24
7.2 สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสส 7.1 สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสส สสส สสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสส สสสสสสส สสส 2 สสส 3 สสสสสสสสสสสส 2 สส 8 สสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส Li, Be, B, C, N, O, F สสส Ne สสสสสสสสสสสส 3 สส 8 สสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส Na, Mg, Al, Si, P, S, Cl สสส Ar สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสส 7.22 สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 2 สสสสสส \ สสสส Li Be B C สสสส สสสส N O F Ne สสสสสสสส สสสสสสสสสสส สสสสสสสสสส สสสสสสสส IE 1 (kJ/mol) สสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสส (pm)* สสสสสสสสสสส(g/ cm 3 ) สสสสสสสสสสสสส (cm 3 ) สสสสสสสสสสส ( 0 C) สสสสสสสส( 0 C) สสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสส (kJ/mol) สสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสส (kJ/mol) สสสสสสสสสสส(ohm - 1 cm -4 ) สสสสสสสสสสสสสสสสส 3 2,1 6.9 526 1.0 123 0.5 3 13. 1 180 133 0 3.0 135 8 4 2,2 9.0 906 1.5 89 1.8 5 4.9 128 0 248 0 11. 7 295 5 2,3 10. 8 807 2.0 80 2.3 4 4.6 203 0 393 0 22. 2 539 6 2,4 12. 0 109 3 2.5 77 2.2 6 5.3 350 0 - - 717 7 2,5 14. 0 140 7 3.0 74 0.8 17. 3 - 210 - 200 0.3 6 8 2,6 16. 0 132 0 3.5 74 1.1 5 14. 0 - 218 - 180 0.2 2 9 2,7 19. 0 168 7 4.0 72 1.5 17. 1 - 220 - 190 0.2 6 10 2,8 20. 2 208 7 - 160 1.2 16. 7 - 249 - 245 0.3 3

บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

7.2 สมบตัิของสารประกอบของธาตตุามคาบ

ในหวัขอ้ 7.1 นักเรยีนได้ศึกษาแนวโน้มของสมบตัิต่างๆ ของธาตตุามหมูแ่ละตามคาบมาแล้ว โดยใน หวัขอ้นี้จะได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสมบตัิของสารประกอบของธาตทุี่อยูใ่นคาบเดียวกัน โดยเฉพาะสารประกอบคลอ

ไรด์ ออกไซด์ และซลัไฟด์

ธาตใุนคาบเดียวกันที่จะศึกษาเกี่ยวกับสมบตัิของสารประกอบ ได้แก่ ธาตคุาบที่ 2 และ 3 ธาตใุนคาบท ี่ 2 ม ี 8 ธาต ุ เรยีงตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามากคือ Li, Be, B, C, N,

O, F และ Ne ธาตใุนคาบท ี่ 3 มี 8 ธาตุ เรยีงลำาดับตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามากคือ Na, Mg, Al, Si,

P, S, Cl และ Ar ธาตเุหล่านี้มสีมบตัิต่างๆ พอจะสรุปเปรยีบเทียบได้ดังนี้

ตารางที่ 7.22 สมบตัิบางประการของธาตใุนคาบที่ 2 สมบตัิ \ ธาตุ Li Be B C

แกร์ไฟต์

N O F Ne

เลขอะตอมการจัดเรยีงอิเล็กตรอนมวลอะตอม

IE1 (kJ/mol)อิเล็กโทรเนกาติวติี

รศัมอีะตอม (pm)*ความหนาแน่น(g/cm3)

ปรมิาตรต่อโมล (cm3) จุดหลอมเหลว (0C)

จุดเดือด(0C)ความรอ้นแฝงของการ

หลอมเหลว (kJ/mol)ความรอ้นแฝงของการเกิดไอ (kJ/mol)การนำาไฟฟา้(ohm-1cm-4)

การนำาความรอ้นท ี่ 25 0C(J/cm.S.K)

32,16.95261.01230.53

13.1

180133

03.0

135

80.71

42,29.09061.5891.85

4.9128

0248

011.7

295

511.6

52,310.8

8072.0802.34

4.6203

0393

022.2

539

-0.01

62,412.0

1093

2.5772.26

5.3350

0--

717

0.14

0.24

72,514.0

1407

3.0740.817.3-

210-

2000.36

2.8

--

82,616.0

1320

3.5741.15

14.0-

218-

1800.22

3.4

-0.00025

92,719.0

1687

4.0721.517.1-

220-

1900.26

3.3

-0.00025

102,820.2

2087-

1601.216.7-

249-

2450.33

1.8

-0.00042

ชนิดของธาตุ โลหะ โลหะ กึ่งโลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ อโลหะ อโลหะ อโลหะ

Page 2: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

ชนิดโครงสรา้ง โลหะโมเลกลุใหญ่ โมเลกลุขนาดใหญ่ โมเลกลุอะตอมคู่ อะตอมชนิดของพนัธะ พนัธะโลหะ พนัธะโคเวเลนต์ -

* หมายถึง รศัมโีคเวเลนต์ ยกเวน้ Ne หมายถึงรศัมวีนัเดอรว์าลส์** ความหนาแน่นของ N, O, F และ Ne พจิารณาจากสถานะของเหลว

ตารางที่ 7.23 สมบตัิบางประการของธาตใุนคาบที่ 3 สมบตัิ \ ธาตุ Na Mg Al Si P

(ขาว)S

รอมบกิCl Ar

เลขอะตอมการจัดเรยีงอิเล็กตรอนมวลอะตอม

IE1 (kJ/mol)อิเล็กโทรเนกาติวติี

รศัมอีะตอม (pm)*ความหนาแน่น(g/cm3)

ปรมิาตรต่อโมล (cm3) จุดหลอมเหลว (0C)

จุดเดือด(0C)ความรอ้นแฝงของการ

หลอมเหลว (kJ/mol)ความรอ้นแฝงของการเกิดไอ (kJ/mol)การนำาไฟฟา้(ohm-1cm-4)

การนำาความรอ้นท ี่ 25 0C(J/cm.S.K)

112,8,

123.0

5020.91570.97

23.7

988902.60

89.0

101.34

122,8,

224.3

7441.21361.74

14.6

649112

08.95

128.7

161.6

132,8,

327.0

5041.51252.710.0

660245

010.75

293.7

382.1

142,8,

428.1

7931.81172.33

12.1

1410

2680

46.4

376.7

40.84

152,8,

531.0

1018

2.11102.35

16.9

442800.63

12.4

10-16

-

162,8,

632.1

1006

2.51042.07

15.6

1134451.41

9.6

10-22

0.00029

172,8,

735.5

1257

3.0991.56

22.8-

101-343.20

10.2

-0.00008

182,8,

839.9

1527-

1921.40

28.5-

189-

186-

1.18

6.5

-0.00017

ชนิดของธาตุ โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะชนิดโครงสรา้ง โลหะโมเลกลุใหญ่ โมเลกลุใหญ่ โมเลกลุคู่ อะตอมชนิดของพนัธะ พนัธะโลหะ พนัธะโคเวเลนต์ -

* หมายถึง รศัมโีคเวเลนต์ ยกเวน้ Ar หมายถึงรศัมวีนัเดอรว์าลส์

** ความหนาแน่นของ Cl และ Ar พจิารณาจากสถานะของเหลว

Page 3: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

ธาตตุ่างๆ เหล่านี้โดยเฉพาะธาตอุอกซเิจนและคลอรนีเป็นธาตทุี่มคีวามวอ่งไวต่อการเกิดปฏิกิรยิามาก สามารถ

เกิดปฏิกิรยิากับธาตอ่ืุนๆ ได้เกือบทกุชนิด และสามารถเกิดปฏิกิรยิาได้โดยตรงกับธาตคุาบท ี่ 2 และคาบท ี่ 3 ดังในตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 7.24 ปฏิกิรยิาบางชนิดของธาตใุนคาบที่ 3ธาตุ เผาใน Cl2 แหง้ เผาใน O2 แหง้ เผาใน H2 แหง้

Na เกิดปฏิกิรยิารุนแรงมาก ได้ NaCl

เกิดปฏิกิรยิารุนแรงมาก ได้ Na2O และ Na2O2

เกิดปฏิกิรยิารุนแรงมาก ได้ NaH

Mg เกิดปฏิกรยิารุนแรงได้ MgCl2

เกิดปฏิกิรยิารุนแรงมากได้ MgO เกิดปฏิกิรยิารุนแรงได้ MgH2

Al เกิดปฏิกิรยิารุนแรงได้ Al2Cl6

เกิดปฏิกิรยิารุนแรงได ้ Al2O3 ซึ่งจะเคลือบที่ผิวทำาใหไ้มเ่กิดปฏิกิรยิาต่อไป

ไมเ่กิดปฏิกิรยิา

Si เกิดปฏิกิรยิาชา้ๆ ได้ SiCl4 เกิดปฏิกิรยิาชา้ๆ ได้ SiO2 ไมเ่กิดปฏิกิรยิา

P เกิดปฏิกิรยิาชา้ๆ ได้ PCl3 และ PCl5

เกิดปฏิกิรยิารุนแรงได ้ P4O6 และ P4O10

ไมเ่กิดปฏิกิรยิา

S เกิดปฏิกิรยิาชา้ๆ ได ้ SCl2 และ S2Cl2

เกิดปฏิกิรยิาชา้ๆ ได้ SO2 เกิดปฏิกิรยิาชา้มากได้ H2S

Cl ไมเ่กิดปฏิกิรยิา ไมเ่กิดปฏิกิรยิา เกิดปฏิกิรยิารุนแรงในแสงอาทิตย์ ได้ HCl

Ar ไมเ่กิดปฏิกิรยิา ไมเ่กิดปฏิกิรยิา ไมเ่กิดปฏิกิรยิา

เมื่อธาตใุนคาบที่ 2 และคาบที่ 3 เกิดเป็นสารประกอบคลอไรด์ ออกไซด์ และซลัไฟด์ จะมสีตูรเป็นดังนี้

ตารางที่ 7.25 สตูรและสารประกอบบางชนิดของธาตใุนคาบที่ 2สตูรสารประกอบ\ ธาตุ Li Be B C N O F Ne

คอลไรด์ LiCl

BeCl2

BCl3

CCl4

NCl3

Cl2OClO2Cl2O7

ClF -

ออกไซด์ LiO Be B2 CO N2 O2 OF -

Page 4: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

2 O O3 2CO

O5NO2N2O3NON2O

2

ซลัไฟด์ Li2S

BeS

B2S3

CS2

N2S5

SO2SO3

SF6SF4SF2

-

ไฮไดรด์ LiH BeH2

BH3

CH4

NH3

H2O

HF -

ตารางที่ 7.26 สตูรและสารประกอบบางชนิดของธาตใุนคาบที่ 3สตูรสารประกอบ\ ธาตุ Na Mg Al Si P S Cl Ar

คลอไรด์ NaCl

MgCl2

AlCl3AlCl6

SiCl4

PCl3

PCl5

SCl2

Cl2 -

ออกไซด์ Na2O

Na2O2

MgO

Al2O3

SiO2

P4O6P4O10

SO2

SO3

Cl2OClO2Cl2O7

-

ซลัไฟด์ Na2S

MgS

Al2S3

SiS2

P2S5

- SCl2

S2Cl2

-

ไฮไดรด์ NaH

MgH2

AlH3

SiH4

PH3

H2S

HCl

-

จะเหน็ได้วา่ธาตบุางชนิดในคาบท ี่ 2 และคาบท ี่ 3 สามารถเกิดเป็นสารประกอบคลอไรด ์ ออกไซด์ และซลั ไฟด์ได้หลายชนิด เนื่องจากธาตอุโลหะเหล่านัน้สามารถมเีลขออกซเิดชนัได้หลายค่าจงึเกิดสารประกอบได้หลายชนิด ใน

ขณะที่โลหะทางซา้ยของคาบเกิดสารประกอบได้ชนิดเดียว เพราะมเีลขออกซเิดชนัค่าเดียว

Page 5: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

ตารางที่ 7.27 แสดงเลขออกซเิดชนัของธาตใุนคาบที่ 2 และคาบที่ 3คาบ ธาตุ หมู่ เลขออกซเิดชนั ตัวอยา่ง

ที่พบ สงูสดุ ตำ่าสดุ

2 LiBeBCNOFNe

IAIIAIIIAIVAVAVIAVIIAVIIIA

0, +10, +20, +3-4, 0, +2, +4-3,0,+1,+2,+3,+,4,+5-2,-1,0,+2-1,0-

+1+2+3+4+5+20-

000-4-3-2-1-

Li, Li2OBe, BeCl2B, BH4CH4 , C, CO, CO2NH3 ,N2 ,N2O, NO, N2O3 , NO2H2O, H2O2 , O2 , OF2F2 , HF-

3 NaMgAlSiPSClAr

IAIIAIIIAIVAVAVIAVIIAVIIIA

0, +10, +20, +3-4, 0, +4-3, 0, +3, +5-2, 0, +1, +2,+4,+6-1,0,+1,+3,+4,+6,+7-

+1+2+3+4+5+6+7-

000-4-3-2-1-

Na, Na2OMg, MgOAl, Al2O3SiH4 , Si, SiO2PH3 , P, PCl3 , PCl5H2S, S, S2Cl2, SCl2 ,SO2 , SO3NaCl, Cl2 , Cl2O, KClO2 , ClO2-

จากสตูรของสารประกอบของธาตใุนคาบท ี่ 2 และ 3 ต่อไปจะศึกษาสมบตัิบางประการ เชน่ จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความเป็นกรดเบสของออกไซด์ของสารประกอบดังกล่าว

ตารางที่ 7.28 สมบตัิบางประการของสารประกอบคลอไรด์ของธาตใุนคาบที่ 2 สมบตัิ \ สตูร LiCl BeCl

2

BCl3 CCl4 NCl3 Cl2O ClFสถานะ ของแขง็ ของแขง็ ก๊าซ ของเหลว ของเหลว ก๊าซ ก๊าซโครงสรา้งโมเลกลุ โมเลกลุใหญ่ โมเลกลุเดี่ยวจุดหลอมเหลว (0C)

จุดเดือด (0C)610

1350405520

-10712

-2377

-2771

-204

-154-101

การละลายนำ้า ละลาย ละลาย ละลาย ไมล่ะลาย ไมล่ะลาย ละลาย ละลาย

Page 6: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

สมบตัิกรด-เบสของสารละลาย

กลาง กลาง กรด - - กรด กรด

การนำาไฟฟา้เมื่อหลอมเหลว

นำา นำาเล็กน้อย

ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา

ตารางที่ 7.29 สมบตัิบางประการของสารประกอบคลอไรด์ของธาตใุนคาบที่ 3 สมบตัิ \ สตูร NaCl MgCl

2

AlCl3 SiCl4 PCl3 SCl2 Cl2สถานะ ของแขง็ ของแขง็ ของเหลว ของเหลว ของเหลว ของเหลว ก๊าซโครงสรา้งโมเลกลุ โมเลกลุขนาดใหญ่ โมเลกลุเดี่ยวจุดหลอมเหลว (0C)

จุดเดือด (0C)810

1465712

1418193180

-6857

-9174

-8054

-101-35

การละลายนำ้า

สมบตัิกรด-เบสของสารละลาย

pH ของสารละลาย

ละลายกลาง

7.0

ละลายกลาง

7.0

ละลายกรด

ละลายกรด

3.0

ละลายกรด

2.0

ละลายกรด

2.0

ละลายกรด

2.0การนำาไฟฟา้เมื่อหลอมเหลว

นำา นำา นำาเล็กน้อย

ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา

จะเหน็ได้วา่คลอไรด์ของธาตใุนคาบที่ 2 และคาบที่ 3 มแีนวโน้มการเปล่ียนแปลงสมบตัิต่างๆ คล้ายกัน เชน่

1. คลอไรด์ของโลหะจะเป็นของแขง็ที่โมเลกลุขนาดใหญ่ เป็นสารประกอบไอออนิก จงึมแีรงยดึเหนี่ยว ระหวา่งโมเลกลุมาก ทำาใหจุ้ดหลอมเหลวและจุดเดือดสงู และเมื่อหลอมเหลวจะนำาไฟฟา้ได้เพราะไอออนสามารถเคล่ือนที่

ได้ คลอไรด์ของอโลหะเป็นโมเลกลุเล็กๆ ซึ่งยดึเหนี่ยวกันด้วยแรงวนัเดอรว์าลสท์ำาใหจุ้ดหลอมเหลวและ

จุดเดือดค่อนขา้งตำ่าจะเหน็ได้วา่จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของคอลไรด์มแีนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

2. การละลายนำ้าของสารประกอบคลอไรด์ ถ้าเป็นคลอไรด์ของโลหะ เมื่อละลายนำ้าจะแตกตัวเป็นไอออนโดยมโีมเลกลุของนำ้ามาล้อมรอบสว่นใหญ่

สารละลายจะแสดงสมบตัิเป็นกลางหรอืเป็นกรดเล็กน้อยเชน่

NaCl (s) OH2 Na+ (aq) + Cl- (aq)MgCl2 (s) OH2 Mg2+ (aq) + 2Cl- (aq)

ในขณะที่คลอไรด์ของอโลหะ เมื่อละลายนำ้าจะเกิดปฏิกิรยิากับนำ้า ทำาใหส้ารละลายแสดงสมบตัิเป็นกรด เชน่

PCl3 (l) + 3H2O (l) H3PO3 (aq) + 3H+ (aq) + 3Cl- (aq)

SiCl4 (l) + 2H2O (l) SiO2 (s) + 4H+ (aq) + 4Cl- (aq)

2S2Cl2 (l) + 2H2O (l) 3S (s) + SO2 (aq) + 4H+ (aq) + 4Cl- (aq)

ตารางที่ 7.30 สมบตัิบางประการของสารประกอบออกไซด์ของธาตใุนคาบที่ 2

Page 7: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

สมบตัิ \ สตูร Li2O BeO B2O3 CO2 N2O5 OF2สถานะปกติ ของแขง็ ของแขง็ ของแขง็ ก๊าซ ของแขง็ ก๊าซโครงสรา้งโมเลกลุ โมเลกลุขนาดใหญ่ โมเลกลุเดี่ยว

จุดหลอมเหลว (0C) จุดเดือด (0C)

1700

1200

25303900

4601860

-57-

78.5

3047

-224-

144.8

การละลายนำ้า

สมบตัิกรด-เบสของสารละลาย

สมบตัิกรด-เบสของออกไซด์

ละลายเบส

เบส

ไมล่ะลาย

-แอมโฟเท

อรกิ

ละลายเล็กน้อยกรด

กรด

ละลายกรด

กรด

ละลายกรด

กรด

ละลายกรด

กรด

การนำาไฟฟา้เมื่อหลอมเหลว

นำา นำา นำาเล็กน้อย ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา

ตารางที่ 7.31 สมบตัิบางประการของสารประกอบออกไซด์ของธาตใุนคาบที่ 3

สมบตัิ \ สตูร Na2O MgO Al2O3 SiO2 P4O10

SO2 Cl2Oสถานะปกติ ของแขง็ ของแขง็ ของแขง็ ของแขง็ ของแขง็ ก๊าซ ก๊าซโครงสรา้งโมเลกลุ โมเลกลุขนาดใหญ่ โมเลกลุเดี่ยวจุดหลอมเหลว (0C)

จุดเดือด (0C)1275

-*28563600

20722980

1703

2230

580-585300*

-72.7-10

-203.8*

การละลายนำ้า

สมบตัิกรด-เบสของสารละลาย

สมบตัิกรด-เบสของออกไซด์

ละลายเบส

เบส

ละลายเบส

เบส

ไมล่ะลาย

- แอมโฟ เท

อรกิ

ไมล่ะลาย

-กรด

ละลายกรด

กรด

ละลายกรด

กรด

ละลายกรด

กรด

การนำาไฟฟา้เมื่อหลอมเหลว

นำา นำา นำา นำาได้เล็กน้อย

ไมน่ำา ไมน่ำา ไมน่ำา

* ระเหดิ

Page 8: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

จากสมบตัิต่างๆ ของออกไซด์ในตารางจะเหน็วา่มแีนวโน้มการเปล่ียนแปลงคล้ายกันทัง้คาบท ี่ 2 และคาบที่ 3

1. จุดหลอมเหลวและจุดเดือด

จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของออกไซด์ของธาตทุางซา้ยของคาบท ี่ 2 และ 3 ซึ่งเป็นโลหะมคี่าสงูเนื่องจาก เป็นสารประกอบไอออนิก มโีครงสรา้งของโมเลกลุใหญ่มาก แรงยดึเหนี่ยวระหวา่งโมเลกลุมาก ในขณะที่ออกไซด์ของ

ธาตทุางขวาของคาบ ซึ่งเป็นอโลหะ จะมจุีดหลอมเหลวและจุดเดือดค่อนขา้งตำ่า เพราะเป็นสารโคเวเลนต ์ เป็นโมเลกลุ

เดี่ยวขนาดเล็กมแีรงยดึเหนี่ยวระหวา่งโมเลกลุน้อย ดังนัน้ Li2O, Na2O , MgO และ Al2O3 จงึมี

จุดหลอมเหลวสงู CO2 NO2 OF2 SO3 และ Cl2O7 จงึมจุีดหลอมเหลวตำ่า

สำาหรบั B2O3 และ SiO2 แมว้า่จะเป็นสารประกอบโคเวเลนต ์ แต่เนื่องจากเป็นสารประกอบประเภท โครงผลึกรา่งตาขา่ย จงึทำาใหจุ้ดหลอมเหลวและจุดเดือดสงู

2. การนำาไฟฟา้เมื่อหลอมเหลว

ออกไซด์ของโลหะและกึ่งโลหะ เชน่ Li2O , BeO , B2O3 Al2O3 MgO มสีมบตัิ ของสารประกอบไอออนิก เมื่อทำาใหห้ลอมเหลวจงึสามารถนำาไฟฟา้ได ้ ในขณะที่ออกไซด์ของอโลหะเป็นสารประกอบโคเว

เลนต์ ถึงแมว้า่จะทำาใหห้ลอมเหลวก็ไมส่ามารถนำาไฟฟา้ได้

3. การละลายนำ้าและสมบตัิกรด-เบสของออกไซด์ เนื่องจากโครงสรา้งออกไซด์ของธาตใุนคาบเดียวกันมแีนวโน้มเปล่ียนจากไอออนิกเป็นโคเวเลนต ์ เมื่อเลข

อะตอมเพิม่ขึ้น ซึ่งจะเป็นเหตผุลหนึ่งในการใชอ้ธบิายเกี่ยวกับการทำาปฏิกิรยิากับนำ้าของออกไซด์

พวกไอออนิกออกไซด์จะม ี O2- อยูใ่นโครงผลึกซึ่งทำาใหอ้อกไซด์เหล่านี้ทำาปฏิกิรยิากับนำ้าอยา่งรุนแรง ได้

สารละลายเบส เชน่ ออกไซด์ของหมู่ IALi2O (s) + H2O (l) 2Li+ (aq) + 2OH- (aq)Na2O (s) + H2O (l) 2Na+ (aq) + 2OH- (aq)

นอกจากจะทำาปฏิกิรยิากับนำ้าอยา่งรุนแรงแล้ว ยงัทำาปฏิกิรยิากับกรดได้อยา่งรุนแรงด้วย เชน่

Na2O (s) + 2H+ (aq) 2Na+ (aq) + H2O (l) สำาหรบัออกไซด์ของหมู่ IIA ถึงแมว้า่จะมี O2- แบบหมู่ IA แต่เนื่องจาก O2- ยดึเหนี่ยวกับ

แคทไอออนหม ู่ IIA แน่นเกินไป ดังนัน้จงึทำาปฏิกิรยิากับนำ้าหรอืกรดอยา่งชา้ๆ ไมรุ่นแรงเหมอืนหม ู่ IA ทำาใหก้าร

ละลายของออกไซด์หมู่ IIA เกิดขึ้นเพยีงเล็กน้อย เชน่

MgO (s) + H2O (l) Mg2+ (aq) + 2OH- (aq)MgO (s) + 2H+ (aq) Mg2+ (aq) + H2O (l)

สำาหรบั BeO ไมล่ะลายนำ้าแต่ทำาปฏิกิรยิาทัง้กรดแลเบส จึงเรยีกวา่ แอมโฟเทอรกิออกไซด์ (amphoteric oxide)

BeO (s) + 2H+ (aq) Be2+ (aq) + H2O (l)BeO (s) + 2OH- (aq) + H2O (l) Be(OH)4

2- (aq)

Page 9: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

สำาหรบัออกไซด์ที่เหลือในคาบท ี่ 2 และคาบท ี่ 3 จะมสีมบตัิเป็นกรดคือ ละลายนำ้าแล้วได้สารละลายแสดง

สมบตัิเป็นกรด หรอืสามารถทำาปฏิกิรยิากับเบสได้ ยกเวน้ CO, OF2 , N2O , NO และ ClO2 จดัวา่

เป็น nutral oxide เนื่องจากไมล่ะลายนำ้า ไมท่ำาปฏิกิรยิากับกรดหรอืเบส

B2O3 (s) + 3H2O (l) 2H3BO3 (aq)CO2 (g) + H2O (l) H2CO3 (aq)CO2 (g) + OH- (aq) HCO3

- (aq)หรอื CO2 (g) + 2OH- (aq) CO3

2- + H2O (l)2NO2 (g) + H2O (l) HNO3 (aq) + HNO3 (aq)

SiO2 ไมท่ำาปฏิกิรยิากับนำ้าแต่ทำาปฏิกิรยิากับเบส ออกไซด์ที่เหลือทำาปฏิกิรยิากับนำ้า

SiO2 (s) + 2OH- (aq) SiO32- (aq) + H2O (l)

P4O10 (s) + 6H2O (l) 4H3PO4 (aq)โดยสรุป ออกไซด์ของโลหะ แสดงสมบตัิเป็นเบส ออกไซด์ของกึ่งโลหะแสดงสมบตัิเป็นทัง้กรดและเบส (แอ

มโฟเทอรกิ) และออกไซด์ของอโลหะแสดงสมบตัิเป็นกรด สรุปแนวโน้มได้ดังนี้

ตารางที่ 7.32 แนวโน้มในการเป็นกรด- เบสของออกไซด์ในคาบที่ 2 และ 3 มาก ความเป็นกรดเพิม่ขึ้น มาก

ที่สดุ

คาบที่ 2 Li2Oเบส

BeOเบส-กรด

B2O3กรด

CO2กรด

N2O5

กรด

O2-

OF2กรด

คาบที่ 3 Na2Oเบส

MgOเบส

Al2O3

เบส

SiO2

กรด

P4O10กรด

SO2กรด

Cl2Oกรด

น้อย เลขอะตอม

Page 10: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

7.3 ปฏิกิรยิาของธาตแุละสารประกอบตามหมู่

นักเรยีนได้ศึกษาสมบตัิของธาตใุนตารางธาต ุ และสมบตัิของสารประกอบของคาบท ี่ 2 และ 3 มาแล้ว ต่อ

ไปนี้จะได้ศึกษาสมบตัิบางประการของธาตแุละสารประกอบตามหม ู่ โดยใชธ้าตหุม ู่ IA, IIA และ VIIA เป็นหลัก

ตารางที่ 7.33 สมบตัิบางประการของธาตหุมู่ IA สมบตัิ \ ธาตุ Li Na K Rb Cs

เลขอะตอมการจัดเรยีงอิเล็กตรอนมวลอะตอมไอโซโทปที่สำาคัญ

รศัมอีะตอม (pm)IE1 (kJ/mol)อิเล็กโทรเนกาติวติี

อิเล็กตรอนอัฟฟนิิตี(kJ/mol)

จุดหลอมเหลว (0C)จุดเดือด(0C)ความหนาแน่น(g/cm3)% โดยมวลที่พบบนโลกสขีองเปลวไฟ

32,16.9416Li, 7Li1525260.985718013300.530.0065แดงสด

112, 8, 122.99023Na1865020.9221988920.972.6เหลือง

192, 8, 8, 139.09839K,40K, 41K2274250.82-647600.862.4มว่งนำ้าเงิน

372,8,18,8,185.46885Rb, 87Rb2484090.82-396881.530.031มว่งแดง

552,8,18,18,8,1132.905133Cs2653820.79-296901.870.0007นำ้าเงิน

จากขอ้มูลในตารางและจากขอ้มูลอ่ืนๆ จะสรุปสมบตัิทัว่ๆ ไปของธาตหุมู่ IA ได้ดังนี้

1. เป็นธาตทุี่มี 1 เวเลนต์อิเล็กตรอน

Page 11: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

2. เป็นของแขง็ ยกเวน้ Cs เป็นของเหลว แต่จดัวา่เป็นประเภทโลหะอ่อน สามารถตัดด้วยมดีได้ง่าย ทำาใหเ้ป็นชิน้ แผ่น หรอืดึงเป็นเสน้ลวดได้ง่าย

3. เป็นโลหะที่นำาไฟฟา้และนำาความรอ้นได้ดีมาก เพราะมพีนัธะโลหะ

4. ความเป็นโลหะเพิม่ขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

5. ทำาปฏิกิรยิากับนำ้า เกิดปฏิกิรยิารุนแรง คายความรอ้นมาก และติดไฟได้ได้สารละลายที่แสดงสมบตัิเป็น เบส จึงเรยีกวา่ โลหะแอลคาไล

เขยีนสมการทัว่ๆ ไป สำาหรบัแสดงปฏิกิรยิากับนำ้าได้ดังนี้

2M + 2H2O 2MOH + H2เชน่

2Na + 2H2O 2NaOH + H22Li + 2H2O 2LiOH + H2

เนื่องจากเกิดปฏิกิรยิากับนำ้าได้ง่าย และยงัสามารถทำาปฏิกิรยิากับ O2 ได้ด้วย ดังนัน้จงึต้องเก็บโลหะแอลคาไลในนำ้ามนั

6. เป็นธาตทุี่ชอบใหอิ้เล็กตรอนแก่ธาตอ่ืุนๆ เรยีกวา่ electropositive element แล้วกลายเป็นไอออนที่ประจุ +1

7. รศัมอีะตอมและรศัมไีอออนเพิม่ขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

8. มคี่า IE1 น้อยที่สดุ ในคาบเดียวกัน และค่า IE1 จะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น เพราะขนาดอะตอมใหญ่ขึ้น

9. มคี่าอิเล็กโทรเนกาติวติีน้อย เมื่อเทียบกับธาตอ่ืุนๆ ในคาบเดียวกัน และค่าอิเล็กโทรเนกาติวติีจะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

10. เป็นโลหะที่มจุีดหลอมเหลวตำ่ากวา่โลหะอ่ืนๆ ในคาบเดียวกัน นอกจากนี้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดจะ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น เพราะความแรงของพนัธะโลหะลดลง

11. เป็นตัวรดีิวซท์ี่ดีมาก โดยเฉพาะ Li เป็นตัวรดีิวซท์ี่ดีที่สดุ

12. ความหนาแน่นน้อยกวา่โลหะอ่ืนๆ ที่อยูใ่นคาบเดียวกัน แต่ความหนาแน่นมแีนวโน้มเพิม่ขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

13. ทำาปฏิกิรยิากับธาตตุ่างๆ เกิดเป็นสารประกอบได้ง่าย และเป็นสารประกอบไอออนิก สารประกอบคลอ

ไรด์ คารบ์อเนต ซลัเฟต ไนเตรต ฟอสเฟต โดยมจุีดหลอมเหลวสงูมาก ( ดังตาราง 7.34)14. สารประกอบของธาตหุมู่ IA ละลายนำ้าได้ดีมาก ดังแสดงในตารางที่ 7.3515. เมื่อเผาสารประกอบของหมู่ IA จะได้เปลวไฟที่มสีตี่างๆ กัน เชน่ Li มสีแีดงสด หรอืแดงเลือดนก

Na ใหส้เีหลือง K ใหส้มีว่งนำ้าเงิน เป็นต้น

ตารางที่ 7.34 แสดงจุดหลอมเหลวของสารประกอบของธาตหุมู่ IA บางชนิด

ธาตุ จุดหลอมเหลวของสารประกอบ (0C)Cl- SO4

2- CO32- NO3

2- PO43-

LiNaK

610801770

857884

1074

618854897

261310338

-13401340

Page 12: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

RbCs

772645

10601010

837610*

305414

--

* สลายตัวขณะหลอมเหลว

ตารางที่ 7.35 แสดงการละลายของสารประกอบของธาตหุมู่ IA บางชนิด (25 0C)ธาตุ การละลายของเกลือ (g/H2O 100 g)

เกลือ Cl- เกลือ CO32- เกลือ NO3

- เกลือ SO42-

LiNaKRbCs

LiCl.H2ONaClKClRbClCsCl

85363594190

Li2CO3Na2CO3.10H2OK2CO3. 23H2ORb2CO3Cs2CO3

1.29

2.94

112

450มาก

LiNO3.3H2ONaNO3KNO3RbNO3CsNO3

8592386527

Li2SO4.H2ONa2SO4.10H2OK2SO4 Rb2SO4Cs2SO4

35281251182

สำาหรบัสมบตัิของธาตหุมู่ IIA และสารประกอบของธาตหุมู่ IIA เป็นดังนี้

ตารางที่ 7.36 แสดงสมบตัิบางประการของธาตหุมู่ IIA สมบตัิ \ ธาตุ Be Mg Ca Sr Ba

เลขอะตอมการจัดเรยีงอิเล็กตรอน

รศัมอีะตอม (pm)ความหนาแน่น(g/cm3)

จุดหลอมเหลว (0C)จุดเดือด(0C)IE1 (kJ/mol)อิเล็กโทรเนกาติวติี

อิเล็กตรอนอัฟฟนิิตี(kJ/

42,21121.8512802770

122, 8, 21601.744691110744

202, 8, 8, 21971.558391440596

382,8,18,8,22152.607701380556

562,8,18,18,8,22173.507141640509

Page 13: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

mol)E0 (V)ไอโซโทปที่สำาคัญ

มวลอะตอม

% โดยมวลที่พบบนโลกสขีองเปลวไฟ

9061.6-66-1.859Be

9.0120.0006-

1.3-67-2.3624Mg25Mg26Mg24.3121.9-

1.0--2.8740Ca42Ca44Ca40.083.4แดงอิฐ

0.9--2.8986Sr , 87Sr88Sr , 89Sr

87.620.030แดงเขม้

0.9--2.90136Ba137Ba138Ba137.340.025เขยีว

สรุปสมบตัิทัว่ๆ ไปของธาตหุมู่ IIA ได้ดังนี้

1. เป็นธาตทุี่มี 2 เวเลนต์อิเล็กตรอน เมื่อเป็นไอออนจงึมปีระจุเป็น +22. เป็นธาตทุี่จดัอยูใ่นกลุ่มของโลหะ ความเป็นโลหะเพิม่มากขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

3. เป็นโลหะที่นำาความรอ้นและนำาไฟฟา้ได้ดี เพราะมพีนัธะโลหะ

4. มคีวามหนาแน่นมากกวา่โลหะหม ู่ IA ดังนัน้จงึมคีวามแขง็แรงมากกวา่โลหะหม ู่ IA และความหนา แน่นมแีนวโน้มเพิม่มากขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

5. รศัมอีะตอมเล็กกวา่หมู่ IA และค่อยๆ เพิม่ขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

6. จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมคี่าค่อนขา้งสงู แต่มแีนวโน้มที่ลดลงเมื่อมวลอะตอมเพิม่ขึ้น

7. IE1 มคี่าค่อนขา้งน้อย ( แต่มากกวา่หม ู่ IA ในคาบเดียวกัน) และมแีนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

8. อิเล็กโทนเนกาติวติีมคี่าน้อย และมคี่าลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

9. เป็นตัวรดีิวซท์ี่ดี ค่า E0 มคี่าลดลงตามลำาดับเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น แสดงวา่ความสามารถในการเป็น ตัวรดีิวซจ์ะเพิม่ขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

10. ทำาปฏิกิรยิากับนำ้าได้ก๊าซ H2 และสารละลายแสดงสมบตัิเป็นเบส แต่ปฏิกิรยิาไมรุ่นแรงเหมอืนกับ

ธาตหุมู่ IA เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น การทำาปฏิกิรยิากับนำ้าจะเกิดได้เรว็ขึ้น เขยีนสมการทัว่ๆ ไปได้ดังนี้

M + 2H2O M(OH)2 + H2เชน่

Mg + 2H2O Mg(OH)2 + H2Ca + 2H2O Ca(OH)2 + H2

Page 14: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

11. เกิดเป็นสารประกอบต่างๆ ได้เชน่ คลอไรด ์ ออกไซด์ ซลัไฟด์ ซลัเฟต เป็นต้น โดยมสีตูรและสมบตัิ ต่างๆ คล้ายๆ กัน

12. สารประกอบของหม ู่ IIA สว่นมากเป็นสารประกอบไอออนิก ( ยกเวน้สารประกอบของธาตุ Be เชน่ BeCl2 , BeSO4 เป็นสารประกอบโคเวเลนต์ ) ดังนัน้สว่นมากจงึละลายนำ้าได้ เชน่เกลือไนเตรต เกลือ

คลอไรด ์ ละลายนำ้าได ้ แต่เกลือคารบ์อนเนต เกลือซลัเฟต ( ยกเวน้ MgSO4) และเกลือฟอสเฟต ละลายนำ้าได้น้อยมาก

13. เมื่อเผาสารประกอบของธาตหุมู่ IIA จะใหเ้ปลวไฟสตี่างๆ กัน เชน่

สารประกอบของ ตัวอยา่ง สขีองเปลวไฟ

CaSrBa

CaCO3 CaCl2SrCO3 SrSO4

BaCO3 BaSO4

แดงเขม้ แดงเขม้ แดงเลือดนกเขยีว

ตารางที่ 7.37 แสดงการละลายที่ 250C ของสารประกอบของหมู่ IIA บางชนิด

ธาตุ การละลายของเกลือ (g/H2O 100 g) เกลือ SO4

2- ค่าการละลาย เกลือ CO3 2- ค่าการละลาย

MgCaSrBa

MgSO4CaSO4SrSO4BaSO4

0.361.1 x 10-3

6.2 x 10-5

9.0 x 10-7

MgCO3CaCO3SrCO3BaCO3

1.3 x 10-4

1.3 x 10-5

7.0 x 10-6

9.0 x 10-6

ตารางที่ 7.38 แสดงสมบตัิบางประการของธาตหุมู่ VIIA สมบตัิ \ ธาตุ F Cl Br I

เลขอะตอมการจัดเรยีงอิเล็กตรอนมวลอะตอม

รศัมอีะตอม (pm)* จุดหลอมเหลว (0C)

จุดเดือด(0C)ความหนาแน่น(g/

92,718.99871-220-188

172, 8, 735.45399-101-34.5

352, 8, 8, 779.909144-7

532,8,18,8,7126.904133114

Page 15: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

cm3)**IE1 (kJ/mol)อิเล็กโทรเนกาติวติี

อิเล็กตรอนอัฟฟนิิตี(kJ/mol)E0 (V)สถานะปกติสีไอโซโทปที่สำาคัญ

% โดยมวลที่พบบนโลก

1.5116874.0333+2.87ก๊าซเหลืองอ่อน19F0.027

1.5612573.0348+1.36ก๊าซเขยีวอ่อน35Cl, 37Cl0.19

593.1211462.8340+1.09ของเหลวนำ้าตาลแดง79Br, 81Br0.00016

1844.9310152.5297+0.54ของแขง็มว่งเขม้127I0.00003

* หมายถึงรศัมโีคเวเลนต์

** ความหนาแน่นของ F2 , Cl2 ในสถานะของเหลว ถ้าเป็นก๊าซจะเท่ากับ 0.00170 และ 0.00312 g/cm3 ตามลำาดับ

สรุปสมบตัิทัว่ๆ ไปของธาตหุมู่ VIIA ได้ดังนี้

1. เป็นพวกอโลหะ มเีวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7 สภาวะปกติ F2 และ Cl2 เป็นก๊าซสเีหลืองอ่อนและ

เขยีวอ่อนตามลำาดับ Br2 เป็นของเหลวสนีำ้าตาลแดง และ I2 เป็นของแขง็สมีว่ง ซึ่งสขีองธาตแุฮโลเจนจะเขม้ขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น ทกุตัวเป็นสารพษิ

2. ความเป็นอโลหะจะลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น หรอืความเป็นโลหะจะเพิม่ขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

3. ธาตแุฮโลเจนทกุตัวอยูใ่นสภาพโมเลกลุอะตอมค ู่ (diatomic molecule) ทกุสถานะ ทัง้ของแขง็ ของเหลวและก๊าซ โดยยดึเหนี่ยวกันด้วยพนัธะโคเวเลนต์

4. ไมน่ำาความรอ้นและไฟฟา้เพราะเป็นอโลหะ

5. อะตอมมขีนาดเล็กเมื่อเปรยีบเทียบกับธาตใุนคาบเดียวกัน แต่มขีนาดใหญ่ขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

6. ธาตหุมู่ VIIA ละลายในนำ้าได้เล็กน้อยและใหส้ตี่างๆ กัน เนื่องจากเป็นโมเลกลุไมม่ขีัว้จงึละลายได้ดีใน

ตัวทำาละลายอินทรยี์ เชน่ ใน CCl4Cl2 ใน CCl4 ไมม่สีี

Br2 ใน CCl4 สสีม้

I2 ใน CCl4 สมีว่ง

ซึ่งในตัวทำาละลายดังกล่าวนี้ธาตหุมู่ VIIA ทกุชนิดจะอยูใ่นรูปของโมเลกลุอิสระเหมอืนกับในสภาวะเป็นก๊าซ

ในตัวทำาละลายที่มขีัว้ เชน่ H2O, C2H5OH , CH3COCH3 , ทัง้ Br2 และ I2 จะมสีี นำ้าตาลแดง เนื่องจากเกิดสารประกอบเชงิซอ้นขึ้น

7. ความหนาแน่นน้อย แต่ความหนาแน่นจะเพิม่ขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

Page 16: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

8. มจุีดหลอมเหลว จุดเดือดและความรอ้นแฝงของการเกิดไอตำ่า เนื่องจากมแีรงยดึเหนี่ยวระหวา่งโมเลกลุ (คือแรงวนัเดอรว์าลส์) น้อย แต่จุดหลอมเหลว จุดเดือดและความรอ้นแฝงของการเกิดไอเพิม่ขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิม่

ขึ้น เพราะมแีรงวนัเดอรว์าลสเ์พิม่ขึ้น นอกจากนี้การระเหยของธาตหุม ู่ VIIA จะค่อยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น เพราะแรงวนัเดอรว์าลสเ์พิม่ขึ้น

9. มคี่าอิเล็กโทรเนกาติวติีสงูที่สดุ ในคาบเดียวกัน และค่าอิเล็กโทรเนกาติวติีจะค่อยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น

10. มี IE1 ค่อนขา้งสงู และค่า IE1 จะค่อยๆ ลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิม่ขึ้น เนื่องจากขนาดใหญ่ขึ้น

11. มเีลขออกซเิดชนัได้หลายค่า เนื่องจากมี 7 เวเลนต์อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถจะใหห้รอืรบัอิเล็กตรอน จากธาตอ่ืุน หรอืใชอิ้เล็กตรอนรว่มกับธาตอ่ืุนๆ ซึ่งมคี่าอิเล็กโทรเนกาติวติีต่างๆ กันได ้ ท ำาใหม้เีลขออกซเิดชนัหลายค่า

เชน่ ตัวอยา่งของธาตุ Cl มเีลขออกซเิดชนัตัว้แต่ -1 ถึง +712. เกิดสารประกอบได้หลายชนิด เชน่ NaCl CaF2 HF KI และยงัเกิดสารประกอบที่มี

ธาตอุงค์ประกอบชนิดเดียวกันได้หลายชนิด เพราะมเีลขออกซเิดชนัหลายค่า

เชน่ NaClO NaClO2 NaClO3 NaClO4Cl2O ClO2 ClO3 และ Cl2O7 เป็นต้น

13. ธาตทุี่อยูต่อนบนของหม ู่ สามารถทำาปฏิกิรยิากับสารประกอบแฮไลด์ของธาตทุี่อยูต่อนล่างได ้ แต่ธาตุ “อยูต่อนล่างจะไมท่ำาปฏิกิรยิากับสารประกอบแฮไลด์ของธาตทุี่อยูต่อนบน จงึสรุปได้วา่ ความสามารถในการทำาปฏิกิรยิา

ของธาตหุมู่ VIIA ” จะลดลงจากบนลงล่าง เชน่

F2 ทำาปฏิกิรยิากับ NaCl ได้ แต่ Cl2 ไมท่ำาปฏิกิรยิากับ NaFF2 + 2NaCl 2NaF + Cl2Cl2 + NaF ไมเ่กิดปฏิกิรยิา

ธาตอ่ืุนๆ ก็เชน่เดียวกัน

Cl2 + 2NaBr 2NaCl + Br2Br2 + NaCl ไมเ่กิดปฏิกิรยิา

14. การเตรยีมธาตแุฮโลเจนบางธาตทุำาได้ดังนี้

2KMnO4 + 16HCl (conc) KCl + 2MnCl2 + 8H2O + 5Cl2

MnO2 + 4HCl (conc) MnCl2 + 2H2O + Cl22NaBr + MnO2 + 3H2SO4 (conc) 2NaHSO4 +

MnSO4 + 2H2O + Br2

15. ปฏิกิรยิาที่สำาคัญของสารประกอบแฮไลด์ เป็นดังในตารางต่อไปนี้

ตารางที่ 7.39 ปฏิกิรยิาของสารประกอบแฮไลด์เมื่อเติมสาร ผลที่สงัเกตได้

F- (aq) Cl- (aq) Br- (aq) I- (aq)

Page 17: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

Pb(NO3)2

AgNO3 (aq)

การละลายของ AgX ใน

ก. Dil. NH3ข. conc.NH3AgX เมื่อถกูแสง

ตะกอนขาว

PbF2-

ละลายละลาย

-

ตะกอนขาว

PbCl2ตะกอนขาว

AgClละลายละลาย

AgCl กลายเป็นสมีว่งเทา

ตะกอนเหลือง

PbBr2ตะกอนเหลือง

อ่อน AgBrไมล่ะลายละลาย

AgBr กลายเป็นสเีขยีวเหลือง

ตะกอนเหลือง

PbBr2ตะกอนเหลือง

AgIไมล่ะลายละลาย

-

ปฏิกิรยิากับสารละลาย AgNO3 และ NH3 หรอืแสงสวา่ง จดัได้วา่เป็นวธิกีารทดสอบแฮไลด์ไอออน

F- (aq) ไมใ่หต้ะกอนกับ AgNO3 (aq)Cl- (aq) ใหต้ะกอนขาว AgCl ซึ่งเปล่ียนเป็นสเีทาเมื่อถกูแสงและละลายได้ใน NH3 (aq)Br- (aq) ใหต้ะกอนเหลืองอ่อน AgBr ซึ่งเปล่ียนเป็นสเีขยีว- เหลือง เมื่อถกูแสงและละลายได้ ใน

NH3 เขม้ขน้

I- (aq) ใหต้ะกอนเหลือง AgI ซึ่งไมเ่ปล่ียนสเีมื่อถกูแสงและไมล่ะลายใน NH3 การละลายได้ใน NH3 (aq) เพราะเกิดสารประกอบเชงิซอ้นที่ละลายได้

AgCl (s) + 2NH3 (aq) [Ag(NH3)2]+ (aq) + Cl- (aq)

Page 18: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว

7.4 ตำาแหน่งของไฮโดรเจนในตารางธาตุ

โดยทัว่ๆ ไปการจัดธาตใุหอ้ยูใ่นหมูเ่ดียวกันจะใชเ้วเลนต์อิเล็กตรอนและสมบตัิของธาตเุป็นเกณฑ์ ถ้ามเีวเลน ต์อิเล็กตรอนเท่ากัน และมสีมบตัิต่างๆ คล้ายกันจะจดัวา่อยูใ่นหมูเ่ดียวกัน

สำาหรบัไฮโดรเจนมเีลขอะตอมเท่ากับหนึ่ง เมื่อพจิารณาการจดัเรยีงอิเล็กตรอน จะพบวา่มเีวเลนต์อิเล็กตรอน

เท่ากับ 1 และอยูใ่นระดับพลังงานแรก ซึ่งถ้าใชเ้วเลนต์อิเล็กตรอนเป็นเกณฑ์ควรจะจดัใหไ้ฮโดรเจนอยูใ่นหมู่ IA คาบ 1 ได้ แต่อยา่งไรก็ตาม อาจจะพจิารณาวา่อยูใ่นหมู่ VIIA ได้เหมอืนกัน เพราะยงัขาดอิเล็กตรอน เพยีง 1 ตัวจะมี

การจัดอิเล็กตรอนเหมอืน He เมื่อพจิารณาสมบตัิบางประการของธาตไุฮโดรเจนเทียบกับสมบตัิของธาตหุม ู่ IA และหมู่ VIIA จะได้ดังนี้

ตารางที่ 7.40 สมบตัิบางประการของไฮโดรเจนเทียบกับธาตหุมู่ IA และหมู่ VIIAสมบตัิ ไฮโดรเจน ธาตหุมู่ IA ธาตหุมู่ VIIA

เวเลนต์อิเล็กตรอนจำานวนอะตอมในโมเลกลุเลขออกซเิดชนัในสารประกอบการนำาไฟฟา้ในสถานะของแขง็

IE1 (kJ/mol)อิเล็กโทรเนกาติวติี

12-1, +1ไมน่ำาไฟฟา้

13182.1

1ไมแ่น่นอน

+1นำาไฟฟา้

382-5261.0 - 0.7

72-1,+1, +3, +5, +7ไมน่ำาไฟฟา้

1015-16874.2 - 2.2

จากตารางจเหน็ได้วา่ ไฮโดรเจนมสีมบตัิบางประการเหมอืนธาตหุม ู่ VIIA เชน่ มเีลขออกซเิดชนัมากกวา่ 1 ค่า ไมน่ำาไฟฟา้ มคี่า IE1 และอิเล็กโทรเนกาติวติีสงู ในขณะเดียวกันมสีมบตัิบางประการเหมอืนธาตหุมู่ IA เชน่

มเีวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 การที่ไฮโดรเจนมสีมบตัิบางประการคล้ายทัง้หม ู่ IA และ VIIA จงึได้แยก ไฮโดรเจนออกจากหมูท่ัง้สอง ดังปรากฏอยูใ่นตารางธาตุ

Page 19: บทที่ 7 - WordPress.com · Web viewสารประกอบของหม IIA ส วนมากเป นสารประกอบไอออน ก (ยกเว