43
วิชา วิทย์ฯ ฟิสิกส์ ม. ต้น ตอนที่ 01 - 02 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง โดย พี่ฟาร์ม ปิยะวัฒน์ วินุราช สถาบันกวดวิชา We By The Brain

วิชา วิทย์ฯ ฟิสิกส์...1.1 ปร มาณการเคล อนท A. ใกล / ไกล ระยะทาง vs การกระจ ด

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    4

Embed Size (px)

Citation preview

  • วิชา วิทย์ฯ ฟิสิกส ์ม. ต้น ตอนที่ 01 - 02

    เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง โดย พี่ฟาร์ม ปิยะวัฒน์ วินุราช สถาบันกวดวิชา We By The Brain

  • บทที่ 1 การเคลื่อนที่แนวตรง

  • 1.1 ปริมาณการเคลื่อนที่

    A. ใกล้ / ไกล ระยะทาง vs การกระจัด

    B. ช้า / เร็ว อัตราเร็ว vs ความเร็ว

    C. เร่ง / หน่วง อัตราเร่ง vs ความเร่ง

    สเกลาร ์ เวกเตอร ์

  • คือ ความยาวตามเส้นทาง ที่วัตถุเคลื่อนที่ได้จริง

    คือ เวกเตอร์ทีล่ากเชื่อมจาก จุดเริ่มต้นไปยังจุดสุดท้ายของ การเคลื่อนที ่

    distance (S) ระยะทาง การกระจัด

    หน่วย (SI) เป็น “เมตร” (m)

    displacement ( ) SA

  • A

    B

  • ใครเดินได้เร็วกว่ากัน ?

    B Velocity (V) อัตราเร็ว ความเร็ว

    Speed ( )

    ในเวลา 1 วินาที เดี้ยนเดินได้ 10 เมตร

    ในเวลา 1 ปี ผมเดินได้ 1,000 เมตร

    V

  • คือ ระยะทาง ทีเ่คลื่อนที ่ไดใ้นหนึ่งหน่วยเวลา

    คือ การกระจัด ที่เคลื่อนที่ ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา

    หน่วย m/s

    Velocity (V) อัตราเร็ว ความเร็ว

    Speed ( ) B

    sv

    t

    sv

    t

    V

  • ความเร็วเฉลี่ย และ อัตราเร็วเฉลี่ย

    - ในความเป็นจริง การเคลื่อนที่ในช่วงเวลาต่าง ๆ อาจมีความเร็ว / อัตราเร็ว ไม่คงที่ตลอด - เช่นอะไรบ้างน้า.... - เพื่อให้เข้าใจง่าย ท าไงดีล่ะ ...

  • :: สรุป ::

    อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทั้งหมด เวลาทั้งหมด

    ความเร็วเฉลี่ย = การกระจัดทั้งหมด เวลาทั้งหมด

    อัตราเร็วเฉลี่ย (v ) ความเร็วเฉลี่ย ( ) vav av

    Allav

    ALL

    sv

    t Allav

    ALL

    sv

    t

    IMPORTANT

  • โจทย์กลุ่มปริมาณการเคลื่อนที่ ชุดที่ 1

    BATTLE

  • 1. จากรูปจงหาปริมาณต่าง ๆ ท่ีก าหนด ในการเดินทางจาก A ไป B ไป C ในเวลา 100 วินาที

    - ระยะทาง - ขนาดการกระจัด - อัตราเร็วเฉลี่ย - ขนาดความเร็วเฉลี่ย

    A

    B C

    4 m

    3 m

  • 2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s ก. อัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที ่

    จาก a ไป c เป็นเท่าใด

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

    m / s21. 2. m / s

    3m / s

    23. 4. 2 m / s

  • 2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s ก. อัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที ่

    จาก a ไป c เป็นเท่าใด

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

    m / s21. 2. m / s

    3m / s

    23. 4. 2 m / s

  • 2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s ข. ขนาดความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อน

    ที่จาก a ไป c เป็นเท่าใด 1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 3 m/s 4. 4 m/s

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

  • 2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s ข. ขนาดความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อน

    ที่จาก a ไป c เป็นเท่าใด 5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

  • 2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s ข. ขนาดความเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อน

    ที่จาก a ไป c เป็นเท่าใด 1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 3 m/s 4. 4 m/s

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

  • ค. ขนาดของการกระจัดที่เกิดขึ้นในการ เคลื่อนทีจ่าก a ไป b มีค่าเท่าใด 1. 3 m 2. 3. 2 m 4.

    2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s

    3 2 m

    2 3 m

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

  • 2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s ค. ขนาดของการกระจัดที่เกิดขึ้นในการ

    เคลื่อนทีจ่าก a ไป b มีค่าเท่าใด

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

  • ค. ขนาดของการกระจัดที่เกิดขึ้นในการ เคลื่อนทีจ่าก a ไป b มีค่าเท่าใด 1. 3 m 2. 3. 2 m 4.

    2. วัตถุเคลื่อนที่จาก a ไป b ไป c โดยจาก a ไป b ใช้เวลา 1 s และจาก b ไป c ใช้เวลา 2 s

    3 2 m

    2 3 m

    5 4 3 2 1

    5 4 3 2 1 7 6 x(m)

    y(m)

    b

    C a

  • 3. ถ้าเก่งขับรถจากเมือง A ไปเมือง B เริ่มต้นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กม./ชม. และขับรถกลับจากเมือง B ไปเมือง A ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 120 กม./ชม. โดยไม่มีการหยุดพัก แล้วอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทางไปกลับของเก่งมีค่าเท่าใด (แนวเตรียมอุดมฯ และ MWIT)

    1. 96 กม./ชม. 2. 98 กม./ชม. 3. 100 กม./ชม. 4. 102 กม./ชม.

  • 3. ถ้าเก่งขับรถจากเมือง A ไปเมือง B เริ่มต้นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กม./ชม. และขับรถกลับจากเมือง B ไปเมือง A ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 120 กม./ชม. โดยไม่มีการหยุดพัก แล้วอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทางไปกลับของเก่งมีค่าเท่าใด (แนวเตรียมอุดมฯ และ MWIT)

  • FARMMIE’s TRICK!!

    3. ถ้าเก่งขับรถจากเมือง A ไปเมือง B เริ่มต้นด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กม./ชม. และขับรถกลับจากเมือง B ไปเมือง A ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 120 กม./ชม. โดยไม่มีการหยุดพัก แล้วอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทางไปกลับของเก่งมีค่าเท่าใด (แนวเตรียมอุดมฯ และ MWIT)

    FARMMIE’S TRICK!

  • เพิ่มเติมพิเศษ ถ้าเก่งขับรถแบบเดิมกับที่ขับในข้อ 3 ทุกประการ ความเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทางมีค่าเท่าไร

  • 4. มานะขับรถบนทางตรงด้วยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร แล้วขับต่อด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร และด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นระยะทางอีก 10 กิโลเมตร มานะขับรถด้วยอัตราเร็วเป็นเท่าใด (PAT2)

    1. เท่ากับ 60 กม./ชม. 2. น้อยกว่า 60 กม./ชม. 3. มากกว่า 60 กม./ชม. 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

  • 4. มานะขับรถบนทางตรงด้วยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร แล้วขับต่อด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นระยะทาง 10 กิโลเมตร และด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง เป็นระยะทางอีก 10 กิโลเมตร มานะขับรถด้วยอัตราเร็วเป็นเท่าใด (PAT2)

    1. เท่ากับ 60 กม./ชม. 2. น้อยกว่า 60 กม./ชม. 3. มากกว่า 60 กม./ชม. 4. ข้อมูลไม่เพียงพอ

  • ความเร่ง (acceleration : ) ความเร่ง : คือความเร็วที่เปลี่ยนไป ใน 1 หน่วยเวลา

    หน่วย : m/s2

    : ความเร็วต้น : ความเร็วปลาย

    C

    v v ua

    t t

    v u

    a

  • สรุป

    วัตถุที่ไม่มีความเร่งแสดงว่า เป็นวัตถุที่มีความเร็วคงที่ TIPS!

    รูปแบบ การเปล่ียนแปลงความเร็ว ท าให้เกิดขึ้น

    ความเร่ง( )

    ค่าบวก ค่าลบ

    เกิดจากวัตถ ุมีความเร็วเพิ่มขึ้น

    เกิดจากวัตถุ มีความเร็วลดลง

    ความเร่งติดลบ เรียกว่า ความหน่วง

    ขนาดความเร็วเปลี่ยน, ทิศทางเดิม

    ขนาดความเร็วเดิม, ทิศทาเปลี่ยน

    ขนาดความเร็วและทิศทางเปลี่ยน

    2 m/s

    2 m/s

    2 m/s 2 m/s

    4 m/s

    a

  • ค่าลบ ค่าบวก

    มีทิศเดียวกับ

    = 10m/s = 20m/s

    มีทิศตรงข้ามกับ

    = 10m/s = 5m/s

    ความเร่ง a

    u uv v

    u ua a

  • โจทย์กลุ่มปริมาณการเคลื่อนที่ ชุดที่ 2

    BATTLE

  • 5. วัตถุใดต่อไปนี้ก าลังเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเป็นศูนย์

    1. ชานยอลขับรถโดยอัตราเร็วเปลี่ยน แต่ทิศคงเดิม 2. แจบอมขับเรือโดยอัตราเร็วไม่เปล่ียน แต่ทิศเปล่ียน 3. จุนกิขับรถถังโดยมีทั้งอัตราเร็วและทิศเปลี่ยน 4. ถ่ัวแปปถีบจักรยานโดยไม่เปลี่ยนทั้งอัตราเร็วและทิศทาง

  • 6. รถคันหน่ึงเคล่ือนท่ีในแนวตรงไปทางขวาดว้ยความเร็ว 15 m/s หลังจากนั้นอีก 10 s มีความเร็วเป็น 10 m/s จงหาความเร่ง

    27

    15 m/s 10 m/s

  • 7. บั้งไฟของไก่กาเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง โดยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น 2 เมตร/วินาที ทุก ๆ 1 วินาที เมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 4 รถจะมี อัตราเร็วเท่าใด

    1. 8 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s

  • ทบทวนการบวก/ลบเวกเตอร์

    การบวก: หางต่อหัว การลบ: บวกด้วยนิเสธ

  • 8. รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 40 km/h เป็นเวลา 10 นาที ต่อมาแล่นไปทางทิศเหนือ ด้วยความเร็ว 30 km/h เป็นเวลา 30 นาที จงหาขนาดของความเร่งเฉล่ียของการเคลื่อนที่ของรถยนต์คันนี้ (แนวข้อสอบเตรียมอุดมฯ, MWIT)

    1. 15 km/h2 2. 30 km/h2

    3. 60 km/h2 4. 75 km/h2

  • 8. รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 40 km/h เป็นเวลา 10 นาที ต่อมาแล่นไปทางทิศเหนือ ด้วยความเร็ว 30 km/h เป็นเวลา 30 นาที จงหาขนาดของความเร่งเฉล่ียของการเคลื่อนที่ของรถยนต์คันนี้ (แนวข้อสอบเตรียมอุดมฯ, MWIT)

    1. 15 km/h2 2. 30 km/h2

    3. 60 km/h2 4. 75 km/h2

  • 1.2 การเคลื่อนที่อิสระในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วง

    คือ… การเคลื่อนที่ตามแนวเส้นตรงในแนวดิ่ง มี… แรงดึงดูดของโลกเพียงแรงเดียว (mg) กระท าตลอดการเคลื่อนที่

    FREE FALL

  • ทุกๆ 1 วินาที ขนาดความเร็วจะเปลี่ยนไป 10 m/s

    ตกสู่พื้น : ความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โยนขึ้น : ความเร็วลดลงเรื่อยๆ

    วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง g = 10 m/s2

  • NOTE!!

    FARMMIE’S TRICK!

  • โจทย์กลุ่มปริมาณการเคลื่อนที่ ชุดที่ 3

    BATTLE

  • 9. นาย A และ B มีมวล 40 kg และ 50 kg ตามล าดับ ทั้งคู่ตกจากตึก 100 เมตร พร้อมๆ กัน ข้อใดผิด

    1. ความเร็วต้นของท้ังสองเป็นศูนย์ 2. เวลาที่ใช้จนตกถึงพื้นนั้นเท่ากัน

    3. การเคล่ือนท่ีของคนท้ังสองอยู่ภายใต้ความเร่ง g เท่ากัน 4. คนที่หนักกว่าจะมีความเร็วขณะกระทบพื้นมากกว่า

  • 10. ก้อนหินถูกโยนลงมาจากยอดตึกด้วยความเร็วต้น 10 m/s เม่ือวัตถุตกลงมาได้ 10 วินาที ความเร็วของวัตถุเป็นเท่าใด

  • 12. โยนก้อนหินขึ้นจากพื้นด้วยความเร็วต้น 40 m/s ใช้เวลากี่วินาทีวัตถุจะตกกลับลงมายังพื้น