32
พัฒนาเมือง สาหรับคนอย่างไร ในสังคมอายุยืน ดร.สุเมธ องกิตติกุล ณิชมน ทองพัฒน์

พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

พัฒนาเมือง “ส าหรับคน” อย่างไรในสังคมอายุยืน

ดร.สุเมธ องกิตติกุลณิชมน ทองพัฒน์

Page 2: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

เมืองส ำหรับสังคมอายุยืนควรมีหน้ำตำเป็นอย่ำงไร

Page 3: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

แนวโน้มคนเข้ามาอยู่ในเมืองมากขึ้น

เมือง

ชนบท

สัดส่วนประชากรในเมืองของไทย

60%51%

ปี 2018 ปี 2030

49% 40%

ที่มำ: ส ำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแหง่ชำติ

Page 4: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

เมืองควรเอื้อให…้

คนทุกวัยใช้ศักยภาพได้เต็มท่ี

ผู้สูงวัยท ากิจกรรมต่างๆได้สะดวก

บ้าน

ที่เรียน/ท างาน สถานพยาบาล

กิจกรรมจ าเป็น

สวนสาธารณะ พิพิธภัณฑ์ คลับ

กิจกรรมเพิ่มศักยภาพ

Page 5: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ในสังคมอายุยืนผู้สูงวัยมีพลังได้ ต้อง...

มีสุขภาพแข็งแรงมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม

มีความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิต

มีระบบขนส่งสาธารณะที่เอื้ออ านวยเดินได้มีพื้นที่สาธารณะเหมาะสม

เมืองช่วยได้ โดย...

Page 6: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

พื้นที่สาธารณะที่ต้องมีในเมือง

เพื่อสร้างศักยภาพของคน

สุขภาพ สังคมวัฒนธรรม

ความคิดสร้างสรรค์

Page 7: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

บรำซีเลีย..เมืองสวย แต่ออกแบบให้รถ

สร้างเสร็จในปี 1956 ได้รับเลือกเป็นมรดกโลกในปี 1987

ที่มำ: BBC World Service, MDPI 2019

ออกแบบโดยไม่ได้สนใจการใช้ชีวิตของคนผลักคนไปอยู่นอกเมือง

Page 8: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ปำรีส...ออกแบบเพื่อคืนพื้นที่สำธำรณะจำกรถสู่คน

70% ของพื้นที่สาธารณะและทางสัญจรในเมืองตอบโจทย์รถคืนพื้นที่ถนนเลียบแม่น้ าให้กับคนเพิ่มพื้นที่กิจกรรมให้คน+ลดมลพิษให้ชุมชนโดยรอบ ที่มำ: Xia AKA Hisaux

ที่มำ: Copenhagenize Design Company.

พื้นที่ส าหรับรถ พื้นที่ส าหรับคนเดินเท้า

Page 9: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

โซล... รื้อทำงด่วนสร้ำงพื้นที่พักผ่อนให้คนเมอืง

เน้นขนส่งสาธารณะและการเดินเท้า ห้ามรถส่วนบุคคลเข้า มีคุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ทั้งน้ าในคลองและอากาศดึงดูดผู้มาเยือนกว่า 64,000 คนต่อวัน

1990 2005 ปัจจุบันที่มำ: Soul Metropolitan Government และ Global Designing Cities Initiatives

Page 10: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

เมืองที่มีผู้สูงอายุมากลงทุนพื้นที่สาธารณะ

ส าหรับผู้สูงอายุปักกิ่งรัฐบาลก าหนดให้เมือง

จัดหาอุปกรณ์ออกก าลังกายในสวนสาธารณะกว่า

4,000 แห่งทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี 1995

ลานมหาวิทยาลัยฮ่องกงแม้มีข้อจ ากัดด้านพื้นที่ แต่ฮ่องกงสนับสนุนให้มีพื้นที่สาธารณะรองรับสังคมสูงอายุ

ที่มำ: UCLA Luskin School of Public Affairs และ The Center for Urban Design and Mental Health

Page 11: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

เมืองที่เดินได้ควรเป็นยังไง

มีความหนาแน่นของคนเดินเท้าสูง มีทางเท้าที่มีคุณภาพ ท าให้คนเดินเท้าได้อย่างราบรื่น

มีสถานที่เหล่านี้ อยู่ในรัศมีที่คนในเมืองสามารถเดินถึงได้ ด้วยทางเท้าที่มีคุณภาพ

ที่มำ: japantimes.co.jp hiveminer.com และ Mithun Divakaran (2012)และ "โครงกำรเมืองเดินได้เมืองเดินดี (Goodwalk) โดย UDDC สนับสนุนโดย สสส.

Page 12: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

สิงคโปร:์ สร้าง Silver Zones

ที่ผู้สูงอายุเดินได้อย่างปลอดภัย

• ก ำหนดพื้นที่ผูส้งูอำยหุนำแน่นเป็น SilverZones 15 โซน• มีแผนจะเพิ่มเป็น 50 โซน ภำยในปี 2023• ลดอุบัตเิหตุผูเ้ดนิเท้ำสงูอำยลุงเกือบ 75%

Page 13: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ถนนโค้งเพื่อชะลอความเร็ว

ถนนแคบและมีเนินชะลอความเร็ว

ปรับเกาะกลางถนนส าหรับผู้สูงอายุ

Silver Zone ใน Bukit Merah View

ป้ายแจ้งเตือน ห้ามขับเร็วเกิน 40 กม./ชม.

ที่มำ: Land Transport Authority, Singapore

Page 14: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ญี่ปุ่นช่วยคนสูงวัยเข้าถึงระบบขนส่ง

ออกกฎหมำย Barrier Free ปี 2006 ก ำหนดมำตรฐำนกำรเข้ำถึงระบบขนส่งส ำหรับทุกอำคำรรัฐสนับสนุนงบประมำณ

ที่มำ: Hiroko Mizumura

Page 15: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ทางลาดเข้าอาคารส าหรับรถเข็น

ที่จอดรถเฉพาะคนพิการและผู้สูงวัย

ที่มำ: Hiroko Mizumura

Page 16: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ญี่ปุ่นใช้เทคโนโลยีจัดการ

การขนส่งเพื่อผู้สูงอายุ

เมืองชิงาซากิ ท้องถิ่นจัดการขนส่งสาธารณะของผู้สูงอายุด้วย “Shared Taxi”จ้างเอกชนให้บริการ โดยมีค่าโดยสารถูกกว่ารถแท็กซี่

ที่มำ: Chigasaki City Office

Page 17: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ในสังคมอายุยืนเมืองที่ช่วยให้ผู้สูงวัยมีพลังต้อง...

มีระบบขนส่งสาธารณะที่เอื้ออ านวยเดินได้

มีพื้นที่สาธารณะเหมาะสม

Page 18: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

เมืองของไทยเอื้อให้คนทุกวัยใช้ศักยภาพได้เต็มที่เพียงใด?

Page 19: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

คนกรุงเทพฯ ใช้เวลาเข้าถึง

โรงพยาบาลมาก

ช่วงปกติ • คนชานเมืองเดินทางนาน

กว่ามาก

ช่วงเร่งด่วน • 22.5% ใช้เวลา

เกินครึ่งชั่วโมง เพิ่มความเสี่ยงกับผู้สูงวัย

ที่มำ: วิเครำะห์ด้วยข้อมูลพื้นฐำนเชิงพื้นที่ด้ำนเส้นทำงคมนำคม

+

Page 20: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

คนกรุงเทพฯ เพียง 1 ใน 4 เข้าถึงสวนสาธารณะ

ในระยะเดินได้

เข้าถึงสวนได้ในระยะ 1.5 กม.

รองรับประชากร 1.5 ล้านคน

รองรับผู้สูงวัย 3.12 แสนคน

ผู้สูงวัยในกรุงเทพฯ ไปห้างมากกว่าไปสวนสาธารณะ

43% 8%

สวนสาธารณะห้างสรรพสินค้า

ที่มำ: วิเครำะห์ด้วยข้อมูลพื้นฐำนเชิงพื้นที่ด้ำนเส้นทำงคมนำคม

Page 21: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

โอกาสใช้พื้นที่สาธารณะ

เพื่อสร้างศักยภาพ มีน้อยกว่า

ห้างสรรพสินค้า

• 78% ของพื้นที่สาธารณะ ตั้งอยู่ในวงแหวนรัชดา เพียง 31% ของห้างสรรพสินค้า ตั้งอยู่ในวงแหวนรัชดา

โอกาสใช้พื้นที่สาธารณะของผู้สูงวัยนอกวงแหวนรัชดามีน้อย ห้างสรรพสินค้ากระจายตัวมากกว่า ในพื้นที่ที่ผู้สูงวัยอยู่หนาแน่น ที่มำ: วิเครำะห์ด้วยข้อมูลพื้นฐำนเชิงพื้นที่ด้ำนเส้นทำงคมนำคม

Page 22: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

กรุงเทพฯเมืองเดินยาก

"โครงกำรเมืองเดินได้เมืองเดินดี (Goodwalk) โดย UDDC สนับสนุนโดย สสส.

ทำงเท้ำในกรุงเทพฯ มีคุณภำพปำนกลำงเท่ำนั้น (Walkability Score 18 เต็ม 40 คะแนน)

30.5 18 8คะแนน คะแนน คะแนน

สยำมสแควรซ์อย 7 จุฬำภรณ์ซอย 10 ลำดพรำ้วซอย 1

• คะแนนความปลอดภัยและการมีอุปกรณ์อ านวยความสะดวก“ต่ าที่สุด”

• อุปสรรคต่อการเดินของคนทุกวัยและผู้สูงวัย

คุณภำพถนนในกรงุเทพฯ

Page 23: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

สภาพทางเท้าในกรุงเทพฯ

แคบไป ใช้งานไม่ได้ ทางเท้ากลายเป็นไหล่ทาง

จักรยานยนต์แย่งที่เดินบนทางเท้ามีสิ่งกีดขวางมาก

Page 24: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

รถไฟฟ้าไม่ครอบคลุม

ต้องพึ่งพารถเมล์แต่ต้องเดินไกลกว่า 1 กิโลเมตร ไปยังป้าย

ที่มำ: วิเครำะห์ด้วยข้อมูลพื้นฐำนเชิงพื้นที่ด้ำนเส้นทำงคมนำคม

Page 25: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ผู้สูงอายุ เข้าถึงรถไฟฟ้าได้ยากสถานีมีลิฟท์และ

ทางลาดไม่ครอบคลุม

ลิฟท์ที่เปิดเข้าไปใช้งานไม่ได้ ท าให้ผู้ใช้โกรธจนทุบประตู

ทางลาดใช้งานไม่ได้จริง

รถไฟฟ้า 77 สถานีมีทางเข้า-ออก 201 ทาง

ที่มำ: ภำคีเครือข่ำยขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้ (2562)

Page 26: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

มีรถชานต่ าส าหรับผู้สูงวัยเพียง 30%

ของรถเมล์ทั้งระบบ

ที่มำ: วิเครำะห์ด้วยข้อมูลพื้นฐำนเชิงพื้นที่ด้ำนเส้นทำงคมนำคม

Page 27: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ป้ายรถเมล์ส่วนใหญ่ไม่รองรับรถเมล์ชานต่ า

ขอบทางเท้าเป็นแนวโค้ง รถเมล์จอดเทียบไม่ได้

ทางเท้าที่รองรับรถเมล์ชานต่ าได้

Page 28: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

การเดินทางผู้สูงอายุไทยค่อนข้างเสี่ยง

ที่มำ: กำรบูรณำกำรข้อมูลกำรเสียชวีิตจำกอุบัติเหตุทำงถนนของประเทศไทย, กรมควบคุมโรค และทะเบียนรำษฎร์

สัดส่วนผู้สูงวัยเสียชีวิตจากการเดินทางสูงกว่าคนทั่วไป

กว่า 60% เสียชีวิตจากการใช้รถจักรยานยนต์

Page 29: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ในสังคมอายุยืนเมืองที่ช่วยให้ผู้สูงวัยมีพลังต้อง...

มีระบบขนส่งสาธารณะที่เอื้ออ านวยเดินได้

มีพื้นที่สาธารณะเหมาะสม

Page 30: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

เพิ่มพื้นที่สาธารณะในเมืองและท าให้เมืองเดินได้อย่างไร

ผศ.ดร.นิรมล เสรีสกุลผู้อ านวยการศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC)

Page 31: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”
Page 32: พัฒนาเมือง ส าหรับคน อย่างไร ในสังคมอายุยืน · พัฒนาเมือง “ส าหรับคน”

ข้อเสนอแนะทุกภาคส่วนเพิ่มพื้นที่สาธารณะและการเข้าถึง• ผู้ประกอบการขนส่งและเจ้าของอาคารจัดสิ่งอ านวยความสะดวกให้ผู้สูงวัย

• ภาคสังคมผลักดันสิทธิการมีพื้นที่สาธารณะ• เอกชนร่วมพัฒนาพื้นที่สาธารณะเชิงสร้างสรรค์

รัฐบาลควรสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น• เพิ่มพื้นท่ีสาธารณะและออกแบบการเข้าถึง • ส่งเสริมการเดินและลดการใช้รถยนต์• ให้มีขนส่งสาธารณะส าหรับผู้สูงวัยที่เข้าถึงได้