9
บทที3 วิธีดำเนินกำรวิจัย ในการวิจัยนี ้จะทาการเก็บข ้อมูลหลักเกี่ยวกับแรงสั่นสะเทือน (Vibration) คลื่นแรงอัด อากาศ (Air Blast) ข้อมูลมวลหิน (Rock Mass) และขนาดของหินภายหลังการระเบิด โดยในการ ดาเนินการวิจัยจะมีตัวแปรควบคุมแปรผันคือ ความยาวช่องว่างอากาศ (Air Deck) 3.1กำรดำเนินกำรวิจัย เนื่องจากผังการระเบิด (Blasting Pattern) ในแต่ละเหมืองนั ้นการกาหนดใช้ค่าของตัวแปร ต่าง ๆ จะไม่เท่ากัน ซึ ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี ้มีผลต่อการระเบิดทั ้งในด้านประสิทธิภาพการระเบิดและ ผลกระทบต่อสิ ่งแวดล้อมที่มาจากการระเบิดอีกด้วย ดังนั ้นตัวแปรต่าง ๆ จึงกาหนดไว ้ดังนี - ตัวแปรควบคุมคงที1. เส้นผ่าศูนย์กลางรูระเบิด เท่ากับ 3 นิ้ว 2. วัตถุระเบิดหลักคือ AN/FO 3. ลดระยะอัดปากรู (Stemming) ลง 20% 4. ระยะ Burden และ Spacing ใช้ค่าตามปกติของเหมืองหินที่ไปทาการเก็บ ข้อมูล - ตัวแปรควบคุมแปรผัน ความยาวช่องว่างอากาศ ใช้ค่าในช่วง 0.8-3.5เมตร 3.2ขั ้นตอนกำรเก็บข ้อมูล 1. จดบันทึกปริมาณน าหนัก AN/FO ต่อหนึ ่งรูเจาะ และ จานวนจังหวะถ่วงที่ใช้ เพื่อ นามาคานวณหาค่าน าหนักวัตถุระเบิดสูงสุดต่อจังหวะถ่วง (Maximum Charge per Delay)

ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

36

บทที ่3

วธิีด ำเนินกำรวจิัย

ในการวิจยัน้ีจะท าการเก็บข้อมูลหลักเก่ียวกับแรงสั่นสะเทือน (Vibration) คล่ืนแรงอดั

อากาศ (Air Blast) ขอ้มูลมวลหิน (Rock Mass) และขนาดของหินภายหลงัการระเบิด โดยในการ

ด าเนินการวจิยัจะมีตวัแปรควบคุมแปรผนัคือ ความยาวช่องวา่งอากาศ (Air Deck)

3.1กำรด ำเนินกำรวจัิย

เน่ืองจากผงัการระเบิด (Blasting Pattern) ในแต่ละเหมืองนั้นการก าหนดใช้ค่าของตวัแปร

ต่าง ๆ จะไม่เท่ากนั ซ่ึงส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีมีผลต่อการระเบิดทั้งในดา้นประสิทธิภาพการระเบิดและ

ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้มท่ีมาจากการระเบิดอีกดว้ย ดงันั้นตวัแปรต่าง ๆ จึงก าหนดไวด้งัน้ี

- ตวัแปรควบคุมคงท่ี

1. เส้นผา่ศูนยก์ลางรูระเบิด เท่ากบั 3 น้ิว

2. วตัถุระเบิดหลกัคือ AN/FO

3. ลดระยะอดัปากรู (Stemming) ลง 20%

4. ระยะ Burden และ Spacing ใชค้่าตามปกติของเหมืองหินท่ีไปท าการเก็บ

ขอ้มูล

- ตวัแปรควบคุมแปรผนั ความยาวช่องวา่งอากาศ ใชค้่าในช่วง 0.8-3.5เมตร

3.2ข้ันตอนกำรเกบ็ข้อมูล

1. จดบนัทึกปริมาณน ้ าหนกั AN/FO ต่อหน่ึงรูเจาะ และ จ านวนจงัหวะถ่วงท่ีใช ้เพื่อน ามาค านวณหาค่าน ้าหนกัวตัถุระเบิดสูงสุดต่อจงัหวะถ่วง (Maximum Charge per Delay)

Page 2: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

37

2. ท าการวดัค่าพิกดัหนา้งานระเบิดและจุดตั้งเคร่ือง Seismometer โดยใชเ้คร่ือง GPS ยี่ห้อ Garmin ดงัแสดงในรูปท่ี 3.1 เพื่อน าค่าดงักล่าวมาท าการค านวณหาระยะห่างระหว่างหน้าระเบิดและจุดตั้งเคร่ืองตรวจวดั

รูปท่ี 3.1GPS ยีห่อ้ Garmin ท่ีใชใ้นการวดัค่าพิกดั

3 ท าการเก็บขอ้มูลท่ีเก่ียวขอ้งกบัมวลหิน บริเวณหน้างานระเบิดโดยใช้แบบฟอร์ม

ดงัแสดงในภาคผนวก ก ซ่ึงมีรายละเอียดในการเก็บขอ้มูลดงัน้ี

3.1 ท าการวดัความยาวรอยแตกของหินบริเวณหน้างานในแนวราบ โดยใช้

เทปวดัระยะ เป็นความยาว 3 เมตร และจดบนัทึกค่าความยาวของรอยแตกแต่ละ

ช่วง เพื่อน ามาหาค่า RQD

3.2 ท าการวดัค่าระยะห่างระหวา่งรอยแตกท่ีกวา้งท่ีสุดและแคบท่ีสุด บริเวณ

หนา้งานและจดบนัทึก เพื่อน ามาหาค่าเฉล่ียระยะห่างของรอยแตก

Page 3: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

38

3.3 ท าการวดัและจดบนัทึกเก่ียวกบัสภาพของรอยแตกโดยแยกเป็นหวัขอ้ดงัน้ี

ก. ท าการวดัค่า Discontinuity Length (Persistence) บริเวณหน้า

ระเบิดโดยใชเ้ทปวดั

ข. ท าการวดัความกวา้งของรอยแตกโดยใชเ้ทปวดั

ค. ท าการบันทึกความขรุขระของ Discontinuity ในระยะ 10

เซนติเมตรโดยอาศยัตารางของ Barton and Choubey (1977)

เทียบเคียงกบัสภาพความขรุขระในหน้างานจริงและบนัทึก

สภาพความขรุขระในลกัษณะของค่า JRC ดงัแสดงในตารางท่ี

3.1

ง. ท าการบนัทึกเก่ียวกบัวสัดุหรือส่ิงท่ีบรรจุใน Discontinuity ใน

แต่ละ Joint Set

จ. ท าการบนัทึกเก่ียวกบัสภาพความผุกร่อนของ Discontinuity

ในแต่ละ Joint Set

3.4 ท าการเก็บข้อมูลเก่ียวกับน ้ าใตดิ้นบริเวณหน้างานระเบิดโดยแบ่งเป็น

แห้ง ช้ืน เปียก มีน ้ าหยดและมีน ้ าไหล โดยการแยกระหวา่งน ้ าหยดและน ้ าไหลจะ

ใช้ บีกเกอร์รองน ้ าในระยะเวลา 10 วินาที หากปริมาณน ้ าท่ีได้มากกว่า 20

ลูกบาศกเ์ซนติเมตรจะถือวา่มีน ้าไหล แต่ถา้นอ้ยกวา่จะถือวา่มีน ้าหยด

3.5 ท าการวดัทิศทางของหนา้อิสระและทิศทางของ Discontinuity ดว้ยเข็มทิศ

Brunton

3.6 ท าการเก็บตวัอยา่งหินภายหลงัการระเบิดเพื่อน ามาทดสอบความแข็งแรง

ดว้ยวธีิ Point Load Test

Page 4: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

39

ตารางท่ี3.1 แสดงความสัมพนัธ์ระหว่างความขรุขระและJoint Roughness Coefficient (JRC)

[อา้งอิง: Barton and Choubey, 1977]

Page 5: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

40

หลงัจากนั้นจึงท าการระเบิดและด าเนินการเก็บขอ้มูลดงัน้ี

4. ท าการบนัทึกค่าแรงสั่นสะเทือนและคล่ืนแรงอดัอากาศ ท่ีตรวจวดัได้จากเคร่ือง Seismometerยีห่อ้ Instantel ในเหมืองหินดา้นหลงัโรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ.ล าปาง และยี่ห้อ Thomas ในเหมืองหินปูนของบริษทั อินทรี จ ากดั จ.สุพรรณบุรี ดงัแสดงในรูปท่ี 3.2 และ 3.3

รูปท่ี 3.2 แสดงเคร่ือง Seismometer ยีห่อ้ Instantel

Page 6: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

41

รูปท่ี 3.3 แสดงเคร่ือง Seismometer ยีห่อ้ Thomas

5. ถ่ายภาพกองหินภายหลงัการระเบิดเพื่อน าไปท าการวิเคราะห์ขนาดโดยวิธี Photo Analysis ดว้ยโปรแกรม Split Desktop (Demo Version) โดยการถ่ายภาพกองหินจะถ่ายเฉพาะบริเวณหนา้กองเท่านั้น เน่ืองจากโดยส่วนใหญ่ขนาดหินท่ีโตเกินขนาด (Over Size) จะอยูบ่ริเวณดงักล่าวและภายในกองส่วนใหญ่เป็นหินท่ีกอ้นเล็ก ดงัแสดงในรูปท่ี 3.4 และ 3.5 โดยในการถ่ายภาพจะน าลูกบอลขนาดเส้นผา่ศูนยก์ลาง 10 น้ิวไปวางไวท่ี้กองหินดว้ยเพื่อเป็นตวัก าหนดขนาด (Scale) ของหินภายในภาพ ซ่ึงลูกบอลดงักล่าวจะตอ้งวางไวอ้ยา่งนอ้ย 3 จุด ภายในภาพเพื่อขจดัปัญหา Prospective ภายในภาพถ่ายดงักล่าว ดงัแสดงในรูปท่ี3.6

Page 7: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

42

รูปท่ี 3.4 แสดงภาพถ่ายดา้นหนา้กองหินภายหลงัการระเบิด

รูปท่ี 3.5 แสดงภาพถ่ายขนาดหินภายในกอง

ลูกบอลขนาดเสน้ผา่ศูนยก์ลาง 10 น้ิว

ลูกบอลขนาดเสน้ผา่ศูนยก์ลาง 10 น้ิว

Page 8: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

43

รูปท่ี 3.6 แสดงภาพถ่ายท่ีจะน าไปใชค้ านวณดว้ยโปรแกรม Split Desktop (demo version)

6. น าภาพถ่ายขา้งตน้มาท าการตดัแบ่งภาพออกเป็นส่วน ๆ โดยให้ภาพท่ีตดัแบ่งออกนั้นจะตอ้งมีรูปของลูกบอลท่ีใกลท่ี้สุดอยู่ดว้ยเพื่อเป็นตวัแทนในการก าหนดขนาด (Scale) ภายในภาพดงักล่าว เสร็จแลว้จึงน าภาพดงักล่าวไปค านวณโดยโปรแกรม Split Desktop (Demo Version) และก าหนดให้ขนาดท่ีค านวณไดจ้ากโปรแกรมท่ี 80% Passing หรือ P80 ในกราฟท่ีโปรแกรมค านวณไดเ้ป็นตวัแทนของขนาดในภาพนั้นดงัแสดงในรูปท่ี 3.7

7. น าขนาดท่ีเป็นตวัแทนของแต่ละภาพมาหาค่าเฉล่ียขนาดของหินท่ีได้จากการระเบิดในคร้ังนั้น

8. ท าตามขั้นตอนการเก็บขอ้มูลทั้งหมดโดยเปล่ียนค่าความยาวช่องว่างอากาศ (Air Deck) จ านวนไม่นอ้ยกวา่ 5 ค่าความยาวในแต่ละเหมือง

ลูกบอลขนาดเสน้ผา่ศูนยก์ลาง 10 น้ิว

Page 9: ว·ธด ำเน·นกำรว·จัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2555/enmi30455sr_ch3.pdf · 2013. 9. 3. · ด้วยวิธี Point Load Test . 39 ... (Scale)

44

รูปท่ี 3.7 แสดงกราฟท่ีไดจ้ากการค านวณดว้ยโปรแกรม Split Desktop (demo version)

9. ท าการวเิคราะห์ความสัมพนัธ์ของตวัแปรต่าง ๆ โดยเม่ือท าการทดลองครบทุกคร้ังแลว้จะน าขอ้มูลมาวิเคราะห์ความสัมพนัธ์ระหวา่งความยาวช่องวา่งอากาศกบัมวลหินและ/หรือตวัแปรต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้งมวลหิน

10. สรุปความสัมพนัธ์ระหวา่งความยาวช่องว่างอากาศกบัมวลหิน และ/หรือตวัแปรต่าง ๆ ของมวลหิน