม่ใช่ภาษีมีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น เป็นประเด็นที่ ผู้เข้าร่วมประชุมเห็นด้วยเป็นอย่างมาก โดยได้ยกตัวอย่างในกรณีของความพยายามในการผลักดันมาตรฐาน ยางความหนืดต่ า (Low Viscosity; LOV) ให้บรรจุอยู่ในมาตรฐาน ISO ของน้ ายางข้น มาตรฐานการจัดเก็บแบบใหม่ของยางแผ่นรมควันรวมถึงการตั้งเงื่อนไขเกี่ยวกับฝุ่นที่เจือปนในมันส าปะหลังที่ส่งออกไปยังประเทศจีน

นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมยังได้แสดงข้อคิดเห็นแบ่งตามยุทธศาสตร์ต่างๆได้ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ SO-1: ยุทธศาสตร์เพ่ิมผลผลิตและปรับสมดุลการใช้ทรัพยากร 1) ส่งเสริมการท าโซนนิ่ง ตามความเหมาะสมของสภาพดิน โดยควรวิเคราะห์ถึงความเหมาะสมในการลงทุนและผลิตในประเทศเพื่อนบ้านด้วย รวมถึงส่งเสริมการปลูกถ่ัวเหลืองเพื่อชดเชยการน าเข้า

Page 20: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-19

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

2) เพิ่มผลผลิตทั้ งด้านคุณภาพและปริมาณ และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด ซึ่งสามารถท าได้ผ่านการท าเกษตรประณีต (Precision Farming) เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีต้นทุนการผลิตลดลง และมีคุณภาพมากขึ้น เช่น การเพิ่มความหวานของอ้อยโรงงาน การเพิ่มมันสัดส่วนแป้งในส าปะหลัง การเพิ่มคุณภาพทางโภชนาการในผลิตภัณฑ์อาหาร 3) พัฒนาฝีมือแรงงานในภาคเกษตรและส่งเสริมการใช้เครื่องจักร เพื่อทดแทนแรงงานไร้ฝีมือ ยุทธศาสตร์ SO-2: ยุทธศาสตร์ยกระดับคุณค่าและความปลอดภัยผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป 1) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรคณุภาพสูง ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยส าหรับผูบ้ริโภค 2) ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อสร้างภาพลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์ เช่น การสร้างเรื่องราวประวัติผลิตภัณฑ์ ตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์

ยุทธศาสตร์ ST-1: ยุทธศาสตร์สร้างเครือข่ายความร่วมมือในกลุ่มอุตสาหกรรมเชื่อมโยงสู่ภมูิภาค 1) ศึกษาความเป็นไปได้ในการเป็นศูนย์กลางรูปแบบต่างๆในภูมิภาค เช่น ศูนย์กลางการแปรรูปหรือ

ค้าขายยางพาราจากประเทศเพื่อนบ้าน 2) ผลักดันให้ผู้ ประกอบการสามารถใช้ประโยชน์จากข้อจ ากัดทางการค้าที่ ลดลง ได้ เช่น มาตรการด้านภาษี ข้อจ ากัดในการเคลื่อนย้ายแรงงานภาคเกษตร ที่ลดน้อยลง 3) การใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor; SEC) เพื่อประโยชน์ในการขนส่งและเชื่อมโยงถึงตลาดใหม่ โดยเฉพาะในประเทศจีน 4) เพิ่มจ านวนประเทศคู่ค้า เพื่อลดการพึ่งพิงประเทศคู่ค้าน้อยราย (เช่น ประเทศจีนส าหรับอุตสาหกรรมมันส าปะหลังและยางพารา) และเพิ่มอ านาจต่อรองทางการค้า (เห็นได้จากการที่มาเลเซียได้ศึกษาและค้นคว้าแนวทางการลดสัดส่วนน้ ายางข้นในการผลิตถุงมือยางลงเพื่อสร้างอ านาจต่อรองกับประเทศไทย)

ยุทธศาสตร์ WO-1 ยุทธศาสตร์สร้างนวัตกรรมและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต

1) มีการจัดการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การเกษตร อย่างเป็นรปูธรรมและน าไปใชไ้ด้จริง เพื่อให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงข้อมูลและนวตักรรมได้อย่างเสมอภาค 2) พัฒนาบุคลากรส าหรับงานวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมชีวภาพที่ประสบปัญหาขาดแคลนบุคลากรอย่างมาก ถึงแม้ว่าจะมีการส่งเสริมผ่านสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง (Thailand Advanced Institute of Science and Technology; THAIST) และหลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ภายใต้ส านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโน โลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) แต่ยังคงเป็นไปได้ช้า เนื่องจากยังไม่ได้รับการสนับสนุนเท่าที่ควร

Page 21: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-20

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ยุทธศาสตร์ WO-2 ยุทธศาสตร์ยกระดับประสิทธิภาพ การบริหารจัดการตลอดห่วงโซ่อุปทาน 1) เสริมสร้างความรู้แก่เกษตรกร โดยการเพิ่มช่องทางเข้าถึงข้อมูลด้านการเกษตรที่หน่วยงาน ที่เก่ียวข้องได้ปรับปรุงให้มีความสอดคล้องกัน รวมถึงการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผ่านการจัดการความรู้และวิเคราะห์ถึงการใช้งานได้จริงและสอดคล้องกับยุคสมัย 2) มีระบบการแบ่งผลประโยชน์ที่เหมาะสม ระหว่างนักลงทุน ผู้ประกอบการ และเกษตรกร 3) ลดต้นทุนการผลิต ผ่านการศึกษาโครงสร้างต้นทุนอย่างจริงจังเพื่อวิเคราะห์ถึงอุปสรรคที่แท้จริงในการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน และการเสริมสร้างความร่วมมือในระดับพื้นที่ 4) พัฒนารูปแบบการใช้งานผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น การน ายางพาราไปใช้ในสิ่งก่อสร้างหรือโครงสรา้งพื้นฐาน 5) ปรับปรุงและลดกฎระเบียบที่ขัดขวางการค้าและการลงทุน เช่น มาตรการกีดกันการค้า ที่ไม่ใช่ภาษี 6) ลดความสิ้นเปลืองในการผลิตและบริโภคสินค้า เช่น การส่งเสริมการน าบรรจุภัณฑ์มาใช้ใหม่ การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการใช้บรรจุภัณฑ์ที่รีไซเคิลได้

Page 22: ภำคผนวก ง - ThaiFTAthaifta.com/trade/study/FN_App_D.pdf · 2014. 5. 14. · ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย ( Focus

บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จ ากัด

ง-21

โครงการจัดท าแผนแม่บทเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรอย่างย่ังยืน ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ ์ภาคผนวก ง การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)

ภาพที่ ง.4-1 แสดงบรรยากาศการประชุมกลุ่มย่อยครั้งที่ 4 (กลุ่มอุตสาหกรรมมิใช่อาหารและชีวภาพ)