4
เมอวนท 25-27 เมษายน 2559 ทโรงแรมภูเกตเมอรลน จ.ภูเกต เทศบาลนครภูเกต รวมกบสำนกงานสงเสรมสงคมแหงการเรยนรูและ คณภาพเยาวชน (สสค.) และธนาคารโลก จดการประชมเชงปฏบต การเพอออกแบบพมพเขยวการศกษาเทศบาลนครภูเกต (Phuket City’s Education Blueprint Design Lab) โดยมประชาชนในพนท วแทนจากภาคร ฐและเอกชน เข าร วมมากกว า 150 คน ว ตถ ประสงค เพอนำขอมูลดานการศกษาในสถานศกษาของโรงเรยนและหนวย จดการศกษาในสงกดเทศบาลนครภูเกตมากำหนดแผนพฒนาการ ศกษาของเทศบาลในอก 4 ปขางหนา (2560-2563) กจกรรมในวนแรกเปนการนำเสนอขอมูลสถานการณการศกษา ของโรงเรยนในสงกดเทศบาลนครภูเกตทง 7 แหงวาสถานการณ ปจจบนเปนอยางไร มความโดดเดนหรอตองยกระดบดานใดบาง กอนทจะชวยกน “ฝน” ถงอนาคตวาจากสถานการณปจจบน การศกษาของเทศบาลนครภูเกตในอก 4 ปขางหนาจะเปลยนแปลง ไปในทางทดขนอยางไร ใครตองมสวนชวยอยางไรบาง ซง “ใคร” ท วานหมายรวมทกคนในเทศบาลนครภูเกตไมเฉพาะครูและผูบรหาร โรงเรยนเทานน กจกรรมในวนทสองเปนการชวยกนคดตอถง ยทธศาสตรและแผนกจกรรมวาจะทำให “ฝน” นนปนจรงไดอยางไร กจกรรมวนสดทายจงเปนการนำเสนอรางแผนงานและ “ให ขอสงเกต” โดยผูทรงคณวฒซงไดรบเกยรตจาก ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช นายบัณฑูร ทองตัน ประธานสภาการศกษาจงหวดภูเกต และนายสมหมาย ปาริจฉัตต์ รองประธาน บมจ.มตชน จากนน จงเปนการปรบปรงแผนขนสดทายกอนสงมอบใหสำนกวชาการและ จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดภูเก็ต” พฒนะพงษ สขมะดน แผนบรรจเขาไวในแผนของเทศบาลเพอจดทำแผนงบประมาณตอไป จดเรมตนของการจดทำ Blueprint ดงกลาวเรมจากคณะผูวจย มหาวทยาลยนเรศวรและ สสค. ศกษาวธการจดทำ School Report Card ของประเทศสหรฐอเมรกาซงมการเปรยบเทยบผลการดำเนน งานของแตละโรงเรยนกบเขตพนทและประเทศ และวธการเปรยบ เทยบผลการดำเนนงานของโรงเรยนในปปจจบนเปรยบเทยบกบป ทผานมาของประเทศบราซลซงนบเปนประเทศทมการพฒนาดาน การศกษาแบบกาวกระโดดดวยการใชขอมูลสารสนเทศวางแผนการ ศกษาในระยะยาว จากนนคณะวจยจงนำแนวทางดงกลาวมาพฒนา เปน “ชดขอมูล” และ “ระบบหลกประกนโอกาสทางการศกษา” ให เปนระบบขอมูลทมการทำงานในระดบหองเรยนทมการจดเกบขอมูล อยางตอเนอง เปนเครองมอจดการศกษาของครูและผูบรหารสถาน ศกษา โดยทำงานรวมกบเทศบาลนครภูเกตและโรงเรยนในสงกด เทศบาลทง 7 แหงตลอดปการศกษา 2558 ความพยายามทำงาน รวมกนในวนนนกลายมาเปนขอมูลตงตนของ “การมสวนรวม” ใน การออกแบบพมพเขยวการศกษาเทศบาลนครภูเกตในระยะ 4 ป ท ไมไดเปนการทำแผนทเกดจากการ “ฝน” ลอยๆ ดงนนการจดทำ พมพเขยวดานการศกษาของเทศบาลนครภูเกตในครงนจงถอเปน ดเร มต นท ในการผล กด น “การวางแผนพ ฒนาการศ กษาบนพ นฐาน ของขอมูล” หรอ Evidence-based Educational Planning สำหรบ ประเทศไทยในอนาคต ในชวงทายของงานมการทำพธลงนามความรวมมอระหวาง โรงเรยนในสงกดเทศบาลนครภูเกตเพอรวมเปดขอมูลสารสนเทศ จั ง ห วั ด ป ฏิ รู ป ก า ร เ รี ย น รูเด่นในฉบับ.. ขอมูลสำหรบการจดทำพมพเขยวการศกษา เทศบาลนครภูเกต มมมองสอกบการจดทำพมพเขยวการศกษาภูเกต ตดตามความเคลอนไหวของจงหวดปฏรูปการเรยนรูท ABE Network’s Corner ฉบับทีอานตอหนา 4 วันที16 พฤษภาคม 2559 22

จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนา ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-16052559-113500-6Jr11q.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนา ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-16052559-113500-6Jr11q.pdf ·

เมื่อวันที่25-27เมษายน2559ที่โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลินจ.ภูเก็ต

เทศบาลนครภูเก็ตร่วมกับสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และ

คุณภาพเยาวชน (สสค.) และธนาคารโลก จัดการประชุมเชิงปฏิบัติ

การเพื่อออกแบบพิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต (Phuket

City’s Education Blueprint Design Lab) โดยมีประชาชนในพื้นที่

ตัวแทนจากภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมมากกว่า150คน วัตถุประสงค์

เพื่อนำข้อมูลด้านการศึกษาในสถานศึกษาของโรงเรียนและหน่วย

จัดการศึกษาในสังกัดเทศบาลนครภูเก็ตมากำหนดแผนพัฒนาการ

ศึกษาของเทศบาลในอีก4ปีข้างหน้า(2560-2563)

กิจกรรมในวันแรกเป็นการนำเสนอข้อมูลสถานการณ์การศึกษา

ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครภูเก็ตทั้ง 7 แห่งว่าสถานการณ์

ปัจจุบันเป็นอย่างไร มีความโดดเด่นหรือต้องยกระดับด้านใดบ้าง

ก่อนที ่จะช่วยกัน “ฝัน” ถึงอนาคตว่าจากสถานการณ์ปัจจุบัน

การศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ตในอีก 4 ปีข้างหน้าจะเปลี่ยนแปลง

ไปในทางที่ดีขึ้นอย่างไร ใครต้องมีส่วนช่วยอย่างไรบ้างซึ่ง “ใคร”ที่

ว่านี้หมายรวมทุกคนในเทศบาลนครภูเก็ตไม่เฉพาะครูและผู้บริหาร

โรงเรียนเท่านั ้น กิจกรรมในวันที ่สองเป็นการช่วยกันคิดต่อถึง

ยุทธศาสตร์และแผนกิจกรรมว่าจะทำให้ “ฝัน” นั้นป็นจริงได้อย่างไร

กิจกรรมวันสุดท้ายจึงเป็นการนำเสนอร่างแผนงานและ “ให้

ข้อสังเกต” โดยผู้ทรงคุณวุฒิซึ ่งได้รับเกียรติจาก ศ.นพ.วิจารณ์

พานิช นายบัณฑูร ทองตัน ประธานสภาการศึกษาจังหวัดภูเก็ต

และนายสมหมาย ปาริจฉัตต์ รองประธาน บมจ.มติชน จากนั้น

จึงเป็นการปรับปรุงแผนขั้นสุดท้ายก่อนส่งมอบให้สำนักวิชาการและ

จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดภูเก็ต” พัฒนะพงษ์ สุขมะดัน

แผนบรรจุเข้าไว้ในแผนของเทศบาลเพื่อจัดทำแผนงบประมาณต่อไป

จุดเริ่มต้นของการจัดทำ Blueprint ดังกล่าวเริ่มจากคณะผู้วิจัย

มหาวิทยาลัยนเรศวรและ สสค. ศึกษาวิธีการจัดทำ School Report

Card ของประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีการเปรียบเทียบผลการดำเนิน

งานของแต่ละโรงเรียนกับเขตพื้นที่และประเทศ และวิธีการเปรียบ

เทียบผลการดำเนินงานของโรงเรียนในปีปัจจุบันเปรียบเทียบกับปี

ที่ผ่านมาของประเทศบราซิลซึ่งนับเป็นประเทศที่มีการพัฒนาด้าน

การศึกษาแบบก้าวกระโดดด้วยการใช้ข้อมูลสารสนเทศวางแผนการ

ศึกษาในระยะยาวจากนั้นคณะวิจัยจึงนำแนวทางดังกล่าวมาพัฒนา

เป็น“ชุดข้อมูล”และ“ระบบหลักประกันโอกาสทางการศึกษา”ให้

เป็นระบบข้อมูลที่มีการทำงานในระดับห้องเรียนที่มีการจัดเก็บข้อมูล

อย่างต่อเนื่อง เป็นเครื่องมือจัดการศึกษาของครูและผู้บริหารสถาน

ศึกษา โดยทำงานร่วมกับเทศบาลนครภูเก็ตและโรงเรียนในสังกัด

เทศบาลทั้ง 7 แห่งตลอดปีการศึกษา 2558 ความพยายามทำงาน

ร่วมกันในวันนั้นกลายมาเป็นข้อมูลตั้งต้นของ “การมีส่วนร่วม” ใน

การออกแบบพิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ตในระยะ 4 ปี ที่

ไม่ได้เป็นการทำแผนที่เกิดจากการ “ฝัน” ลอยๆ ดังนั้นการจัดทำ

พิมพ์เขียวด้านการศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ตในครั้งนี้จึงถือเป็น

จุดเร่ิมต้นท่ีดีในการผลักดัน“การวางแผนพัฒนาการศึกษาบนพ้ืนฐาน

ของข้อมูล” หรือ Evidence-based Educational Planning สำหรับ

ประเทศไทยในอนาคต

ในช่วงท้ายของงานมีการทำพิธีลงนามความร่วมมือระหว่าง

โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครภูเก็ตเพื่อร่วมเปิดข้อมูลสารสนเทศ

จั ง ห วั ด ป ฏิ รู ป ก า ร เ รี ย น รู้

เด่นในฉบับ.. • ข้อมูลสำหรับการจัดทำพิมพ์เขียวการศึก

ษา

เทศบาลนครภูเก็ต

• มุมมองสื่อกับการจัดทำพิมพ์เขียวการศึกษาภูเก็ต

• ติดตามความเคลื่อนไหวของจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้ที่

ABENetwork’sCorner

ฉบับที่

อ่านต่อหน้า4

วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 22

Page 2: จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนา ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-16052559-113500-6Jr11q.pdf ·

2

ระบบหลักประกันโอกาสทางการศึกษาที ่ใช ้ในการจัดทำ

พิมพ์เขียวทางการศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ต (Phuket Education

BlueprintWorkshop)เป็นระบบที่สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลการเรียน

การสอนในห้องเรียน ข้อมูลงานวิชาการ ข้อมูลทะเบียนนักเรียน

งบประมาณ และข้อมูลบุคลากร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ถูกนำมาวิเคราะห์

จัดทำตัวชี้วัดด้านการศึกษา 3 ด้านในรายงานการดำเนินงานของ

โรงเรียน ได้แก่ (1) ตัวชี้วัดด้านโอกาส ได้แก่ จำนวนนักเรียน

ลงทะเบียนต่อประชากรในเขตพื้นที่ จำนวนนักเรียนพิการ จำนวน

นักเรียนยากจน(2)ตัวชี้วัดด้านคุณภาพ ได้แก่ร้อยละการเข้าเรียน

ของนักเรียนร้อยละนักเรียนที่ติด0/ร./มส.ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

ใน 8 กลุ่มสาระ ผลการทดสอบ O-NET นักเรียนที่มีผลการเรียน

ต่ำกว่า 2.00 หรือติดวิทยาทัณฑ์ นักเรียนที่เกรดเฉลี่ยมากกว่า 3.00

และ (3)ตัวชี้วัดด้านประสิทธิภาพ ได้แก่ อัตราส่วนครูต่อนักเรียน

สัดส่วนค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเทียบกับงบประมาณ

ของโรงเรียน ซึ่งข้อมูลตัวชี้วัดเหล่านี้ถูกนำมาใช้ในการตั้งเป้าหมาย

ในการพัฒนาโรงเรียน อาทิ อัตราการเข้าเรียนของนักเรียนต้อง

ไม่ต่ำกว่า 99% คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนทุกคน

มากกว่า90%ขึ้นไป

ในระหว่างการจัดเตรียมข้อมูลเพื ่อออกแบบพิมพ์เขียวด้าน

การศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ตนั้น คณะวิจัยพบว่าข้อมูลบางด้าน

ในระบบนั้นเมื่อรวบรวมมาจัดทำเอกสารประกอบการทำแผนการ

ศึกษามีความไม่ถูกต้องอาทิข้อมูลบุคลากรและข้อมูลงบประมาณ

พัฒนาคน... พัฒนางาน

ดร.วรลักษณ์ คงเด่นฟ้า

ข้อมูลสำหรับการจัดทำพิมพ์เขียว การศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต

ทั ้งนี ้เนื ่องจากการดำเนินงานของโครงการที ่ผ่านมานั ้นมีการใช้

ประโยชน์จากระบบเพียงข้อมูลการเรียนการสอนเท่านั้น เช่น การ

ส่งต่อข้อมูลการจัดการการเรียนการสอนระหว่างครูวิชาการและ

ครูผู้สอน การจัดทำสมุดพกนักเรียนเพื่อให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

ซึ่งการใช้ประโยชน์ข้อมูลเหล่านี้จากระบบจะช่วยให้เกิดการตรวจ

สอบความถูกต้องของข้อมูลโดยภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ครูใน

ฝ่ายต่างๆ นักเรียน และผู้ปกครอง แต่ข้อมูลบุคลากรและข้อมูล

งบประมาณนั้นยังไม่มีการนำไปใช้ประโยชน์ทำให้ไม่มีการตรวจสอบ

ความถูกต้องมาก่อน ดังนั้น ข้อมูลที่จัดเก็บในระบบฐานข้อมูลต่างๆ

นั้นจะมีความถูกต้องได้ก็ต่อเมื่อมีผู้นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ซึ่งจะ

ทำให้ผู้นำเข้าข้อมูลมีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น

ในการทำ MOU ประกอบการจัดทำพิมพ์เขียวของเทศบาลนคร

ภูเก็ตผู้บริหารสถานศึกษาหลายท่านให้ความเห็นว่าข้อมูลตัวชี้วัด

เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา นั้นไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบ

ระหว่างโรงเรียนได้ เนื่องจากมาตรฐานการให้คะแนนและการตัด

เกรดของครูแต่ละโรงเรียนนั้นต่างกัน ซึ่งการขาดมาตรฐานกลาง

ดังกล่าวส่งผลให้ตัวชี้วัดที่มีพื้นฐานอยู่บนเรื่องของผลสัมฤทธิ์ทางการ

ศึกษาอาทินักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำกว่า2.00หรือติดวิทยาทัณฑ์

นักเรียนที่เกรดเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ร้อยละนักเรียนที่ติด 0/ร./มส.

ไม่สามารถเปรียบเทียบกันระหว่างโรงเรียนได้ ผู้บริหารสถานศึกษา

จึงเสนอแนะให้มีการจัดสอบด้วยข้อสอบกลางต่อไป แต่ที่น่าสังเกต

คือข้อมูลผลสัมฤทธิ์ที่แต่ละโรงเรียนประเมินกันเองนี้เป็นส่วนหนึ่งของ

เกณฑ์การศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย ซึ่งข้อเสนอ

เหล่านี ้นับเป็นข้อมูลความรู ้ที ่จะนำมาพัฒนาระบบสารสนเทศนี้

ต่อไป

Page 3: จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนา ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-16052559-113500-6Jr11q.pdf ·

เทศบาลนครภูเก็ตเดินหน้าจัดทำพิมพ์เขียว

การศึกษานครภูเก็ตที่แรกของประเทศ ชี้วางแผน

บนฐานข้อมูล ป้องกันการมโน นักวิชาการ

เวิร์ลด แบงค์ยก “เวียดนาม” ใช้ระบบสารสนเทศ

ไต่ระดับพีซาสู่ลำดับ 17 ขณะเด็กประถมไทย

ร้อยละ 56 ขาดครูเฉลี่ยไม่ถึง 1 คน/ห้อง เพราะ

ขาดระบบจัดการข้อมูล พร้อมลงนามความร่วมมือ

โรงเรียนเทศบาลนครภูเก็ตเปิดข้อมูลแก้ปัญหา

ความเหลื่อมล้ำ

พาดหัวข่าวข้างต้นคงพอได้เห็นกันบ้างแล้วตามหน้า

ข่าว“การจัดทำพิมพ์เขียวการศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ต”ซึ่ง

ร่วมกับสสค.และธนาคารโลก เมื่อวันที่ 25-27 เมษายน2559

ณ โรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน จังหวัดภูเก็ต เนื้อข่าวคงขอให้ติดตาม

อ่านตามหน้าหนังสือพิมพ์ต่างๆ แต่ที ่อยากนำมาฝากกันใน

คอลัมน์นี ้ เป็นอีกหนึ ่งบรรยากาศของสื ่อมวลชนที ่สะท้อน

ความเห็นในการทำพิมพ์เขียวการศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ต

ซึ่งนายสมหมาย ปาริจฉัตต์ รองประธาน

กรรมการ บมจ.มติชน ให้ข ้อคิดเห็นที ่

น่าสนใจไว้3ประเด็นคือ(1)กระบวนการ

จัดทำพิมพ์เขียว (2) สาระของพิมพ์เขียว

และ (3) การขับเคลื่อนพิมพ์เขียวที่จะจัด

ลำดับความสำคัญอย่างไรที ่เป็นการคิดใหญ่

ทำย่อยแต่ลึก

“ประเด็นแรกกระบวนการทำพิมพ์เขียวใช้กระบวนการ

ส่วนร่วมใช้แนวทางการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ให้เด็กเยาวชน

ได้มาร่วมแสดงออก เป็นการทำงานแนวราบในขณะที่วัฒนธรรม

แนวดิ่งดำรงอยู่ จังหวัดเชียงใหม่ใช้เวลา 2 ปีในการจัดทำแผน

แต่ภูเก็ตใช้วิธีเรียนลัด ในกระบวนการจัดทำพิมพ์เขียวนายก

เทศมนตรีและรองนายกเทศมนตรีอยู ่ร่วมตลอด ร่วมทำงาน

พร้อมผู้บริหารโรงเรียน เป็นสิ่งที่น่าชื่นชม

ประเด็นสองสาระเนื้อหาเริ่มต้นจากข้อมูลที่เป็นความจริง

ซึ่งถือว่าถูกต้องที่คลี่ข้อมูลทั้งระดับบุคคล โรงเรียน เทศบาล

เกิดการสื ่อสารสาธารณะ ทำให้การประชาสัมพันธ์ถูกต้อง

เกิดการจัดการข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง จุดเน้นของวิสัยทัศน์

พิมพ์เขียวที ่เริ ่มด้วยความดี เด็กดีมีคุณธรรม เป็นตัวนำที ่

สอดคล้องกับวิกฤติของสังคม วิสัยทัศน์ที ่ทำขึ ้นครบถ้วน

มุมมองสื่อกับการจัดทำพิมพ์เขียวการศึกษาภูเก็ต

3

กนกวรรณ กลินณศักดิ์ นักวิชาการสื่อสาร สสค.

รณรงค์สื่อสาร จังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้

กว้างขวางเกิดจากการมีส่วนร่วม ทุกกลุ่มให้น้ำหนักไปที่ครูซึ่ง

ตนเชื่อมั่นว่าเป็นคานงัดสำคัญ ถ้าเรามีฐานข้อมูลครู เด็กที่

ชัดเจนจะทำให้งานมีความสำเร็จได้ มาตรการที ่อยากเห็น

คือกระบวนการที่จะนำมาปลุกจิตวิญญาณความเป็นครูจะทำ

อย่างไร เป็นกระบวนการที ่ช ัดเจน เปลี ่ยนครูอำนาจเป็น

ครูอำนวยเราจะมีกระบวนการอย่างไรเปลี่ยนพฤติกรรมครูให้

เป็นแบบนี้ ให้พื้นที่แห่งความกลัวเป็นพื้นที่แห่งความรัก มีการ

พูดถึงวิชาโครงงานเป็นเครื่องมือ หวังยิ่งว่ากระบวนการนี้จะ

เป็นการพัฒนาครูและสร้างการเรียนรู้เด็กได้เป็นอย่างดี เป็นไป

ได้ไหมกระบวนการเพาะพันธุ์ปัญญาจะนำมาใช้กับครูโรงเรียน

เทศบาลทั้งหมด หรือครูสอนคิด หรือ model พัฒนาครูอื่นๆ ให้

ครูมีคุณธรรมจริยธรรม

ประเด็นที่สามกระบวนการขับเคลื่อน การสร้างเครือข่ายอยู่

ในระดับน่าภูมิใจ ฐานข้อมูลภูมิปัญญาชาวบ้านถ้ามีควรเติม

เข้าไป มีเวทีแสดงผลงานระยะ 1 ปีให้เห็นว่ามีความก้าวหน้า

เพียงใด หลักสูตรท้องถิ่น สถานศึกษาที่บูรณาการทุกกลุ่มสาระ

หวังว่าภูเก็ตจะเป็นสิงคโปร์ให้ได้ ด้วยขนาดพื้นที ่พอๆ กัน

แต่อาจจะลำบากสักหน่อยเพราะฐานงบประมาณและรายได้

จังหวัดถูกสูบเข้าส่วนกลางเกือบทั้งหมด”

ทั้งหมดนี้เป็นมุมมองของสื่อมวลชนอาวุโสที่คลุกคลีอยู่ใน

วงการศึกษาไทยมานับสิบปีร่วมสะท้อนการทำงานการศึกษา

ของเทศบาลนครภูเก็ตได้อย่างน่าสนใจ ส่วนผลลัพธ์ที่ได้เรียนรู้

อย่างน้อยก็คือ กระบวนการสร้างความเชื่อมั่นให้โรงเรียนใน

สังกัดเทศบาลนครภูเก็ตว่า การสื่อสารสาธารณะที่ถูกต้องจะ

สร้างการมีส่วนร่วมให้คนภูเก็ตเข้ามาช่วยลูกหลานได้อย่าง

โปร่งใส โดยเฉพาะการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศนั้น จะสร้าง

จริยธรรมให้ครูคืนสู่การยอมรับของสังคมได้อย่างเต็มภาคภูมิ

Page 4: จาก “พิมพ์เขียวการศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต” สู่ “แผนพัฒนา ...apps.qlf.or.th/member/UploadedFiles/prefix-16052559-113500-6Jr11q.pdf ·

สมัครสมาชิก สสค. ดาวน์โหลดไฟล์จดหมายข่าว “สานปัญญา” ได้ที่ www.QLF.or.th

ติดตามข่าวสาร สสค. ที่ Quality Learning Foundation QLFThailand

แจ้งเปลี่ยนที่อยู่สมาชิก/สอบถาม โทร. 02-6191811

ต่อจาก หน้า 1

ABE Network’s Corner

สุราษฏร์ธานี: 26 เม.ย. 59 สุราษฎร์ธานี ได้ดำเนินการประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ

ศึกษาเชิงพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2559-2563 โดยนายวงศศิริ พรหมชนะ ผู้ว่า

ราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมกับนายทนงศักดิ์ ทวีทอง นายกองค์การบริหารส่วน

จังหวัดสุราษฎร์ธานี และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ข้อเสนอแนะร่างแผนยุทธศาสตร์การศึกษาฯ

และบูรณาการยุทธศาสตร์การศึกษาจ.สุราษฎร์ธานีกับการยุทธศาสตร์การศึกษาเชิงพื้นที่

จ.สุราษฎร์ธานี ไปพร้อมกันกับการขับเคลื่อนสมัชชาการศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ ่ง

ปัจจุบันมีสมาชิกร่วม300คน

ตราด:2-3พ.ค.59ตราดจัดประชุม“แนวทางพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาเขต

เศรษฐกิจพิเศษและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน” โดยได้รับเกียรติจากดร.กฤษณพงศ์

กีรติกร รองประธานกรรมการ สสค. ลงพื ้นที ่ เร ียนรู ้ก ับดร.ประธาน สุรกิจบวร

รองผู้ว่าราชการจังหวัดตราด และภาคประชาสังคมตราด อาทิ ประธานสภาหอการค้า

ประธานสภาอุตสาหกรรมนายกอบต.พร้อมแลกเปลี่ยนทัศนะการจัดการศึกษาเพื่อสัมมาชีพ

กับนายไพฑูรย์ พราหมณ์เกสร รองผู้ว่าราชการจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชาด้วย

สุรินทร์:4พ.ค.59นายอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ พร้อมนายวินัย

ตรงจิตพิทักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ จัดประชุมคณะกรรมการการจัดการ

ศึกษาเชิงพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ โดยนายไกรศักดิ์ วรทัต ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด

สุรินทร์ ในฐานะเลขานุการ คกก. ได้นำเสนอแผนยุทธศาสตร์ที่เกิดจากการระดมความคิดเห็นจากเวทีสมัชชาการศึกษาตำบล และ

เวทีสมัชชาการศึกษาจังหวัดสุรินทร์เพื่อนำสู่การจัดทำแผนการพัฒนาการศึกษาจังหวัดระหว่างวันที่10-12พ.ค.59

ทางการศึกษาแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในเด็กเยาวชนภูเก็ตเป็น

ครั้งแรก โดยมีเป้าหมายร่วมใน 2 ระดับ 1) เป้าหมายระหว่าง

โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครภูเก็ต ซึ่งจะมีตัวชี้วัดตามพิมพ์เขียว

การศึกษาเทศบาลนครภูเก็ต และ 2) เป้าหมายเฉพาะของแต่ละ

โรงเรียน อาทิ อัตราการเข้าเรียน เพื่อใช้เป็นข้อตกลงในการจัดการ

ศึกษาเทศบาลนครภูเก็ตของสำนักการศึกษาในปี2560-2563

นางสาวสมใจ สุวรรณศุภพนา นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต

ซึ่งอยู่ร่วมกระบวนการทำแผนตลอดทั้ง 3 วันกล่าวสรุปแนวทาง

ความร่วมมือการพัฒนาการศึกษาของเทศบาลนครภูเก็ตใน 3 ด้าน

ได้แก่ 1) ผู้เรียน เน้นสร้างคุณลักษณะพึงประสงค์เป็นคนดี เก่ง

อยู ่ในพื ้นที ่ได้อย่างมีความสุข แข่งขันกับนานาชาติได้ 2) ครู

และบุคลากรการศึกษา เน้นพัฒนาคุณภาพชีวิตครู เพิ ่มโอกาส

ในการเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมที่ดีในการสอนและ3)ระบบการศึกษา

เทศบาลนครภูเก็ต เน้นเพิ่มโอกาสเด็กเยาวชนที่ขาดโอกาสให้ได้รับ

การศึกษา เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการศึกษา ผ่านระบบ

สารสนเทศด้านการศึกษาที ่สนับสนุนการวางแผนและติดตาม

การจัดการศึกษาในโรงเรียนเทศบาล ควบคู่กับการสร้างเครือข่าย

ความร่วมมือของภาคประชาสังคม

“ที่ผ่านมาเทศบาลนครภูเก็ตได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยนเรศวร

และสสค.ในการจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา เพื่อเป็น

กลไกสนับสนุนการวางแผนของเทศบาลที่จะช่วยเอ็กซเรย์เด็กเป็น

รายบุคคล ลดเวลาการทำงานของครูด้านงานเอกสารและเพิ ่ม

ประสิทธิภาพในการทำงาน ระบบฐานข้อมูลเหล่านี้จะถูกสนับสนุน

ข้อมูลพื้นฐานและสถานการณ์เพื่อร่วมออกแบบพิมพ์เขียวการศึกษา

นครภูเก็ตร่วมกัน”

นายบัณฑูร ทองตัน ประธานสภาการศึกษาจังหวัดภูเก็ต

กล่าวในตอนท้ายถึงการทำงานร่วมกันของสภาการศึกษาฯ กับ

เทศบาลนครภูเก็ตว่ามีการทำงานร่วมกันด้วยดีเสมอมาและแนวทาง

ของเทศบาลนครภูเก็ตในวันนี้จะมีการนำไปขยายผลกับโรงเรียนอื่น

ในจังหวัดภูเก็ตรวมถึงแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดที่สภาการศึกษา

กำลังดำเนินการเพื่อสนับสนุน กศจ.และผู้ว่าราชการจังหวัดอยู่ใน

ขณะนี้

“ผลงานการทำ Blueprint ของเทศบาลนครภูเก็ตจะขยายไปสู่

โรงเรียนอื ่นในจังหวัดภูเก็ต โดยเฉพาะระบบข้อมูลสารสนเทศ

ที่เทศบาลทำงานจริงจังเห็นผลเป็นรูปธรรม จากความสำเร็จนี้ สภา

การศึกษาจังหวัดภูเก็ตสามารถพัฒนาขยายผลต่อไปได้โดยเฉพาะ

การทำแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัด ซึ ่งล่าสุด ผู ้ว ่าจะตั ้งสภา

การศึกษาเป็นหน่วยสนับสนุน กศจ. เพราะเห็นเราทำงานตั้งแต่ต้น

เราจึงเดินหน้างานได้เลย”